You are on page 1of 32

การอบรมการใช้ โปรแกรม Autodesk AutoCAD Civil 3D 2011

1. เริ่มการใช้ งานแบบง่ ายที่สุด


a. เปิ ดไฟล์ต้นแบบ (Template) ซึง่ จะมีการ set ค่าต่าง ๆ มาให้ แล้ วซึง่ เป็ นค่า Default ของโปรแกรม
i. เลือก New แล้ วเกิด Dialog ขึ ้นมา ให้ เลือกชนิดของไฟล์ (File Type) เป็ น *.dwt
ii. เลือกไฟล์ AutoCAD Civil 3D (Metric) NCS.dwt

iii. แล้ วกด Enter.

Tips? 1. เมื่อเปิ ดโปรแกรมมาแล้ วแถบบรรทัด command หายไป ให้ แก้ โดย กดปุ่ ม Ctrl+9 (เลขเก้ า ที่อยูบ่ น
แป้น (ตัว ต. เต่า)

2. กรณีใช้ งานแล้ วโปรแกรมแฮ้ งค์ (Fatal Error) เมื่อเปิ ดโปรแกรมใช้ งานใหม่แล้ วใช้ คาสัง่ Open…
หรื อ Save… แล้ ว Dialog box ไม่แสดง ให้ แก้ โดย พิมพ์คาสัง่ ที่ command line: filedia กด Enter
แล้ วกด 1

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


2. รูปแบบหน้ าตาของโปแกรม และการใช้ งาน

เนื่องจากโปรแกรม Civil 3D 2011 นันมี


้ คาสัง่ มาก จึงได้ รวมคาสัง่ เข้ าเป็ นชุดหลักๆ เพื่อให้ งา่ ยต่อการใช้ งาน
โดยโปรแกรมจะรวมคาสัง่ ในการกาหนดค่าต่าง ๆ ไว้ ใน Toolspace ซึง่ จะมีแบ่งเป็ นกลุม่ ไว้ ดงั นี ้

Prospector: เป็ นชุดการกาหนดค่าหลักของโปรเจ็กที่เราทางาน เช่นชื่อ drawing, point, surface, ชื่อ site

ฯลฯ

Setting: เป็ นคาสัง่ ในการกาหนดค่าต่าง ๆ ของรู ปแบบของ point stile, การกาหนด scale (มีผลเฉพาะ label เท่านัน)

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


Survey : เป็ นชุดใช้ งานเกี่ยวกับการกาหนดใช้ งานด้ าน Survey การรังวัดสารวจต่าง ๆ

Toolbox: เป็ นส่วนของเครื่ องมือในการทารายงาน การจัดการเกี่ยวกับการพิมพ์ตา่ งๆ

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


3. การตัง้ ค่ าการทางาน (Drawing Setting)

3.1 การตังค่
้ า Units and Zone settings

 ให้ เลือกที่ชื่อ Drawing Name แล้ ว click ขวา แล้ ว click เลือก Edit Drawing Settings…

 เกิด Dialog box ดังรูป

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


 ให้ เลือกตังค่
้ าต่าง ๆ ตามที่ต้องการ โดยที่ในส่วนของ Zone ให้ เลือกดังรู ป

Ambient Settings เป็ นการกาหนดค่าสาหรับ label

4. การทางานเกี่ยวกับ Point

การนาเข้ าข้ อมูล Point: สามารถนาเข้ าจากไฟล์ตา่ งๆ ได้ หลายรูปแบบ เช่น Microsoft Excel: ต้ อง save

as… เป็ นแบบ *.csv หรื อเป็ นแบบ Text file ก้ อได้

วิธีการนาเข้ า

 Click เม้ าท์ที่ Home เลือก Point เลือก Point Creation Tools…

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


 เกิดชุดคาสัง่ ดังรูป

 เลือกคาสัง่ สุดท้ าย (Import Points) จะได้ Dialog ดังรูป

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


 เลือก Format ที่ต้องการ เลือกตาแหน่งเก็บไฟล์ (+) แล้ วกาหนดชื่อ Point Group เพื่อให้
ง่ายต่อการเลือกใช้ งาน ส่วน Advance options ให้ เลือกตาม default.

 ถ้ าไม่กาหนดชื่อ Point Group โปรแกรมจะตังชื


้ ่อให้ เป็ น All points ให้ อตั โนมัติ

Tips 1: สามารถเข้ าอีกทางหนึง่ โดยเลือกที่ Toolspace ทื่ชื่อ drawing ที่ทางาน click mouse ที่ points แล้ วคลิก๊ ขวา เลือก

คาสัง่ New… ก้ อจะได้ เหมือนกัน

5. การทา Point Group

 Click mouse ที่ Point Group ของ Toolspace แล้ ว click ขวา

 เลือก New

 ตังชื
้ ่อ Point Group ที่ต้องการ เลือก Point style, Point label style ดังรูป
จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.
 เลือก Tab: Include แล้ วเลือก Point ที่ตรงกับคาอธิบายของ points นัน้ ๆ ( With raw descriptions
matching. ดังรูป เช่น พิมพ์วา่ BM* หมายความว่า เลือกทุกจุดที่มีคา description ที่ขึ ้นต้ นด้ วย BM

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


Tips 2: เราสามารถเก็บไฟล์ที่เรากาหนดค่าต่าง ๆ ตามแบบฉบับของเราโดย save เป็ น Template ได้ โดยการ

1. Save ชื่องานที่ทาแล้ วเก็บไว้ (เป็ น *.dwg)

2. แล้ วทาการลบ All Object ออกให้ หมด แล้ ว save as.. เป็ น *.dwt

3. ปิ ดโปรแกรม โดยไม่ต้อง save อีก

4. เปิ ดโปรแกรมใหม่โดยเลือก Template ที่เราต้ องการ แล้ วโหลด point เข้ ามาทางานตามปกติ รูปแบบต่างๆ ก้ อจะ
เป็ นไปตามทีเ่ รา set ไว้

6. การสร้ าง point แบบ Manual (การสร้ างจุดที่แบบ)

 Click ขวาที่ Points ใน Toolspace (หรื อ Home – Points – Point Creation Tools) เกิด Tools คาสัง่

 เลือกคาสัง่ เขียน Points แบบ Manual ดังรูป

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


 โปรแกรมจะถามให้ เลือกจุดที่ต้องการ โดยให้ เอาเม้ าท์คลิก๊ ตาแหน่งที่ต้องการ

 โปรแกรมจะถามให้ ใส่ Description

 โปรแกรมจะถามให้ ใส่คา่ ระดับ (Elevation)

 โปรแกรมจะถามให้ เลือกจุดต่อไป และให้ ใส่คา่ ตามดังกล่าวข้ างต้ น

7. การดึง point แสดงพิกัด ค่ าระดับของ Point

เช่น ถ้ าเราต้ องการ List points ของจุดหรื อตาแหน่งที่เราสนใจ สามารถทาได้ (แต่ points นันต้
้ องมีการระบุชื่อกลุม่
ไว้ แล้ ว)

 คลิก๊ เม้ าท์ที่เมนู Annotate – Add Tables – Add Point Table ดังรูป

 จะเกิด Dialog box ให้ เลือกข้ อมูลดังรูป โดยให้ เลือกรูปแบบที่จะแสดง (Table style) เลือก Point
Groups ที่ต้องการ และเลือกว่าจะให้ แบ่งตารางให้ แสดงตารางละกี่แถว เป็ นต้ น

 เสร็ จแล้ วคลิก๊ OK และเลือกตาแหน่งในแบบที่ต้องการจะวาง

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


 เสร็ จแล้ วคลิก๊ OK และเลือกตาแหน่งในแบบที่ต้องการจะวาง

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


8. การดู Quick View Profile

เราสามารถทีจ่ ะดูภาพตัด (Profile) ของตาแหน่งที่สนใจได้ อย่างรวดเร็ว โดย

 สร้ างเส้ น Polyline บน Surface ในตาแหน่งที่สนใจ

 เอาเม้ าท์คลิก๊ เลือกทีเ่ ส้ นดังกล่าว แล้ ว คลิก๊ ขวา จะเกิด Shortcut ของคาสัง่ ขึ ้นมา

 ให้ เลือก Quick Profile จะมี dialog ให้ เลือก Surface ที่ต้องการ

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


 เลือกตาแหน่งวาง

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


การทางานกับ Google Earth
1. เลือกไฟล์ Drawing ที่เราต้ องการวางใน Google Earth ขึ ้นมา

2. อย่าลืมต้ อง Set zone ของพื ้นทีใ่ ห้ ตรงความเป็ นจริ งก่อน เช่นประเทศไทยอยูโ่ ซน 47 โดยกาหนด Zone ดังรูป

 เลือก Toolspace เลือกกรุ๊ป Setting

 คลิก๊ ขวาที่ชื่อไฟล์ Drawing ที่เราทางานปั จจุบนั

 เลือก Edit drawing setting

 เลือกประเทศ และโซน แล้ วคลิก๊ OK

3. เขียนวงกลมให้ ครอบคลุมพื ้นที่ทตี่ ้ องการ

4. ใช้ คาสัง่ Output – Publish to Google Earth เกิด Dialog ดังรูป

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


5. ตังชื
้ ่อทีต่ ้ องการ แล้ วคลิก๊ Next

6. เลือก Select model space entities แล้ วกด Next

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


7. กด Next (ให้ เลือก Drawing Coordinate System Transform ถ้ าไฟล์เรามีพิกดั ที่ถกู ต้ องอยูแ่ ล้ ว)

8. ให้ ใส่พิกดั ตาแหน่ง กด Next

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


9. เลือกตาแหน่งเก็บไฟล์ (*.kmz) กด Publish

10. โปรแกรม Google จะถูกเปิ ดขึ ้นมาในตาแหน่งที่เราต้ องการ

Tips-4: การเปิ ดไฟล์นามสกุล *.ECW ซึง่ เป็ นไฟล์แผนที่ Digital ต้ องเปิ ดโดยใช้ โปรแกรมช่วยอื่นๆ เช่น Mapper หรื อ
ใช้ plug-in ช่วยใน Autodesk AutoCAD คือ Raster Design ฯลฯ

Tips-5: การเลือกข้ อมูลอย่างรวดเร็ว ในกรณีที่ข้อมูลอยูก่ นั อย่างกว้ าง ๆ

 เลือก Object ที่ต้องการ แล้ วคลิก๊ ขวา เลือก Select Similar

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


Tips-6: คาสัง่ Style ของ Object นัน้ จะมีให้ เลือกแสดงเป็ นแบบ Background หรื อแบบ Design

Background หมายถึงให้ แสดงเพื่อดูเท่านันจะมี


้ สเี ทา เส้ นจาง ๆ

Design หมายถึงให้ แสดงแบบเพื่อทางานจะมีสต


ี ามแบบทีเ่ ราตังไว้

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


การออกแบบบ่ อและการคานวณ Volume
1. สร้ างรูปบ่อในพื ้นที่ๆ ต้ องการ โดยใช้ คาสัง่ Polyline ในการสร้ างรูป

2. ใส่คา่ ระดับก้ นบ่อ/ปากบ่อของบ่อที่ต้องการให้ กบั เส้ นที่สร้ าง

3. เลือก Grading Group

 คลิก๊ เม้ าท์ที่ Grading Creation Tools ดังรูป

 เกิด Dialog Grading Creation Tools ดังรูป

 เลือกที่คาสัง่ Set the Grading Group ดังรูป

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


 ตังชื
้ ่อ เลือกให้ สร้ าง Surface อัตโนมัติ เลือก Surface Style ที่ต้องการ และเลือก Volume
base surface ที่จะใช้ คานวณ Volume เทียบ ดังรู ป แล้ วกด OK

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


 เกิด Dialog ดังรูป ให้ กด OK อีกครัง้

 โปรแกรมจะสร้ าง Surface ของ pond ที่สร้ างใหม่ ดังรูป

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


4. เลือก Create Grading ดังรูป

 เลือกรูปบ่อที่สร้ าง จะเกิด Dialog box : Create Feature Lines ให้ เลือกข้ อมูล ดังรูป แล้ วกด
OK

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


จะเกิดคาสัง่ ให้ ใส่ข้อมูลที่ Command Line:

o Select the grading side หมายถึง ให้ เลือกด้ านของบ่อทีจ่ ะให้ ขยายออกทางไหน

o Apply to entire length? [Yes, No], <Yes>: ให้ เลือก Yes

o Specify distance: หมายถึงให้ เลือกระยะทางทีจ่ ะขยายบ่อออกมา

o Format [Slope/Grade]: หมายถึงให้ เลือกรูปแบบกาหนดการขยายออกมาว่าให้ เป็ นองศาหรื อเป็ น


แบบสัดส่วน ในที่นี ้ให้ เลือก Slope

o Slope [2.00:1]: ค่าปกติเป็ น 2:1 ให้ เราใส่คา่ เฉพาะตัวเลขหน้ าเท่านัน้ เช่น 1 หมายถึงเลือก 1:1
หรื อเลือก 1.5 หมายถึงเลือกให้ เป็ น 1.5:1 เป็ นต้ น

o โปรแกรมจะสร้ างรูปแบบบ่อให้ ดงั รูป

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


5. คานวณหา Volume ของบ่อ ดังนี ้

 เลือก Analyze Group – Volumes – Volumes ดังรูป

 เลือก Create new volume entry เลือก Surface ที่จะใช้ ในการคานวณดังรู ป

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


 เลือก base Surface หรื อพื ้นผิวเดิม

 เลือก Comparison หรื อพื ้นผิวบ่อที่ต้องการคานวณหา Volume

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


 ได้ ปริ มาตรที่ดงั รูปโดยอัตโนมัติ

Tips 7: การสร้ างบ่อน ้าโดยให้ ขอบเขตบ่อ Project (Drape) ลงไปบนพื ้นที่จริ ง

 สร้ างรู ปบ่อโดยใช้ Polyline และให้ close ด้ วย พร้ อมทังเปลี


้ ย่ นระดับให้ สงู กว่าระดับของพื ้นทีจ่ ริ ง

 ไปที่ Home Group เลือก Feature Line เลือก Create Feature Lines from Objects ดังรูป

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


 ให้ เลือกเส้ นรูปบ่อที่สร้ างไว้ แล้ วคลิก๊ ขวา Enter จะได้ ได้ Dialog box และให้ ใส่ชื่อ และเลือก
Conversion options ทังหมด
้ ดังรูป แล้ วกด Enter

 เกิด Dialog box ให้ ใส่คา่ ระดับที่ต้องการ หรื อเลือกพื ้นที่ผิวที่ต้องการให้ รูปบ่อไปวางบนดังรูป ในที่นี ้ให้
เลือก Surface : EG แล้ วกด Enter ดังรูป

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


 จะได้ ได้ Dialog box และใช้ คา่ default ดังรูป แล้ วกด Enter

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


 เลือก Grading Creation Tools และ set แบบ Grade to Relative Elevation ดังรูป แล้ วเลือก Create
Grading ดังรู ป

 จะได้ ได้ Dialog box และใช้ คา่ default ดังรูป แล้ วกด Enter

จะเกิดคาสัง่ ให้ ใส่ข้อมูลที่ Command Line:

o Select the grading side หมายถึง ให้ เลือกด้ านของบ่อทีจ่ ะให้ ขยายออกทางไหน

o Apply to entire length? [Yes, No], <Yes>: ให้ เลือก Yes

o Specify distance: หมายถึงให้ เลือกระยะทางทีจ่ ะขยายบ่อออกมา

o Format [Slope/Grade]: หมายถึงให้ เลือกรูปแบบกาหนดการขยายออกมาว่าให้ เป็ นองศาหรื อเป็ น


แบบสัดส่วน ในที่นี ้ให้ เลือก Slope

o Slope [2.00:1]: ค่าปกติเป็ น 2:1 ให้ เราใส่คา่ เฉพาะตัวเลขหน้ าเท่านัน้ เช่น 1 หมายถึงเลือก 1:1
หรื อเลือก 1.5 หมายถึงเลือกให้ เป็ น 1.5:1 เป็ นต้ น [ ใส่คา่ +/- หมายถึงระบุทิศทางขึ ้นหรื อลงของการขยาย
(ถ้ า + จะเหมือนกับการทาที่ทิ ้งดิน ส่วน – หมายถึงการขุดลึกลงไปเหมือนบ่อ)

o โปรแกรมจะสร้ างรูปแบบบ่อให้

o ให้ สร้ างพื ้นผิวปิ ดก้ นบ่อด้ วย โดยใช้ คาสัง่ Create Infill ดังรู ป

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


 แล้ วให้ เลือกที่พื ้นทีก่ ้ นบ่อ จะได้ พื ้นที่ปิดก้ นบ่อดังรูป

จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.


จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.
จัดทาโดย: นายเชษฐพงษ์ พุม่ เกลี ้ยง สม.446 Date: 12/05/54 15:09 น.

You might also like