You are on page 1of 23

แผนการจัดการเรียนรู้ ๑

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ นิราศภูเขาทอง เวลา ๑๓ชั่วโมง
เรื่อง การอ่านบทร้อยแก้ว เวลาเรียน ๑ ชั่วโมง
ครูผู้สอน นางสาวชลธิชา แซ่เตีย โรงเรียนราชินวิทยา
วันที่สอน.......... เดือน.................. พ.ศ. ..........

๑. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการ
ดำเนินชีวิตและมีนิสัยรักก
๒. ตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ม.๑/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง
ท ๑.๑ ม.๑/๙ มีมารยาทในการอ่าน
๓. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว ทำให้เกิดความคล้อยตามไปกับเรื่องราวหรือบทประพันธ์ที่อ่าน ดังนั้นจึงเป็น
การอ่านออกเสียงให้ถูกต้อง ชัดเจน และมีลีลาการอ่านเหมาะสมกับเนื้อเรื่อง เพื่อถ่ายทอดอารมณ์ไปสู่ผู้ฟัง ได้
ย่างถูกต้องและชัดเจน
๔. จุดประสงค์การเรียนรู้
๔.๑ อธิบายหลักการอ่านออกเสียงร้อยแก้วได้(K)
๔.๒ อ่านร้อยแก้วได้ถูกต้อง เหมาะสมกับการอ่าน(P)
๔.๓ เข้าร่วมกิจกรรมด้วยความกระตือรือร้น (A)
๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๕.๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๕.๒. ความสามารถในการคิด
๕.๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา
๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๖.๑ มีวินัย
๖.๒ ใฝ่เรียนรู้
๖.๓ มุ่งมั่นในการทำงาน
๖.๔ รักในความเป็นไทย
๗. สาระการเรียนรู้
-การอ่านออกบทร้อยแก้ว

๘. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
๘.๑ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
๘.๑.๑ ครูให้นักเรียนอ่านประโยคที่ครูจะนำสไลด์เสนอที่หน้าชั้นเรียนแต่ละประโยคและให้นักเรียน
ทุกคนอ่านประโยคที่ขึ้นเสนอที่หน้าชั้นเรียนและอ่าน แบ่งวรรคตอนให้ถูก
๘.๑.๒ ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเกมทาย”คิดก่อนอ่าน”
๘.๒ ขั้นจัดการเรียนรู้
๘.๒.๑ ครูแจกใบความรู้เรื่อง การอ่านบทร้อยแก้ว
๘.๒.๒ ครูอธิบายเนื้อหาประกอบ Power Point
๘.๒.๓ ครูให้นักเรียนนับเลข ๑ และ ๒ โดยจะแบ่งกลุ่มออกเป็น ๒ กลุ่ม
๘.๒.๔ ครูให้นักเรียนส่งตัวแทนของกลุ่มแต่ละกลุ่มออกมาเพื่อจับสลาก และรับบทความ
๘.๒.๕ ครูจะให้นักเรียนทำกิจกรรม การอ่านบทร้อยแก้ว ให้นักเรียนอ่านบทความที่ในแต่ละกลุ่มจับ
สลากได้ และทำความเข้าใจในบทความของตนเอง
๘.๒.๖ ครูจะให้นักเรียนออกมานำเสนอบทความของตนเองหน้าชั้นเรียน จะให้ทั้งกลุ่มออกมาและจะ
มีนักเรียน ๑ คนในกลุ่มเป็นคนที่อ่านบทความ
๘.๓ ขั้นสรุป
๘.๓.๑ ครูและนักเรียนสรุปองค์ความรู้เรื่องการอ่านบทร้อยแก้ว และเสนอแนะแนวทางการนำไปประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจำวัน
๘.๔ ขั้นวัดผล
วิธีประเมิน
- แบบทดสอบหลังเรียน ๑๐ ข้อ
- ให้นักเรียนทำแบบฝึกหัดเรื่อง การอ่านบทร้อยแก้ว เป็นการบ้าน
๙. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
๑. เกมทาย”คิดก่อนอ่าน”
๒. ใบความรู้เรื่อง การอ่านบทร้อยแก้ว
๓. สื่อ Power Point เรื่องการอ่านบทร้อยแก้ว
๔. บทความร้อยแก้ว
๕. แบบทดสอบท้ายบทเรียนเรื่อง การอ่านบทร้อยแก้ว
๖. แบบฝึกหัดเรื่อง การอ่านบทร้อยแก้ว

๑๐. การวัดและประเมินผล
๑. การวัดและประเมินผล
วิธีการวัดผลและประเมินผล เครื่องมือวัดผลและประเมินผล เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
๑.การทำแบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องการอ่าน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
การอ่านบทร้อยแก้ว บทร้อยแก้ว
๒.การทำแบบฝึกหัดเรื่องการอ่านบท แบบฝึกหัดเรื่องการอ่านบทร้อยแก้ว ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป
ร้อยแก้ว
๓. การประเมินผลการปฏิบัติงานกลุ่ม แบบประเมินผลการปฏิบัติงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ในระดับดี
๔. การสังเกตพฤติกรรมเข้าร่วม แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วม ผ่านเกณฑ์ระดับ ดี ขึ้นไป
กิจกรรมรายบุคคล กิจกรรมรายบุคคล
๑๑. บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
๑. ผลการจัดการเรียนรู้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๒. ปัญหา/อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๓. แนวทางแก้ไขปัญหา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ………………………………………………………........
(นางสาวชลธิชา แซ่เตีย)
…………./…………./…………
ผู้สอน

ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มของผู้บริหารสถานศึกษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ………………………………………………………........
( )
…………./…………./…………
ผู้บริหาร
ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ…………………………………..........................
( )
…………./…………./…………
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ความคิดเห็นของฝ่ายบริหารวิชาการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ…………………………………………....................
( )
…………./…………./…………
หัวหน้าฝ่ายบริหารวิชาการ

ความคิดเห็นของผู้บริหาร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ………………………………….....................
( )
…………./…………./…………
ผู้อำนวยการโรงเรียน
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
๑.เกมทาย “คิดก่อนอ่าน”
๒.สื่อ Power Point ประกอบการสอน
๓.ใบความรู้ เรื่อง การอ่านบทร้อยแก้ว
๑.เกมทาย “คิดก่อนอ่าน”
Power Point ประกอบการสอน
ใบความรู้ เรื่อง การอ่านบทร้อยแก้ว
ภาคผนวก ข
๑. แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การอ่านบทร้อยแก้ว
๒. เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
๓. แบบฝึกหัดท้ายบท
๔. เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท
๑.แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องอ่านบทร้อยแก้ว
ข้อสอบ
๑.ข้อใดไม่ใช่ความหมายของร้อยแก้ว ๖.ข้อใดสำคัญสุดในการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
ก.ข้อความที่ไม่เน้นระบบคำและโครงสร้างประโยค ก.อ่านให้เสียงดังพอสมควร
ข.ข้อความที่มีรูปแบบถูกต้องตรงตามไวยากรณ์ไทย ข.อ่านให้ถกู ต้องตามอักขรวิธี
ค.ข้อความที่ไม่มีลักษณะบังคับสัมผัส ค.มีสมาธิในการอ่าน
ง.ข้อความที่ใช้เขียนอยู่ในชีวิตประจำวัน ง.อ่านให้เป็นเสียงพูด

๒.การทำเครือ่ งหมายในบทอ่าน ถ้าใช้เครื่องหมาย / หมายความว่าอย่างไร ๗.ข้อใดเป็นการอ่านออกเสียงที่ถกู ต้อง


ก.ให้หยุดอ่าน ก.สุดาทำความเข้าใจในเรื่องที่จะอ่านอย่างถี่ถว้ น
ข.ให้สังเกตข้อความที่จะอ่านต่อไปข้างหน้า ข.สุชาศึกษาเจตนาของผู้แต่งเรื่องที่จะอ่าน
ค.เว้นวรรคเล็กน้อยเพื่อหยุดหายใจ ค.สุภาอ่านหนังสือแล้วแปลความหมายได้
ง.อ่านแบบต่อเนื่องโดยไม่หยุด ง.สุราผสมอักษรแล้วอ่านเป็นคำได้

๓.ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยในการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว ๘.ทักษะในข้อใดมีความจำเป็นสำหรับนักเรียนในการแสวงหา
ก.สายตา ความรู้เพิ่มเติม
ข.เสียง ก.การเขียน
ค.อารมณ์ ข.การอ่าน
ง.ความรู้สึก ค.การพูด
ง.การฟัง
๔.น้ำเสียงควรหนักแน่น เน้นเสียงดังกว่าเดิม อ่านกระชับสั้นห้วน ๙.ข้อใดแบ่งวรรคตอนในการอ่านโคลงสี่สุภาพได้ถูกต้องที่สุด
เป็นการใช้น้ำเสียงแสดงอารมณ์แบบใด ก.ภพนี้/มิใช่หล้า หงส์ทอง/เดียวเลย
ก.อารมณ์เศร้า ข.น้ำมิตร/แล้งโลกม้วย หมดสิ้นสุข/ศานต์
ข.อารมณ์ดี ค.กาก็เจ้า/ของครอง/ชีพด้วย
ค.อารมณ์โกรธ ง.กาก็เจ้า/ของครอง ชีพด้วย
ง.อารมณ์น้อยใจ

๕.การอ่านใส่อารมณ์ในการอ่านเป็นผลดีอย่างไร ๑๐.คำประพันธ์ในข้อใดแตกต่างจากข้ออื่น ๆ
ก.ทำให้เรื่องที่อ่านดังพอสมควร ก.กาพย์ยานี11
ข.ทำให้ผู้อ่านมีชวี ิตชีวามากยิ่งขึ้น ข.กลอนสุภาพ
ค.เปลี่ยนอารมณ์ของผูฟ้ ัง ค.โคลง
ง.ทำให้การอ่านนั้นชวนฟังยิ่งขึ้น ง.กลอนแปด
๒.เฉลยแบบทอสอบหลังเรียน
เฉลยข้อสอบ
๑.ข้อใดไม่ใช่ความหมายของร้อยแก้ว ๖.ข้อใดสำคัญสุดในการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว
ก.ข้อความที่ไม่เน้นระบบคำและโครงสร้างประโยค ก.อ่านให้เสียงดังพอสมควร
ข.ข้อความที่มีรูปแบบถูกต้องตรงตามไวยากรณ์ไทย ข.อ่านให้ถกู ต้องตามอักขรวิธี
ค.ข้อความที่ไม่มีลักษณะบังคับสัมผัส ค.มีสมาธิในการอ่าน
ง.ข้อความที่ใช้เขียนอยู่ในชีวิตประจำวัน ง.อ่านให้เป็นเสียงพูด

๒.การทำเครือ่ งหมายในบทอ่าน ถ้าใช้เครื่องหมาย / หมายความว่าอย่างไร ๗.ข้อใดเป็นการอ่านออกเสียงที่ถกู ต้อง


ก.ให้หยุดอ่าน ก.สุดาทำความเข้าใจในเรื่องที่จะอ่านอย่างถี่ถว้ น
ข.ให้สังเกตข้อความที่จะอ่านต่อไปข้างหน้า ข.สุชาศึกษาเจตนาของผู้แต่งเรื่องที่จะอ่าน
ค.เว้นวรรคเล็กน้อยเพื่อหยุดหายใจ ค.สุภาอ่านหนังสือแล้วแปลความหมายได้
ง.อ่านแบบต่อเนื่องโดยไม่หยุด ง.สุราผสมอักษรแล้วอ่านเป็นคำได้

๓.ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยในการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว ๘.ทักษะในข้อใดมีความจำเป็นสำหรับนักเรียนในการแสวงหา
ก.สายตา ความรู้เพิ่มเติม
ข.เสียง ก.การเขียน
ค.อารมณ์ ข.การอ่าน
ง.ความรู้สึก ค.การพูด
ง.การฟัง
๔.น้ำเสียงควรหนักแน่น เน้นเสียงดังกว่าเดิม อ่านกระชับสั้นห้วน ๙.ข้อใดแบ่งวรรคตอนในการอ่านโคลงสี่สุภาพได้ถูกต้องที่สุด
เป็นการใช้น้ำเสียงแสดงอารมณ์แบบใด ก.ภพนี้/มิใช่หล้า หงส์ทอง/เดียวเลย
ก.อารมณ์เศร้า ข.น้ำมิตร/แล้งโลกม้วย หมดสิ้นสุข/ศานต์
ข.อารมณ์ดี ค.กาก็เจ้า/ของครอง/ชีพด้วย
ค.อารมณ์โกรธ ง.กาก็เจ้า/ของครอง ชีพด้วย
ง.อารมณ์น้อยใจ

๕.การอ่านใส่อารมณ์ในการอ่านเป็นผลดีอย่างไร ๑๐.คำประพันธ์ในข้อใดแตกต่างจากข้ออื่น ๆ
ก.ทำให้เรื่องที่อ่านดังพอสมควร ก.กาพย์ยานี11
ข.ทำให้ผู้อ่านมีชวี ิตชีวามากยิ่งขึ้น ข.กลอนสุภาพ
ค.เปลี่ยนอารมณ์ของผูฟ้ ัง ค.โคลง
ง.ทำให้การอ่านนั้นชวนฟังยิ่งขึ้น ง.กลอนแปด
๓.แบบฝึกหัดท้ายบท
๔.เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท
ภาคผนวก ค
(แบบบันทึกผลการประเมิน)
๑. แบบบันทึกผลการประเมินคะแนนจากแบบทดสอบหลังเรียน
๒. แบบประเมินแบบฝึกหัด
๓. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานกลุ่ม
๔. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นรายบุคคล
แบบบันทึกการทำแบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ นิราศภูเขาทอง เรื่อง การอ่านบทร้อย
แก้ว
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนราชินวิทยา ตำบลเมือง อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย
วันที่สอน…………………………………………………

คะแนนที่ได้ ระดับคุณภาพ
เลขที่ ชื่อ-สกุล
(๑๐ คะแนน) ผ่าน ไม่ผ่าน





เกณฑ์การให้คะแนนและระดับคุณภาพ
ร้อยละ ๗-๑๐ หมายถึง ผ่านเกณฑ์การประเมิน
ร้อยละ ๐-๖ หมายถึง ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน
จำนวนคนที่ผ่านระดับคุณภาพ……คน
จำนวนคนที่ไม่ผ่านระดับคุณภาพ……คน

ลงชื่อ......................................................... ผู้ประเมิน
(นางสาวชลธิชา แซ่เตีย)
แบบบันทึกการทำแบบฝึกหัด
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ นิราศภูเขาทอง เรื่อง การอ่านบทร้อยแก้ว
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนราชินวิทยา ตำบลเมือง อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย
วันที่สอน…………………………………………………

ความถูกต้อง รวมคะแนน ระดับคุณภาพ


เลขที่ ชื่อ-สกุล ของชิน้ งาน (๑๐) ผ่าน ไม่ผ่าน





เกณฑ์การให้คะแนนและระดับคุณภาพ
ร้อยละ ๗-๑๐ หมายถึง ผ่านเกณฑ์การประเมิน
ร้อยละ ๐-๖ หมายถึง ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน
จำนวนคนที่ผ่านระดับคุณภาพ……..คน
จำนวนคนที่ไม่ผ่านระดับคุณภาพ……….คน

ลงชื่อ......................................................... ผู้ประเมิน
(นางสาวชลธิชา แซ่เตีย)
แบบประเมินผลการปฏิบตั ิงานกลุ่ม
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ นิราศภูเขาทอง เรื่อง การอ่านบทร้อยแก้ว
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนราชินวิทยา ตำบลเมือง อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย

วันที่สอน…………………………………………………

รายการสังเกต/ระดับคุณภาพ
มีส่วร่วม มีความกระ รับผิดชอบ ใน ทำงาน ทำงาน ตรง
เลขที่ ชื่อ ในการ ตือรือร้น ใน หน้าที่ ทีไ่ ด้รบั ร่วมกัน ต่อเวลาและมี รวม ระดับ
แสดง การทำงาน มอบหมาย อย่างเป็น คุณภาพ คะแนน คุณภาพ
ความ (๓) (๓) ระบบ (๓)
คิดเห็น (๓)
(๑๕)
(๓)







เกณฑ์การประเมิน
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
๑๓-๑๕ ดีมาก
๑๐-๑๒ ดี
๗-๘ พอใช้
๑-๖ ปรับปรุง
จำนวนคนที่ผ่านระดับบคุณภาพ…….. คน
จำนวนคนที่ไม่ผ่านระดับคุณภาพ…….คน
ลงชื่อ......................................................... ผู้ประเมิน
(นางสาวชลธิชา แซ่เตีย)
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นรายบุคคล
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ นิราศภูเขาทอง เรื่อง การอ่านบทร้อยแก้ว
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โรงเรียนราชินวิทยา ตำบลเมือง อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย

วันที่สอน…………………………………………………

รายการสังเกต/ระดับคุณภาพ
ความ ความ การตอบ ทำงานตามที่ รวม
ความตรง
รับผิดชอบใน สนใจใน คำถามใน ได้รับ ระดับ
เลขที่ ชื่อ ต่อเวลา คะแนน
กิจกรรม กิจกรรม ชั้นเรียน
(๓)
มอบหมาย คุณภาพ
(๓) (๓) (๓) (๓) (๑๕)






เกณฑ์การประเมิน
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
๑๓-๑๕ ดีมาก
๑๐-๑๒ ดี
๗-๘ พอใช้
๑-๖ ปรับปรุง
จำนวนคนที่ผ่านระดับบคุณภาพ…….คน
จำนวนคนที่ไม่ผ่านระดับคุณภาพ…….คน

ลงชื่อ..............................................ผู้ประเมิน
(นางสาวชลธิชา แซ่เตีย)
ภาคผนวก ง
(ผลงานนักเรียน)

You might also like