You are on page 1of 20

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

สถิติ
ความหมายของสถิติ
สถิติ หมายถึง ตัวเลขที่แทนจ้านวนหรือข้อเท็จจริงของสิ่งที่เราศึกษา เช่น สถิติปริมาณน้้ามัน สถิตผิ ลการเรียน
นักเรียน เป็นต้น
สถิติ หมายถึง ศาสตร์ที่ว่าด้วยระเบียบวิธีการทางสถิติ ซึ่งประกอบด้วย การเก็บรวบรวมข้อมูล การน้าเสนอ
ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการแปลความหมายข้อมูล

ข้อมูล
ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงหรือสิ่งที่ยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง อาจเป็นตัวเลขหรือไม่ใช่ตัวเลขก็ได้
ข้อมูลเชิงปริมาณ คือ ข้อมูลที่ใช้ตัวเลขแสดงปริมาณ วัดออกมาเป็นจ้านวนทีส่ ามารถน้าไปค้านวณเปรียบเทียบได้
ข้อมูลเชิงคุณภาพ คือ ข้อมูลที่อธิบายลักษณะหรือบอกสมบัติ เช่น เพศของสมาชิกในครอบครัว เป็นต้น

การนาเสนอข้อมูล
1. การนาเสนอในรูปแบบบทความ
การน้าเสนอข้อมูลในรูปบทความเป็นการน้าเสนอข้อมูลโดยใช้ตัวเลขประกอข้อความจึงสามารถใช้ได้กับข้อมูล
ทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยทั่วไปแล้วการน้าเสนอข้อมูลในรูปบทความจะใช้เมื่อข้อมูลที่น้าเสนอมีไม่มาก
นัก หรือเป็นการน้าเสนอข้อมูลโดยสรุป เช่น
“บัณฑิตของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจ้าปีการศึกษา 2560 ได้ท้างานภายใน
ระยะ 1 ปีหลังจากจบการศึกษา คิดเป็นร้อยละ 55.6 และส่วนมากท้างานตรงกับสาขาวิชาที่เรียนคิดเป็นร้อยละ
59.1 ทั้งนีบ้ ัณฑิตได้รับเงินเดือน 15,000 – 20,000 บาท และรูส้ ึกพอใจต่องานที่ท้า”

2. การนาเสนอข้อมูลด้วยตาราง
เป็นการน้าข้อมูลมาจัดเรียงให้อยู่ในรูปของแถวหรือหลัก ตามลักษณะทีส่ ัมพันธ์กัน อยู่ใน
ต้าแหน่งทีเกี่ยวข้องกัน ท้าให้สะดวกในการเปรียบเทียบ รวบรัดต่อการน้าเสนอ องค์ประกอบทั่วไป
ของตารางจะมีดงั นี้
1. หมายเลขตาราง เป็นตัวเลขที่แสดงล้าดับที่ของตาราง ใช้ในกรณีที่มีตารางมากกว่าหนึ่งตารางที่ต้องน้าเสนอ
2. ชื่อเรื่อง เป็นข้อความที่อยู่ตอ่ จากหมายเลขตาราง ชื่อเรื่องที่ใช้ แสดงว่าเป็นเรือ่ งเกี่ยวกับอะไร ที่ไหน เมื่อไร
3. หมายเหตุค้าน้า เป็นข้อความที่อยู่ใต้ชื่อเรื่อง เป็นส่วนที่ช่วยให้รายละเอียดในตารางมีความชัดเจนยิง่ ขึ้น
4. ต้นขั้ว ประกอบด้วย หัวขั้ว และต้นขั้ว ซึ่งหัวขั้วจะอธิบายเกี่ยวกับ ตัวขั้ว ส่วนตัวขั้ว จะแสดข้อมูลที่อยู่ใน
แนวนอน
5. หัวเรือ่ ง ประกอบด้วย หัวสดมภ์ และตัวเรื่อง ซึ่งหัวสดมภ์ใช้อธิบายข้อมูลแต่ละสดมภ์ ตามแนวตั้งตัวเรื่อง
ประกอบด้วย ข้อมูลทีเ่ ป็นตัวเลขโดยส่วนใหญ่

Page 1 of 20
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
6. หมายเหตุแหล่งที่มา บอกให้ทราบว่าข้อมูลในตารางมาจากที่ใด ช่วยให้ผู้อ่านได้ค้นคว้าเพิ่มเติม
ตัวอย่าง ตารางแสดงจ้านวนประชากรของประเทศไทยปีต่าง ๆ จ้าแนกตามเพศ ( ส้านักงานสถิติแห่งชาติ )
จานวนประชากร
พ.ศ.
ชาย หญิง รวม
2480 7,313,584 1,150,521 14,464,105
2490 8,722,155 8,720,534 17,442,689
2503 13,154,149 13,103,767 26,257,916
2513 17,123,862 17,273,512 34,397,374
2523 22,008,063 22,170,074 44,278,137

3. แผนภูมิรูปภาพ
เป็นแผนภูมิที่ใช้รปู ภาพแทนตัวเลขของข้อมูล เช่นรูปภาพคน 1 คน แทนจ้านวนคน 100 คน ถ้ามีคน 550 คน
จะมีรูปภาพคน 5 รูป และภาพคนที่ไม่สมบูรณ์อีกครึ่งรูปการน้าเสนอข้อมูลในรูปภาพท้าให้ดึงดูดความสนใจมากขึ้น

ตัวอย่าง ต่อไปนี้เป็นตัวอย่างแผนภูมริ ูปภาพ ซึ่งแสดงปริมาณที่ไทยส่งสินค้าออกไปขายยังประเทศบรูไนระหว่างปี


2526-2531

ที่มา : กรมศุลกากร
จากข้อมูลข้างต้น แสดงว่าในปี 2526 ไทยส่งสินค้าไปขายยังประเทศบรูไน 250 ล้านบาท ในปี 2531
ส่งสินค้าไปขาย 550 ล้านบาท เป็นต้น

Page 2 of 20
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
4. แผนภูมิรูปวงกลม
แผนภูมิที่แสดงให้เห็นถึงรายละเอียดส่วนย่อย ๆ ของข้อมูลที่น้ามาเสนอ การน้าเสนอข้อมูลในลักษณะนี้จะ
เสนอในรูปของวงกลมโดยค้านวณส่วนย่อย ๆ ของข้อมูลทีจ่ ะแสดงทัง้ หมด หลังจากนั้นแบ่งพื้นที่ของรูปวงกลม
ทั้งหมดออกเป็น 100 ส่วน หลังจากนั้นก็หาพื้นที่ของแต่ละส่วนย่อย ๆ ที่จะแสดง

ตัวอย่าง แผนภูมิรปู วงกลมแสดงการเปรียบเทียบงบประมาณด้านต่าง ๆ ที่ใช้ในสถานศึกษา ( ยกเว้นเงินเดือน –


ค่าจ้าง )

5. แผนภูมิแท่ง
การน้าเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิแท่ง เป็นการน้าเสนอข้อมูลโดยใช้รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า รูปสีเ่ หลี่ยมผืนผ้าอาจ
เรียงในแนวตั้ง หรือแนวนอนก็ได้ ซึ่งสี่เหลี่ยมผืนผ้าแต่ละรูปจะมีความกว้างเท่าๆกันทุกรูป ส่วนความยาวของ
สี่เหลี่ยมผืนผ้าขึ้นอยู่กับขนาดของข้อมูล นิยมเรียกรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้าในแต่ละรูปว่า “แท่ง” (bar) ระยะห่างระหว่าง
แท่งให้พองาม และเพื่อให้จ้าแนกลักษณะที่แตกต่างกันของข้อมูลในแต่ละแท่งให้ชัดเจน และสวยงามจึงได้มกี ารแร
เงา หรือระบายสี และเขียนตัวเลขก้ากับไว้บนตอนปลายของแต่ละแท่งด้วยก็ได้

Page 3 of 20
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ตัวอย่าง แผนภูมิแท่งแผนภูมิแสดงจ้านวนที่อยู่อาศัยเปิดตัวใหม่ในเขตกทม. และปริมณฑล

6. การนาเสนอข้อมูลโดยใช้กราฟเส้น
การน้าเสนอข้อมูลทีม่ ีลักษณะเป็นกราฟเส้นนั้น ลักษณะของกราฟอาจจะเป็นเส้นตรงหรือไม่ก็ได้จุดส้าคัญของ
การน้าเสนอโดยใช้กราฟเส้นก็เพื่อจะให้ผู้อ่านมองเห็นแนวโน้มการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของข้อมูล เช่นข้อมูลที่
เกี่ยวกับเวลา ถ้าเราน้าเสนอโดยใช้กราฟเส้น เราก็สามารถจะมองเห็นลักษณะของข้อมูลในช่วงเวลาต่าง ๆ ว่ามี
การเปลี่ยนแปลงในลักษณะที่เพิม่ ขึ้นหรือลดลงมากน้อยเพียงใด นอกจากนี้กราฟเส้นยังท้าให้เรามองเห็น
ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล(ถ้ามีข้อมูลหลาย ๆ ชุด) และสามารถน้าไปใช้ในการคาดคะเน หรือพยากรณ์ข้อมูลนั้น
ได้อีกด้วย
โดยทั่วไป การน้าเสนอข้อมูลโดยใช้กราฟเส้นก็จะมีลักษณะเช่นเดียวกับตาราง กล่าวคือ เราต้องบอก
หมายเลขภาพ ชื่อภาพ แหล่งที่มาของข้อมูล และทีส่ ้าคัญต้องบอกให้ทราบว่าแกนนอนและแกนตั้งใช้แทนข้อมูล
อะไรและมีหน่วยเป็นอย่างไร

Page 4 of 20
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ตัวอย่าง กราฟเส้นแสดงปริมาณสินค้าที่น้าเข้าจากประเทศสิงคโปร์ ปี พ.ศ. 2526 – 2531

7. การนาเสนอข้อมูลด้วยตารางแจกแจงความถี่
ถ้าข้อมูลมีจ้านวนมาก และมีค่าที่ซ้ากันมาก ก่อนน้ามาสร้างตารางแจกแจงความถี่ให้น้าข้อมูลมาสร้างอันตร
ภาคชั้นดังนี้
1. ก้าหนดจ้านวนชั้น
2. ค้านวณหาพิสัย
พิสัย คือ ผลต่างระหว่างค่าข้อมูลสูงสุดกับค่าข้อมูลต่้าสุด
3. ค้านวณหาความกว้างของชั้น
พิสัย
จ้านวนชั้น

4. ค้านวณหาขีดจ้ากัดล่างของชั้น
(ความกว้าง × จ้านวนชั้น) − พิสัย
ค่าต่้าสุด − ( )
2

ซึ่งขั้นนี้เป็นการก้าหนดจ้านวนชั้นที่ต้องการมาล่วงหน้า หรือจะค้านวณหาจ้านวนชั้น โดยก้าหนดความกว้างของ


ชั้นล่วงหน้า ก็ได้เช่นเดียวกัน

Page 5 of 20
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ตัวอย่างที่ 1 คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 40 คนเป็นดังนี้ (100 คะแนน)
88 75 73 67 66 63 61 58 55 54
54 53 52 52 50 50 49 48 48 48
47 47 45 44 43 41 40 40 39 38
36 36 35 31 28 27 24 20 17 12
จงสร้างตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 40 คน
1. ก้าหนดจ้านวนชั้นเท่ากับ 6
2. ค้านวณหาพิสัย
พิสัย เท่ากับ …………………………………………….
3. ค้านวณหาความกว้างของอันตรภาคชั้น
ความกว้างอันตรภาคชั้น เท่ากับ …………………………………………….
4. ค้านวณหาขอบล่างของอันตรภาคชั้นแรก
………………………………………………………………………………………………………

ตารางที่ 1 ตารางแจกแจงความถี่คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 40 คน

คะแนน รอยขีด ความถี่ ขอบล่าง ขอบบน ค่ากึ่งกลาง ความถี่ ความถี่ ความถี่สะสม


ชั้น สะสม สัมพัทธ์ สัมพัทธ์

รวม 40

Page 6 of 20
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
การสร้างฮิสโทรแกรม
ฮิสโทรแกรม คือแผนภูมิแท่งแสดงความถี่ของข้อมูลในแต่ละอันตรภาคชั้น ซึ่งแท่งสี่เหลี่ยมมุมฉากแต่ละแท่ง
เรียงชิดกันโดยมีความกว้างของแท่งสีเ่ หลี่ยมเหลี่ยมมุมฉากเท่ากับความกว้างของอันตรภาคชั้น จุดเชื่อต่อของแท่ง
จะเป็นขอบล่างและขอบบนของแต่ละอันตรภาคชั้น

ตัวอย่างที่ 2 จงสร้างฮิสโทรแกรมของตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 40 คน
ในตัวอย่างที่ 1

8. การนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภาพต้น-ใบ
เป็นการน้าเสนอข้อมูลที่คล้ายคลึงกับแผนภูมิแท่งและฮิสโทรแกรม แต่จะให้รายละเอียดมากกว่าเนื่องจากน้า
ค่าที่แท้จริงของข้อมูลมาพล็อต นอกจากนี้ยงั ทราบความถี่หรือจ้านวนของข้อมูลแต่ละค่า และเห็นการกระจายของ
ค่าข้อมูล
ตัวอย่างที่ 3 ข้อมูลอายุของคนทีเ่ ป็นมะเร็งล้าไส้ใหญ่เป็นดังนี้
51 56 41 45 51 55 52 53 49 78 82 56 69 87 65 61
60 73 74 65 64 68 70 45 79 70 81 73 68 80 63 64
แบ่งอายุเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้
กลุ่มที่ 1 อายุตั้งแต่ 40-49 ปี มีดังนี้ 41 45 45 49
กลุ่มที่ 2 อายุตั้งแต่ 50-59 ปี มีดังนี้ 51 51 52 53 55 56 56
กลุ่มที่ 3 อายุตั้งแต่ 60-69 ปี มีดังนี้ 60 61 63 64 64 65 65 68 68 69
กลุ่มที่ 4 อายุตั้งแต่ 70-79 ปี มีดังนี้ 70 70 73 73 74 78 79
กลุ่มที่ 5 อายุตั้งแต่ 80-89 ปี มีดังนี้ 80 81 82 87
Page 7 of 20
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เขียนแผนภาพต้น-ใบได้ดังนี้
ต้น ใบ
4 1 5 5 9
5 1 1 2 3 5 6 6
6 0 1 3 4 4 5 5 8 8 9
7 0 0 3 3 4 8 9
8 0 1 2 7
จากแผนภาพต้น-ใบ เราสามารถสรุปได้ว่าผู้มอี ายุน้อยสุดในบรรดาผู้ทเี่ ป็นมะเร็งล้าไส้ใหญ่คือ 41 ปี และ
ผู้ที่มีอายุมากทีส่ ุดคือ 87 ปี ผู้ที่เป็นมะเร็งล้าไส้ใหญ่ส่วนใหญ่จะเกาะกลุม่ ในช่วงอายุ 60-69 ปี

การเปรียบเทียบแผนภาพต้น-ใบ กับโค้งปกติ
เมื่อแจกแจงความถี่ของข้อมูลด้วยแผนภาพต้น-ใบแล้วจะเห็นภาพกระจายของข้อมูล
การเปรียบเทียบภาพการกระจายของข้อมูลกับเส้นโค้งปกติจะเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจเลือกใช้ค่ากลางได้
อย่างเหมาะสม
เส้นโค้งปกติ คือ เส้นโค้งทีมลี ักษณะเป็นรูประฆังคว่้าแบบสมมาตร ไม่มลี ักษณะเบ้ไปข้างใด
ข้างหนึ่ง

เส้นโค้งปกติ

เส้นโค้งเบ้ขวา เส้นโค้งเบ้ซ้าย

Page 8 of 20
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ข้อมูลทีม่ ีภาพการกระจายของข้อมูลคล้ายกับเส้นโค้งปกติหรือรูประฆังคว่้าแบบสมมาตร เรียกว่าข้อมูลที่มีการ
แจกแจงปกติ ข้อมูลที่มีการแจกแจงในลักษณะนี้จะมีค่าเฉลีย่ เลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม เป็นค่าเดียวกัน
ดังนั้นจะวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต หรือหาค่ามัธยฐาน หรือหาค่าฐานนิยม ค่าใดค่าหนึ่งก็ได้
ข้อมูลที่มีภาพการกระจายของข้อมูลเป็นลักษณะเส้นโค้งเบ้ซ้าย หรือเบ้ขวา ควรวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหา
ค่ามัธยฐาน
ตัวอย่างที่ 4 แผนภาพต้น-ใบข้อมูลอายุผู้ป่วยเป็นมะเร็งล้าไส้ใหญ่ เป็นดังนี้
ต้น ใบ
4 1 6 7
5 2 3 3 4 5 6 9
6 0 1 3 4 5 5 5 8 8 9
7 1 2 2 3 4 9 9
8 0 1 2 8
วาดภาพการกระจายของข้อมูลให้ชัดเจน โดยลากเส้นโค้งตามแนวความถี่ของข้อมูลดังนี้
ต้น ใบ
4 1 6 7
5 2 3 3 4 5 6 9
6 0 1 3 4 5 5 5 8 8 9
7 1 2 2 3 4 9 9
8 0 1 2 8

จากภาพจะเห็นว่า เส้นโค้งที่เกิดขึ้นมีลักษณะคล้ายกับรูประฆังคว่้าแบบสมมาตร แสดงว่าข้อมูลชุดนี้ข้อมูลมี


การแจกแจงปกติ ข้อมูลในลักษณะนีจ้ ะมีค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม เป็นค่าเดียวกัน ดังนั้นจะ
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าใดค่าหนึ่งก็ได้
ตัวอย่างที่ 5 แผนภาพต้น-ใบข้อมูลอายุผปู้ ่วยเป็นเบาหวาน เป็นดังนี้
ต้น ใบ
4 1 5
5 1 1 2 3
6 0 1 3 4 5 6 7
7 0 1 2 3 4 5 6 7 8
8 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

Page 9 of 20
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

วาดภาพการกระจายของข้อมูลให้ชัดเจน โดยลากเส้นโค้งตามแนวความถี่ของข้อมูลดังนี้
ต้น ใบ
4 1 5
5 1 1 2 3
6 0 1 3 4 5 6 7
7 0 1 2 3 4 5 6 7 8
8 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

จากภาพจะเห็นว่า เส้นโค้งทีเ่ กิดขึ้นมีลักษณะคล้ายกับเส้นโค้งเบ้ซ้าย ดังนั้นควรวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหา


ค่ามัธยฐาน
ตัวอย่างที่ 6 แผนภาพต้น-ใบข้อมูลอายุผู้ที่มาออกก้าลังกายในสวนสาธารณะแห่งหนึง่ เป็นดังนี้
ต้น ใบ
1 7 7 7
2 5 5 6 6 6 5 6
3 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2
6 0
7 0

จากแผนภาพต้น-ใบ จะเห็นว่าข้อมูลมีค่าทีซ่ ้ากันมากผิดปกติ คือ อายุ 32 ปี ดังนั้นข้อมูลลักษณะนี้ควรวิเคราะห์


ข้อมูลโดยการ หาค่าฐานนิยม

1.4 การวิเคราะห์ข้อมูล
การหาค่ากลางของข้อมูล คือการหาตัวแทนของข้อมูลทั้งหมด เพื่อสะดวกในการสรุปเรื่องราวที่เกี่ยวกับ
ข้อมูลนั้นๆ ได้มากขึ้น การหาค่ากลางสามารถหาได้หลายวิธี แต่ละวิธีจะมีทั้งข้อดีและข้อจ้ากัด ทัง้ นี้ขึ้นอยู่กับ
ลักษณะของข้อมูล
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เป็นจ้านวนที่ได้จากการหารผลบวกของข้อมูลทัง้ หมดด้วยจ้านวนข้อมูล ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
เหมาะที่จะน้ามาใช้เป็นค่ากลางของข้อมูล เมื่อข้อมูลนั้นๆ ไม่มีค่าใดค่าหนึ่งหรือหลาย ๆค่า ซึ่งสูงหรือต่้ากว่า
ค่าอื่นๆ อย่างผิดปกติ
ค่ามัธยฐาน คือค่าของข้อมูลที่มีต้าแหน่งอยู่ตรงกึ่งกลางเมือ่ ได้จัดเรียงข้อมูลทั้งหมดตามล้าดับจากน้อยไปมาก
หรือมากไปน้อยแล้ว ค่ามัธยฐานเหมาะที่จะน้ามาใช้เป็นค่ากลางของข้อมูลเมือ่ ข้อมูลนั้นมีค่าใดค่าหนึ่งหรือหลาย ๆ
ค่า ซึ่งสูงหรือต่้ากว่าค่าอื่นๆ อย่างผิดปกติ
Page 10 of 20
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ฐานนิยม คือ ค่าของข้อมูลทีม่ ีความถี่สูงสุดในข้อมูลชุดนั้นค่าฐานนิยมเหมาะทีจ่ ะน้ามาใช้เป็นค่ากลางของข้อมูล
ที่มีค่าซ้้ากันมากๆจนผิดปกติ
ตัวอย่างที่ 7 คะแนนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 10 คน เป็นดังนี้ 72 , 82, 90, 91, 85, 71, 77, 87, 89
และ 89 จงหาคะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนกลุม่ นี้

(72 + 82 + 90 + 91 + 85 + 71+ 77+ 87 + 89 + 89)


ค่าเฉลี่ยเลขคณิต =
10
= 833
10
= 83.3
นั่นคือ คะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มนี้คือ 83.3 คะแนน

ค่ามัธยฐาน คือ ค่าของข้อมูลทีม่ ีต้าแหน่งอยู่ตรงกึ่งกลางเมื่อได้จัดเรียงข้อมูลทัง้ หมดตามล้าดับจากน้อยไปมาก


หรือมากไปน้อยแล้ว ค่ามัธยฐานเหมาะที่จะน้ามาใช้เป็นค่ากลางของข้อมูลเมือ่ ข้อมูลนั้นมีค่าใดค่าหนึ่งหรือหลาย ๆ
ค่า ซึ่งสูงหรือต่้ากว่าค่าอื่นๆ อย่างผิดปกติ
ตัวอย่างที่ 8 จากการสอบถามนักเรียน 6 คน พบว่านักเรียนได้รับเงินมาโรงเรียนในแต่ละวันเป็นดังนี้
120, 135, 150, 200, 100, 2000 จงหาค่ามัธยฐานจ้านวนเงินที่นักเรียนกลุ่มนี้ได้รับในแต่ละวัน
วิธีคิด 1. เรียงข้อมูลจากน้อยไปมากดังนี้ 100, 120, 135, 150, 200, 2000
ต้าแหน่งตรงกลาง

2. ต้าแหน่งตรงกลางมี 2 ต้าแหน่ง คือ ต้าแหน่งที่ 3 และต้าแหน่งที่ 4


ดังนั้น ค่ามัธยฐาน คือ 135 + 150 = 142.5
2
ตัวอย่างที่ 9 จากการสอบถามนักเรียน 5 คน พบว่านักเรียนได้รับเงินมาโรงเรียนในแต่ละวันเป็นดังนี้
120, 150, 200, 100, 2000 จงหาค่ามัธยฐานจ้านวนเงินที่นักเรียนกลุ่มนี้ได้รบั ในแต่ละวัน
วิธีคิด 1. เรียงข้อมูลจากน้อยไปมากดังนี้ 100, 120, 150, 200, 2000
2. ต้าแหน่งตรงกลางคือ ต้าแหน่งที่ 3 ดังนั้น ค่ามัธยฐาน คือ 150

ค่าฐานนิยม คือ ค่าของข้อมูลที่มีความถี่สงู สุดในข้อมูลชุดนัน้ ค่าฐานนิยมเหมาะที่จะน้ามาใช้เป็นค่ากลางของ


ข้อมูลทีม่ ีค่าซ้้ากันมากๆจนผิดปกติ

Page 11 of 20
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ตัวอย่างที่ 10 จากการส้ารวจเบอร์รองเท้าของนักเรียน 7 คน เป็นดังนี้


ชื่อ จูน แวนด้า จีบีม แนส น้้าหวาน แองจี้ อัญอัญ
เบอร์รองเท้า 6 6 4 5 5 6 6

จงหาฐานนิยมของเบอร์รองเท้านักเรียนกลุ่มนี้
วิธีคิด ฐานนิยมของเบอร์รองเท้านักเรียนกลุม่ นี้ คือ 6 เพราะมีนักเรียนที่ใส่รองเท้าเบอร์ 6 จ้านวน มากที่สุด
คือ 4 คน
ตัวอย่างที่ 11 จากการส้ารวจเบอร์รองเท้าของนักเรียน 7 คน เป็นดังนี้
ชื่อ ข้าว ฟ้า ลิ่ว มุก นุ่น แครอท อ้น
เบอร์รองเท้า 6 6 4 4 5 4 6

จงหาฐานนิยมของเบอร์รองเท้านักเรียนกลุ่มนี้
วิธีคิด ฐานนิยมของเบอร์รองเท้านักเรียนกลุม่ นี้มี 2 ค่า คือ 6 และ 4 เพราะมีนกั เรียนที่ใส่รองเท้าเบอร์ 6 และ
เบอร์ 4 จ้านวน 2 คนเท่ากัน
ตัวอย่างที่ 12 จากการส้ารวจเบอร์รองเท้าของนักเรียน 6 คน เป็นดังนี้
ชื่อ ปิ่น ไข่ น้้า หอม นัท พาย
เบอร์รองเท้า 6 6 4 4 5 5

จงหาฐานนิยมของเบอร์รองเท้านักเรียนกลุ่มนี้
วิธีคิด ข้อมูลชุดนี้ ไม่มีฐานนิยม เนื่องจากข้อมูลแต่ละค่ามีความถี่เท่ากันหมด

Page 12 of 20
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกหัด

1. คะแนนสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียน 50 คนเป็นดังนี้ (100 คะแนน)


68 84 75 82 68 91 61 89 75 93
73 79 87 77 60 92 70 58 82 75
61 65 74 86 72 62 90 78 63 72
96 78 89 61 75 95 60 79 85 71
65 80 73 57 88 63 62 76 54 74
จงสร้างตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียน 50 คน
จงสร้างฮิสโทรแกรมของตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียน 50 คน
1. ก้าหนดจ้านวนชั้นเท่ากับ 5
2. ค้านวณหาพิสัย
พิสัย เท่ากับ …………………………………………….
3. ค้านวณหาความกว้างของอันตรภาคชั้น
ความกว้างอันตรภาคชั้น เท่ากับ …………………………………………….
4. ค้านวณหาขอบล่างของอันตรภาคชั้นแรก
………………………………………………………………………………………………………

ตารางที่ 1 ตารางแจกแจงความถี่คะแนนสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียน 50 คน

คะแนน รอยขีด ความถี่ ขอบล่าง ขอบบน ค่ากึ่งกลาง ความถี่ ความถี่ ความถี่สะสม


ชั้น สะสม สัมพัทธ์ สัมพัทธ์

รวม

Page 13 of 20
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ฮิสโทรแกรมของตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียน 50 คน

2. จงสร้างแผนภาพต้น-.ใบ แสดงข้อมูลคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ ของนักเรียน 36 คน เป็นดังนี้


56 83 75 92 70 91 38 33 42 51 55 75 38 57 85 93 60 82
71 40 72 49 53 41 86 89 51 96 66 92 55 48 85 85 54 75
แบ่งคะแนนเป็น 7 กลุ่ม ดังนี้
กลุ่มที่ 1 คะแนนตั้งแต่ 30-39 คะแนน มีดังนี้………………………………………………………
กลุ่มที่ 2 คะแนนตั้งแต่ 40-49 คะแนน มีดังนี้……………………………………………………….
กลุ่มที่ 3 คะแนนตั้งแต่ 50-59 คะแนน มีดังนี้………………………………………………………
กลุ่มที่ 4 คะแนนตั้งแต่ 60-69 คะแนน มีดังนี้………………………………………………………
กลุ่มที่ 5 คะแนนตั้งแต่ 70-79 คะแนน มีดังนี้………………………………………………………
กลุ่มที่ 6 คะแนนตั้งแต่ 80-89 คะแนน มีดังนี้……………………………………………………
กลุ่มที่ 7 คะแนนตั้งแต่ 90-99 คะแนน มีดังนี้……………………………………………………
แผนภาพต้น-.ใบข้อมูลคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 36 คน เป็นดังนี้
ต้น ใบ
3 …………………………………………………………………
4 …………………………………………………………………
5 …………………………………………………………………
6 …………………………………………………………………
7 …………………………………………………………………
8 …………………………………………………………………
9 …………………………………………………………………

Page 14 of 20
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

จากแผนภาพต้นใบ สรุปได้ว่า………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
3. จงวิเคราะห์แผนภาพต้น-ใบดังต่อไปนี้ เพื่อสรุปลักษณะของข้อมูล
แผนภาพต้นใบ ข้อมูลคะแนนสอบวิชาภาษาไทย เป็นดังนี้
ต้น ใบ
4 0
5 3 5 8 9 9 9
6 0 1 3 3 4 4 5 5 8 8 9
7 1
8 0 0 0

จากแผนภาพต้นใบ สรุปได้ว่า………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
4. จากการส้ารวจปริมาณการใช้ไฟฟ้า (หน่วย) ในห้องเรียนประจ้าของนักเรียนชั้นม.2/7 ประจ้าเดือน มิถุนายน
พ.ศ. 2561”เป็นดังนี้
59 60 58 54 55 57 58 61 65 57 55 56 62 70 75
82 92 95 100 101 102 79 80 61 69 77 70 80 59 60
4.1 จงสร้างแผนภาพต้น-ใบ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4.2 จากแผนภาพต้นใบ สรุปได้ว่า……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
5. จากการส้ารวจน้้าหนักของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จ้านวน 7 คน เป็นดังนี้

ชื่อ จีบีม น้้าหวาน แวนด้า จูน กวางตุ้ง มาย เนตร


น้้าหนัก (กก.) 28 25 23 26 35 28 100

Page 15 of 20
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
5.1 จงหาน้้าหนักเฉลี่ยของนักเรียนกลุ่มนี้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5.2 จงหาค่ามัธยฐานของน้้าหนักนักเรียนกลุ่มนี้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5.3 จงหาค่าฐานนิยมของน้้าหนักนักเรียนกลุม่ นี้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5.4 ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับค่ากลางที่เหมาะสมกับข้อมูลน้า้ หนักของนักเรียนกลุม่ นี้แล้วเขียนอธิบายให้ชัดเจนว่า
ค่ากลางดังกล่าวเหมาะสมอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. จากการส้ารวจน้้าหนักของนักเรียนกลุ่มหนึ่ง 8 คน เป็นดังนี้
ชื่อ จีบีม น้้าหวาน แวนด้า จูน กวางตุ้ง มาย แนส เนตร
น้้าหนัก (กก.) 28 54 53 56 55 65 57 52

6.1 จงหาน้้าหนักเฉลี่ยของนักเรียนกลุม่ นี้


………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6.2 จงหาค่ามัธยฐานของน้้าหนักนักเรียนกลุ่มนี้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6.3 จงหาค่าฐานนิยมของน้้าหนักนักเรียนกลุม่ นี้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6.5 ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับค่ากลางที่เหมาะสมกับข้อมูลน้า้ หนักของนักเรียนกลุม่ นี้แล้วเขียนอธิบายให้ชัดเจนว่า
ค่ากลางดังกล่าวเหมาะสมอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
Page 16 of 20
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบเรื่อง สถิติ

1. ถ้าต้องการน้าเสนอข้อมูลปริมาณการส่งออกกล้วยไม้ของประเทศไทยเป็นรายเดือนในช่วงปีพ.ศ. 2560-2561
เพื่อให้เห็นความเคลื่อนไหวอย่างชัดเจน ควรน้าเสนอข้อมูลในรูปแบบใดจึงจะเหมาะสมทีส่ ุด
1. แผนภูมิแท่ง 2. แผนภูมิวงกลม 3. กราฟเส้น 4. ตาราง

2. จากข้อมูล 5, 6, 7, 7, 7, 8, 9, 10, 10 จะได้ข้อใดถูกต้อง


1. มัธยฐานเท่ากับฐานนิยม
2. มัธยฐานเท่ากับค่าเฉลี่ยเลขคณิต
3. ฐานนิยมเท่ากับค่าเฉลี่ยเลขคณิต
4. มัธยฐาน ฐานนิยม และค่าเฉลี่ยเลขคณิต เท่ากัน

3. สอบถามอายุของนักเรียนกลุม่ หนึง่ เป็นดังนี้ 14, 16, 15, 14, 16, 17, 14, 15, 18
ข้อใดถูกต้อง
1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตหาอายุกลุม่ นี้คือ15.5
2. มัธยฐานของอายุกลุม่ นี้คือ17
3. ฐานนิยมของอายุกลุ่มนี้ คือ 14, 15, 16
4. มัธยฐานมากกว่าฐานนิยมแต่น้อยกว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิต

พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้
ก 70, 72, 72, 76, 79, 77, 65, 81, 81, และ 8,923
ข 41.4, 38.5, 40.1, 37.3, 38.7, 35.2, 43.9, และ 39.3

4. ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1. ก มีมัธยฐานเท่ากับ 78 2. ข มีมัธยฐานเท่ากับ 38.3
3. ก ควรใช้ค่ากลางแบบฐานนิยม 4. ข ควรใช้ค่ากลางแบบค่าเฉลี่ยเลขคณิต

5. ข้อมูลชุดใดต่อไปนี้ควรใช้ค่ากลางแบบค่าเฉลี่ยเลขคณิต
1. 2, 2, 2, 2, 2, 2, 16, 18, 21, และ 28
2. 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 18, 18, 18, และ 200
3. 15, 18, 11, 11, 12, 13, 14, 16, และ 17
4. 15, 18, 17, 20, 21, 16, 18, 22, และ 89

Page 17 of 20
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
6. คะแนนสอบของนักเรียน 10 คน ดังนี้ 20, 25, 27, 25, 25, 27,27, 28, 29 และ 28 ถ้าคะแนนเต็ม 30
ข้อใดถูกต้อง
1. ควรใช้ค่ากลางมัธยฐาน 27 2. ควรใช้ค่าลางฐานนิยม 25
3. ควรใช้ค่ากลางมัธยฐาน 25 4. ควรใช้ค่ากลางฐานนิยม 27

7. ส้ารวจราคาเสื้อนักเรียนโดยสุ่ม 6 ร้านค้าดังนี้ 180, 180, 180, 185, 190 และ 250 ข้อมูลนี้ควรใช้ค่ากลางใด
1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตคือ 194.17 2. ฐานนิยม คือ 180
3. มัธยฐาน คือ 182.5 4. ไม่มีค่ากลางที่เหมาะสม
แผนภาพต้น-ใบ แสดงจ้านวนผู้ยื่นค้าขอรับเงินประกันภายในเวลา 16 วันเป็นดังนี้
ต้น ใบ
1 0 1 1 2 4
2 2 5 6
3 2 3 3 8
4 0 1 9 9
จงตอบค้าถามข้อ 8-9
8. จากแผนภาพต้น-ใบ ข้างต้น มัธยฐานของข้อมูลชุดนี้ตรงกับข้อใด
1. 26 2. 29 3. 32 4. 33

9. ข้อมูลชุดนี้ควรใช้ค่ากลางแบบใด
1. มัธยฐาน 2. ฐานนิยม
3. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 4. ฐานนิยม และมัธยฐาน

แผนภาพต้น-ใบ แสดงจ้านวนยอดขายประกันภัยในเวลาหนึง่ เดือนของผู้ขายรายหนึ่ง เป็นดังนี้


ต้น ใบ
2 0 0 3 5 8
3 1 4 4 6 7 7 7
4 3 3 8 9 9 9 9
5 2 2 2 2 2 2 2 2 2
6 3 5
จงตอบค้าถามข้อ 10-11

Page 18 of 20
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
10. ข้อมูลชุดนี้ควรใช้ค่ากลางแบบใด
1. มัธยฐาน 2. ฐานนิยม
3. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 4. ค่าเฉลีย่ เลขคณิต และมัธยฐาน

พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก ข้อมูลชุดนี้มีการแจกแจงแบบปกติ ข มัธยฐานข้อมูลชุดนี้เท่ากับ 42.9

11. ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด
3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด

12. ข้อมูลชุดหนึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 20 มัธยฐานเท่ากับ 25 และฐานนิยมเท่ากับ 30


ข้อสรุปใดถูกต้อง
1. ลักษณะการกระจายของข้อมูลเป็นการกระจายที่เบ้ทางซ้าย
2. ลักษณะการกระจายของข้อมูลเป็นการกระจายที่เบ้ทางขวา
3. ลักษณะการกระจายของข้อมูลเป็นการกระจายแบบสมมาตร
4. ไม่สามารถสรุปลักษณะการกระจายของข้อมูลได้

13. ส้าหรับข้อมูลเชิงปริมาณใดๆ ทีม่ ีค่าสถิติต่อไปนี้ ค่าสถิตใิ ดจะตรงกับค่าข้อมูลค่าหนึง่ เสมอ


1. พิสัย 2. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 3. มัธยฐาน 4. ฐานนิยม

ข้อมูลชุดหนึง่ มีบางส่วนถูกน้าเสนอในตารางต่อไปนี้
อันตรภาคชั้น ความถี่ ความถี่สะสม ความถี่สัมพัทธ์
2-6
7-11 11 0.2
12-16 14
17-21 6 0.3

14. ช่วงคะแนนใดเป็นช่วงที่มีความถี่สูงสุด
1. 2-6 2. 7-11 3. 12-16 4. 17-21

Page 19 of 20
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ข้อมูลชุดหนึง่ เรียงค่าจากน้อยไปมาก ดังนี้
1, 1, 1, a, 4, 4, 5, 6, 8, 10, b

15. ถ้าฐานนิยมมีค่าเดียว และค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 5 แล้ว b – a จะมีค่าทีเ่ ป็นจ้านวนเต็มที่ต่้าที่สุด


เท่ากับข้อใด
1. 7 2. 8 3. 9 4. 10

คะแนนชุดหนึ่ง เรียงตามล้าดับค่าได้ดังนี้
2, 4, 4, 5, 5, y, 8, 8, 10

16. คะแนนชุดนี้มีฐานนิยมค่าเดียว ถ้ามัธยฐานมีค่าน้อยกว่าฐานนิยม แล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้


เท่ากับข้อใด
1. 4.2 2. 5.1 3. 6.0 4. 6.8

17. ค่าเฉลี่ยอายุครูในโรงเรียนชายล้วนแห่งหนึ่งเป็น 40 ปี ถ้าอายุโดยเฉลี่ยของครูหญิงเป็น 35 ปี และอายุเฉลี่ย


ของครูชายเป็น 50 ปี อัตราส่วนของจ้านวนครูหญิงต่อจ้านวนครูชายเป็นเท่าใด
1. 4 : 3 2. 3 : 2 3. 3 : 1 4. 2 : 1

18. ก้าหนดให้ข้อมูลชุดหนึ่งคือ 10, 3, x, 6, 6 ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้ มีค่าเท่ากับมัธยฐาน แล้ว x


มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 2. 4 3. 5 4. 6

19. ข้อมูลชุดหนึ่งมี 4 จ้านวน มีค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยม เป็น 25, 26 และ 30 ตามล้าดับ
จงหาข้อมูลจ้านวนที่มีค่าน้อยที่สุด
1. 16 2. 18 3. 20 4. 22

20. ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนนักเรียน 2 ห้องเป็น 21 คะแนน โดยห้อง ก มีนักเรียน 40 คน


ได้คะแนนเฉลี่ย 18 คะแนน ส่วนห้อง ข ได้คะแนนเฉลีย่ 25 คะแนน อยากทราบว่า ห้อง ข มีนักเรียนกี่คน
1. 45 คน 2. 35 คน 3. 30 คน 4. 25 คน

Page 20 of 20

You might also like