You are on page 1of 156

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา
พ.ศ. 2565

โดย
คณะกรรมการมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ทตี่ ิดตั้งบนหลังคา

สงวนลิขสิทธิ์

ISBN 978-616-396-058-0 พิมพ์ครั้งที่ 1


มาตรฐาน วสท. 022013-22 มีนาคม 2565
EIT Standard 022013-22 ราคา 300 บาท
ชื่องหนังสือ มาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตัง้ บนหลังคา พ.ศ. 2565
Thai Electrical Code : Solar rooftop Power Supply Installations 2022
ชื่อผูแ้ ต่ง คณะกรรมการมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทย : ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้ง บน
หลังคา ในคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสานักหอสมุดแห่งชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
มาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทย : ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา
พ.ศ. 2565 = Thai Electrical Code : Solar rooftop Power Supply Installations 2022.—พิมพ์ครัง้ ที่ 1.— กรุงเทพฯ :
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2565.
156 หนา้
1. การติดตงั้พลังงานแสงอาทิตย.์ 2. การผลิตพลงังานไฟฟ้าแสงอาทิตย์. 3. การติดตงั้เซลลแ์สงอาทิตย.์ I. ชื่อเรื่อง.
621.319
ISBN 978-616-396-058-0

พิมพ์ครัง้ ที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2565


จานวนที่พิมพ์ 2,000 เล่ม
ราคา 300 บาท
ประกาศใช้ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2565
จัดพิมพ์และจาหน่ายโดย วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
487 ซอยรามคาแหง 39 (เทพลีลา 1) แขวงพลับพลา
เขตวังทองหลาง กรุงเทพฯ 10310
โทรศัพท์ 0-2184-4600-9 โทรสาร 0-23192710-1
E-mail : eit@eit.or.th http://www.eit.or.th
พิมพ์ที่ สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย [6504-047/2,000]
ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทร 0-2218-3548-50 โทรสาร 0-2218-3551
E-mail : cuprint@hotmail.com http://www.cuprint.chula.ac.th

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2551


วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ไม่อนุญาตให้คดั ลอก ทาซา้ และดัดแปลง ส่วนใดส่วนหนึ่งของหนังสือฉบับนี ้
นอกจากได้รบั อนุญาตเป็ นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของลิขสิทธิ์เท่านัน้
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ | ก

มาตรฐานการติ ดตั้ งทางไฟฟ้ าสาหรั บประเทศไทย : ระบบการผลิ ตไฟฟ้ าจากพลัง งานแสงอาทิ ตย์ที่ติด ตั้งบน
หลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)

อธิบาย รหัสมาตรฐาน
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ได้มีการปรับกาหนดระบบรหัสมาตรฐาน โดยมี
การเพิ่มกรอบมาตรฐานในตัวเลขลาดับที่ 3 แทนประเภทของมาตรฐานเพื่อความชัดเจน และเปลี่ยนรหัสสองตัวสุดท้ายซึ่ง
แทนปี ที่จดั ทาหรือแก้ไขปรับปรุงจาก พ.ศ. เป็ น ค.ศ. เพื่อความเป็ นสากล ส่วนปี ที่พิมพ์จะแสดงไว้ในหน้ารองจากปกและหน้า
บรรณานุกรม
รหัสมาตรฐานนี้ คือ วสท. 022013-22 หมายถึง
เลข 02 แทน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
เลข 2 แทน กรอบมาตรฐาน การก่อสร้าง การติดตัง้ หรือการปฏิบตั ิงาน
กรอบมาตรฐานแบ่งเป็ น 4 ประเภท ดังนี้
เลข 1 แทน การคานวณ การออกแบบ
เลข 2 แทน การก่อสร้าง การติดตัง้ หรือการปฏิบตั ิงาน
เลข 3 แทน การอานวยการใช้ และบารุงรักษา
เลข 4 แทน ข้อกาหนดด้านวัสดุและผลิตภัณฑ์
เลข 013 แทน ลาดับที่ของมาตรฐานในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
เลข 22 แทน ปี ค.ศ. 2022 (ปี ค.ศ. ที่พิมพ์มาตรฐาน)

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
ข | สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

สารจากนายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) เป็ นสถาบันวิชาการด้านวิชาชีพวิศวกรรมที่มี
ส่วนร่วมต่อวงการวิศวกรรมในประเทศไทยและสอดคล้องกับวิศวกรรมระดับสากล นโยบายสาคัญของ วสท. ส่วนหนึ่งคือ
ส่งเสริมการจัดทาตารา คู่มือ และมาตรฐานการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมสาขาต่าง ๆ เพื่อให้เป็ นแหล่งอ้างอิงที่เชื่อถือได้ และ
นาไปใช้ประโยชน์เกิดประสิทธิผลต่อบุคคลและวงการวิศวกรรมของไทย จนปั จจุบนั ได้รับการยอมรับจากหน่วยงานราชการ
รัฐวิสาหกิจ และเอกชนทั่วไป
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทย : ระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา ฉบับ
พ.ศ. 2559 ได้เผยแพร่และใช้งานมาเป็ นระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งปั จจุบันมีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี วัสดุ อุปกรณ์ ทั้งในด้าน
ประสิทธิภาพ ความปลอดภัย และการติดตัง้ ทาง วสท. จึงเห็นควรให้มีการปรับปรุงมาตรฐานฉบับนี้ โดยได้ปรับปรุงจากฉบับ
เดิ มเป็ น ครั้ง ที่ 1 ให้มีเ นื้อ หาทันสมัย สอดคล้อ งกั บ กฎหมายและมาตรฐานที่เ กี่ ยวข้อ งในประเทศไทย รวมถึ ง การนาไป
ประยุกต์ใช้งานได้อย่างเหมาะสมตามหลักการวิศวกรรม
วสท. ขอขอบพระคุณที่ท่านปรึกษา คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทางานฯ และผูส้ นับสนุนทุกท่านไว้ ณ ที่นี้ ที่
ท่านได้เสียสละเวลาและนาประสบการณ์ ความรู ้ ความชานาญต่างๆ มาช่วยจนสามารถปรับปรุงมาตรฐานฉบับนีแ้ ล้วเสร็จ หาก
ผูใ้ ช้มาตรฐานนีม้ ีขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะประการใด โปรดแจ้งให้ทาง วสท. ทราบด้วย เพื่อจะได้ใช้เป็ นข้อมูลสาหรับการ
ปรับปรุงมาตรฐานให้มีความเหมาะสมมากยิ่งขึน้ ในโอกาสต่อไป

(ดร.ธเนศ วีระศิริ)
นายกสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ประจาปี พ.ศ. 2563 - 2565

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ | ค

บทนา
ระบบผลิตพลังไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตัง้ บนหลังคา ที่สภาวะปั จจุบนั มีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลง ทัง้ ใน
ด้านประสิทธิภาพ ความสะดวกและความปลอดภัย ทางสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า จึงเห็นควรให้มีการปรับปรุ ง มาตรฐานการติดตั้งระบบผลิตพลังไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตัง้
บนหลังคา ฉบับ พฤศจิกายน พ.ศ.2559
แม้ว่าจะมีการพัฒนาเทคโนโลยี่ของระบบผลิตพลังไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตัง้ บนหลังคา ที่แตกต่างไปจาก
ดัง้ เดิม ในการออกแบบ การติดตัง้ และการบารุงรักษาของมาตรฐานฉบับปรับปรุงนี้ ยังคงไว้ในเรื่องของความปลอดภัย ของ
ผูด้ าเนินการติดตัง้ ผูใ้ ช้งาน รวมถึงความปลอดภัยของจ้าหน้าที่ดบั เพลิง ในขณะเข้าปฏิบตั ิงานกรณีที่เกิดเพลิงไหม้
ประเด็นสาคัญของการมาตรฐานฉบับปรับปรุงนี้ ได้แก่
1 ขยายขอบเขตการเชื่อมต่ออุปกรณ์ ที่รวมถึงระบบจัดกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ไฟฟ้า (battery energy storage
system, BESS) อุปกรณ์แปลงไฟฟ้าเพือ่ ประจุและคายประจุไฟฟ้าสาหรับแบตเตอรี่
2 ขยายขอบเขต PV array ที่ติดตัง้ ใช้งานบนอาคารต้องมีค่า VOC ARRAY สูงสุด ดังนี้
– แรงดันไฟฟ้ากระแสตรงไม่เกิน 1,000 โวลต์ สาหรับอาคารที่พกั อาศัย
– แรงดันไฟฟ้ากระแสตรงไม่เกิน 1,500 โวลต์ สาหรับอาคารอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ที่พกั อาศัย
3 เพิ่มข้อบังคับการติดตัง้ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่หยุดทางานฉุกเฉิน (rapid shutdown)
มาตรฐานฉบับปรับปรุงนีย้ งั คงรายละเอียด ของการออกแบบและติดตัง้ ของอุปกรณ์ไฟฟ้าในส่วนของระบบไฟฟ้าที่เป็ น
ระบบผลิตไฟฟ้าด้านกระแสตรง สาหรับระบบไฟฟ้าด้านกระแสสลับจะต้องออกแบบและติดตั้งตามมาตรฐานการติดตั้ งทาง
ไฟฟ้าสาหรับประเทศไทย ของ วสท.
มาตรฐานฉบับนีบ้ งั คับใช้เฉพาะผูใ้ ช้ไฟเท่านัน้ มิได้บงั คับครอบคลุมการออกแบบหรือติดตัง้ ของการไฟฟ้าฯ มาตรฐาน
ฉบับนีเ้ หมาะสาหรับผูท้ ี่ได้รบั การอบรม หรือผูท้ ี่มีความรู ท้ างด้านการออกแบบหรือติดตั้งระบบไฟฟ้าเป็ นอย่างดีเท่านัน้ ผูใ้ ช้
มาตรฐานฯ ควรใช้อย่างระมัดระวังและมีวิจารณญาณ กรณีที่ไม่ม่นั ใจควรขอคาปรึกษาจากผูเ้ ชี่ยวชาญในการตัดสินใจ โดย
วสท. ไม่รบั ผิดชอบใด ๆ ที่เป็ นผลสืบเนื่องทัง้ โดยตรงหรือโดยอ้อมที่เกิดจากการเผยแพร่การใช้หรือการปฏิบตั ิตามมาตรฐานฯ
และไม่ได้รบั ประกันความถูกต้องหรือความครบถ้วนสมบูรณ์ของข้อมูลใด ๆ ในมาตรฐานฯ ฉบับนี้

คณะกรรมการปรับปรุงมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
ง | สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

คณะกรรมการอานวยการ
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ปี 2563-2565
1. ดร.ธเนศ วีระศิริ นายก
2. รศ.ดร.วัชรินทร์ กาสลัก อุปนายกคนที่ 1
3. รศ.สิริวฒั น์ ไชยชนะ อุปนายกคนที่ 2
4. นายชัชวาลย์ คุณคา้ ชู อุปนายกคนที่ 3
5. นายจีระศักดิ์ ปราชญ์โกสินทร์ เลขาธิการ
6. ดร.ทศพร ศรีเอี่ยม เหรัญญิก
7. ศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล นายทะเบียน
8. ดร.ธีรธร ธาราไชย ประธานกรรมการประชาสัมพันธ์
9. นายณัฐพล สุทธิธรรม ประธานกรรมการสิทธิและจรรยาบรรณ
10. รศ.ดร.พานิช วุฒิพฤกษ์ ประธานกรรมการโครงการและต่างประเทศ
11. รศ.ดร.อุรุยา วีสกุล กรรมการกิจกรรมพิเศษ
12. นายพิษณุ ชานาญศิลป์ กรรมการกลาง
13. นายสุวฒ ั น์ เชาว์ปรีชา ประธานวิศวกรอาวุโส
14. นางสาววรรณิษา จักภิละ ประธานวิศวกรหญิง
15. นายปกรณ์ การุณวงษ์ ประธานยุววิศวกร
16. รศ.ดร.สมิตร ส่งพิริยะกิจ ประธานสาขาวิศวกรรมโยธา
17. นายลือชัย ทองนิล ประธานสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
18. นายบุญพงษ์ กิจวัฒนาชัย ประธานสาขาวิศวกรรมเครื่องกล
19. รศ.ดร.ประจวบ กล่อมจิตร ประธานสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
20. รศ.ดร.ขวัญชัย ลีเผ่าพันธุ์ ประธานสาขาวิศวกรรมแร่โลหะการและปิ โตเลียม
21. นายเกียรติชาย ไมตรีวงศ์ ประธานสาขาวิศวกรรมเคมีและปิ โตรเคมี
22. ผศ.ยุทธนา มหัจฉริยวงศ์ ประธานสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
23. รศ.ดร.เสริมเกียรติจอมจันทร์ยอง ประธานสาขาภาคเหนือ 1
24. นายจีรวุฒิ ภูศรีโสม ประธานสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1
25. รศ.ดร.สงวน วงษ์ชวลิตกุล ประธานสาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ | จ

26. ดร.กิตติ จันทรา ประธานสาขาภาคตะวันออก 1


27. นายกรณเสฏฐ์ ปิ ติอริยะนันท์ ประธานสาขาภาคตะวันออก 2
28. นายสิทธิโชค เหลาโชติ ประธานสาขาภาคตะวันตก
29. นายธนินท์รฐั เมธีวชั รรัตน์ ประธานสาขาภาคใต้ 1
30. รศ.ดร.อุดมผล พืชไพบูลย์ ประธานสาขาภาคใต้ 2

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
ฉ | สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ปี 2563-2565
ที่ปรึกษา
1. นายกิตติ วิสทุ ธิรตั นกุล
2. นายกิตติศกั ดิ์ วรรณแก้ว
3. นายกีรพัฒน์ เจียมเศรษฐ์
4. นายเกษม กุหลาบแก้ว
5. นายเกียรติ อัชรพงศ์
6. รศ.ถาวร อมตกิตติ์
7. นายทวีป อัศวสงทอง
8. นายบุญมาก สมิทธิลลี า
9. นายบุญศักดิ์ เกียรติจรูญเลิศ
10. นายประจักษ์ กิตติรตั นวิวฒ ั น์
11. นายประดิษฐพงษ์ สุขสิริถาวรกุล
12. นายประศาสน์ จันทราทิพย์
13. รศ.ประสิทธิ์ พิทยพัฒน์
14. นายประสิทธิ์ เหมวราพรชัย
15. นายประสิทธิ์ ผิวแดง
16. นายปราการ กาญจนวตี
17. นายพงศ์ศกั ดิ์ ธรรมบวร
18. นายพรเทพ ธัญญพงศ์ชยั
19. นายพิชญะ จันทรานุวฒ ั น์
20. นายพิชิต ลายอง
21. นายไพบูลย์ อังคณากรกุล
22. นายภาณุวฒ ั น์ วงศาโรจน์
23. นายภูเธียร พงษ์พิทยาภา
24. นายยงยุทธ รัตนโอภาส
25. นายวันชัย พนมชัย
26. นายวิเชียร บุษยบัณฑูร

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ | ช

27. น.ส.ศิริพรรณ คล้ายแจ้ง


28. นายสมชาย หอมกลิ่นแก้ว
29. นายสมพงษ์ ปรีเปรม
30. นายสุกิจ เกียรติบุญศรี
31. นายสุพฒ ั น์ เพ็งมาก
32. นายสุมนต์ สัจเสถียร
33. นายเสฐี ยรพงค์ บุบผาสุวรรณ
34. ผศ.ดร.อุทยั ไชยวงค์วลิ าน
35. นายอุทิศ จันทร์เจนจบ

คณะกรรมการ
1. นายลือชัย ทองนิล ประธาน
2. นายกิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ รองประธาน 1
3. นายสุจิ คอประเสริฐ์ศกั ดิ์ รองประธาน 2
4. นายณพล วรวิทยาการ กรรมการ
5. นายธีรภพ พงษ์พิทยาภา กรรมการ
6. นายบุญถิ่น เอมย่านยาว กรรมการ
7. ดร.ประดิษฐ์ เฟื่ องฟู กรรมการ
8. นายศิวเวทย์ อัครพันธุ์ กรรมการ
9. นายสมศักดิ์ วัฒนศรีมงคล กรรมการ
10. นายสุธี ปิ่ นไพสิฐ กรรมการ
11. นายสุวิทย์ ศรีสขุ กรรมการ
12. ดร.อัศวิน ราชกรม กรรมการ
13. นายเอกชัย ประสงค์ กรรมการ
14. ดร.เตชทัต บูรณะอัศวกุล กรรมการและเลขานุการ
15. นางนพดา ธีรอัจฉริยกุล กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
ซ | สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

คณะกรรมการประจามาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ า
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ทตี่ ิดตั้งบนหลังคา
ปี 2563-2565
คณะกรรมการประจามาตรฐาน
1. นายสุจิ คอประเสริฐศักดิ์ ประธาน
2. ดร.ประดิษฐ์ เฟื่ องฟู กรรมการ
3. นายศิวเวทย์ อัครพันธุ์ กรรมการ
4. นายเกษียร สุขีโมกข์ กรรมการ
5. นายวีรุจน์ เตชะสุวรรณา กรรมการ
6. นายวุฒิกร กิตติวฒั น์ศิริกุล กรรมการ
7. นายทรงกลด อุปละ กรรมการ

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ | ฌ

คณะกรรมการปรับปรุงมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ า
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ทตี่ ิดตั้งบนหลังคา
ปี 2563-2565
ที่ปรึกษา
1. นายกิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์
2. นายชาญชัย ยุทธณรงค์
3. ดร.เตชทัต บูรณะอัศวกุล
4. รศ.ถาวร อมตกิตติ์
5. นายธนัชชัย ไชยฤทธิ์
6. นาวาตรีบญ ั ญัติ เลิศบุศราคาม
7. ดร.ประดิษฐ์ เฟื่ องฟู
8. นายปฏิภาณ กาลวิบูลย์
9. นายพโยมสฤษฏ์ ศรีพฒ ั นานนท์
10. นายรพีพล ชาญพานิชย์
11. นายลือชัย ทองนิล
12. นายสหชัย พีรพัฒน์
13. นายสุธี ปิ่ นไพสิฐ
14. นายเสนอ เกษมพรหม
15. นายอนุวตั ร อภิวฒ ั นานนท์
16. นายอรรณพ โรมา
17. ผศ.ดร.อุทยั ไชยวงศ์วิลาน
18. นายสาร์รฐั ประกอบชาติ

คณะกรรมการ
1. นายสุจิ คอประเสริฐศักดิ์ ประธาน
2. นายเกษียร สุขีโมกข์ กรรมการ
3. นายชาติชาย โสบุญ กรรมการ
4. นายโชติ ชูสวุ รรณ กรรมการ
5. นายณัฐพล ช่วงสุวนิช กรรมการ
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
ญ | สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

6. นายดิษฐพงศ์ ประพันธ์วฒ ั นะ กรรมการ


7. นายทิวา เพ็ชรรัตน์ กรรมการ
8. นางนพดา ธีรอัจฉริยกุล กรรมการ
9. นายพงศ์สนั ต์ จุลวงศ์ กรรมการ
10. ดร.ไพโรจน์ ภานุกาญจน์ กรรมการ
11. นายมนัส อรุณวัฒนาพร กรรมการ
12. ดร.สมบัติ วนิชประภา กรรมการ
13. นายสุวิทย์ ศรีสขุ กรรมการ
14. ผศ.ดร.อนวัช แสงสว่าง กรรมการ
15. นายวุฒิกร กิตติวฒั น์ศิริกุล กรรมการและเลขนุการ
16. นายณรัฐ ราชกรม ผูช้ ่วยเลขานุการและผูป้ ระสานงานวิชาการ

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ | ฎ

คณะอนุกรรมการปรับปรุงมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ า
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ทตี่ ิดตั้งบนหลังคา
ปี 2560-2562
ที่ปรึกษา
1. นายกิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์
2. ดร.เกรียงไกร สุขแสนไกรศร
3. ดร.ไกรสร อัญชลีวรพันธุ์
4. นายชาญชัย ยุทธณรงค์
5. นายชาติชาย โสบุญ
6. ดร.เตชทัต บูรณะอัศวกุล
7. รศ.ถาวร อมตกิตติ์
8. นายทิวา เพ็ชรรัตน์
9. นายธนัชชัย ไชยฤทธิ์
10. นายประกิต อัครเสรีนนท์
11. ดร.ประดิษฐ์ เฟื่ องฟู
12. นายพโยมสฤษฏ์ ศรีพฒ ั นานนท์
13. ดร.ไพโรจน์ ภานุกาญจน์
14. นายโยชัย ศศิวรรณ
15. นายรพีพล ชาญพานิชย์
16. ดร.สมบัติ วนิชประภา
17. นายสุธี ปิ่ นไพสิฐ
18. นายสุวิทย์ ศรีสขุ
19. นายเสนอ เกษมพรหม
20. นายอนุวตั ร อภิวฒ ั นานนท์
21. นายอรรณพ โรมา
22. ผศ.ดร.อุทยั ไชยวงค์วิลาน

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
ฏ | สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

คณะอนุกรรมการ
1. นายสุจิ คอประเสริฐศักดิ์ ประธาน
2. นายกิตติศกั ดิ์ วรรณแก้ว อนุกรรมการ
3. นายเกษียร สุขีโมกข์ อนุกรรมการ
4. นายโชติ ชูสวุ รรณ อนุกรรมการ
5. นายณัฐพล ช่วงสุวนิช อนุกรรมการ
6. นายดิษฐพงศ์ ประพันธ์วฒ ั นะ อนุกรรมการ
7. นางนพดา ธีรอัจฉริยกุล อนุกรรมการ
8. ผศ.ดร.นิพนธ์ เกตุจอ้ ย อนุกรรมการ
9. นายพงศ์สนั ติ์ จุลวงศ์ อนุกรรมการ
10. นายมนัส อรุณวัฒนาพร อนุกรรมการ
11. ดร.ยุทธพงศ์ ทัพผดุง อนุกรรมการ
12. รศ.ดร.สมพร สิริสาราญนุกุล อนุกรรมการ
13. ดร.สุรชัย ชัยทัศนีย ์ อนุกรรมการ
14. ผศ.ดร.อนวัช แสงสว่าง อนุกรรมการ
15. นายวุฒิกร กิตติวฒ ั น์ศิริกุล อนุกรรมการและเลขานุการ
16. นายณรัฐ ราชกรม ผูช้ ่วยเลขานุการและผูป้ ระสานงานวิชาการ

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ | ฐ

คณะอนุกรรมการมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ า
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ทตี่ ิดตั้งบนหลังคา
ปี 2557-2559
ที่ปรึกษา
1. ผศ.ประสิทธิ์ พิทยพัฒน์
2. นายลือชัย ทองนิล
3. นายสุกจิ เกียรติบุญศรี
4. นายกิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์
5. นายเกียรติ อัชรพงษ์
6. นายจิราคม ปทุมานนท์
7. รศ.ศุลี บรรจงจิตร
8. ผศ.ถาวร อมตกิตติ์
9. นายสุธี ปิ่ นไพสิฐ
10. นายสุเมธ อักษรกิตติ์
11. นายทิวา เพ็ชรรัตน์
12. นายเตชทัต บูรณะอัศวกุล
13. นายคมสหัสภพ นุตยกุล
14. ดร.ไพโรจน์ ภานุกาญจน์
15. นายสุรีย์ จรูญศักดิ์
16. นายทองคา ปิ ยธีรวงศ์
17. ผศ.ดร.อนวัช แสงสว่าง
18. นายสุเมธ เนติลดั ดานนท์

คณะอนุกรรมการ
1. ดร.ประดิษฐ์ เฟื่ องฟู ประธานอนุกรรมการ
2. นายชาญณรงค์ สอนดิษฐ์ อนุกรรมการ
3. นายธงชัย มีนวล อนุกรรมการ
4. นายกฤษณพล ดวงหอม อนุกรรมการ
5. นายกิตติศกั ดิ์ วรรณแก้ว อนุกรรมการ

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
ฑ | สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

6. ดร.ไกรสร อัญชลีวรพันธุ์ อนุกรรมการ


7. ผศ.ดร.นิพนธ์ เกตุจอ้ ย อนุกรรมการ
8. ผศ.ดร.ชาย ชมพูอินไหว อนุกรรมการ
9. นายบุญถิ่น เอมย่านยาว อนุกรรมการ
10. นายพงศ์สนั ติ์ จุลวงศ์ อนุกรรมการ
11. นายศุภกร แสงศรีธร อนุกรรมการ
12. นายมนัส อรุณวัฒนาพร อนุกรรมการ
13. รศ.ดร.สมพร สิริสาราญนุกุล อนุกรรมการ
14. ดร.สุรชัย ชัยทัศนีย ์ อนุกรรมการ
15. นางสาวนพดา ธีรอัจฉริยกุล อนุกรรมการและเลขานุการ
16. นางสาวหทัยกาญจน์ มีขา ผูช้ ่วยเลขานุการ

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ | ฒ

สารบัญ
หน้า
บทที่ 1 บทนาและเรื่องทั่วไป 1
1.1 ขอบเขต 1
1.2 วัตถุประสงค์ 1
1.3 มาตรฐานอ้างอิง 1
1.4 นิยาม 2
บทที่ 2 รูปแบบของการต่อ PV Array 9
2.1 รูปแบบของการต่อ PV Array 9
2.2 การออกแบบทางกล 20
บทที่ 3 ประเด็นด้านความปลอดภัย 23
3.1 ข้อกาหนดทั่วไป 23
3.2 การป้องกันการเกิดไฟดูด (electric shock) 23
3.3 การป้องกันกระแสเกิน 23
3.4 การป้องกันความผิดพร่องลงดิน (Protection Against Earth Faults) 28
3.5 การป้องกันผลกระทบจากฟ้าผ่าและแรงดันเกิน (Protection Against Effect of Lightning and Overvoltage) 31
บทที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ า 33
4.1 ข้อกาหนดทั่วไป 33
4.2 แรงดันสูงสุดของ PV array 33
4.3 ข้อกาหนดสาหรับส่วนประกอบ 34
4.4 ข้อกาหนดจุดติดตัง้ และวิธีการติดตัง้ 44
4.5 การทดสอบการทางานหลักการติดตัง้ (Commissioning) 52
บทที่ 5 ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ 53
5.1 ขอตเขต 53
5.2 ข้อกาหนดการติดตัง้ 54
5.3 อันตรายจากไฟฟ้า 59
5.4 อันตรายจากแก๊สระเบิด (Explosion Gas Hazard) 63
5.5 ประเด็นความปลอดภัยสาหรับระบบกักเก็บพลังงาน 68
5.6 ตัวอย่างรูปแบบการเชื่อมต่อระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรีแ่ ละระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ 69
บทที่ 6 การทาสัญลักษณ์และเอกสาร 73
6.1 การทาสัญลักษณ์ของบริภณ
ั ฑ์ 73

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
ณ | สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

หน้า
6.2 ข้อกาหนดสาหรับป้าย 73
6.3 การระบุว่ามีระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ 73
6.4 ข้อมูลสาหรับเจ้าหน้าที่ดบั เพลิง 74
6.5 ป้าย/สัญญาณสาหรับอุปกรณ์ตดั วงจร 75
6.6 เอกสาร 76
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก. การต่อลงดินและการแยกวงจรกระแสตรง 77
ภาคผนวก ข. ข้อแนะนาสาหรับการบารุงรักษา 83
ภาคผนวก ค. การทดสอบและกระบวนการทดสอบก่อนใช้งาน 87
ภาคผนวก ง. กระบวนการทดสอบก่อนใช้งาน-เพิ่มเติม 93
ภาคผนวก จ. การป้องกันผลกระทบของฟ้าผ่าและแรงดันเกิน 101
ภาคผนวก ฉ. องค์ประกอบของระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ 111
ภาคผนวก ช. การจาแนกประเภทแรงดันไฟฟ้าแบบเด็ดขาด 123
ภาคผนวก ซ. การต่อลงดินสาหรับระบบแบตเตอรี่ 125
ภาคผนวก ฌ. การออกแบบสายไฟ PV Cable 127

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ | ด

สารบัญรูป
หน้า
บทที่ 2 รูปแบบของการต่อ PV Array 9
รูปที่ 2.1 รูปแบบทั่วไปของการต่อระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ 9
รูปที่ 2.2 รูปแบบการต่อลงดินของระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ 10
รูปที่ 2.3 ไดอะแกรมของ PV array-กรณี PV string หนึ่งแถว 11
รูปที่ 2.4 ไดอะแกรมของ PV array-กรณี PV string ต่อขนานกันหลายแถว 12
รูปที่ 2.5 ไดอะแกรมของ PV array-กรณี PV string ต่อขนานกันหลายแถวโดยแบ่งเป็ น PV sub-array 13
รูปที่ 2.6 PV array ซึ่งใช้อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า กับอินพุทกระแสตรงหลายแหล่ง 15
รูปที่ 2.7 PV array ซึ่งใช้อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า กับอินพุทกระแสตรงหลายแหล่งภายใน โดยมีการต่อ
บัสกระแสตรงอันเดียวกัน 16
รูปที่ 2.8 PV string ทีใ่ ช้อุปกรณ์ปรับสภาพไฟฟ้ากระแสตรง 17
รูปที่ 2.9 PV string ทีใ่ ช้อุปกรณ์ปรับสภาพไฟฟ้ากระแสตรงไม่ครบทุกแผง 18
บทที่ 3 ประเด็นด้านความปลอดภัย 23
รูปที่ 3.1 ตัวอย่างของไดอะแกรม PV array เมื่อ PV string ถูกต่อร่วมกัน โดยใช้อุปกรณ์ปอ้ งกันกระแสเกิน
หนึ่งตัวต่อกลุ่มของ PV array 26
บทที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ า 33
รูปที่ 4.1 ตัวอย่างตาแหน่งติดตัง้ ตัวตัดวงจรของ PV array บนหลังคา 35
รูปที่ 4.2 เคเบิลตีเกลียว ตัวนาเดี่ยว พร้อมด้วยฉนวนและเปลือกหุม้ 40
รูปที่ 4.3 การใช้งานไดโอดกัน้ กระแส 43
รูปที่ 4.4 การพิจารณาการต่อลงดินของ PV array 47
รูปที่ 4.5 รูปแบบการต่อ PV array ที่ไม่มีการต่อลงดิน 48
รูปที่ 4.6 ตัวอย่างการเดินสาย PV string เพือ่ ลดพืน้ ที่วงรอบของตัวนาไฟฟ้า 51
บทที่ 5 ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ 53
รูปที่ 5.1 ข้อจากัดบริเวณสาหรับเครือ่ งใช้ที่ไม่เกี่ยวข้องกับระบบแบตเตอรี่ 55
รูปที่ 5.2 ข้อจากัดบริเวณสาหรับเครือ่ งใช้ที่ไม่เกี่ยวข้องกับระบบแบตเตอรี่ที่มีแรงดันสูงกว่า DVC-A
และผนังห้องเป็ นฉนวนไฟฟ้า 55
รูปที่ 5.3 ข้อกาหนดการป้องกันกระแสเกินสาหรับระบบแบตเตอรี่ต่อขนานกันที่จุดร่วมหนึ่ง 60
รูปที่ 5.4 ตัวอย่างสิง่ ห่อหุม้ ระบบแบตเตอรี่ที่มีช่องระบายอากาศขาเข้าและออกตรงข้ามกัน 66
รูปที่ 5.5 ตัวอย่างสิง่ ห่อหุม้ ระบบแบตเตอรี่ที่มีช่องระบายอากาศขาเข้าและออกเดียวกัน 66
รูปที่ 5.6 ข้อกาหนดการป้องกันกระแสเกินสาหรับระบบแบตเตอรี่ต่อขนานกันที่จุดร่วมหนึ่ง 69
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
ต | สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

หน้า
รูปที่ 5.7 ตัวอย่างการเชือ่ มต่อระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ทจี่ ุดร่วม AC 70
รูปที่ 5.8 ตัวอย่างการเชือ่ มต่อระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ทจี่ ุดร่วม DC 70
รูปที่ 5.9 ตัวอย่างการเชือ่ มต่อระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ทใี่ ช้ Hybrid PCE 71
รูปที่ 5.10 ตัวอย่างการเชือ่ มต่อระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรีส่ าหรับระบบ UPS 71
บทที่ 6 การทาสัญลักษณ์และเอกสาร 73
รูปที่ 6.1 สัญลักษณ์อาคารที่มีการติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ 74
รูปที่ 6.2 ตัวอย่างสัญลักษณ์สาหรับกล่องต่อสายของ PV array และกล่องต่อสายของ PV string 74
รูปที่ 6.3 ตัวอย่างป้ายแสดงข้อมูลแรงดันและกระแส 74
รูปที่ 6.4 ตัวอย่างป้ายแสดงข้อมูลสาหรับเจ้าหน้าที่ดบั เพลิง 75
รูปที่ 6.5 ตัวอย่างสัญลักษณ์ที่ติดถัดจาก PV array สาหรับอุปกรณ์ตดั วงจรกระแสตรง 75
รูปที่ 6.6 ตัวอย่างสัญลักษณ์สาหรับอุปกรณ์แยกวงจร/อุปกรณ์ตดั วงจรหลายตัว 76
รูปที่ 6.7 ตัวอย่างสัญลักษณ์สาหรับอุปกรณ์หยุดทางานฉุกเฉิน 76
ภาคผนวก ก การต่อลงดินและการแยกวงจรกระแสตรง 77
รูปที่ ก.1 รูปแบบของระบบการต่อลงดิน 77
รูปที่ ก.2 ตัวอย่างแสดงการแยกการต่อลงดินของ PV array ที่ตอ่ อยู่กับอินเวอร์เตอร์แบบแยกส่วนภายใต้
การทางานปกติและภาวะความผิดพร่องครัง้ เดียว (single fault) 79
รูปที่ ก.3 ตัวอย่างแสดง PV array ซึ่งมีการต่อลงดินเพื่อการทางานได้ผา่ นความต้านทานที่มีค่าสูงที่ต่ออยู่กับ
อินเวอร์เตอร์แบบแยกส่วน ภายใต้การทางานปกติและภาวะความผิดพร่องครัง้ เดียว 80
รูปที่ ก.4 ตัวอย่างแสดง PV array ที่มีการต่อลงดิน ที่ต่ออยู่กับอินเวอร์เตอร์แบบแยกส่วนภายใต้การทางาน
ปกติและภาวะความผิดพร่องครัง้ เดียว (single fault) 81
รูปที่ ก.5 ตัวอย่างแสดง PV array ที่ต่ออยู่กบั อินเวอร์เตอร์แบบไม่แยกส่วน 82
ภาคผนวก ค การทดสอบและกระบวนการทดสอบก่อนใช้งาน 87
รูปที่ ค.1 การต่อวงจรของสวิตช์ตดั วงจรทดสอบในการทดสอบการลัดวงจร 89
ภาคผนวก จ การป้ องกันผลกระทบของฟ้ าผ่าและแรงดันเกิน 101
รูปที่ จ.1ก ตัวอย่างการติดตัง้ SPD สาหรับอาคารที่ซอื้ ไฟฟ้าแรงต่าและติดตัง้ แผงโซลาร์ แต่ไม่มีระบบ
ป้องกันฟ้าผ่าภายนอกแต่มีระบบป้องกันฟ้าผ่าภายใน 102
รูปที่ จ.1ข ตัวอย่างการติดตัง้ SPD สาหรับอาคารที่ซอื้ ไฟฟ้าแรงต่าและติดตัง้ แผงโซลาร์ โดยมีระบบ
ป้องกันฟ้าผ่าภายนอกและระบบป้องกันฟ้าผ่าภายใน สามารถเว้นระยะแยก (S) ระหว่างแผง
กับตัวนาล่อฟ้าได้ 103

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ | ถ

หน้า
รูปที่ จ.1ค ตัวอย่างการติดตัง้ SPD สาหรับอาคารที่ซอื้ ไฟฟ้าแรงต่าและติดตัง้ แผงโซลาร์ โดยมีระบบ
ป้องกันฟ้าผ่าภายนอกและระบบป้องกันฟ้าผ่าภายใน แต่ไม่สามารถเว้นระยะแยก (S) ระหว่างแผง
กับตัวนาล่อฟ้าได้ 103
รูปที่ จ.1ง ตัวอย่างการติดตัง้ SPD สาหรับอาคารที่ซอื้ ไฟฟ้าแรงสูงและติดตัง้ แผงโซลาร์ โดยมีระบบ
ป้องกันฟ้าผ่าภายนอกและระบบป้องกันฟ้าผ่าภายใน สามารถเว้นระยะแยก (S) ระหว่าง
แผงกับตัวนาล่อฟ้าได้ 104
รูปที่ จ.1จ ตัวอย่างการติดตัง้ SPD สาหรับอาคารที่ซอื้ ไฟฟ้าแรงสูงและติดตัง้ แผงโซลาร์ โดยมีระบบ
ป้องกันฟ้าผ่าภายนอกและระบบป้องกันฟ้าผ่าภายใน แต่ไม่สามารถเว้นระยะแยก (S) ระหว่าง
แผงกับตัวนาล่อฟ้าได้ 104
รูปที่ จ.2 การติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบ extended green field พร้อมกับเสา
ป้องกันฟ้าผ่าแบบอิสระ โดยที่รกั ษาระยะการแยก “S” ไว้ 105
รูปที่ จ.3 ระบบเสาล่อฟ้าที่พิจารณาระยะการแยก “S” และเส้นเงา 105
รูปที่ จ.4 ตัวอย่างระยะห่างที่ตอ้ งการระหว่างอุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ บนด้านกระแสตรงของการติดตัง้ PV 109
ภาคผนวก ฉ องค์ประกอบของระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ 111
รูปที่ ฉ.1 รูปแบบทั่วไปขอระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ 111
รูปที่ ฉ.2 องค์ประกอบทั่วไปของระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ 113
รูปที่ ฉ.3 องค์ประกอบทั่วไปของระบบแบตเตอรี่ 114
รูปที่ ฉ.4 รูปแบบทั่วไปของระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีระบบแบตเตอรี่
ประกอบด้วยเซลล์แบตเตอรีแ่ ละไม่มีระบบบริหารจัดการแบตเตอรี่
(รูปแบบทั่วไปของระบบตะกั่วกรด) 114
รูปที่ ฉ.5 รูปแบบทั่วไปของระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีระบบแบตเตอรี่
ประกอบด้วยมอดูลแบตเตอรีล่ ิเธียมไอออน 115
รูปที่ ฉ.6 รูปแบบทั่วไปของระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีระบบแบตเตอรี่ประกอบด้วยแบตเตอรี่
ลิเธียมไอออนซึ่งมีวงจรควบคุมอยู่กับแต่ละแบตเตอรี่เชื่อมต่อกับระบบบริหารจัดการแบตเตอรี่ 116
รูปที่ ฉ.7 รูปแบบทั่วไปของระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีระบบแบตเตอรี่ประกอบด้วยมอดูลโฟลว์
แบตเตอรี่ อุปกรณ์เสริม และระบบบริหารจัดการแบตเตอรี่ 116
รูปที่ ฉ.8 แผนผังแสดงการเชือ่ มต่อสาหรับระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีหนึ่งระบบแบตเตอรี่
เชื่อมต่อกับหนึ่งอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า 118
รูปที่ ฉ.9 แผนผังแสดงการเชือ่ มต่อสาหรับระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีหลายระบบแบตเตอรี่
ต่อขนานกันเชือ่ มต่อกับหนึง่ อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า 118

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
ท | สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

หน้า
รูปที่ ฉ.10 แผนผังแสดงการเชือ่ มต่อสาหรับระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีหนึ่งระบบแบตเตอรี่
เชื่อมต่อกับหลายอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า 119
รูปที่ ฉ.11 แผนผังแสดงการเชือ่ มต่อสาหรับระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีหนึ่งระบบแบตเตอรี่
เชื่อมต่อกับหลายอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า 120
รูปที่ ฉ.12 แผนผังแสดงหลายระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ แต่ละระบบมีหนึ่งระบบแบตเตอรี่
เชื่อมต่อกับหลายอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า 121
ภาคผนวก ซ การต่อลงดินสาหรับระบบแบตเตอรี่ 125
รูปที่ ซ.1 แผนผังการติดตัง้ ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรีแ่ บบลอยต่อกับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า
แบบแยกส่วน 125

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ | ธ

สารบัญตาราง
หน้า
บทที่ 3 ประเด็นด้านความปลอดภัย 23
ตารางที่ 3.1 ค่าความเป็ นฉนวนต่าสุดระหว่าง PV array เทียบกับดิน 29
บทที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ า 33
ตารางที่ 4.1 ค่าปรับแก้แรงดันสาหรับ PV module ชนิดผลึกซิลิกอนและชนิดหลายผลึก 34
ตารางที่ 4.2 พิกัดกระแสชัน้ ต่าของวงจร 37
ตารางที่ 4.3 ข้อกาหนดของอุปกรณ์ตดั วงจรในการติดตัง้ PV array 45
บทที่ 5 ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ 53
ตารางที่ 5.1 ขนาดพืน้ ทีห่ น้าตัดขัน้ ต่าและอัตราการระบายอาการขัน้ ต่าสาหรับระบบแบตเตอรี่
ที่ถือว่ามีอนั ตรายจากแก๊สระเบิด 65
ภาคผนวก ข ข้อแนะนาสาหรับการบารุงรักษา 83
ตารางที่ ข.1 ตัวอย่างตารางการบารุงรักษา 84
ภาคผนวก ค การทดสอบและกระบวนการทดสอบก่อนใช้งาน 87
ตารางที่ ค.1 ค่าต่าสุดของฉนวน 90
ตารางที่ ค.2 ตัวอย่าง – PV array – เอกสารกระบวนการทดสอบการทางาน 91
ภาคผนวก จ การป้ องกันผลกระทบของฟ้ าผ่าและแรงดันเกิน 101
ตารางที่ จ.1 อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ ทีข่ นึ ้ อยู่กับตาแหน่งและระบบป้องกันฟ้าผ่าที่นามาใช้งาน 106
ภาคผนวก ช การจาแนกประเภทแรงดันไฟฟ้ าแบบเด็ดขาด 123
ตารางที่ ช.1 สรุปช่วงแรงดันของ Decisive voltage classification 123
ภาคผนวก ฌ การออกแบบสายไฟ PV CABLE 127
ตารางที่ ฌ.1 พิกัดนากระแสของ PV cable ที่ ambient temperature 70ºC 128
ตารางที่ ฌ.2 พิกัดนากระแสของ PV cable ที่ ambient temperature 60ºC 129

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
น | สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 1
ขอบเขตและเรื่องทั่วไป

1.1 ขอบเขต
มาตรฐานนีก้ ล่าวถึงข้อกาหนดการติดตัง้ และความปลอดภัยด้านกระแสตรงของระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน
แสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา โดยรวมถึงการต่อเคเบิลของ PV array PV string อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า อุปกรณ์
ตัดต่อ การต่อลงดิน อุปกรณ์เปลี่ยนรู ปแบบของพลังงาน สาหรับระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ (battery energy
storage system, BESS) อุปกรณ์แปลงไฟฟ้าเพื่อประจุและคายประจุไฟฟ้าสาหรับแบตเตอรี่ แต่ไม่รวมอุปกรณ์ดา้ น
โหลด
สาหรับข้อกาหนดในการติดตั้งด้านกระแสสลับ นอกจากที่ระบุไว้ในมาตรฐานนี้ให้เป็ นไปตามมาตรฐานการ
ติดตัง้ ทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทย

1.2 วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ของมาตรฐานนีเ้ ป็ นการกล่าวถึงข้อกาหนดการติดตัง้ และความปลอดภัยสาหรับระบบผลิตไฟฟ้า
จากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตัง้ บนหลังคา โดยเฉพาะระบบไฟฟ้ากระแสตรงและ PV array ที่ก่อให้เกิดอันตรายอื่น ๆ
นอกเหนือจากระบบไฟฟ้ากระแสสลับทั่วไป

1.3 มาตรฐานอ้างอิง
มาตรฐานที่ใช้อา้ งอิงมีดงั นี ้
วสท. EIT2001 มาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทย
มอก. 513 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ระดับชัน้ การป้องกันของเปลือกหุม้ บริภณั ฑ์ไฟฟ้า (รหัส IP)
1843 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมส่วนสาเร็จรูปแรงดันเนื่องจากพลังแสงภาคพืน้ ดินแบบผลึก
ซิลิคอน – คุณลักษณะการออกแบบและการรับรองแบบ
2210 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมส่วนสาเร็จรูปแรงดันเนือ่ งจากพลังแสงภาคพืน้ ดินแบบฟิ ลม์
บาง – คุณลักษณะการออกแบบและการรับรองแบบ
2580 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมคุณสมบัติดา้ นความปลอดภัยของแผงเซลล์แสงอาทิตย์
เล่ม 1 ข้อกาหนดสาหรับการสร้าง
เล่ม 2 ข้อกาหนดสาหรับการทดสอบ
AS/NZS 5033 Installation and safety requirements for photovoltaic (PV) arrays

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
2 | บทที่ 1 ขอบเขตและเรื่องทั่วไป

IEC 60269-6 Low-voltage fuses


Part 6: Supplementary requirements for fuse- links for the protection of solar
photovoltaic energy systems
60332-1-3 Tests on electric and optical fibre cables under fire conditions Part 1-3 : Test for vertical flame
propagation for a single insulated wire or cable - Procedure for determination of flaming
droplets/particles
60947 Low – Voltage Switchgear and Controlgear
Part 1: General Rules
Part 2: Circuit-breakers
Part 3: Switches, disconnectors, switch-disconnectors and fuse combination units
61215 Crystalline silicium terrestrial photovoltaic (PV) Modules - Design qualification and type approval
61646 Thin- film terrestrial photovoltaic ( PV) Modules - Design qualification and type
approval
62109 Safety of Power Converters for Use in Photovoltaic Power Systems
Part 1: General Requirements
Part 2: Particular Requirements for Inverters
62548 Photovoltaic (PV) arrays - Design requirements
62446 Grid connected photovoltaic systems - Minimum requirements for system
documentation, commissioning tests and inspection
62852 Connectors for DC- application in photovoltaic systems - Safety requirements and tests
IET Code of Practice for Grid Connected Solar Photovoltaic Systems
NEC 690 Solar Photovoltaic (PV) Systems

1.4 นิยาม
1.4.1 ไดโอดกัน้ กระแส (blocking diode)
ไดโอดที่ต่ออนุกรมกับ PV module, PV string, PV sub-array และ PV array เพือ่ ป้องกันไม่ให้กระแสไหลย้อนกลับไป
ในอุปกรณ์ PV module, PV string, PV sub-array และ PV array
1.4.2 ตัวนาต่อประสาน (bonding conductor)
ตัวนาทีใ่ ช้ต่อประสานให้ศกั ย์ไฟฟ้าเท่ากัน

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 1 ขอบเขตและเรื่องทั่วไป | 3

1.4.3 ไดโอดลัดข้าม (bypass diode)


ไดโอดที่ต่อข้าม PV cell หนึ่งเซลล์ หรือมากกว่าเพื่ออนุญาตให้กระแสข้ามเซลล์ที่ถูกบังแสงหรือชารุด ไปในทิศทางที่
กระแสไหล ในการป้องกันจุดร้อนหรือเซลล์เสียหายอันเนื่องมาจากแรงดันย้อนกลับจากเซลล์อื่นใน PV Module นัน้
1.4.4 จุดต่อลงดินตามหน้าที่ใน PV array (functionally earthed PV arrays)
PV Array ที่มีตวั นาหนึ่งตัวสาหรับต่อลงดิน เพื่อให้อุปกรณ์ป้องกันทางาน
1.4.5 IMOD MAX OCPR (module maximum overcurrent protection)
พิกัดป้องกันกระแสเกินสูงสุดของ PV module
1.4.6 In (nominal rated current)
พิกัดกระแสที่ระบุสาหรับอุปกรณ์ปอ้ งกันกระแสเกิน
1.4.7 ISC ARRAY (array short circuit current)
กระแสลัดวงจรของ PV array ภายใต้สภาวะทดสอบมาตรฐาน ต้องมีค่า
ISC ARRAY = ISC MOD x SA (1.1)
โดยที่ SA เป็ นจานวนทัง้ หมดของ PV string ที่ต่อขนานกันใน PV array
1.4.8 ISC S-ARRAY (sub-array short circuit current)
กระแสลัดวงจรของ PV sub-array ภายใต้สภาวะทดสอบมาตรฐาน ต้องมีค่า
ISC S-ARRAY = ISC MOD x SSA (1.2)
โดยที่ SSA เป็ นจานวนทัง้ หมดของ PV string ที่ต่อขนานกันใน PV sub-array
1.4.9 ISC MOD (module short circuit current)
กระแสลัดวงจรของ PV module หรือ PV string ภายใต้สภาวะทดสอบมาตรฐาน ที่ระบุไว้ในแผ่นป้ายชื่อโดยผูผ้ ลิต
หมายเหตุ: PV module ทีต่ ่ออนุกรมใน PV string มีค่ากระแสลัดวงจรเท่ากับ ISC MOD
1.4.10 ความเข้มแสงอาทิตย์ (Irradiance)
ปริมาณรังสีแสงอาทิตย์ตอ่ หนึ่งหน่วยพืน้ ที่ เป็ นวัตต์ต่อตารางเมตร
1.4.11 การติดตามจุดกาลังไฟฟ้ าสูงสุด (Maximum Power Point Tracking, MPPT)
การติดตามจุดกาลังไฟฟ้าสูงสุด คือ การควบคุมการทางานของ PV array เพื่อให้ใกล้หรือตรงจุดที่ได้ค่ากาลังไฟฟ้า
สูงสุดภายใต้เงื่อนไขที่กาหนด
1.4.12 ระดับแรงดันกาลังไฟฟ้ าสูงสุด (maximum power voltage, Vmp)
ระดับแรงดัน ณ จุดที่กาลังไฟฟ้าสูงสุดของ PV module ภายใต้สภาวะทดสอบมาตรฐาน

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
4 | บทที่ 1 ขอบเขตและเรื่องทั่วไป

1.4.13 อินเวอร์เตอร์ขนาดเล็ก (micro inverter)


อินเวอร์เตอร์ที่ออกแบบเพื่อติดตัง้ บนโครงของ PV module หรือติดตัง้ ใกล้กับ PV module
1.4.14 อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ า (Power Conversion Equipment, PCE)
อุปกรณ์ไฟฟ้าซึ่งทาหน้าที่แปลงและควบคุมกาลังไฟฟ้าจากแหล่งกาเนิดกระแสหรือแรงดันรูปหนึ่งไปเป็ นกระแสไฟฟ้า
อี กรู ปหนึ่ ง ที่มีกระแส แรงดัน และ/หรื อ ความถี่ ตามต้อ งการ เช่น DC/AC Inverter, DC/DC Converter, Charger
Controller
1.4.15 อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ าแบบไม่แยกส่วน (power conversion equipment, non-separated)
อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าที่ไม่มีการแยกกันทางไฟฟ้าระหว่างส่วนด้านเข้ากับด้านออก
หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น อุปกรณ์อินเวอร์เตอร์แบบไม่มีหม้อแปลงไฟฟ้า
1.4.16 อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ าแบบแยกส่วน (power conversion equipment, separated)
อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าที่อย่างน้อยมีการแยกกันทางไฟฟ้าระหว่างส่วนด้านเข้ากับด้านออก
หมายเหตุ: ตัวอย่างเช่น การแยกกันทางไฟฟ้าอาจจะทาได้โดยการใช้หม้อแปลงไฟฟ้าแบบขดลวดแยก (isolation transformer)
1.4.17 PV Array
ชุดประกอบของ PV module, PV string หรือ PV sub-array ที่เชื่อมต่อกันทางไฟฟ้า และส่วนประกอบอื่น ๆ จนถึง
ขัว้ ต่อสายด้านเข้าไฟฟ้ากระแสตรงของอินเวอร์เตอร์ หรืออุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า หรือโหลดไฟฟ้ากระแสตรง
หมายเหตุ: PV array ประกอบด้วย PV module หนึ่งมอดูล PV string หนึ่งแถว หรือการต่อขนานของ PV String หรือการต่อขนาน
ของ PV sub-array และอุปกรณ์ทเี่ กี่ยวข้อง (ดูรูปที่ 2.3 ถึง 2.5)
1.4.18 เคเบิล PV array (PV array cable)
เคเบิลด้านออกของ PV array
1.4.19 กล่องรวมสายของ PV array (PV array combiner box)
กล่องต่อสายทีใ่ ช้เชือ่ มต่อ PV sub-array เข้าด้วยกัน ซึ่งรวมอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน และ/หรือ อุปกรณ์ตดั วงจร
1.4.20 กล่องต่อ PV array (PV array junction box)
กล่องที่ใช้เชื่อมต่อ PV sub-array เข้าด้วยกัน
1.4.21 แรงดันสูงสุดของ PV array (PV array maximum voltage)
แรงดันสูงสุดของ PV array เท่ากับ VOC ARRAY สาหรับอุณหภูมกิ ารทางานที่คาดว่าต่าสุด ยกเว้นในกรณีที่ PV array มี
การต่ออนุกรมกับอุปกรณ์ปรับสภาพไฟฟ้ากระแสตรง (D.C. conditioning units) ตามที่ระบุในหัวข้อ 2.1.5
1.4.22 PV Cell
อุปกรณ์พนื้ ฐานที่ทาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็ นพลังงานไฟฟ้า
หมายเหตุ: ชื่อทีใ่ ช้เป็ น “solar photovoltaic” หรือ “photovoltaic cell” เป็ นชื่อเรียกอ้างถึง “solar cell”

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 1 ขอบเขตและเรื่องทั่วไป | 5

1.4.23 PV module
ชุดประกอบที่เล็กที่สดุ ของ PV cell ซึ่งเชื่อมต่อกันและมีการป้องกันทางกายภาพ
หมายเหตุ : PV module เรียกว่า “solar module”
1.4.24 กล่องต่อสายของ PV module (PV module junction box)
สิ่งห่อหุม้ ที่ยึดติดกับ PV module ซึง่ มีการต่อทางไฟฟ้าเข้ากับ PV module
1.4.25 PV string
วงจรของ PV module หนึง่ ชุด หรือมากกว่า ที่ต่ออนุกรมกัน
1.4.26 สายเคเบิล PV (PV string cable)
เคเบิลที่ต่อ PV module ใน PV string หรือเชื่อมต่อ PV string ดังกล่าวไปยังกล่องต่อสาย หรือ กล่องรวมสายของ PV
module หรือไปยังโหลดกระแสตรง
1.4.27 กล่องรวมสายของ PV string (PV string combiner box)
กล่องต่อสายทีใ่ ช้เชือ่ มต่อ PV String เข้าด้วยกัน ซึ่งรวมอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน และ/หรือ อุปกรณ์ตดั วงจร
1.4.28 กล่องต่อสายของ PV string (PV string junction box)
กล่องต่อสายทีใ่ ช้เชือ่ มต่อ PV string เข้าด้วยกัน
1.4.29 PV sub-array
ส่วนย่อยของ PV array เกิดจากการต่อขนานของ PV string
1.4.30 เคเบิล PV sub-array (PV sub-array cable)
เคเบิลของ PV sub-array เพื่อรองรับกระแสของ PV sub-array ในสภาวะการทางานปกติ
1.4.31 สภาวะทดสอบมาตรฐาน (Standard Test Conditions, STC)
สภาวะทดสอบมาตรฐานสาหรับการทดสอบ PV cell และ PV module ประกอบด้วย
– อุณหภูมิของ PV cell เป็ น 25 องศาเซลเซียส
– ความเข้มแสงอาทิตย์ที่ตกกระทบบนระนาบของ PV cell หรือ PV module ต้องวัดได้ 1,000 วัตต์ต่อ
ตารางเมตร
– สเปคตรัมของแสงอาทิตย์ตอ้ งสอดคล้องกับมวลอากาศ (atmospheric air mass) ที่ 1.5
1.4.32 แรงดันเปิ ดวงจรของ PV module (VOC MOD)
แรงดันเปิ ดวงจรของ PV module (VOC MOD) ทีส่ ภาวะทดสอบมาตรฐาน ตามที่ระบุโดยผูผ้ ลิตในรายละเอียดของ
ผลิตภัณฑ์

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
6 | บทที่ 1 ขอบเขตและเรื่องทั่วไป

1.4.33 แรงดันเปิ ดวงจรของ PV array (VOC ARRAY)


แรงดันเปิ ดวงจรของ PV array ที่สภาวะทดสอบมาตรฐาน โดยมีค่าเท่ากับ
VOC ARRAY = VOC MOD x M (1.3)
โดยที่ M เป็ นจานวนวงจรที่ต่ออนุกรมของ PV module ใน PV string ใด ๆ ใน PV array
หมายเหตุ: มาตรฐานนีม้ ีสมมติฐานว่าทุกแถวภายใน PV array ต่อแบบขนาน ดังนัน้ แรงดันเปิ ดวงจรของ PV sub-array และ PV
string จะเท่ากับ VOC ARRAY
1.4.34 แบตเตอรี่ (Battery)
วัตถุที่ประกอบด้วยหนึ่งหรือหลายเซลล์กักเก็บพลังงานต่ออนุกรมกัน ขนานกัน หรือทัง้ อนุกรมและขนานกัน
1.4.35 กลุ่มแบตเตอรี่ (Battery Bank)
แบตเตอรี่หรือมอดูลแบตเตอรี่เชื่อมต่อกันแบบอนุกรมและ/หรือขนาน เพื่อให้ขนาดแรงดัน กระแส และความจุภายใน
ระบบแบตเตอรี่ (Battery System) เป็ นไปตามความต้องการของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า (Power Conversion
Equipment (PCE))
1.4.36 มอดูลบริหารจัดการแบตเตอรี่ (Battery Management Module, BMM)
อุปกรณ์สาหรับแบตเตอรี่และมอดูลแบตเตอรี่ ที่เชื่อมต่อกั บระบบบริหารจัดการแบตเตอรี่ (Battery Management
System, BMS) ซึ่งโดยทั่วไปแล้วเป็ นส่วนของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ของแต่ละเซลล์หรือ มอดูล
1.4.37 ระบบบริหารจัดการแบตเตอรี่ (Battery Management System, BMS)
อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ควบคุมจัดการความปลอดภัยเบือ้ งต้นของแบตเตอรี่ BMS เป็ นระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่เชื่อมต่อกับ
แบตเตอรี่หรื อระบบแบตเตอรี่ ทาหน้า ที่ตรวจสอบ และ/หรื อจัดการความปลอดภัยด้านไฟฟ้าและความร้อนโดย
ควบคุมสภาพแวดล้อมของการทางาน นอกจากนีย้ งั ทาหน้าที่เป็ นตัวสื่อสารระหว่า งระบบแบตเตอรี่ อุปกรณ์แปลงผัน
กาลังไฟฟ้า (PCE) และอุปกรณ์อื่น ๆ ที่เชื่อมต่อ (เช่น ระบบระบายความร้อนต่าง ๆ)
BMS จะตรวจดูส ถานะของเซลล์ แบตเตอรี่ และมอดูลแบตเตอรี่ เพื่อให้สามารถทาการป้องกั นระบบ
แบตเตอรี่จากการ Overcharge Overdischarge Overheating Overvoltage และเหตุการณ์อื่น ๆ ที่อาจเป็ นอันตราย
BMS อาจมีการทางานเสริมอื่น ๆ เช่น การควบคุมการประจุไฟฟ้า การกระตุน้ แบตเตอรี่ (Equalization) การจัดการ
ความร้อน การส่งข้อความหรือสื่อสารไปยังอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าเกี่ยวกับสถานะการประจุและความพร้อมอื่น ๆ
1.4.38 มอดูลแบตเตอรี่ (Battery Module)
แบตเตอรี่หนึ่งหรือหลายเซลล์เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน อาจมีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สาหรับการตรวจสอบ การจัดการ
รวมถึงการป้องกัน

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 1 ขอบเขตและเรื่องทั่วไป | 7

1.4.39 ระบบแบตเตอรี่ (Battery System)


ระบบซึ่งประกอบด้วยหนึ่งหรือหลายเซลล์ หรือมอดูล หรือระบบแบตเตอรี่ ระบบแบตเตอรี่อาจมีระบบบริหารจัดการ
แบตเตอรี่ (BMS) และอุปกรณ์เสริม (Auxiliary Equipment) สาหรับระบบ ทั้งนีไ้ ม่รวมอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า
(PCE)
1.4.40 DC/DC Converter
อุ ปกรณ์ไฟฟ้า ที่ทาหน้าที่แปลงแหล่งไฟฟ้ากระแสตรงจากระดับแรงดันค่า หนึ่งไปยังอีกค่าหนึ่ง อุ ปกรณ์นีถ้ ือเป็ น
อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ระดับกาลังไฟฟ้ามีพิสัยตั้งแต่ระดับต่ามาก (แบตเตอรี่ขนาดเล็ก) ไปจนถึง
ระดับสูงมาก (ระบบส่งกาลังแรงสูง)
1.4.41 อินเวอร์เตอร์ (Inverter)
อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ทาหน้าที่แปลงไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current, DC) เป็ นไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current,
AC) ผลลัพธ์ความถี่ของกระแสไฟฟ้า AC ขึน้ อยู่กับอุปกรณ์ที่ใช้
1.4.42 Rectifier
อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ทาหน้าที่แปลงไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current, AC) เป็ นไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current,
DC) ซึ่งทางานในทิศทางเดียว อุปกรณ์ที่ทางานในทิศทางย้อนกลับคืออินเวอร์เตอร์
1.4.43 Bi-directional DC/AC Converter
อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ทาหน้าที่แปลงไฟฟ้าได้ 2 ทิศทาง ทั้งแปลงจากไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current, DC) เป็ นไฟฟ้า
กระแสสลับ (Alternating Current, AC) และแปลงจาก ไฟฟ้า กระแสสลับ (Alternating Current, AC) เป็ นไฟฟ้า
กระแสตรง (Direct Current, DC)
1.4.44 Charger Controller
อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ทาหน้าที่แปลงไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current, AC) เป็ นไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current,
DC) โดยทั่วไปใช้ประจุพลังงานให้ระบบแบตเตอรี่จึงมีชื่อเรียกอีกชิ่อหนึ่งว่า Charger Controller
1.4.45 สถานะของประจุ (State of Charge, SOC)
ปริมาณของความจุที่เหลืออยู่ในแบตเตอรี่หรือระบบแบตเตอรี่ แสดงอยู่ในรูปร้อยละของค่าพิกัดความจุของแบตเตอรี่
หรือระบบแบตเตอรี่
1.4.46 อัตราการคายประจุ หรือ C-rate
อัตราการคายประจุจะใช้สญ
ั ลักษณ์ Cx หรือ xC ซึง่ มีความหมายแตกต่างกันดังต่อไปนี้
สาหรับ Cx หมายถึง ค่ากระแสของการคายประจุเทียบกับพิกัดความจุของแบตเตอรี่ เช่น C1 มีค่าเท่ากับ
ขนาดกระแสที่แบตเตอรี่จะ discharge จนหมดภายในเวลา 1 ชั่วโมง หากแบตเตอรี่มีขนาด 500 Ah การคายประจุที่
C1 rate มี ค่า เท่า กั บขนาดกระแส 500 A นั่นเอง อี กตัว อย่ า งเช่น C20 มี ค่า เท่า กั บขนาดกระแสที่แ บตเตอรี่ จะ

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
8 | บทที่ 1 ขอบเขตและเรื่องทั่วไป

discharge จนหมดภายในเวลา 20 ชั่ว โมง สาหรับ แบตเตอรี่ขนาด 200 Ah การคายประจุที่ C20 rate จึง มี ขนาด
กระแสเท่ากับ 10 A
ส าหรับ xC หมายถึ ง ความรวดเร็ วของแบตเตอรี่ ในการ charge หรื อ discharge แบตเตอรี่ที่พิกัด xC
สามารถ charge หรื อ discharge ได้ภ ายในเวลา 1/x ชั่ว โมง ตัว อย่ า งเข่ น แบตเตอรี่ ที่พิกัด 2C จะสามารถคาย
พลังงานทัง้ หมดได้ภายในเวลา ½ ชั่วโมง
หลายครัง้ xC ก็สามารถใช้ในการบอกความสัมพันธ์ระหว่างค่าพลังงานไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้าของระบบกัก
เก็บพลังงานแบตเตอรี่ เช่น ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีขนาดอุปกรณ์แปลงผัน กาลังไฟฟ้า (PCE) 100 kW
ร่วมกับแบตเตอรี่ขนาด 200 kWh จะมีความสามารถในการ charge หรือ discharge จนหมดภายในเวลา 2 ชั่วโมง ซึ่ง
สามารถเขียนเป็ น 0.5C
1.4.47 AC module
PV module ที่มีอินเวอร์เตอร์แปลงกาลังไฟฟ้ากระแสตรงจาก PV module ยึดติดอยู่ มีกาลังไฟฟ้าด้านออกเป็ นไฟฟ้า
กระแสสลับ

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 2
รูปแบบของการต่อ PV Array

2.1 รูปแบบการต่อ PV Array


2.1.1 ข้อกาหนดทัว่ ไป
PV array ใช้เป็ นแหล่งจ่ายไฟให้กับวงจรใช้งาน (application circuit) โดยในรู ปที่ 2.1 แสดงรูปแบบทั่วไปของการต่อ
ระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์

PV
array

array

รูปที่ 2.1 รูปแบบทัว่ ไปของการต่อระบบผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์


ลักษณะของระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์มีดงั นี้
ก. PV array ต่อกับโหลดกระแสตรง
ข. PV array ต่อกับระบบไฟฟ้ากระแสสลับผ่านอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าแบบแยกส่วน
ค. PV array ต่อกับระบบไฟฟ้ากระแสสลับผ่านอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าแบบไม่แยกส่วน
2.1.2 รูปแบบการต่อลงดินของระบบผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ (PV system architectures)
ข้อกาหนดจากผูผ้ ลิต PV module และจากผูผ้ ลิตอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าซึ่ง PV array ต่อเชื่อมอยู่จะต้อ งถู ก
นามาพิจารณาในการเลือกระบบการต่อลงดินที่เหมาะสม
การต่อลงดินในระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ มี 4 รู ปแบบที่แนะนา (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน
ภาคผนวก ก.) ดังแสดงในรูปที่ 2.2

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
10 | บทที่ 2 รูปแบบของการต่อ PV Array

+
PV
array
-
)
+
PV
array
-
)
+
PV
array
-

)
+
PV
array
-
)
ก. ระบบไม่ต่อลงดิน
ข. ระบบต่อลงดินโดยตรงทีข่ วั้ ลบ
ค. ระบบต่อลงดินผ่านความต้านทานที่ขวั้ ลบ
ง. ระบบต่อลงดินผ่านความต้านทานที่ขวั้ บวก
รูปที่ 2.2 รูปแบบการต่อลงดินของระบบผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 2 รูปแบบของการต่อ PV Array | 11

2.1.3 ไดอะแกรมของ PV array (array electrical diagrams)


รู ปที่ 2.3 ถึง 2.5 แสดงรู ปแบบการต่อเบือ้ งต้นสาหรับ PV string หนึ่งแถว PV string หลายแถว และ PV sub-array
หลายแถว ตามลาดับ
PV array

+ อปกร ปองก กร แ ก
ของ PV string 4
ตต งร
ของ PV array 2,3

+
อปกร
แป ง กา ง
- า

า บ
ของ PV array

PV module 1 อปกร ปองก กร แ ก


- ( ี อ ขา ข า อ ู่ า ) ของ PV array 4

หมายเหตุ:
(1) โดยทั่วไป ไดโอดลัดข้ามเป็ นชิน้ ส่วนมาตรฐานของ PV module ซึ่งให้มาโดยผูผ้ ลิต
(2) อ้างอิงถึงข้อ 4.3.5 และ 4.4.1 สาหรับข้อกาหนดเรื่องตัวตัดวงจรของ PV array โดยตัวตัดวงจรนีเ้ ป็ นตัวตัดวงจรขณะมี
โหลด หรือเซอร์กิตเบรกเกอร์ก็ได้
(3) อาจจาเป็ นต้องใช้ตวั ตัดวงจรสาหรับ PV array สองแถว
(4) อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน สาหรับระบบ PV ทีเ่ ชื่อมต่อกับ Battery จาเป็ นต้องมี ตามข้อ 3.3
รูปที่ 2.3 ไดอะแกรมของ PV array – กรณี PV string หนึง่ แถว

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
12 | บทที่ 2 รูปแบบของการต่อ PV Array

อปกร ปองก กร แ ก ตต งร
ของ PV string 3 ของ PV string
+ + +
า บ
ของ PV array

า บ + อปกร
ของ PV แป ง กา ง
string า
-
อปกร ปองก กร แ ก
ตต งร ของ PV array3
ของ PV array2

- - - ก ่องร า
ของ PV string
อ ขา PV module PV string

หมายเหตุ:
(1) โดยทั่วไป ไดโอดลัดข้ามเป็ นชิน้ ส่วนมาตรฐานของ PV module ซึ่งให้มาโดยผูผ้ ลิต
(2) อ้างอิงถึงข้อ 4.3.5 และ 4.4.1 สาหรับข้อกาหนดเรื่องตัวตัดวงจรของ PV array โดยตัวตัดวงจรนีเ้ ป็ นตัวตัดวงจรขณะมี
โหลด หรือเซอร์กิตเบรกเกอร์ก็ได้
(3) อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน ในทีซ่ ่งึ จาเป็ นต้องมี ตามข้อ 3.3
รูปที่ 2.4 ไดอะแกรมของ PV array – กรณี PV string ต่อขนานกันหลายแถว

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 2 รูปแบบของการต่อ PV Array | 13

PV array
PV sub - array
อปกร ปองก กร แ ก ตต งร
ของ PV string3 ของ PV string
+ + +

า บ
ของ PV sub-array

า บ
ของ PV
string ตต งร
ตต งร
ของ PV sub-array 2
ของ PV array2

- - - + อปกร
ก ่องร า แป ง กา ง
ของ PV string
- า

า บ
ของ PV array
อปกร ปองก กร แ ก
+ + + ของ PV array3

า บ
ของ PV ก ่องร า
string ของ PV array

อปกร ปองก กร แ ก
- - - ของ PV sub-array3

า บ
ของ PV sub-array
อ ขา

หมายเหตุ:
(1) โดยทั่วไป ไดโอดลัดข้ามเป็ นชิน้ ส่วนมาตรฐานของ PV module ซึ่งให้มาโดยผูผ้ ลิต
(2) อ้างอิงถึงข้อ 4.3.5 และ 4.4.1 สาหรับข้อกาหนดเรื่องตัวตัดวงจรของ PV array โดยตัวตัดวงจรนีเ้ ป็ นตัวตัดวงจรขณะมี
โหลด หรือเซอร์กิตเบรกเกอร์ก็ได้
(3) อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน ในทีซ่ ่งึ จาเป็ นต้องมี ตามข้อ 3.3
รูปที่ 2.5 ไดอะแกรมของ PV array – กรณี PV string ต่อขนานกันหลายแถวโดยแบ่งเป็ น PV sub-array
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
14 | บทที่ 2 รูปแบบของการต่อ PV Array

2.1.4 การใช้อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ ากับอินพุทกระแสตรงหลายแหล่ง


2.1.4.1 ข้อกาหนดทัว่ ไป
PV array สามารถต่อกับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ากับอินพุทกระแสตรงหลายแหล่ง อ้างอิงรูปที่ 2.6 และ 2.7 ถ้ามี
การใช้งานอินพุทกระแสตรงหลายแหล่ง การป้องกันกระแสเกิน และการเลือกขนาดของเคเบิลภายในส่วนต่าง ๆ ของ
PV array ขึน้ อยู่กับวงจรอินพุทภายในของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า
2.1.4.2 อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ า ชนิดที่แยกการติดตามจุดกาลังไฟฟ้ าสูงสุด
ในกรณีที่วงจรอินพุทของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า เป็ นการติดตามจุดกาลังไฟฟ้าสูงสุดชนิดแยกอินพุท การป้องกัน
กระแสเกินในส่วนของ PV array ที่ต่อกับอินพุทเหล่านัน้ ต้องพิจารณาถึงกระแสย้อนกลับในแต่ละส่วนของ PV ที่ต่อ
กับอินพุทของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า ตามรู ปที่ 2.6 ให้พิจารณาว่าเป็ น PV array แบบแยก ซึ่ง PV array แต่ละ
ชุด ต้องมีตัวตัดวงจร Disconnector เพื่อแยกอินเวอร์เตอร์ออกไป โดยข้อกาหนดสาหรับ ตัวตัดวงจร Disconnector
หลายตัวต้องเป็ นไปตามข้อ 4.4.1.3 และต้องมีป้ายเตือนซึ่งเป็ นไปตามข้อ 5.5.2
หมายเหตุ: กรณีทมี่ ีอุปกรณ์ตดั วงจรเป็ นอุปกรณ์มาตรฐานของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า อนุญาตให้ใช้อุปกรณ์ตดั วงจรดังกล่าวได้
2.1.4.3 อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ า ชนิดที่ไม่แยกการติดตามจุดกาลังไฟฟ้ าสูงสุด
ในกรณีที่วงจรอินพุทของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า มีหลายวงจรและมีการต่อขนานภายในโดยใช้บสั กระแสตรงร่วม
ในแต่ละส่วนของ PV ที่ต่อกับอินพุทของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า ตามรูปที่ 2.7 ให้พิจารณาว่าเป็ น PV sub-array
และทุ ก ส่ ว นของ PV ใน PV sub-array ให้ ถื อ ว่ า เป็ น PV array ซึ่ ง PV sub-array แต่ ล ะชุ ด ต้ อ งมี ตั ว ตั ด วงจร
Disconnector เพื่อแยกอินเวอร์เตอร์ออกไป โดยข้อกาหนดสาหรับตัวตัดวงจร Disconnector หลายตัวต้องเป็ นไปตาม
ข้อ 4.4.1.3 และต้องมีป้ายเตือนซึ่งเป็ นไปตามข้อ 5.5.2
2.1.5 PV string ที่ใช้อุปกรณ์ปรับสภาพไฟฟ้ ากระแสตรง (D.C. Conditioning Units)
ในการออกแบบ PV array บางครัง้ มีการนาอุปกรณ์ปรับสภาพไฟฟ้ากระแสตรงมาเชื่อ มต่อ กับ PV module แต่ละ
มอดูล หรือกลุ่มเล็ก ๆ PV module เพื่อใช้สาหรับปรับสภาพไฟฟ้ากระแสตรงของเอาท์พุต PV ให้เหมาะสม หรือใช้
สาหรับการหยุดจ่ายกระแสไฟฟ้าอัตโนมัติภายใต้เงื่อนไขที่กาหนด โดยวงจรเอาท์พุตของอุปกรณ์ปรับสภาพไฟฟ้า
กระแสตรงต่อกันแบบอนุกรมใน PV string แต่ละแถว ตามรูปที่ 2.8 หรือ 2.9

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 2 รูปแบบของการต่อ PV Array | 15

PV array #1
อปกร ปองก กร แ ก
ของ PV string
+ + +
ตต งร
ของ PV string

ตต งร
ของ PV array
อปกร แป ง กา ง า
ที่แ กการต ตา
กา ง า ูง

- - - +
D.C. Input 1
-

+
D.C. Input 2
+ + + -

+
D.C. Input 3
-

อปกร ปองก
กร แ ก

- - - PV array #3

PV array #2

หมายเหตุ: อ้างอิงถึงข้อ 4.3.5 และ 4.4.1 สาหรับข้อกาหนดเรื่องตัวตัดวงจรของ PV array โดยตัวตัดวงจรนีเ้ ป็ นตัวตัดวงจรขณะมี


โหลด หรือเซอร์กิตเบรกเกอร์ก็ได้
รูปที่ 2.6 PV array ซึ่งใช้อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ ากับอินพุทกระแสตรงหลายแหล่ง
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
16 | บทที่ 2 รูปแบบของการต่อ PV Array

PV sub-array #1
อปกร ปองก กร แ ก
ของ PV string
+ + +
ตต งร
ของ PV string

ตต งร
ของ PV sub-array

อปกร แป ง กา ง า
บ กร แ ตรงร่

- - - +

+ + + -

อปกร ปองก กร แ ก

- - - PV sub-array #3

PV sub-array #2

หมายเหตุ: อ้างอิงถึงข้อ 4.3.5 และ 4.4.1 สาหรับข้อกาหนดเรื่องตัวตัดวงจรของ PV array โดยตัวตัดวงจรนีเ้ ป็ นตัวตัดวงจรขณะมี


โหลด หรือเซอร์กิตเบรกเกอร์ก็ได้
รูปที่ 2.7 PV array ซึ่งใช้อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ ากับอินพุทกระแสตรงหลายแหล่งภายใน
โดยมีการต่อบัสกระแสตรงอันเดียวกัน
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 2 รูปแบบของการต่อ PV Array | 17

2.1.6 รูปแบบการต่ออนุกรม-ขนาน
PV array ต้องถูกออกแบบเพื่อป้องกันกระแสไหลวนภายใน PV array โดยที่ PV string ในแต่ละแถวที่นามาต่อขนาน
กันต้องมีแรงดันเปิ ดวงจรแตกต่างกันไม่เกิน 5%
เพื่อประสิทธิภาพที่ดีและลดค่าแรงดันที่ไม่เท่ากัน (mismatch) PV module ทุกตัวที่ต่อกับอุปกรณ์แปลงผัน
กาลังไฟฟ้าที่ติดตามจุดกาลังไฟฟ้าสูงสุดเดียวกันควรเป็ นชนิดเดียวกัน และมีจานวนการต่ออนุกรมเท่ากัน (ดูรูปที่ 2.3
ถึง 2.5) โดยที่ PV module ทุกตัวที่ต่อกับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าที่ติดตามจุดกาลังไฟฟ้าสูงสุดเดียวกัน ควรมี
พิกัดทางไฟฟ้าเหมือนกัน รวมถึงพิกัดกระแสลัดวงจร แรงดันเปิ ดวงจร กระแสที่กาลังไฟฟ้าสูงสุด แรงดันที่กาลังไฟฟ้า
สูงสุด พิกัดกาลังไฟฟ้า และสัมประสิทธิ์อุณหภูมิตอ้ งเหมือนกันด้วย
PV module ที่ต่ออยู่ใน PV string เดียวกันต้องติดตัง้ อยู่ในระนาบเดียวกัน ภายในพิกัด ±5o (azimuth และ
tilt angle)
PV

า บ
ของ PV string ตต งร
DCU ของ PV array

DCU
+ อปกร
แป ง กา ง
DCU า
-
อปกร ปรบ า
ากร แ ตรง

DCU

หมายเหตุ:
(1) อ้างอิงถึงข้อ 4.3.5 และ 4.4.1 สาหรับข้อกาหนดเรื่องตัวตัดวงจรของ PV array และ อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า
(2) การเลือก PV module และอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าในกรณีนใี ้ ห้คานึงถึงการทางานร่วมกับอุปกรณ์ปรับสภาพไฟฟ้า
กระแสตรงด้วย
รูปที่ 2.8 PV string ที่ใช้อุปกรณ์ปรับสภาพไฟฟ้ ากระแสตรง

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
18 | บทที่ 2 รูปแบบของการต่อ PV Array

PV

า บ
ของ PV string ตต งร
DCU ของ PV array

+ อปกร
แป ง กา ง
DCU า
-
อปกร ปรบ า
ากร แ ตรง

หมายเหตุ:
(1) อ้างอิงถึงข้อ 4.3.5 และ 4.4.1 สาหรับข้อกาหนดเรื่องตัวตัดวงจรของ PV array และ อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า
(2) PV module สามารถต่อได้ทงั้ แบบอนุกรม หรือ ขนาน
(3) การเลือก PV module และอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าในกรณีนใี ้ ห้คานึงถึงการทางานร่วมกับอุปกรณ์ปรับสภาพไฟฟ้า
กระแสตรงด้วย
รูปที่ 2.9 PV string ที่ใช้อุปกรณ์ปรับสภาพไฟฟ้ ากระแสตรงไม่ครบทุกแผง
2.1.7 ข้อพิจารณาเนื่องจากการเกิดความผิดพร่องใน PV array
ในระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ PV cell รวมถึง PV array มีพฤติกรรมเสมือนเป็ นแหล่งกาเนิดกระแส
ภายใต้ความผิดพร่องที่ค่าอิมพีแดนซ์ต่า กระแสผิดพร่องจึงอาจมีค่ามากกว่าค่ากระแสโหลดสูงสุดปกติ ไม่มากนัก แม้
จะเกิดการลัดวงจรไฟฟ้า
กระแสผิดพร่องขึน้ อยู่กับจานวนของแถว ตาแหน่งความผิดพร่อง และความเข้มแสงอาทิตย์ สิ่งเหล่านี้
ทาให้การตรวจจับการลัดวงจรภายใน PV array เป็ นไปได้ยาก กระแสผิดพร่องจากอาร์กทางไฟฟ้าใน PV array อาจไม่
ทาให้อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินทางาน
ดังนัน้ การออกแบบ PV array ควรเพิ่มความระมัดระวังในเรื่องต่อไปนี้
ก. ในการติดตั้งต้องป้องกันการเกิดความผิดพร่องระหว่างสาย (line-to-line fault) ความผิดพร่องลงดิน
(earth fault) และสายหลุดหลวมโดยไม่ได้ตงั้ ใจใน PV array ให้นอ้ ยที่สดุ
ข. การตรวจจับและการเตือนความผิดพร่องลงดิน และการหยุดจ่ายไฟ ต้องเป็ นส่วนหนึ่งของฟั งก์ชนั ระบบ
ป้องกันเพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดอัคคีภยั
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 2 รูปแบบของการต่อ PV Array | 19

2.1.8 ข้อพิจารณาเนือ่ งจากอุณหภูมกิ ารทางาน


การติดตั้งต้องไม่ก่อให้เกิดความร้อนเกินพิกัดอุณหภู มิการทางานสูงสุดขององค์ประกอบใด ๆ ของระบบพลังงาน
แสงอาทิตย์
ค่าพิกัดของ PV module จากผูผ้ ลิต คือ ค่าที่ได้จากการทดสอบตามสภาวะทดสอบมาตรฐาน
ในการติดตั้งโดยทั่วไปจะทาให้ PV module มีอุณหภูมิสูงขึน้ โดยคาดการณ์ว่า PV module จะทางานที่
อุณหภูมิสูงขึน้ มากกว่าอุณหภูมิแวดล้อมประมาณ 25 °C ในสภาวะที่มีการระบายอากาศที่ดีภายใต้ความเข้มแสงที่
1000 W/m2 (full sun) หากระดับความเข้มแสงมากกว่า 1000 W/m2 และมีการระบายอากาศที่ไม่ดี อุณหภูมิของ PV
module จะเพิ่มขึ น้ เกิ นกว่ า นี้มาก (มี ความเป็ นไปได้ที่อุ ณหภู มิที่เ พิ่มขึ น้ อาจเพิ่มขึ น้ อี ก 40-50 °C จากอุ ณ หภู มิ
แวดล้อม)
ข้อแนะนาต่อไปนี้ ใช้สาหรับการออกแบบ PV array จากคุณลักษณะของการทางานของ PV module
ก. สาหรับเทคโนโลยี PV ส่วนใหญ่ ประสิทธิภาพจะลดลงเมื่ออุณหภูมิใช้งาน (operating temperature)
สูงขึน้ (สาหรับ PV cell แบบผลึกซิลิกอน (crystalline silicon) กาลังสูงสุดลดลงระหว่าง 0.4-0.5 % ต่อ
ทุก ๆ องศาเซลเซียสที่เพิ่มขึน้ ในอุณหภูมิใช้งานเหนือกว่าสภาวะทดสอบมาตรฐาน ดังนัน้ เป้าหมายหนึ่ง
ในการออกแบบ คือ ให้มีการถ่ายเทอากาศที่เพียงพอสาหรับ PV array เพื่อให้แน่ใจว่าได้สมรรถนะการ
ทางานที่ดีที่สดุ ของทัง้ PV module และส่วนประกอบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ข. บริภณ ั ฑ์และส่วนประกอบอื่น ๆ ทุกตัวที่อาจจะสัมผัสโดยตรง หรือใกล้กับ PV array (สายตัวนา อุปกรณ์
แปลงผันกาลังไฟฟ้า ตัวเชื่อมต่อ และอื่น ๆ) ต้องสามารถทนต่ออุณหภูมิสูงสุดที่คาดว่าจะเกิดขึน้ จากการ
ทางานของ PV array
หมายเหตุ: PV module มีแรงดันสูงขึน้ ภายใต้สภาวะอากาศทีเ่ ย็นลง
2.1.9 ประเด็นด้านสมรรถนะ
สมรรถนะของ PV array ขึน้ อยู่กับหลายปั จจัย เช่น
ก. การบังแสง (shading) การเลือกสถานที่ติดตัง้ ของ PV array ควรหลีกเลี่ยงตาแหน่งที่ใกล้ตน้ ไม้ อาคาร
และแถวของ PV array ที่อยู่ติดกันมากเกินไป เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดเงาบน PV array ในช่วงเวลาใดเวลา
หนึ่งของวัน
สิ่งที่สาคัญคือเงา จะจากัดประสิทธิภาพของ PV array เป็ นอย่างมาก ซึ่งสามารถถูกกาจัดออกไปเกือบ
หมด หรือลดลงให้อยู่ในช่วงเวลาที่น้อย ตัวอย่างของเงา เช่น เสาอากาศโทรทัศ น์ ปล่องไฟ สายไฟบน
เสาแรงสูง เงาจาก PV array อื่น เป็ นต้น
ทั้งนีก้ ารออกแบบไม่ควรให้เกิดเงาบน PV array เพราะการเกิดเงาแม้เพียงช่วงระยะเวลาสัน้ ๆ หรือเงา
ขนาดเล็กก็จะส่งผลให้สมรรถนะของ PV array ลดลง

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
20 | บทที่ 2 รูปแบบของการต่อ PV Array

ข. อุณหภูมิที่สูงขึน้ สมรรถนะของ PV array จะลดลงเมื่ออุณหภูมิสงู ขึน้ จึงต้องออกแบบให้มีการถ่ายเท


อากาศที่ดี โดยต้องทาให้ PV module มีอุณหภูมิลดลงเท่าที่จะสามารถทาได้
ค. แรงดันตกในสายเคเบิล ในขั้นตอนการออกแบบ การกาหนดขนาดของเคเบิลภายใน PV array และ
เคเบิลที่เชื่อมต่อจาก PV array ไปยังวงจรการใช้งาน จะมีผลกระทบต่อแรงดันตกในเคเบิลขณะมีโหลด
โดยเฉพาะในกรณีของระบบทีอ่ อกแบบให้มีแรงดันต่าและกระแสสูง จะทาให้มีแรงดันตกมาก ข้อแนะนา
ในการออกแบบ คือ สาหรับ PV array แรงดันต่าภายใต้สภาวะที่โหลดสูงสุด แรงดันตกในเคเบิลจาก PV
module ที่ไกลที่สดุ ถึงอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า ต้องไม่เกิน 3 % ของแรงดัน Vmp (ที่สภาวะทดสอบ
มาตรฐาน)
ง. ความสกปรกบนผิวหน้าของ PV module ของ PV array ผิวหน้าของ PV array ที่สกปรกจากฝุ่น คราบ
สกปรก มู ล นก มลภาวะทางอุ ต สาหกรรม และอื่ นๆ ท าให้ส มรรถนะของ PV array ลดลงอย่ า งมี
นัยสาคัญ จึงจาเป็ นต้องมีการทาความสะอาดเป็ นประจา โดยเฉพาะพืน้ ที่ที่มีปัญหามลภาวะ
จ. มุมองศาการติดตัง้ มุมเอียงของ PV module ต่อแนวระดับ และทิศทางของ PV module เมื่อเทียบกับ
ทิศใต้ (true south) ส่งผลกระทบต่อสมรรถนะของระบบ
ฉ. การเสือ่ มสภาพของ PV module อายุการใช้งานที่เพิ่มขึน้ ของ PV module มีผลกระทบให้สมรรถนะของ
PV module ลดลง ซึ่งการเสื่อมสภาพของแต่ละ PV module ใน PV array เดียวกันอาจจะไม่เท่ากัน

2.2 การออกแบบทางกล
2.2.1 ข้อกาหนดทัว่ ไป
โครงสร้างรองรับ และการยึดจับ PV module ต้องเป็ นไปตามข้อกาหนดของอาคาร ระเบียบและมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
2.2.2 มุมมองด้านความร้อน
การยึดจับ PV module ควรออกแบบให้มีการรองรับการขยายตัว หรือหดตัวของ PV module ภายใต้อุณหภูมิใช้งานที่
กาหนด ตามข้อแนะนาของผูผ้ ลิต ในทานองเดียวกัน ข้อกาหนดนีค้ วรใช้กับส่วนประกอบอื่ นๆ ที่เป็ นโลหะ รวมถึง
โครงสร้างตัวยึดจับ ท่อ และรางเคเบิล
2.2.3 การรับภาระทางกลของโครงสร้าง PV
โครงสร้างรองรับ PV array ต้องเป็ นไปตามข้อกาหนดมาตรฐาน และระเบียบเกี่ยวข้องกับคุณลักษณะการรับภาระทาง
กล
2.2.4 การรับภาระทางกลเนือ่ งจากแผ่นดินไหว
โครงสร้างรองรับ PV array ต้องถูกออกแบบและก่อสร้างเพื่อทนต่อแรงแผ่นดินไหว

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 2 รูปแบบของการต่อ PV Array | 21

2.2.5 แรงลม
การออกแบบ PV module โครงติดตั้ง PV module และวิธีที่ใช้ยึดจับ PV module เข้ากับโครง และยึดจับโครงเข้ากับ
ตัวอาคารหรือพืน้ ดิน ต้องรองรับแรงลมสูงสุดและแรงลมกระโชก การติดตัง้ ต้องเหมาะสมกับระดับลม ประเภทของลม
ตาแหน่ง และคานวณตามข้อกาหนดที่เกี่ยวข้อง
ในการประเมินส่วนประกอบเหล่านี้ ความเร็วลมสูงสุดที่คาดว่าจะเกิด (ถ้าทราบ) ณ สถานที่ติดตั้ง ต้อง
นามาคานวณ และพิจารณาถึงเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึน้ เช่น ดีเปรสชั่น ไต้ฝ่ นุ โครงสร้างรองรับ PV array ต้องมีความ
มั่นคงแข็งแรงตามข้อกาหนดของอาคาร ระเบียบ และมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
แรงลมที่กระทาต่อ PV array อาจสร้างภาระโหลดให้กับโครงสร้างอาคาร ภาระโหลดดังกล่าวควรนามา
ประกอบการประเมินความสามารถในการรับแรงกระทาดังกล่าวของอาคาร
2.2.6 การผุกร่อน
การออกแบบ PV module โครงติดตั้ง PV module และวิธีที่ใช้ยึดจับ PV module เข้ากับโครง และยึดจับโครงเข้ากับ
ตัวอาคาร หรือพืน้ ดิน ต้องทามาจากวัสดุที่ทนต่อการผุกร่อน ที่มีความเหมาะสมกับอายุการใช้งานและตามหน้าที่การ
ใช้งานของระบบ เช่น อะลูมิเนียม เหล็กกัลวาไนซ์ เป็ นต้น
ถ้า ส่ ว นประกอบของหลัง คา หรื อ โครงสร้า งอาคารเป็ นโลหะ โครงติ ดตั้ง PV module ต้อ งใช้วัสดุที่เป็ น
อะลูมิเนียม เหล็กไร้สนิม หรือเหล็กชุบกัลวาไนซ์
โครงติดตัง้ PV module ทัง้ หมด ต้องเลือกให้มีคณ
ุ ลักษณะเหมาะกับสถานที่และหน้าที่การใช้งานของระบบ
ในพืน้ ที่ชายทะเล การติดตัง้ PV module บนหลังคาที่มีไอเกลือในอากาศอยู่หนาแน่น แม้ว่าจะเกิดฝนตกก็
อาจไม่ช่วยชะล้างเกลือออกจากผิวหน้าของ PV module ได้มากนัก
ทัง้ นี ้ PV module และโครงสร้างหลังคา ควรมีการชะล้างด้วยนา้ สะอาดอย่างสม่าเสมอ
น๊อต สกรู และแหวนรองทุกตัว ควรเลือกให้มีความคงทน เหมาะสมสาหรับพืน้ ทีท่ ี่ติดตัง้ ใช้งาน โดยน๊อตและ
สกรูควรทาด้วยเหล็กไร้สนิม
ควรมีความเอาใจใส่ในการป้องกันการผุกร่อนทางไฟฟ้าเคมีระหว่างโลหะที่มีความแตกต่างกัน การผุกร่อน
อาจเกิดระหว่างโครงสร้างกับอาคาร และระหว่างอาคารกับตัวยึดและ PV module ควรใช้วสั ดุค่นั (stand-off material)
เพื่อช่วยลดการผุกร่อนทางไฟฟ้าเคมีระหว่างผิวหน้าโลหะกัลวาไนซ์ที่แตกต่างกัน เช่น แหวนรองไนลอน ฉนวนยาง
เป็ นต้น

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
22 | บทที่ 2 รูปแบบของการต่อ PV Array

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2656 (วสท. 022013-22)
บทที่ 3
ประเด็นด้านความปลอดภัย
3.1 ข้อกาหนดทั่วไป
PV array ที่ติดตัง้ ใช้งานบนอาคารต้องมีค่า VOC ARRAY สูงสุด ดังนี้
– แรงดันไฟฟ้ากระแสตรงไม่เกิน 1,000 โวลต์ สาหรับอาคารที่พกั อาศัย
– แรงดันไฟฟ้ากระแสตรงไม่เกิน 1,500 โวลต์ สาหรับอาคารอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ที่พกั อาศัย

3.2 การป้ องกันการเกิดไฟดูด (electric shock)


สายไฟและการเดินสายไฟวงจรไฟฟ้ากระแสตรง ให้ประยุกต์ใช้ตามมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทย
นอกจากระบุไว้เป็ นพิเศษในมาตรฐานนี้
ส าหรั บ ระบบไฟฟ้า แรงต่ า เคเบิ ล และส่ ว นประกอบใน PV array ต้อ งถู ก ป้ อ งกั นขั้น ต่ า ด้ว ยฉนวนเสริ ม
(reinforced insulation) ระหว่างสายตัวนาที่มีไฟกับส่วนต่อลงดิน หรือส่วนเปิ ดโล่งอื่น ๆ ที่นาไฟฟ้าได้
หมายเหตุ: เนือ่ งด้วยความเสีย่ งของการอาร์กไฟฟ้ากระแสตรง แนะนาให้ใช้ฉนวนสองชัน้ เพือ่ ความปลอดภัย
การต่อลงดินและการเชื่อมต่อสาหรับส่วนโลหะที่เปิ ดโล่งของ PV module ต้องเป็ นไปตามข้อ 4.4.2 ในระบบที่
ซึ่งเอาท์พุทของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าต่อกับส่วนต่อลงดินเพื่อเป็ นจุดอ้างอิง (เช่น ในกรณีระบบผลิตไฟฟ้าจาก
พลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตัง้ บนหลังคามีการเชือ่ มต่อกับระบบของการไฟฟ้า) ถ้าใช้อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าแบบไม่
แยกส่วน จะไม่อนุญาตให้มีตวั นาต่อลงดินตามหน้าที่ (functional earthing) ในด้านกระแสตรง

3.3 การป้ องกันกระแสเกิน


3.3.1 ข้อกาหนดทั่วไป
ความผิดพร่องที่เกิดจากการลัดวงจรใน PV module กล่องต่อสาย กล่องรวมสาย การต่อสายไฟใน PV module หรือ
การลัดวงจรลงดินใน PV array จะทาให้เกิดกระแสเกินภายใน PV array
PV Module เป็ น แหล่ง กาเนิ ดจากั ดกระแส แต่ เ นื่อ งจาก PV module สามารถต่ อขนานกั บแหล่ง กาเนิด
ภายนอก (เช่น แบตเตอรี่) จึงอาจเกิดกระแสเกินเนื่องจาก
ก. PV string ข้างเคียงที่ต่อขนานอยู่
ข. อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าบางประเภทที่ PV module ต่ออยู่ หรือจากแหล่งกาเนิดภายนอกอื่นๆ หรือ
ทัง้ สองส่วน

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
24 | บทที่ 3 ประเด็นด้านความปลอดภัย

3.3.2 ข้อกาหนดสาหรับการป้ องกันกระแสเกิน


การพิจารณาให้มีการป้องกันกระแสเกิน ให้เป็ นตามที่กาหนดโดยผูผ้ ลิต PV module และบริภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง หาก
ผูผ้ ลิตไม่ได้ระบุการป้องกันกระแสเกินเอาไว้ ต้องปฏิบตั ิตามข้อ 3.3.3 ถึง 3.3.5
อุปกรณ์ที่ใช้ป้องกันกระแสเกิน ต้องเป็ นไปตามข้อกาหนดต่อไปนี้
- เซอร์กิตเบรกเกอร์ ตามข้อ 4.3.4 หรือ
- ฟิ วส์ ตามข้อ 4.3.8
- ต้องไม่ใช้อุปกรณ์ที่เป็ นสารกึ่งตัวนา (solid-state) เป็ นอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน
3.3.3 การป้ องกันกระแสเกินใน PV string
ถ้ามีการติดตัง้ PV string ตัง้ แต่ 3 string ขึน้ ไปต่อหนึง่ PV array ต้องมีการป้องกันกระแสเกินใน PV string ตาม
เงื่อนไข (3.1)
((SA-1) x ISC MOD) > IMOD MAX OCPR (3.1)
หมายเหตุ :
(1) ต้องเลือกขนาดของอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินให้เหมาะสม
(2) อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินสาหรับแถวที่มีพิกดั กระแสแตกต่างกัน ไม่ครอบคลุมในมาตรฐานนี ้ ไม่แนะนาให้ใช้ แต่หากจะ
ใช้ก็ควรจะพิจารณาการป้องกันกระแสเกินอย่างละเอียดรอบคอบ
3.3.4 การกาหนดขนาดของการป้ องกันกระแสเกิน
3.3.4.1 การป้ องกันกระแสเกินใน PV string
เมื่อต้องมีการป้องกัน PV string ให้พิจารณาดาเนินการตามข้อใดข้อหนึง่ ดังนี้
ก. PV string แต่ละแถว อาจจะมีการป้องกันด้วยอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน (อ้างอิงรูปที่ 2.4 และ 2.5)
โดยที่พิกัดการป้องกันกระแสเกินที่ระบุสาหรับอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินของ PV string คือ In โดยที่
In > 1.5 x ISC MOD และ (3.2)
In > 2.4 x ISC MOD และ (3.3)
In ≤ IMOD MAX OCPR (3.4)
ข. เมื่อ IMOD MAX OCPR มากกว่า 5 x ISC MOD PV string อาจถูกต่อขนานรวมกันแล้วได้รบั การป้องกันภายใต้
อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินหนึ่งตัว (อ้างอิงตามรูปที่ 3.1) โดยที่
Ing ≥ 1.5 x (Sg) x ISC MOD และ (3.5)
Ing < IMOD MAX OCPR – (Sg-1) x ISC MOD (3.6)

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 3 ปร ็ า า ป อ | 25

เมื่อ
Sg คือ จานวนของ PV string ภายในกลุ่มเดียวกัน ภายใต้การป้องกันโดยอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินหนึ่งตัว
Ing คือ พิกัดการป้องกันกระแสเกินที่ระบุสาหรับกลุ่มของอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน
หมายเหตุ:
(1) ในพืน้ ทีท่ คี่ วามเข้มแสงอาทิตย์สูงควรจะเลือกขนาดพิกดั ของฟิ วสสูงกว่าค่าปกติเพือ่ หลีกเลี่ยงการตัดวงจรทีไ่ ม่ตอ้ งการ
(2) ใน PV module บางเทคโนโลยี ISC MOD มีค่ามากกว่าค่าพิกัดกระแสที่ร ะบุในช่วงแรกของการใช้งาน ข้อมูล เหล่านีค้ วร
นามาพิจารณาในการออกแบบการป้องกันกระแสเกินและกาหนดพิกดั ของเคเบิล

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
26 | บทที่ 3 ประเด็นด้านความปลอดภัย

PV sub-array
า บ ของ
ก ่ PV

ก ่องร า
+ + +
ของ PV string อปกร ปองก กร แ ก
Ing
ของก ่ PV string
Ing า บ ของ
Ing PV sub-array

Ing
Ing
Ing
- - -

ก ่องร า
PV sub-array ของ PV array
า บ ของ
ก ่ PV
ก ่องร า
+ + + ของ PV string
Ing
Ing
Ing

Ing
Ing า บ ของ
PV sub-array
Ing
- - -

หมายเหตุ :
(1) รู ปนีเ้ ป็ นกรณีพิเศษและออกแบบสาหรับการป้ องกันกระแสเกิ นที่พิกัด ของ PV module มีค่ามากกว่าพิกัดกระแสการ
ทางานทีร่ ะบุไว้มาก ๆ
(2) รูปนีเ้ ป็ นเพียงตัวอย่าง ทัง้ นีต้ วั ตัดวงจร อุปกรณ์ตดั วงจร และ/หรืออุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินอาจจาเป็ นในบางกรณี แต่
เพือ่ ความง่ายอุปกรณ์ดงั กล่าวจึงไม่แสดงในรูปนี ้
รูปที่ 3.1 ตัวอย่างของไดอะแกรม PV array เมื่อ PV string ถูกต่อรวมกัน
โดยใช้อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินหนึ่งตัวต่อกลุม่ ของ PV array

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 3 ปร ็ า า ป อ | 27

3.3.4.2 การป้ องกันกระแสเกินใน PV sub-array


3.3.4.2.1 array ขนาดเล็ก
อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินในวงจร PV sub-array อาจไม่มีความจาเป็ น หากกระแสลัดวงจรรวมของ PV array ทัง้ หมด
คูณด้วย 1.25 มีค่าน้อยกว่าพิกัดนากระแสของทุกเคเบิลของ PV sub-array อุปกรณ์ปลด-สับ และอุปกรณ์เชื่อมต่อ
3.3.4.2.2 array อื่นๆ
เมื่อข้อกาหนดในข้อ 3.3.4.2.1 ไม่ครอบคลุม และถ้า PV array มีจานวนมากกว่าสอง PV sub-array ต้องมีการติดตัง้
การป้องกันกระแสเกินใน PV sub-array ดังกล่าว โดยพิกัดกระแสที่ระบุ (In) ของอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินสาหรับ PV
sub-array คานวณจากสูตรต่อไปนี้
In ≥ 1.25 x ISC S-ARRAY (3.7)
In ≤ 2.4 x ISC S-ARRAY (3.8)
หมายเหตุ: ให้ใช้ตัวคูณ 1.25 แทนตัวคูณ 1.5 เพื่อให้เกิดความยืดหยุ่นกับผูอ้ อกแบบ แต่ควรระมัดระวังในการใช้ตวั
คูณทีต่ ่ากว่า โดยเฉพาะพืน้ ทีท่ มี่ ีความเข้มของแสงอาทิตย์สูงเกินค่ามาตรฐานและมีโอกาสเกิดขึ้นบ่อยครัง้ เพราะความเข้มนีอ้ าจจะทา
ให้เกิดการตัดวงจรโดยไม่พึงประสงค์
3.3.4.3 การป้ องกันกระแสเกินใน PV array
พิกัดกระแสที่ระบุ (In) ของอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินสาหรับ PV array คานวณจากสูตรต่อไปนี้
In ≥ 1.25 x ISC ARRAY (3.9)
In ≤ 2.4 x ISC ARRAY (3.10)
3.3.5 ตาแหน่งของการป้ องกันกระแสเกิน
เมื่อต้องติดตัง้ อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินตามข้อ 3.3 สาหรับ PV string, PV sub-array และ PV array อุปกรณ์ป้องกัน
กระแสเกินต้องติดตัง้ ในลักษณะต่อไปนี้
ก. สาหรับการป้องกันกระแสเกินของ PV string ณ บริเวณที่เคเบิลของ PV string ต่อกับเคเบิลของ PV
sub-array หรือเคเบิลของ PV array ในกล่องรวมสายของ PV string ให้อา้ งอิงตามรูปที่ 2.4 ถึง 2.5
ข. สาหรับการป้องกันกระแสเกินของ PV sub-array ณ บริเวณที่เคเบิลของ PV sub-array ต่อกับเคเบิล
ของ PV array ในกล่องรวมสายของ PV array ให้อา้ งอิงตามรูปที่ 2.5
ค. สาหรับการป้องกัน PV array ณ บริเวณที่เคเบิลของ PV array ต่อกับวงจรการใช้งาน หรืออุปกรณ์แปลง
ผันกาลังไฟฟ้า ให้อา้ งอิงตามรูปที่ 2.3 ถึง 2.5
หมายเหตุ: ตาแหน่งของอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน ณ จุดปลายของเคเบิลทัง้ สอง ทีอ่ ยู่ไกลทีส่ ดุ จาก PV sub-array หรือ
PV string ต้องสามารถป้องกันระบบและสายจากกระแสผิดพร่องทีไ่ หลจากส่วนอืน่ ๆ ของ PV array

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
28 | บทที่ 3 ประเด็นด้านความปลอดภัย

ใน PV array แรงดันต่า หากจาเป็ นต้องติดตัง้ อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน ต้องติดตัง้ ที่ตวั นากระแสทุกเส้นที่


ไม่ได้ต่อลงดินโดยตรง
หมายเหตุ: การต่อลงดินผ่านอุปกรณ์ตดั วงจรผิดพร่องลงดิน (earth fault interrupter) ถือว่าเป็ นการต่อลงดินโดยตรง การ
ต่อลงดินผ่านความต้านทานไม่ถือว่าเป็ นการต่อลงดินโดยตรง
อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินของ PV array ที่มีแรงดันต่าพิเศษ ซึ่งจาเป็ นสาหรับเคเบิลของ PV string และ
เคเบิลของ PV sub-array ต้องติดตั้งที่สายตัวนาขัว้ บวกหรือไม่ก็ที่สายตัวนาขัว้ ลบ (จานวนของตัวนากระแสลบด้ว ย
หนึ่ง) เมื่อ PV array ที่มีแรงดันต่าพิเศษถูกต่อลงดิน อุปกรณ์ป้องกันต้องติดตัง้ ในสายตัวนากระแสทุกเส้นที่ไม่ต่อลง
ดิน

3.4 การปองก า ร่อง ง (Protection Against Earth Faults)


3.4.1 ขอกำห ท่ ป
ข้อกาหนดในการตรวจจับความผิดพร่อง การดาเนินการปลดวงจรและการแจ้งเตือนขึน้ อยู่กับลักษณะของการต่อลง
ดินและสถานการณ์แยกอิสระของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าซึ่งต่อเชื่อมกับ PV array
หมายเหตุ: ดูภาคผนวก ก สาหรับตัวอย่างระบบการต่อลงดินและความผิดพร่องลงดิน
PV array ทุกตัวที่ต่อกับอินเวอร์เตอร์ประเภทเชื่อมต่อกับโครงข่ายของการไฟฟ้า อุปกรณ์อินเวอร์เตอร์ตอ้ ง
เป็ นไปตามข้อกาหนดของการไฟฟ้า และ IEC 62109-2
หมายเหตุ : IEC 62109-2 ระบุ ข้อกาหนดของอินเวอร์เตอร์ขนึ้ อยู่กบั การแยกอิสระของอินเวอร์เตอร์และการต่อลงดินของ PV
array และข้อกาหนดของการเริ่มส่งสัญญาณเตือนความผิดพร่องลงดิน ทัง้ ขณะทางาน และ/หรือ ขณะเริ่มต้นทางานของอินเวอร์เตอร์
อินเวอร์เตอร์ตอ้ งติดตัง้ ตามข้อกาหนดในคู่มือของผูผ้ ลิตอย่างเคร่งครัดตามทีร่ ะบุใน IEC 62109-2
หมายเหตุ : ตาม IEC 62109-2 ผูผ้ ลิตต้องจัดหาคู่มือสาหรับการติดตัง้ อินเวอร์เตอร์ลักษณะต่าง ๆ ของอินเวอร์เตอร์โดย
ขึน้ อยู่กบั การป้องกันภายในอินเวอร์เตอร์และรูปแบบการต่อของอินเวอร์เตอร์
ฟั งก์ชนั แจ้งเตือนภายนอกของอินเวอร์เตอร์ (อ้างอิง IEC 62109-2 หัวข้อ 13.9) ใช้เพือ่ แจ้งเตือนความผิด
พร่องลงดิน ตามรายละเอียดในข้อ 3.4.2 (ค)
3.4.2 กรณีอินเวอร์เตอร์ภายในไม่มีหม้อแปลง(แบบแยกขดลวด) หรือด้านวงจรกระแสสลับไม่มีหม้อ
แปลง (แบบแยกขดลวด) และ PV array ไม่มีการต่อลงดิน (Unearthed PV array) มีข้อกาหนดดังต่อไปนี้
ก. ห้ามต่อลงดินตามหน้าที่ (Functional earthing, FE ) สาหรับตัวนาที่มีไฟฟ้าด้านกระแสตรง
ข. ต้องมีการตรวจจับค่าความต้านทาน PV array โดยอุปกรณ์ตรวจวัดค่าฉนวนตาม IEC 61557-2 หรือ
อุปกรณ์เฝ้าตรวจฉนวน (insulation monitoring device, IMD) ตาม Annex C ของ IEC 61557-8 เพื่อ

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 3 ปร ็ า า ป อ | 29

หลี กเลี่ ยงความเสี่ ยงที่จะเกิ ดเพลิ ง ไหม้ ฟั ง ก์ช่ ันการทางานที่กล่ า วมาแล้ว ข้า งต้นอาจมี อ ยู่ ภ ายใน
อินเวอร์เตอร์ได้
ค่าความเป็ นฉนวนต่าสุดระหว่าง PV array เทียบกับดินสาหรับการตรวจจับการเสียสภาพของฉนวนจะต้อง
เป็ นไปตามตารางที่ 3.1
ตารางที่ 3.1 ค่าความเป็ นฉนวนต่าสุดระหว่าง PV array เทียบกับดิน
พิกัด PV array ค่าความเป็ นฉนวนต่าสุด
kW ระหว่าง PV array เทียบกับดิน
(Rlimit), k
 20 30
 20 ถึง  30 20
 30 ถึง  50 15
 50 ถึง  100 10
 100 ถึง  200 7
 200 ถึง  400 4
 400ถึง  500 2
 500 1

หากการตรวจจับค่าความเป็ นฉนวนระหว่าง PV array เทียบกับดินมีค่าต่ากว่า Rlimitให้อินเวอร์เตอร์หยุดการ


ทางาน (shutdown) และฟั งก์ช่นั การทางานการแจ้งเตือนอัตโนมัติตามข้อ 3.4.2(ค) และ ฟั งก์ช่นั การตัดวงจรอัตโนมัติ
ตามข้อ 3.4.3 (ข) เริ่มทางานตามลาดับ การแจ้งเตือนนีจ้ ะหายไปเมื่อค่าความต้านทานฉนวน PV array เทียบกับดินมี
ค่าสูงกว่าRlimit
ค. การแจ้งเตือนฉนวนผิดพร่อง (Insulation alarm)
จะต้องมีการติดตั้งเครื่องแจ้งเตือนฉนวนผิดพร่องซึ่งนาไปสู่การแก้ไขความผิดพร่องดังกล่าว การแจ้ง
เตือนจะทางานซา้ อย่างน้อยทุกๆ ชั่วโมงจนกว่าความผิดพร่องนัน้ จะได้รบั การแก้ไข
การแจ้งเตือนอาจอยู่ในรู ปของเสียงเตือน เพื่อให้เจ้าหน้าที่ หรือเจ้าของ ที่ทางานอยู่บริเวณนั้นรับรูถ้ ึง
สัญญาณเตื อน หรื อ อาจอยู่ ในรู ปแบบการสื่อสารแจ้งเตื อนแบบอื่ น ๆ เช่น จดหมายอิ เล็กทรอนิกส์
ข้อความสัน้ หรือ อื่น ที่คล้ายกัน เพื่อแจ้งเตือนผูด้ แู ลระบบ
ชุดคู่มือ การทางานต้อ งมี ไว้ใ ห้กับเจ้า ของระบบเพื่อ ที่จะได้ดาเนินการ ทั้ง นี้ใ ห้ร วมถึ ง ขั้นตอนการ
ปฏิบตั ิงานเมื่อระบบมีการแจ้งเตือน

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
30 | บทที่ 3 ประเด็นด้านความปลอดภัย

3.4.3 กร อี อร ตอร า ีห อแป ง (แบบแ กข ) หรือ ีห อแป ง (แบบแ กข ) า งร


กร แ บ แ PV array กี ารต่อ ง ตา ห าที่ (Functional earthing, FE) ีขอกำห งต่อ ป ี้
ก. ต้องมีการตรวจจับค่าความต้านทานฉนวน PV array ตามที่ระบุไว้ในข้อ 3.4.2 (ข) และหากการตรวจจับ
ค่าความเป็ นฉนวนระหว่าง PV array เทียบกับดิน มีค่าต่ากว่า Rlimitแล้ว ให้อินเวอร์เตอร์หยุดการทางาน
(shutdown)และฟั งก์ช่นั การทางานการแจ้งเตือนอัตโนมัติ ตามข้อ 3.4.2 (ค) และ 3.4.3 (ข) เริ่มทางาน
ตามลาดับ
ข. การตัดวงจรอัตโนมัติ การติดตัง้ เครื่องตัดวงจรสามารถติดตัง้ ด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งดังต่อไปนี้
(1) ติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่วแบบ B (RCD type B) ตาม IEC 62423 เพื่อตัดวงจรทุกตัวนาที่มีไฟฟ้าด้าน
วงจรกระแสสลับ โดยมีค่า INดังต่อไปนี้
- สูงสุดไม่เกิน 300 mA สาหรับอินเวอร์เตอร์ที่มีพิกัดจ่ายไฟฟ้าต่อเนื่องขนาดไม่เกิน 30 kVA
- สูงสุดไม่เกิน 10 mA ต่อขนาด kVA อินเวอร์เตอร์ที่มีพิกัดจ่ายไฟฟ้าต่อเนื่อง กรณีอินเวอร์ขนาด
เกิน 30 kVA
(2) ติดตั้งเครื่องตัดวงจรที่สามารถตัดวงจรทุกตัวนาที่มีไฟฟ้าออกจากส่วนที่มีความผิดพร่องของ PV
array ออกจากอินเวอร์เตอร์ภายใน 0.3 วินาที เมื่อมีกระแสรั่วลงดินเกิน 300 mA และ เกิน 10 mA
ต่อขนาด kVA อินเวอร์เตอร์ สาหรับพิกัดอินเวอร์เตอร์ ไม่เกิน 30 kVA และเกิน 30 kVA ตามลาดับ
(3) ติดตัง้ เครื่องเฝ้าตรวจกระแสเหลือ (Residual current monitors, RCM)
เครื่องเฝ้าตรวจกระแสเหลือ จะต้องสามารถวัดค่ากระแสเหลือเป็ น RMS ที่มีองค์ประกอบทัง้ ค่า
กระแสสลับและกระแสตรงได้
เมื่อ RCM บ่งชีว้ ่ามีค่ากระแสเหลือเกินค่าที่กาหนดดังต่อไปนี้ จะต้องมีอุปกรณ์ตัดวงจรตัวนาที่มี
ไฟฟ้าออกที่สามารถทางานได้ภายในเวลา0.3 วินาที
- เกิน 300 mA สาหรับอินเวอร์เตอร์ที่มีพิกัดจ่ายไฟฟ้าต่อเนื่องขนาดไม่เกิน 30 kVA
- เกิน 10 mA ต่อขนาด kVA อินเวอร์เตอร์ที่มีพิกัดจ่ายไฟฟ้าต่อเนื่อง กรณีอินเวอร์เตอร์ขนาด
เกิน 30 kVA
ค. ต่อลงดินตามหน้าที่ตัวนาของ PV array ขั้วบวก หรือ ขั้วลบผ่านตัวต้านทาน โดยพิกัดตัวต้านทานมี
ดังต่อไปนี้
(1) ค่าความต้านทานต่าสุดเท่ากับค่าแรงดันสูงสุดของ PV array หารด้วย 0.3
(2) ตัวต้านทานต้องมีพิกัดกาลังไฟฟ้าต่าสุดเท่ากับค่าแรงดันสูงสุดของ PV array ยกกาลังสอง หาร
ด้วยความต้านทานที่ได้จากข้อ (1)
(3) มีพิกัดแรงดันไฟฟ้าไม่นอ้ ยกว่าแรงดันสูงสุดของ PV array

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 3 ปร ็ า า ป อ | 31

3.4.4 กร อี อร ตอร า ีห อแป ง (แบบแ กข ) หรือ ีห อแป ง (แบบแ กข ) า งร


กร แ บ แ PV array ่ กี ารต่อ ง (Unearthed PV array)
ต้องมีการตรวจจับค่าความต้านทานฉนวน PV array ตามที่ระบุไว้ในข้อ 3.4.2 (ข) และหากการตรวจจับค่าความเป็ น
ฉนวนระหว่าง PV array เทียบกับดิน มีค่าต่ากว่า Rlimit แล้ว ให้ฟังก์ช่นั การทางานการแจ้งเตือนอัตโนมัติตามข้อ 3.4.2
(ค) เริ่มทางานโดยการแจ้งเตือนจะหายไปเมื่อค่าความต้านทานฉนวน PV array เทียบกับดินมีค่าสูงกว่า Rlimit

3.5 การป้ องกันผลกระทบจากฟ้ าผ่า และแรงดันเกิน (Protection Against Effect of Lightning and
Overvoltage)
3.5.1 ข้อกาหนดทัว่ ไป
ฟ้าผ่าลงดินอาจเป็ นอันตรายต่อโครงสร้างและสายที่ต่อเชื่อม วิธีการหลักที่มีประสิทธิภาพที่สดุ สาหรับการป้องกัน
ความเสียหายต่อโครงสร้าง คือ การใช้ระบบป้องกันฟ้าผ่า ซึ่งประกอบด้วยระบบป้องกันภายนอกและภายใน
การติดตัง้ PV array บนอาคาร มีความเสี่ยงที่จะถูกฟ้าผ่าโดยตรงค่อนข้างต่า ถึงแม้ว่าอาคารนัน้ ไม่มีระบบ
ป้องกันฟ้าผ่าอยู่ ก็ไม่มีความจาเป็ นที่จะต้องติดตัง้ ระบบป้องกันฟ้าผ่าเพิ่มเติม
อย่างไรก็ตาม ถ้าลักษณะทางกายภาพของอาคารเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากเนื่องจากการติดตัง้ PV array
แนะนาให้พิจารณาความจาเป็ นในการติดตัง้ ระบบป้องกันฟ้าผ่า ตามมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า
ในกรณีที่บางอาคารไม่มีความจาเป็ นต้องติดตัง้ ระบบป้องกันฟ้าผ่า แต่การป้องกันแรงดันเกินอาจยังมีความ
จาเป็ นเพื่อป้องกัน PV array อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า และส่วนอื่น ๆ ของ PV array ที่มีความเสี่ยง
สาหรับอาคารที่พกั อาศัยที่ตงั้ อยู่บริเวณที่มีความเสี่ยงต่อฟ้าผ่า แนะนาให้พิจารณาการติดตัง้ ระบบป้องกัน
แรงดันเกินเนื่องจากฟ้าผ่าอย่างเหมาะสมตามมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า
ถ้า บนอาคารมี ร ะบบป้องกั นฟ้าผ่า ติ ดตั้งอยู่แ ล้ว ระบบป้อ งกั นฟ้าผ่า ของระบบผลิตไฟฟ้า จากพลังงาน
แสงอาทิตย์ควรจะรวมเข้ากับระบบป้องกันผ่าฟ้าอย่างเหมาะสมตามมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า
หมายเหตุ:
(1) ควรมีการพิจารณาอย่างรอบคอบ เพือ่ ตัดสินใจว่าจะรวมระบบป้องกันฟ้าผ่าของระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
เข้ากับระบบป้องกันฟ้าผ่าทีม่ ีอยู่แล้วอย่างไร โดยเน้นในการรักษาระยะการแยกจากระบบป้องกันฟ้าผ่า ถ้าเป็ นไปได้
(2) การป้องกันแรงดันเกินเป็ นเรื่องซับซ้อน และต้องมีการประเมินโดยละเอียด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพืน้ ทีท่ เี่ กิดฟ้าผ่าบ่อยครัง้
3.5.2 การป้ องกันแรงดันเกินจากฟ้ าผ่า (protection against lightning overvoltage)
มาตรการป้องกันแรงดันเกินจากฟ้าผ่า รวมถึง
ก. การประสานศักย์ให้เท่ากันทางฟ้าผ่า (lightning equipotential bonding : EB) การประสานส่วน
โลหะแยกต่างหากเข้ากับระบบป้องกันฟ้าผ่า โดยการต่อตัวนาโดยตรง หรือผ่านอุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์
(Surge Protection Devices : SPDs) เพื่อลดความต่างกันของศักย์ทางไฟฟ้าที่เกิดจากกระแสฟ้าผ่า
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
32 | บทที่ 3 ประเด็นด้านความปลอดภัย

ข. การหลีกเลีย่ งการต่อเป็ นวงรอบ (avoidance of wiring loops) ควรเดินสายเคเบิลกระแสตรงให้สาย


บวกและสายลบของแต่ละวงจรอยู่ติดกัน เพื่อหลีกเลี่ยงการเป็ นวงรอบของเคเบิลในระบบ อ้างอิง
หัวข้อ 4.4.4.3 ข้อกาหนดสาหรับการหลีกเลี่ยงการต่อเป็ นวงรอบและการรวมเคเบิลนี้ รวมถึงสายดิน
และตัวนาประสานที่เกี่ยวข้อง
ค. การติ ด ตั้ง อุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น เสิ ร์ จ อุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น เสิ ร ์จใช้ เ พื่อ จากั ด แรงดั น เกิ นชั่ว ครู่ ( transient
overvoltages) และนากระแสเสิร ์จให้ลงดิน การเลื อกใช้ การติ ดตั้ง และประสานการทางานของ
อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ อย่างเหมาะสม จะช่วยลดความเสียหายในอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ลงได้
ง. การกาบัง (shielding) ให้เป็ นไปตามมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 4
การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ า

4.1 ข้อกาหนดทั่วไป
อุ ปกรณ์แ ละสายไฟทั้งหมดต้อ งถู กเลือ กและติ ดตั้ง ตามมาตรฐานการติ ดตั้ง ทางไฟฟ้า สาหรับประเทศไทย และ
ข้อกาหนดของมาตรฐานนี ้
อุปกรณ์ตดั วงจรขณะมีโหลดต้องมีพิกัดที่เหมาะสมกับ PV array เพื่อทาให้เกิดความปลอดภัยในการตัดวงจร
(อ้างอิงหัวข้อ 4.4.1.3)
การต่อสายของ PV array และอุปกรณ์อื่นที่เกี่ยวข้องต้องเลือกอุปกรณ์ที่ทนต่อสภาพแวดล้อม เช่น แสงแดด
ลม นา้ และสภาวะแวดล้อมอื่นที่รุนแรง ตามความเหมาะสมในแต่ละสภาวะแวดล้อม
หมายเหตุ: ต้องให้ความใส่ใจในการป้องกันนา้ สะสมในสายเคเบิล/อุปกรณ์ประกอบ PV module

4.2 แรงดันสูงสุดของ PV array


แรงดันสูงสุดของ PV array ถูกพิจารณาให้มีค่าเท่ากับ VOC ARRAY ที่ปรับแก้สาหรับอุณหภูมิทางานคาดว่าต่าสุด
แรงดันสูงสุดของ PV array = VOC ARRAY +  V (Tmin-TSTC) M (4.1)
โดยที่ VOC ARRAY คือ แรงดันเปิ ดวงจร ณ สภาวะทดสอบมาตรฐาน (หน่วยเป็ นโวลต์)
V คือ สัมประสิทธิ์แรงดันอุณหภูมิ (V/◦C / module) ที่ผผู ้ ลิตระบุ (มีค่าเป็ นลบ สาหรับชนิด
ผลึกซิลิกอน)
Tmin คือ อุณหภูมิคาดว่าต่าสุดของวันตลอดทัง้ ปี ของเซลล์ (หน่วยเป็ นองศาเซลเซียส)
TSTC คือ อุณหภูมิของเซลล์ ณ สภาวะทดสอบมาตรฐาน (หน่วยเป็ นองศาเซลเซียส)
M คือ จานวนการต่ออนุกรมของ PV module ในแถว
การปรับแก้แรงดันสาหรับอุณหภูมิทางานคาดว่าต่าสุดต้องดาเนินการดังนี้
ก. ใช้สมการที่ (4.1)
ข. คานวณตามคู่มือผูผ้ ลิต
ค. ถ้าคู่มือผูผ้ ลิตไม่มีข้อมูลสาหรับการดาเนินการตามข้อ 4.1 และ 4.2 ในกรณีของ PV module ชนิดผลึก
ซิลิกอนและชนิดหลายผลึก ต้องคูณ VOC ARRAY ด้วยค่าปรับแก้ตามตารางที่ 4.1 โดยใช้อุณหภูมิทางานคาด
ว่าต่าสุดเป็ นอุณหภูมิอา้ งอิง
กรณีอุณหภูมิทางานคาดว่าต่าสุด ต่ากว่า -40 องศาเซลเซียส หรือกรณีที่เป็ นเทคโนโลยีอื่นนอกเหนือจากการ
ใช้งาน PV module ชนิดผลึกซิลิกอนและชนิดหลายผลึก การปรับแก้แรงดันต้องทาตามคู่มือของผูผ้ ลิตเท่านัน้

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
34 | บทที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ า

ตารางที่ 4.1 ค่าปรับแก้แรงดันสาหรับ PV module ชนิดผลึกซิลกิ อนและชนิดหลายผลึก


อุณหภูมิท่คี าดว่าต่าสุด (องศาเซลเซียส) ค่าปรับแก้
25 (TSTC) 1.00
24 ถึง 20 1.02
19 ถึง 15 1.04
14 ถึง 10 1.06
9 ถึง 5 1.08
4 ถึง 0 1.10
-1 ถึง -5 1.12
-6 ถึง -10 1.14
-11 ถึง -15 1.16
-16 ถึง -20 1.18
-21 ถึง -25 1.20
-26 ถึง -30 1.21
-31 ถึง -35 1.23
-36 ถึง -40 1.25

4.3 ข้อกาหนดสาหรับส่วนประกอบ
4.3.1 ข้อกาหนดทั่วไป
ส่วนประกอบทุกตัวต้องผ่านข้อกาหนดดังนี้
ก. ต้องมีพิกัดใช้งานสาหรับไฟกระแสตรง
ข. ต้องมีแรงดันพิกัดเท่ากับหรือมากกว่าแรงดันสูงสุดของ PV array ที่ระบุไว้ในข้อ 4.2
ค. ต้องมีพิกัดกระแสเท่ากับหรือมากกว่าค่าที่แสดงไว้ในตารางที่ 4.2
4.3.2 PV module
4.3.2.1 ข้อกาหนดทั่วไป
PV module รวมถึง PV module ที่มีอินเวอร์เตอร์ผนวกอยู่ในแผง ต้องเป็ นไปตามข้อกาหนดของมาตรฐาน มอก.2580
เล่ม 1 และ มอก.2580 เล่ม 2 และต้องใช้งานให้สอดคล้องกับพิกัดของแต่ละระดับชัน้ (class rating)
สาหรับการติดตัง้ ในอาคาร PV module ต้องเป็ นไปตามข้อกาหนดของมาตรฐาน มอก.2580 เล่ม 1 และ
มอก.2580 เล่ม 2
สาหรับ PV module class B ของมาตรฐานที่กล่าวมาข้างต้น ไม่ควรนามาใช้ในการติดตั้ง เนื่องจาก PV
module class B ไม่มีฉนวนเพียงพอสาหรับความปลอดภัยในการใช้งาน

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 4 การต ต้งอปกร า | 35

4.3.2.2 สภาวะการปฏิบตั ิงานและปั จจัยภายนอก


PV module แบบผลึกซิลิกอนต้องเป็ นไปตามมาตรฐาน มอก. 1843 หรือ IEC 61215 และ PV Module แบบฟิ ลม์ บาง
ต้องเป็ นไปตามมาตรฐาน มอก. 2210 หรือ IEC 61646 ระบบที่มีแรงดันกระแสตรงเกิน 50 โวลต์ ต้องมีไดโอดลัดข้าม
เว้นแต่ว่าผูผ้ ลิต PV module จะระบุไม่ให้ใช้ไดโอดลัดข้าม ถ้า PV module ไม่มีไดโอดลัดข้ามอยู่ภายใน จาเป็ นต้อง
ติดตั้งไดโอดลัดข้ามภายนอกอย่างน้อยมอดูลละ 1 ตัว PV module ที่มีอินเวอร์เตอร์รวมอยู่ในแผง ต้องเป็ นไปตาม
มาตรฐาน มอก. 1843, มอก. 2210 หรือ IEC 61215, IEC 61646 ตามวัสดุของ PV module ที่นามาใช้
4.3.3 PV array และอุปกรณ์ PV
4.3.3.1 ผลกระทบจากสิง่ แวดล้อม
อุปกรณ์ทุกตัวที่ติดตั้งภายนอกอาคารต้องมีการป้องกัน IP 54 เป็ นอย่างน้อย ตามมาตรฐาน มอก. 513 และต้องเป็ น
แบบทนต่อรังสีอลั ตราไวโอเลต
กล่องต่อสายและกล่องรวมสายที่ต่อถัดจาก PV array ในบริเวณที่อาจจะได้รับผลกระทบจากการฉีดนา้
เพื่อทาความสะอาด PV array ควรมีการป้องกัน IP 55
เครื่องห่อหุม้ ทุกชิน้ ต้องมี พิกัด IP ที่เหมาะสมกับสภาวะแวดล้อม ค่าพิกัด IP นี้ ต้องเหมาะสมสาหรับ
ตาแหน่งของการติดตัง้
ควรใช้ค่าพิกัด IP สาหรับการติดตัง้ ในแนวตัง้ เว้นเสียแต่ว่าผูผ้ ลิตระบุเป็ นอย่างอื่น
บานพับต่าง ๆ และฝาปิ ดของเครื่องห่อหุม้ ควรปิ ดกลับได้โดยอัตโนมัติเมื่อออกจากตาแหน่งเปิ ด เช่น ใช้แรงของสปริง
เพื่อป้องกันการเปิ ดทิง้ ไว้โดยไม่เจตนา และยังคงระดับการป้องกันตามพิกัด IP ที่กาหนด
การต่อสายไฟและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ท่อสายไฟ/เปลือกสายไฟ จะต้องรักษาระดับการป้องกัน IP ถ้าไม่
ปฏิบัติตามข้อกาหนดในคู่มือของผูผ้ ลิตอุปกรณ์ หรือเครื่องห่อหุม้ อาจมีความชืน้ เข้าไปทาความเสียหาย ถูกไฟดูด
หรือเกิดเพลิงไหม้ การติดตัง้ ต้องเป็ นไปตามข้อแนะนาของผูผ้ ลิต ดังตัวอย่างในรูปที่ 4.1

PV array PV array
รื่องห่อห

รื่องห่อห
ห งา ห งา
หมายเหตุ: ต้องแน่ใจว่าเครื่องห่อหุม้ ไม่ทาให้เกิดเงาบนแผง
รูปที่ 4.1 ตัวอย่างตาแหน่งติดตั้งตัวตัดวงจรของ PV array บนหลังคา

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
36 | บทที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ า

4.3.3.2 ตาแหน่งของ PV array และกล่องรวมสาย PV string


PV array และกล่องรวมสาย PV string ต้องติดตัง้ ในตาแหน่งที่พร้อมใช้งาน
4.3.4 เซอร์กิตเบรกเกอร์
เซอร์กิตเบรกเกอร์ที่ใช้ป้องกันกระแสเกินใน PV array ต้องมีคณ ุ สมบัติดงั นี้
ก. ต้อ งเป็ น ไปตามมาตรฐาน IEC 60898-2 สาหรับบ้า นอยู่ อ าศัย หรื อ อาคารประเภทอื่ น ๆ และ IEC
60947-2 สาหรับอาคารธุรกิจและโรงงาน
ข. ต้องเป็ นแบบกลับขัว้ ได้
ค. พิกัดของเซอร์กิตเบรกเกอร์ตอ้ งมีพิกัดตัดกระแสโหลดเต็มที่ และกระแสไฟฟ้าผิดพร่องของ PV array
และอุปกรณ์แหล่งกาเนิดอื่น ๆ (ที่เชื่อมต่อ) เช่น เครื่องกาเนิดไฟฟ้า และระบบไฟฟ้า (ถ้ามี)
ง. พิกัดสาหรับการป้องกันกระแสเกินเป็ นไปตามข้อ 3.3.4
4.3.5 อุปกรณ์ตัดวงจร
4.3.5.1 ข้อกาหนดทั่วไป
อุปกรณ์ตดั วงจรทุกตัวต้องมีเครื่องห่อหุม้ และการกัน้ ส่วนทีม่ ีไฟฟ้า ไม่ว่าอยู่ในสถานะปิ ด หรือเปิ ดวงจร และต้องเป็ นไป
ตามมาตรฐาน IEC 60947-1, 60947-3 และต้องมีกลไกที่ทางานด้วยมือแยกอิสระ
หมายเหตุ: พิกดั ของสวิตช์ลดลงตามอุณหภูมิทเี่ พิ่มขึน้
อุปกรณ์ตดั วงจร หรือตัวตัดวงจรต้องมีพิกัดกระแสเท่ากับหรือมากกว่าอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน หรือ ใน
กรณีที่ไม่มีอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน อุปกรณ์ตดั วงจร หรือตัวตัดวงจรต้องมีพิกัดกระแสเท่ากับหรือมากกว่าค่าต่าสุด
ของความสามารถในการนากระแสของวงจรซึ่งเป็ นไปตามตารางที่ 4.2

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 4 การต ต้งอปกร า | 37

ตารางที่ 4.2 พิกัดกระแสขั้นต่าของวงจร


วงจรที่ การเลือกพิกัดกระแสขั้นต่าของวงจร (Ic-min) และ/หรือ
การป้ องกัน
เกี่ยวข้อง ขนาดพืน้ ที่หน้าตัดของเคเบิล*,†
PV string กรณีไม่มีการป้องกันกระแสเกิน ถ้า SPO=1 Ic-min =1.25 x ISC MOD
ของ PV string ถ้า SPO>1 Ic-min = In+1.25 x ISC MOD x (SPO-1)
โดยที่
In คือ พิกัดกระแสของอุปกรณ์ป้องกันปลายทางที่อยู่ใกล้ที่สดุ
SPO เป็ นจานวนของ PV stiring ที่ต่อขนานกัน ที่ได้รับการป้องกันโดยอุปกรณ์
ป้องกันกระแสเกินที่อยู่ใกล้ที่สดุ
หมายเหตุ :
1) อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินปลายทางที่อยู่ใกล้ที่สุด อาจจะเป็ นการป้องกัน PV sub-array
หรืออุปกรณ์ป้องกัน PV array (ถ้ามี)
2) ถ้าไม่มีการป้องกัน กระแสเกิน ใน PV Array ค่า SPO เป็ นจานวนของ PV String ที่ต่อ
ขนานกันอยู่ใน PV array และพิกัดกระแส (In) ของอุป กรณ์ป้องกันกระแสเกินที่อยู่ใกล้
ที่สุดถูกแทนด้วยค่ากระแสย้อนกลับของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า
กรณีมีการป้องกันกระแสเกิน พิกัดกระแส (In) ของอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน ของ PV string (อ้างอิงหัว ข้อ
ของ PV string 3.3)
กลุ่ม PV กรณีกลุ่ม PV ได้รบั การป้องกัน พิกัดกระแส (Ing) ของอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินของกลุ่ม PV (อ้างอิงหัวข้อ 3.3)
จากอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน
จานวน 1 ตัว
PV sub-array กรณีไม่มีการป้องกันกระแสเกิน เลือกกระแสที่มีค่ามากที่สดุ จาก 2 ข้อนี ้
ของ PV sub-array ก) Ic-min = In +1.25 x ผลรวมค่ากระแสลัดวงจรของ PV sub-array อื่นทัง้ หมด
โดยที่ In คือ พิกัดกระแสของอุปกรณ์ป้องกัน PV array
ข) Ic-min = 1.25 × ISC S-ARRAY (ของ PV sub-array ที่เกี่ยวข้อง)
หมายเหตุ : เมื่ออุป กรณ์ป้องกันกระแสเกินของ PV array ไม่มี ค่า In ถูกแทนด้วยค่ากระแส
ย้อนกลับของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า ในสมการนี ้
การเปรียบเทียบระหว่างข้อ ก) กับ ข) จะจาเป็ นถ้า PV sub-array มีขนาดต่างกัน
กรณีมีการป้องกันกระแสเกิน พิกัดกระแส (In) ของอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินของ PV sub-array (อ้างอิง
ของ PV sub-array หัวข้อ 3.3)
PV array กรณีไม่มีการป้องกันกระแสเกิน Ic-min = 1.25 x ISC ARRAY หรือกระแสย้อนกลับของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า
ของ PV array ให้เลือกค่าที่มากกว่า
กรณีมีการป้องกันกระแสเกิน พิกัดกระแส (In) ของอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินของ PV array (อ้างอิงหัวข้อ
ของ PV array 3.3)
อุณหภูมิทางานของ PV module และสายไฟที่เกี่ยวข้องมีค่าสูงกว่าอุณหภูมิแวดล้อม อุณหภูมิขนั้ ต่าของการทางานสาหรับเคเบิลที่ติดตัง้ ใกล้เคียง หรือติดกับ PV
module เท่ากับค่าคาดหมายสูงสุดอุณหภูมิแวดล้อมเพิ่มไปอีก 40 องศาเซลเซียส
† ที่ตงั้ และวิธีการติดตัง้ (เช่น เปลือกหุม้ การยึด การฝัง อื่น ๆ) ของเคเบิลจาเป็ นต้องถูกพิจารณาในการกาหนดพิกัดเคเบิล คาแนะนาของผูผ้ ลิตเคเบิลจาเป็ นต้อง
คานึงสาหรับการกาหนดพิกัดตามวิธีการติดตัง้
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
38 | บทที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ า

4.3.5.2 ตัวตัดวงจร
ตัวตัดวงจรต้องเป็ นไปตามมาตรฐานข้อกาหนดของ IEC 60947-3 และต้องมีกลไกที่เป็ นแบบการทางานด้วยมือแบบ
กึ่งเป็ นอิสระ หรือการทางานด้วยมือที่เป็ นอิสระ
ตัวตัดวงจรและอุปกรณ์ตดั วงจรขณะมีโหลด ที่ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ของการป้องกัน หรือตัดวงจรต้องเป็ น
ดังนี ้
ก. ต้องเป็ นแบบกลับขัว้ ได้
ข. เมื่อมีอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินร่วมด้วย อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินต้องมีพิกัดเป็ นไปตามข้อ 3.3.4
ค. ต้องตัดวงจรในตัวนาที่นากระแสพร้อมกัน (simultaneous openings of poles)
ง. ต้องป้องกันไม่ให้มีการเปิ ดโดยผูท้ ี่ไม่เกี่ยวข้อง สาหรับสถานที่ ที่ไม่ใช่บา้ นอยู่อาศัย
จ. ต้องมีตวั แสดงสถานะว่าเปิ ด หรือปิ ดอยู่
ตัวตัดวงจรและอุปกรณ์ตัดวงจรที่ไม่สามารถตัดวงจรขณะมีโหลดได้ ต้องมีป้ายแสดงข้อความว่า “ห้าม
เปิ ดวงจรขณะจ่ายไฟ”
ตัวตัดวงจรของ PV array ต้องตัดวงจรของตัวนาทัง้ หมด (รวมถึงตัวนาสายดินที่ต่อลงดินตามหน้าที่) โดย
ตัวนาสายดินที่ต่อลงดินเพื่อความปลอดภัยต้องไม่ถูกตัดวงจร
หมายเหตุ: เต้ารับและเต้าเสียบ (plug and socket) ที่ถูกทามาพิเศษให้มีความสามารถในการตัดวงจรในภาวะโหลด
ปกติ หากนามาใช้ควรพิจารณาถึงความปลอดภัย เนื่องจากทุกระบบที่มีแรงดันเปิ ดวงจรมากกว่า 30 โวลต์ สามารถเกิดการอาร์ก
กระแสตรงได้ ถ้าต้องตัดวงจรในภาวะโหลดปกติ อาจเป็ นอันตรายและเกิดความเสียหายแก่จุดต่อ โดยที่คุ ณภาพของจุดต่อไม่ดีพอ ก็
สามารถทาให้เกิดความร้อนสูงทีจ่ ุดต่อได้
4.3.5.3 ตัวตัดวงจรผิดพร่องลงดิน (earth fault interrupters)
ตัวตัดวงจรผิดพร่องลงดินที่ติดตั้งทางด้านกระแสตรง ต้องทาหน้าที่ตัดวงจรให้กับ PV array ที่มีการต่อลงดินตาม
หน้าที่ เมื่อกระแสในตัวนาสายดินเพิ่มมากกว่าค่าพิกัดของตัวตัดวงจรผิดพร่องลงดิน
สวิตช์ หรืออุปกรณ์ตัดวงจรต้องติดตั้งระหว่าง PV array และจุดต่อลงดินของ PV array โดยอาจทางาน
ร่วมกับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า อุปกรณ์ตัดวงจรขณะเกิดความผิดพร่องลงดินต้องสามารถตัดกระแสผิดพร่องที่
มากที่สดุ จาก PV array ณ ค่าแรงดันไฟฟ้าสูงสุดของ PV array (อ้างอิงข้อ 4.2)
สวิตช์ หรืออุปกรณ์ตดั วงจรของจุดต่อลงดินตามหน้าที่ จะต้องไม่ทาให้ตวั นาสายดินที่ต่อลงดินเพื่อ ความ
ปลอดภัยถูกตัดวงจร

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 4 การต ต้งอปกร า | 39

4.3.6 เคเบิล
4.3.6.1 ขนาด
ขนาดของเคเบิลสาหรับเคเบิลของ PV string เคเบิลของ PV sub-array และเคเบิลของ PV array ต้องพิจารณา ดังนี้
ก. พิกัดป้องกันกระแสเกิน (อ้างอิง ตารางที่ 4.2)
ข. ค่ากระแสทางานปกติสงู สุด (อ้างอิง ตารางที่ 4.2)
ค. แรงดันตก และกระแสผิดพร่อง
โดยเลือกใช้ขนาดสายใหญ่ที่สดุ ที่ได้จากเงื่อนไขข้างต้น
เคเบิลขนาดเล็กที่สุดสาหรับสายไฟของ PV array จะต้องมาจากพิกัดกระแสที่ได้จากการคานวณจาก
ตารางที่ 4.2 อินเวอร์เตอร์บางตัว หรืออุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า อาจสามารถป้องกันกระแสย้อนกลับเข้าสู่ PV
array ภายใต้ภาวะผิดพร่อง ค่าของกระแสย้อนกลับนีต้ อ้ งถูกนามาพิจารณาในการคานวณพิกัดกระแสของวงจร
หมายเหตุ :
(1) ในบางเทคโนโลยีของ PV module, ISC MOD มีค่าสูงกว่าค่าปกติในช่วงสัปดาห์แรก หรือเดือนแรกของการทางาน ในบาง
เทคโนโลยีอนื่ ๆ ISC MOD อาจจะมีค่าเพิ่มขึน้ เรื่อย ๆ สิ่งเหล่านีค้ วรนามาพิจารณา เมื่อทาการคานวณพิกดั ของเคเบิล
(2) พิกดั กระแสย้อนกลับของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า ต้องกาหนดตามมาตรฐาน IEC 62109
(3) ตัวประกอบลดค่าพิกดั ของเคเบิล อาจมีค่าเปลี่ยนแปลงเมื่อมีอุณหภูมิแวดล้อมสูงขึน้ หรือมีแสงแดดกระทบโดยตรง
(4) อินเวอร์เตอร์/อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า บางตัวสามารถทางานเป็ นแหล่งจ่ายกระแสทางด้านขัว้ ของกระแสตรง กล่าว
อีกอย่างหนึ่ง อินเวอร์เตอร์สามารถส่งกระแสออกจากขั้วกระแสตรงภายใต้สภาวะผิดพร่อง ขนาดของกระแสย้อนกลับ
จาเป็ นต้องรายงานตามข้อกาหนดของมาตรฐาน IEC 62109-2
4.3.6.2 รูปแบบของเคเบิล
เคเบิลที่ใช้ใน PV array ต้องเป็ นดังนี ้
ก. มีพิกัดอุณหภูมิที่เหมาะสมตามลักษณะการใช้งาน
ข. ถ้าต้องอยู่กับสิ่งแวดล้อมภายนอก ต้องเป็ นแบบทนต่อรังสีอลั ตราไวโอเลต หรือได้รบั การป้องกันจาก
แสงอั ล ตราไวโอเลตด้ว ยวิ ธี ก ารที่ เ หมาะสม หรื อ ต้อ งติ ด ตั้ ง อยู่ ภ ายในท่ อ ที่ มี ก ารป้ อ งกั นรัง สี
อัลตราไวโอเลต ต้องยืดหยุ่น (สายตีเกลียวหลายเส้น) เพื่อรองรับการเคลื่อนที่ของ PV array / PV
module เนื่องจากความร้อนหรือลม
ค. ต้องไม่ลามไฟ ตามมาตรฐาน IEC 60332-1-3
สาหรับเคเบิลแรงต่าในทุกระบบ (string cable) ต้องเป็ นไปตามข้อกาหนด BS EN 50618 หรือ PV2-F
ตาม TUV 2 PfG 1169 หรือ UL 4703 หรือ VDE-AR-E 2283-4 หรือ IEC 62930
สาหรับระบบแรงต่า ควรใช้ทองแดงชุบดีบุกเพื่อลดการเกิดออกไซด์ของเคเบิล
เคเบิลในทุกระบบต้องเลือกที่เหมาะสมเพื่อลดความเสี่ยงการลัดวงจรลงดินและการลัดวงจรให้ต่าที่สดุ
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
40 | บทที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ า

หมายเหตุ: สาหรับระบบที่มีเคเบิล แรงต่ า การป้องกันความเสี่ยงทาได้โดยการใช้ฉ นวนสองชั้น สาหรับเคเบิลที่สัมผัสสิ่งแวดล้อ ม


ภายนอก หรือถูกวางไว้ในรางสายไฟหรือท่อสายไฟ การป้องกันความเสีย่ งสามารถทาได้อีกโดยการเพิ่มการป้องกันการต่อสายดังแสดง
ไว้ในรูปที่ 4.2

รูปที่ 4.2 เคเบิลตีเกลียว ตัวนาเดี่ยว พร้อมด้วยฉนวนและเปลือกหุม้


4.3.6.3 วิธีการติดตั้ง
4.3.6.3.1 ข้อกาหนดทัว่ ไป
เคเบิลต้องมีโครงสร้างมารองรับเพื่อทาให้เคเบิลไม่เกิดความล้าเนื่องจากผลกระทบจากลม หรือสภาพแวดล้อมอื่นที่
รุ นแรง เคเบิลต้องมีการกาหนดแนวเดินสาย มีโครงสร้างรองรับ หรืออยู่ในท่อ ตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า
สาหรับประเทศไทย
ถ้าเคเบิลของระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์มากกว่าหนึ่งระบบ เดินอยู่ในกล่องรวมสายหรือ
ทางเดินสายเดียวกันที่เปิ ดฝาได้ ควรมีการแยกกลุ่มให้ชัดเจนระหว่างเคเบิลในระบบกระแสตรง กับเคเบิลในระบบ
กระแสสลับ โดยใช้เข็มขัดรัดสาย หรือวิธีการอื่นที่คล้ายกันทุก ๆ ระยะ 1.5 เมตร
ช่องเดินสายและท่อที่อยู่บนหลังคา หรือพืน้ ต้องไม่ขดั ขวางทางเดินของนา้ หรือเป็ นแหล่งสะสมฝุ่นละออง
เคเบิลต้องถูกป้องกันจากรอยขีดข่วน ความเครียดทางกล แรงกด และแรงตัดเฉือน ซึ่งอาจเกิดขึน้ จากวัฏ
จักรความร้อน ลม และแรงอื่น ๆ ในขณะการติดตัง้ และตลอดอายุการใช้งาน
ท่อและช่องเดินสายทัง้ หมดที่โดนแสงแดดต้องเป็ นแบบที่ทนต่อรังสีอลั ตราไวโอเลต
เข็มขัดรัดสายเคเบิลที่เป็ นพลาสติกต้องไม่เป็ นวิธีการหลักในการรองรับเคเบิล
วิธีการรองรับและจับยึดสายเคเบิลต้องมีอายุการใช้งานยาวนานกว่า หรือเท่ากับระบบ
หมายเหตุ :
(1) เข็มขัดรัดสายเคเบิลทีเ่ ป็ นพลาสติกโดยทั่วไป เมื่อถูกแสงแดดจะเสือ่ มสภาพภายใน 2 ถึง 5 ปี
(2) เข็มขัดรัดสายเคเบิลทีเ่ ป็ นพลาสติกทีต่ ิดตัง้ อยู่ใต้ PV array ยังคงได้รบั ผลกระทบจากรังสีอลั ตราไวโอเลต
4.3.6.3.2 เคเบิลของ PV array ภายในอาคาร
เคเบิลของ PV array ภายในอาคาร ต้องมีความเสี่ยงต่าที่สดุ ในการเกิดการลัดวงจร และต้องมีเครื่องห่อหุม้ เป็ นชนิด
ช่องเดินสายโลหะ

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 4 การต ต้งอปกร า | 41

4.3.7 ตัวเชือ่ มต่อ (PV connector)


ตัวเชื่อมต่อ ต้องเป็ นไปตามข้อกาหนด ดังนี ้
ก. ต้องเป็ นไปตามมาตรฐาน IEC 62852
ข. ต้องป้องกันการสัมผัสส่วนที่มีไฟฟ้า ไม่ว่าอยู่ในสถานะต่อไฟ หรือไม่ต่อไฟ
ค. มีพิกัดกระแสเท่ากับหรือมากกว่าความสามารถในการนากระแสสาหรับวงจรที่อุปกรณ์เหล่านีต้ ิดตั้งอยู่
(อ้างอิงตารางที่ 4.2)
ง. ต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับขนาดเคเบิลที่ใช้ในวงจร
จ. มีพิกัดอุณหภูมิที่เหมาะสมกับสถานที่ที่ทาการติดตัง้
ฉ. ถ้าเป็ นแบบหลายขัว้ ต้องมีการระบุขวั้
ช. ต้องเป็ นฉนวนสองชัน้ (class II) สาหรับระบบที่ทางานภายใต้แรงดันสูงกว่าแรงดันต่าพิเศษ
ซ. ถ้าต้องสัมผัสสภาพแวดล้อมภายนอก ต้องเป็ นแบบใช้งานภายนอกอาคารที่ทนต่อรังสีอลั ตราไวโอเลต
และต้องมีพิกัด IP ที่เหมาะสมกับสถานที่ใช้งาน
ฌ. ต้องติดตัง้ เพื่อลดความเครียดทางกลที่ตวั เชื่อมต่อ เช่น การรองรับเคเบิลทัง้ สองด้านของตัวเชื่อมต่อ ควร
ใช้อุปกรณ์ที่มีคณ ุ ลักษณะเดียวกัน หรือรุ่นเดียวกัน
4.3.8 ฟิ วส์
4.3.8.1 ข้อกาหนดทัว่ ไป
ฟิ วส์ที่ใช้ใน PV array ต้องเป็ นไปตามข้อกาหนด ดังนี้
ก. เป็ นพิกัดใช้งานแบบกระแสตรง
ข. มีพิกัดแรงดันเท่ากับหรือมากกว่าแรงดันสูงสุดของ PV array ตามการพิจารณาในข้อ 4.2
ค. มีพิกัดตัดกระแสผิดพร่องจาก PV array และแหล่งกาเนิดอื่น ๆ เครื่องกาเนิดไฟฟ้า หรือระบบไฟฟ้า (ถ้ามี)
ง. เป็ นไปตามมาตรฐาน IEC 60269-6
สิ่งห่อหุม้ ที่ติดตัง้ ฟิ วส์อยู่ภายใน ต้องมีป้ายแสดงข้อความว่า “ห้ามใช้ตดั วงจรขณะมีโหลด”
4.3.8.2 ขัว้ รับฟิ วส์ (fuse holders)
ขัว้ รับฟิ วส์ ต้องเป็ นไปตามข้อกาหนด ดังนี้
ก. มีพิกัดแรงดันเท่ากับหรือมากกว่าแรงดันสูงสุดของ PV array ตามการพิจารณาในหัวข้อ 4.2
ข. มีพิกัดกระแสเท่ากับหรือมากกว่าพิกัดของฟิ วส์ที่ใช้งาน
ค. มี IP ที่เหมาะสมกับสถานที่ และต้องไม่นอ้ ยกว่า IP 2X ถึงแม้ว่าฟิ วส์จะถูกนาออกไปแล้ว

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
42 | บทที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ า

4.3.9 ไดโอดลัดข้าม (bypass diodes)


ไดโอดลัดข้ามอาจถูกใช้เพื่อป้องกัน PV module จากการย้อนกลับและความร้อนจากจุดร้อน (hot spot heating) ใน
กรณี ใ ช้ง านไดโอดลัดข้า มภายนอก และไม่ ได้ติดตั้ง อยู่ ใ น PV module ไดโอดลัดข้า มต้อ งทางานภายใต้สภาวะ
แวดล้อม ดังนี้
ก. มีพิกัดแรงดันอย่างน้อย 2 x VOC MOD ของ PV module ที่ได้รบั การป้องกัน
ข. มีพิกัดกระแสอย่างน้อย 1.4 x ISC MOD
ค. มีการติดตัง้ ตามที่ผผู ้ ลิต PV module แนะนา
ง. มีการติดตัง้ โดยปกปิ ดส่วนที่นาไฟฟ้าอย่างมิดชิด
จ. ต้องป้องกันการเสื่อมสภาพจากสภาวะแวดล้อม
ฉ. ควรมีตวั แสดงสถานะถ้าฟิ วส์ขาด
4.3.10 ไดโอดกัน้ กระแส (blocking diodes)
อาจใช้งานไดโอดกัน้ กระแสได้ แต่ไดโอดเหล่านีต้ อ้ งไม่ทาหน้าที่เป็ นอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน ถ้ามีการใช้งานไดโอด
กัน้ กระแส ไดโอดเหล่านีต้ อ้ งทางานในสภาวะแวดล้อม ดังนี้
ก. ต้องมีพิกัดแรงดันอย่างน้อย 2 เท่าของแรงดันสูงสุดของ PV array ตามการพิจารณาในข้อ 4.2
ข. มีพกิ ัดกระแสอย่างน้อย 1.4 เท่าของกระแสลัดวงจร ณ สภาวะทดสอบมาตรฐานของวงจรซึ่งไดโอดกั้น
กระแส ทาหน้าที่ป้องกัน นั่นคือ
(1) 1.4 x ISC MOD สาหรับ PV string (4.2)
(2) 1.4 x ISC S-ARRAY สาหรับ PV sub-array (4.3)
(3) 1.4 x ISC ARRAY สาหรับ PV array (4.4)
ค. มีการติดตัง้ โดยปกปิ ดส่วนที่นาไฟฟ้าอย่างมิดชิด
ง. ต้องป้องกันการเสื่อมสภาพจากสภาวะแวดล้อม
ถ้าไม่มีข้อกาหนดพิเศษจากผูผ้ ลิต สาหรับการใช้งานไดโอดกั้นกระแสใน PV string ของ PV array ไดโอด
เหล่านีต้ อ้ งติดตัง้ ตามรูปที่ 4.3

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 4 การต ต้งอปกร า | 43

+
อ ก้ กร แ

+ + +

- - -
+ + +

- - -
+ + +

- - -
-
รูปที่ 4.3 การใช้งานไดโอดกั้นกระแส
4.3.11 อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ า
อุ ปกรณ์แ ปลงผัน กาลังไฟฟ้า ต้อ งเป็ นไปตามมาตรฐาน IEC 62109-1 และอินเวอร์เตอร์ส่ว นเพิ่มต้องเป็ นไปตาม
มาตรฐาน IEC 62109-2
หมายเหตุ: กาหนดให้อินเวอร์เตอร์เป็ นไปตามมาตรฐาน IEC 62109-1 และ IEC 62109-2 สาหรับระบบ PV ที่เชื่อมต่อ
ระบบไฟฟ้า
4.3.12 Arc Fault Circuit Interrupter (AFCI กระแสตรง)
ต้องมี AFCI ทางด้านกระแสตรงของอินเวอร์เตอร์ เพือ่ ป้องกันการเกิดเพลิงไหม้เนื่องจากความผิดพร่องจากอาร์ก (arc
fault) ทางด้านกระแสตรงภายใน 2.5 วินาที
ข้ อยกเว้ น ในกรณีทรี่ ะบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ทไี่ ม่ได้ติดตัง้ บนหรือในอาคารและวงจรด้านไฟ
ออกของระบบผลิตไฟฟ้าฯ จาก PV Module ตัวสุดท้ายไปยังอินเวอร์เตอร์ มีการเดินสายแบบฝังดินโดยตรง หรือเดิน
ในช่องเดินสายโลหะ หรือรางเคเบิลโลหะทีป่ ิ ดมิดชิด ไม่ตอ้ งมี AFCI ก็ได้

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
44 | บทที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ า

4.3.13 อุปกรณ์หยุดทางานฉุกเฉิน (rapid shutdown)


ระบบผลิ ตไฟฟ้า จากพลัง งานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้ง บนหลัง คา ต้อ งมี อุ ปกรณ์ที่ทาหน้า ที่หยุ ดทางานฉุ กเฉิ น ซึ่ง มี
คุณลักษณะ ดังนี ้
(1) ลดแรงดันไฟฟ้าในบริเวณ Array boundary ให้เหลือไม่เกิน 80 โวลต์ ภายใน 30 วินาที หรือ ใช้อุปกรณ์
ควบคุมเพื่อลดความเสี่ยงจากการเกิดไฟดูดในการเกิดอันตรายต่อพนักงานดับเพลิง ซึ่งต้องมีผลการ
ทดสอบ ตามขัน้ ตอน หรือ ใบรับรอง ตามมาตรฐาน UL 3741 โดยรายงานผลการทดสอบต้องออกโดย
สถาบันหรือหน่วยงานทดสอบที่ เป็ นกลาง และได้มาตรฐาน ได้แก่ TUV, VDE, Bureau Veritas, UL,
CSA, InterTek หรือ PTEC
(2) ลดแรงดันไฟฟ้าในสายเคเบิลที่อยู่นอกบริเวณ Array boundary ให้เหลือไม่เกิน 30 โวลต์ ภายใน 30
วินาที
หมายเหตุ: Array boundary หมายถึง ขอบเขตโดยรอบ PV array เป็ นระยะ 300 มิลลิเมตร ในทุกทิศทาง
(3) ต้อ งมี การระบุอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่หยุ ดทางานฉุกเฉิน โดยติ ดตั้ง สวิ ตช์เริ่มการทางานในตาแหน่งที่
เจ้าหน้าที่ดบั เพลิงสามารถเข้าถึงได้ง่าย เช่น ผนังใกล้ทางเข้าอาคาร เป็ นต้น

4.4 ข้อกาหนดจุดติดตั้งและวิธีการติดตั้ง
4.4.1 การตัดวงจร
4.4.1.1 ข้อกาหนดทั่วไป
ใน PV array ต้องมีการตัดวงจรตามตารางที่ 4.3 เพื่อทาการแยกวงจร PV array จากอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า
และ/หรือวงจรใช้งาน เพื่อประโยชน์ในการบารุงรักษาและตรวจสอบ สามารถดาเนินการได้อย่างปลอดภัย
วิธีการตัดวงจรสาหรับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า ต้องเป็ นไปตามมาตรฐานสาหรับ ตัวตัดวงจร ยกเว้น
กรณีไมโครอินเวอร์เตอร์หรือ AC module
4.4.1.2 ตัวตัดวงจรสาหรับการบารุ งรักษาอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ า (ยกเว้นกรณี AC module)
ตัวตัดวงจรต้องสามารถแยกอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า จากขั้วไฟของ PV string เพื่อทาการบารุ งรักษาอุปกรณ์
แปลงผันกาลังไฟฟ้า ได้โดยปราศจากความเสี่ยงของการเกิดอันตรายจากไฟฟ้า ตัวเชื่อมต่อ PV connector ข้อ 4.3.7
สามารถทดแทนได้สาหรับไมโครอินเวอร์เตอร์
สาหรับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าทุกประเภทที่ซ่อมบารุงด้วยการเปลี่ยนอุปกรณ์ การตัดวงจรสามารถ
ทาได้ 2 วิธี ดังนี้
ก. ตัวตัดวงจรติดตัง้ ถัดจากอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า และแยกวงจรทางกายภาพ
ข. ตัว ตัดวงจรซึ่งมี การอิ นเตอร์ล็อกทางกลกับอุปกรณ์แ ปลงผันกาลังไฟฟ้า ที่นามาเปลี่ยนและทาให้
อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าถูกเปลี่ยนออกจากส่วนที่มีตวั ตัดวงจรโดยปราศจากอันตรายจากไฟฟ้า
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 4 การต ต้งอปกร า | 45

อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าที่ซ่อมโดยการเปลี่ยนอุปกรณ์ภายใน ตัวตัดวงจรต้องติดตั้งในตาแหน่งที่ทา
ให้การบารุ งรักษาอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าเป็ นไปได้โดยปราศจากอันตรายจากไฟฟ้า (เช่น เปลี่ยนชิน้ ส่วนใน
อินเวอร์เตอร์ เปลี่ยนพัดลม ทาความสะอาดไส้กรอง) ทั้งนี้ รวมถึงตัวตัดวงจรที่อยู่ภายในเครื่องห่อหุม้ เดียวกั นกั บ
อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า
4.4.1.3 การติดตั้ง
อุปกรณ์ตดั วงจรแบบอื่นและอุปกรณ์แยกวงจรที่มีคณ
ุ ลักษณะที่กาหนดไว้ในข้อ 4.3.5.2 อาจใช้เป็ นวิธีในการแยกวงจร
ชุดฟิ วส์ที่ใช้สาหรับการป้องกันกระแสเกิน สามารถนามาใช้ปลดวงจรแบบไม่มีโหลดได้ ถ้ามีระบบกลไก
การแยกวงจรเพื่อความปลอดภัย
เซอร์กิตเบรกเกอร์ที่มีพิกัดที่เหมาะสมสาหรับการป้องกันกระแสเกินอาจนามาใช้ในการตัดโหลดเพื่อแยก
วงจรออก โดยตาแหน่งของอุปกรณ์ป้องกั นกระแสเกิ นต้องอยู่ที่ปลายสุดของเคเบิล ซึ่ง เป็ นส่วนที่ไกลสุดจาก PV
module
หมายเหตุ: เหตุผลในการระบุตาแหน่งของอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินให้อยู่ปลายสุดของเคเบิล คือ กระแสผิดพร่องใน
ส่วนทีเ่ กิดขึน้ จากส่วนอืน่ ของ PV array ตัวอย่างเช่น ถ้า PV array ประกอบด้วย PV sub-array (a, b, c, และ d) และถ้าเคเบิลของ PV
sub-array “a” ประสบกับกระแสเกิน มันไม่สามารถสร้างกระแสเกินจาก PV sub-array “a” เนือ่ งด้วยมีการจากัดกระแส กระแสเกินนี ้
มาจากการรวมกันของกระแสจาก PV sub-array “b”, “c”, และ “d” ตาแหน่งทีเ่ หมาะสมในการตัดกระแสผิดพร่อง คือ จุดที่ PV sub-
array มารวมกัน เช่น ทีป่ ลายของเคเบิล PV sub-array ซึ่งห่างจาก PV module หลักการคล้ายกันนีส้ ามารถปรับใช้กบั เคเบิล PV string
ตารางที่ 4.3 ข้อกาหนดของอุปกรณ์ตัดวงจรในการติดตัง้ PV array
แรงดัน PV array วงจร หรือวงจรย่อย วิธีการแยกวงจร ต้องมี หรือ แนะนา
แรงดันต่าพิเศษ เคเบิลของ PV string อุปกรณ์ตดั วงจร แนะนา*
เคเบิลของ PV sub-array อุปกรณ์ตดั วงจร ต้องมี
เคเบิลของ PV array อุปกรณ์ตดั วงจรขณะมีโหลด ต้องมี
แบบพร้อมใช้งาน
แรงดันต่า เคเบิลของ PV string อุปกรณ์ตดั วงจร* แนะนา*
เคเบิลของ PV sub-array อุปกรณ์ตดั วงจร ต้องมี
อุปกรณ์ตดั วงจรขณะมีโหลด แนะนา
เคเบิลของ PV array อุปกรณ์ตดั วงจรขณะมีโหลด ต้องมี ยกเว้น PV module
แบบพร้อมใช้งาน ที่ต่อกับ PV module ไฟฟ้า
กระแสสลับ
หมายเหตุ * คือ พิกัด IP2X (ปลอดภัยจากการสัมผัสด้วยนิ้วมือ) ฟิ วส์แบบถอดได้ชนิดตัดโหลดได้ (fuse switch disconector) หรือ
เซอร์กิตเบรกเกอร์ เป็ นตัวอย่างสาหรับอุปกรณ์ตดั วงจรที่เหมาะสม ความสามารถของอุปกรณ์เหล่านีค้ ือ สามารถตัดกระแสโหลด ซึ่ง
จาเป็ นต้องเป็ นไปตามตารางข้างต้น

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
46 | บทที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ า

เมื่ อ อุ ปกรณ์ตัดวงจรของ PV sub-array หลายตัวถู กติ ดตั้งใกล้กับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า ก็ ไม่ มี


ความจาเป็ นที่ตอ้ งใช้โหลดเบรกสวิตช์สาหรับเคเบิลของ PV array ในกรณีนีอ้ ุปกรณ์ตัดวงจรสาหรับ PV sub-array
ต้องเป็ นอุปกรณ์ตดั วงจรขณะมีโหลด
เมื่อจาเป็ นต้องใช้ตามตารางที่ 4.3 อุปกรณ์ตดั วงจรต้องติดตัง้ ที่สายเส้นไฟ โดยสายเส้นไฟนัน้ ไม่มีการต่อ
ลงดิน ยกเว้นกรณีตวั ตัดวงจรของ PV array ที่ตอ้ งทางานทุกขัว้ รวมถึงตัวนาที่มีการต่อลงดินตามหน้าที่
เมื่อต้องตัดวงจรขณะมีโหลด ต้องสามารถตัดวงจรทุกตัวนา และตัวตัดวงจรต้องทางานร่วมกัน (ganged)
เพื่อที่จะทาให้ทุกขัว้ ของสวิตช์ทางานพร้อมกัน
4.4.2 ลักษณะการต่อลงดินและการต่อประสาน
4.4.2.1 ข้อกาหนดทั่วไป
การต่อลงดินของชิน้ ส่วนตัวนาที่เปิ ดโล่งของ PV array มีวตั ถุประสงค์ ดังนี้
ก. การต่อลงดินเพื่อความปลอดภัยสาหรับกระแสลัดวงจร
ข. ป้องกันฟ้าผ่า
ค. การต่อลงดินเพื่อประสานให้ศกั ย์ให้เท่ากัน
ตัวนาลงดินอาจทาหน้าที่มากกว่าหนึ่งหน้าที่ ขนาดและตาแหน่งของตัวนาเหล่านีข้ นึ ้ อยู่กับวัตถุประสงค์
ในการใช้งาน
PV array ที่มีค่าพิกัดแรงดันไฟฟ้าสูงกว่าค่าแรงดันต่าพิเศษ โครงของ PV module ที่เป็ นโลหะต้องต่อลง
ดิน และโครงสร้างโลหะที่รองรับ PV array ต้องต่อลงดินด้วย
การต่อลงดิน/การต่อประสานส่วนตัวนาที่เปิ ดโล่งของ PV array ต้องเป็ นไปตามข้อกาหนดในรูปที่ 4.4
4.4.2.2 ขนาดของตัวนาต่อประสาน
ตัวนาที่ใช้ในการต่อลงดินสาหรับโครงสร้างโลหะทีร่ องรับ PV array ต้องเป็ นตัวนาทองแดงที่มีขนาดไม่ต่ากว่า 4 ตาราง
มิลลิเมตร
ระบบการติดตั้งบางรู ปแบบ ขนาดตัวนาต่าสุดอาจจะต้องใหญ่กว่านี้ ตามความต้องการในระบบป้องกัน
ฟ้าผ่า ดังรูปที่ 4.4
รู ปที่ 4.5 แสดงตัวอย่างข้อกาหนดการต่อลงดินของชิน้ ส่วนตัวนาที่เปิ ดโล่งบน PV array ที่ไม่มีการต่อลง
ดินตามหน้าที่

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 4 การต ต้งอปกร า | 47

ร่ ต

่ ่ ต าของ PV array า ป ตอง ีการต่อ ง ่


ื่อปองก า า่ หรือ ่

่ แรง ูง ของ PV array ากก ่าแรง ต่า ่


หรือ ่ หรือร บบ ี อ ู กร แ บ หรือ
อ อร ตอรข า ็ก ากหรือ ่

่ ต าของ PV array กี ารต่อ ง ตา ห าที่


หรือ ่

ต่อ ง ข า ต า ป ปตา ต่อ ง ข า ต า ป ปตา ต่อปร า ก ต าข า ป ป


าตร า การต ต้งทาง า าหรบ าตร า การต ต้งทาง า าหรบ ตา าตร า การต ต้งทาง า าหรบ ่ าป
ปร ท ท ข า ต่า ตร ปร ท ท ข า ต่า ตร ปร ท ท ข า ต่า ตร

รูปที่ 4.4 การพิจารณาการต่อลงดินของ PV array

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
48 | บทที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ า

b
b SPD
SPD
+

b b
PV
SPD

SPD
array
-
a

b b
SPD SPD

คาอธิบายรูปที่ 4.5
ก. การต่อประสานให้ศกั ย์เท่ากันระหว่าง PV array และวงจรใช้งานมีความจาเป็ นเพื่อป้องกันอุปกรณ์ไฟฟ้าจากแรงดันเกินที่เกิดจาก
ฟ้าผ่า ตัวนาต่อประสานให้ศกั ย์เท่ากันนีค้ วรมีทางเดินของตัวนาให้ใกล้กับตัวนาเส้นไฟเพื่อลดการเกิดกระแสเหนี่ยวนา
ข. อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ (SPDs) ควรติดตัง้ ให้เป็ นไปมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า
รูปที่ 4.5 รูปแบบการต่อ PV array ทีไ่ ม่มีการต่อลงดิน
4.4.2.3 รากสายดินแบบแยก
ถ้าใช้รากสายดินแบบแยกสาหรับ PV array รากสายดินเหล่านีต้ อ้ งต่อเข้ากับรากสายดินหลักของระบบไฟฟ้าโดยใช้
ตัวนาประสานให้ศกั ย์เท่ากัน
4.4.2.4 การประสานให้ศักย์เท่ากัน
ตัวนาประสานสาหรับ PV array ต้องเดินสายให้ใกล้กับตัวนาขัว้ บวกและขัว้ ลบของ PV array และ/หรือตัวนาของ PV
sub-array ให้มากที่สดุ เท่าที่ทาได้ เพื่อลดแรงดันเหนี่ยวนาเนื่องจากฟ้าผ่า
การต่อลงดิน หรือการต่อประสานต้องมีการจัดเพื่อให้การย้ายแผงของ PV module ออกไม่กระทบต่ อ
ความต่อเนื่องของการต่อลงดิน หรือการต่อประสานกับ PV module อื่นๆ

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 4 การต ต้งอปกร า | 49

ถ้าการต่อลงดินเป็ นการต่อเพื่อป้องกันฟ้าผ่า การต่อลงดินของ PV array ต้องต่อลงดินโดยตรง ไม่ต่อฝาก


กับการต่อลงดินของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า
ถ้าการต่อลงดินสาหรับการต่อประสาน ในกรณีที่การต่อลงดินของ PV array อาจต่อฝากกับระบบการต่อ
ลงดินของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า สามารถทาได้ถา้ การปลดอินเวอร์เตอร์เพื่อ การบารุงรักษาเป็ นไปตามนี้
(1) ห้ามปลดการต่อลงดินออก และ
(2) ขนาดสายดินของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า มีพนื้ ที่หน้าตัดเพียงพอตามข้อกาหนดในรูปที่ 4.4
4.4.3 การต่อลงดินตามหน้าที่ของ PV array (functional earthing of PV arrays)
4.4.3.1 ข้อกาหนดทัว่ ไป
เพื่อให้ PV array มีการต่อลงดินตามหน้าที่ เช่นกาจัดประจุผิวพืน้ (surface charge) จากเซลล์ให้ดาเนินการต่อลงดิน
ตัวนาของPV array ขัว้ บวก หรือ ขัว้ ลบผ่านตัวต้านทาน โดยพิกัดของตัวต้านทานในสภาวะแวดล้อมสาหรับการทางาน
ดังนีท้ ุกข้อ
(1) ค่าความต้านทานต่าสุดเท่ากับค่าแรงดันสูงสุดของ PV array หารด้วย 0.3 หน่วยเป็ นโอห์ม
(2) ตัวต้านทานต้องมีพิกัดกาลังไฟฟ้าต่าสุดเท่ากับค่าแรงดันสูงสุดของ PV array ยกกาลังสอง หารด้วย
ความต้านทานที่ได้จากข้อ (1) แสดงค่าเป็ นวัตต์
(3) มีพิกัดแรงดันไฟฟ้าไม่นอ้ ยกว่าแรงดันสูงสุดของ PV array
4.4.3.2 ขัว้ ต่อสายดินตามหน้าทีข่ องระบบ PV (functional earthing terminal of PV system)
เมื่อ PV array มีการต่อลงดินตามหน้าที่ จุดต่อลงดินต้องมีจุดเดียวและจุดดังกล่าวต้องเชื่อมต่อกับขัว้ ต่อสายดินหลัก
(main earthing terminal) ของการติดตัง้ ระบบไฟฟ้า
จุดต่อลงดินต้องอยู่ระหว่างอุปกรณ์ตัดวงจรของ PV array และอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า และต้องอยู่
ใกล้กับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าให้มากที่สุด หรืออยู่ในอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า
4.4.3.3 ตัวนาต่อลงดินตามหน้าทีข่ องระบบ PV (PV system functional earthing conductor)
ตัวนาต่อลงดินตามหน้าที่แบบผ่านตัวต้านทานต้องหุม้ ฉนวนและขนาดไม่เล็กกว่า 4 ตร.มม.(ทองแดง)
4.4.4 ระบบการเดินสาย (wiring system)
4.4.4.1 ข้อกาหนดทัว่ ไป
การเดินสายของ PV array ต้องเป็ นไปตามมาตรฐานเพื่อป้องกันการเกิดความผิดพร่องระหว่างสายเส้นไฟ (phase-
to-phase faults) และสายเส้นไฟกับดิน (phase-to-earth faults)
เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดอาร์กกระแสตรงระหว่างตัวนาในระบบแรงต่า ตัวนาแต่ละเส้นต้องถูกป้องกัน
ขัน้ ต่าด้วยฉนวนเสริม (reinforced insulation) รวมถึงภายในช่องเดินสาย (raceway)

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
50 | บทที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ า

จุดต่อทุกจุดต้องได้รับการตรวจสอบความแน่นหนาและความถูกต้องของขัว้ ไฟฟ้าในระหว่างการติดตั้ ง
เพื่อลดความเสี่ยงการเกิดความผิดพร่องและการเกิดอาร์กในช่วงระหว่างกระบวนการทดสอบการทางานของระบบ
และอุปกรณ์ต่าง ๆ (commissioning) การทางานและการบารุงรักษาในอนาคต
4.4.4.2 มาตรฐานที่ต้องปฏิบัตติ าม
การต่อสายของ PV array ต้องเป็ นไปตามข้อกาหนดการเดินสายและวัสดุ ตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสาหรับ
ประเทศไทย และข้อกาหนดของมาตรฐานนี้
4.4.4.3 การเดินสายเป็ นวงรอบ (wiring loops)
เพื่อลดขนาดของแรงดันเกินเหนี่ยวนาจากฟ้าผ่า การเดินสายของ PV array ควรมีพืน้ ที่วงรอบของตัวนาไฟฟ้าน้อย
ที่สดุ เช่น วางสายเคเบิลแบบขนาน ดังแสดงในรูปที่ 4.6

+-
-+ -+ -+

PV module
PV module

+- +- +-

(ก)
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 4 การต ต้งอปกร า | 51

PV module

-+ -+ -+

+- +- +-

PV module

(ข)

+- +- +- +- +- +-

(ค)
รูปที่ 4.6 ตัวอย่างการเดินสาย PV string เพื่อลดพืน้ ทีว่ งรอบของตัวนาไฟฟ้ า

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
52 | บทที่ 4 การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ า

4.4.4.4 การเดินสายของ PV string (string wiring)


ในกรณีการเดินสายของ PV string ระหว่าง PV module ที่ไม่ได้มีการร้อยท่อหรือไม่มีสิ่งห่อหุม้ อื่น ๆ จะต้องปฏิบตั ิตาม
ข้อกาหนดเหล่านี ้
ก. ต้องใช้สายเคเบิลที่มีฉนวนและเปลือกหุม้ ที่ทนต่อรังสีอลั ตราไวโอเลต
ข. สายเคเบิลต้องได้รบั การป้องกันจากการเสียหายทางกล
ค. สายเคเบิลต้องถูกจับยึดเพื่อลดความตึงและป้องกันตัวนาหลุดจากจุดเชื่อมต่อ
4.4.4.5 การต่อสายในกล่องต่อสาย และกล่องรวมสาย
ข้อกาหนดต่อไปนีใ้ ช้บงั คับกับการติดตัง้ ระบบการต่อสายในกล่องต่อสาย หรือกล่องรวมสาย
ก. ในกรณีตัวนาที่ไม่ได้รอ้ ยท่อ เมื่อต่อเข้าไปยังกล่องต่อสาย หรือกล่องรวมสาย ต้องมีการลดความตึง
เพื่ อ หลี ก เลี่ ย งสายหลุด ภายในกล่ อ งต่ อ สาย เช่ น การใช้ ข้ อ ต่ อ ยึ ด สายไฟเข้ า กั บ กล่ อ ง ( gland
connector)
ข. ในการเดินสายเข้ากล่องต่อสาย หรือกล่องรวมสาย ต้องไม่ทาให้พิกัดการป้องกัน IP ของกล่องลดลง
โดยให้ปิดผนึกตามคาแนะนาของผูผ้ ลิต
ค. เคเบิลและท่อต่าง ๆ ควรเข้าทางด้านล่างของกล่องเพือ่ ป้องกันปั ญหานา้ เข้าในระยะยาว ยกเว้น
ตัวเชื่อมต่อเคเบิลทีผ่ ่านการทดสอบระดับการป้องกัน IP55
ง. อาจใช้อุ ปกรณ์การป้อ งกั นการกลั่นตัว เป็ นหยดน้า ที่ทาขึ น้ เป็ นการเฉพาะ ( purpose-made anti-
condensation) และระบบระบายนา้ ซึ่งรักษาพิกัดการป้องกัน IP ของกล่อง เมื่อมีความจาเป็ น
สาหรับ PV array แรงต่า เมื่อมีการเดินสายตัวนาย้อนกลับผ่าน PV module และกล่องรวมสาย ตัวนา
ย้อนกลับนัน้ ต้องเป็ นสายเคเบิลแกนเดี่ยวหุม้ ที่มีการป้องกันขั้นต่าด้วยฉนวนเสริม (reinforced insulation) ตลอดช่วง
ความยาว

4.5 การทดสอบการทางานหลังการติดตั้ง (Commissioning)


หลั ง จากติ ด ตั้ ง แล้ว เสร็ จ ให้ มี ก ารทดสอบการท างานขั้ น ต่ า ของระบบและอุ ป กรณ์ ต่ า ง ๆ ตามข้ อ ก าหนด
ในภาคผนวก ค สาหรับระบบที่มีขนาดใหญ่ แนะนาให้ทาการทดสอบเพิ่มเติมตามแนวทางที่ระบุไว้ในภาคผนวก ง

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 5
ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่
5.1 ขอบเขต
5.1.1 ทั่วไป
มาตรฐานบทนี้กล่าวถึงข้อ กาหนดการติ ดตั้งและความปลอดภัยสาหรับระบบกักเก็ บพลัง งานแบตเตอรี่ ( battery
energy storage system, BESS) โดยที่ แ บตเตอรี่ ถู ก ติ ด ตั้ ง ในห้อ งหรื อ พื้น ที่ ปิ ด เชื่ อ มต่ อ กั บ อุ ป กรณ์ แ ปลงผั น
กาลังไฟฟ้า (power conversion equipment, PCE) และทางานร่วมกับระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ชนิด
ติดตัง้ บนหลังคา (rooftop photovoltaic system)
มาตรฐานบทนีก้ าหนดความต้องการสาหรับระบบแบตเตอรี่ไปจนถึงอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า แต่ไม่รวม
ข้อกาหนดสาหรับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า มาตรฐานบทนีใ้ ช้รวมถึงระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่ประกอบ
สาเร็จซึ่งรวมอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าด้วย
มาตรฐานบทนีส้ ามารถนาไปใช้ได้กับระบบแบตเตอรี่ดงั ต่อไปนี้
ก. มี Nominal Voltage ที่ 12 Vdc ขึน้ ไป
ข. เชื่อมต่อกับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าหนึ่งหรือหลายชุด
ค. มีค่าพิกัดความจุดตัง้ แต่ 1 kWh ขึน้ ไป แต่ไม่เกิน 200 kWh โดยพิจารณาที่
ง. C10 rating สาหรับแบตเตอรี่ตะกั่วกรด หรือ
จ. 0.1C สาหรับแบตเตอรี่ลิเธียมไอออน หรือ
ฉ. ข้อมูลพิกัดความจุจากผูผ้ ลิตสาหรับเทคโนโลยีอื่น
ส าหรับการติ ดตั้ง ที่ ประกอบด้วยระบบกั กเก็ บพลังงานแบตเตอรี่ หลายระบบ มาตรฐานบทนี้สามารถ
ประยุกต์ใช้ได้กับระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่แต่ละชุดถ้าขนาดความจุพลังงานรวมมีค่าตั้งแต่ 1 kWh ขึน้ ไป และ
ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่แต่ละชุดมีขนาดไม่เกิน 200 kWh
หมายเหตุ: 1. ถึงแม้มาตรฐานบทนีป้ ระยุกต์ใช้กบั ระบบที่มีขนาดความจุไม่เกิน 200 kWh ข้อกาหนดทั่วไปอาจนาไปใช้
กับระบบทีม่ ีขนาดใหญ่ขนึ้ ไปได้
2. มาตรฐานบทนีม้ ีวตั ถุประสงค์เพือ่ ใช้กบั ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ทใี่ ช้ร่วมระบบผลิต ไฟฟ้าจากเซลล์
แสงอาทิตย์ชนิดติดตัง้ บนหลังคา ทัง้ นีร้ ะบบอืน่ ทีม่ ีความคล้ายคลึงอาจนาไปประยุกต์ใช้ได้
5.1.2 ข้อห้ามสาคัญ
ห้ามนาระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ไปใช้ทดแทนวงจรช่วยชีวิตในอาคารทัง้ สิน้

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
54 | บทที่ 5 ร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่

5.2 ข้อกาหนดการติดตั้ง
5.2.1 ทั่วไป
ระบบแบตเตอรี่ (battery system, BS) และระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ (BESS) ต้องติดตั้งโดยผูม้ ีความรู ค้ วาม
เข้าใจ
การติดตัง้ ควรเป็ นไปตามเอกสารว่าด้วยความปลอดภัยจากผูผ้ ลิต
การเชื่ อ มต่ อ ไฟฟ้ า กระแสสลับ ระหว่ า ง PCE กั บ แผงสวิ ตช์ หรื อ distribution board ต้อ งเป็ น ไปตาม
มาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทยของ วสท. นอกจากนีถ้ า้ PCE สามารถทางานขนานกับกริดได้ การ
ติดตัง้ ต้องเป็ นไปตามข้อกาหนดของการไฟฟ้าฯ
ส าหรับ BS หรื อ BESS ที่ประกอบสาเร็ จต้องมีสิ่งห่อหุม้ เพิ่มเติ มถ้า ต้อ งการระดับการป้องกั น (ingress
protection) ที่สงู ขึน้ ทัง้ นีข้ นึ ้ อยู่กับสภาพแวดล้อมที่ติดตั้งใช้งาน
5.2.2 สถานที่
5.2.2.1 ทั่วไป
ระบบแบตเตอรี่ตอ้ งมีการป้องกันความเสียหายทางกล สภาพแวดล้อม และปั จจัยภายนอก
ต้องติดตัง้ ระบบแบตเตอรี่ในสิ่งห่อหุม้ (enclosure) หรือห้อง (room) เท่านัน้
สิ่งห่อหุม้ คือ กล่องหรือกรอบของเครื่องสาเร็จหรือรัว้ หรือ ผนังล้อมรอบการติดตัง้ เพื่อป้องกันมิให้บุคคลมิ
ให้สมั ผัสกับส่วนที่มีแรงดันไฟฟ้าหรือเพื่อป้องกันบริภณ
ั ฑ์ไม่ให้เสียหาย
ห้อง คือ พืน้ ที่ปิดที่สามารถเข้าถึงได้ดว้ ยประตูที่มีขนาดใหญ่มากพอให้คนเข้าไปและเดินภายในพืน้ ที่ได้
ห้ามติดตัง้ ระบบแบตเตอรี่ในพืน้ ที่ต่อไปนี้
ก. บนฝ้า
ข. ช่องว่างผนัง
ค. บนหลังคา
ง. ใต้พนื้ ของห้องพักอาศัย
จ. ใต้บนั ได (ไม่รวมห้องใต้บนั ได) หรือ
ฉ. ใต้ทางเดินที่มีการใช้งาน
ในอาคารที่พกั อาศัย ห้ามติดตัง้ BS และ BESS ในห้องที่มีผพู ้ กั อาศัย (habitable room)

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 5 ร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่ | 55

5.2.2.2 ข้อจากัดเรือ่ งสถานที่


ห้ามติดตัง้ BS หรือ BESS ตามข้อต่อไปนี้
ก. ในบริเวณอันตรายตามมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทยของ วสท.
ข. ในระยะ 600 มม. จากทางออก
ค. ในระยะ 600 มม. จากเครื่องใช้หรือแหล่งความร้อนที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของ BS หรือ BESS
ง. ในระยะ 1,200 มม. ใต้ทางออกหรือแหล่งความร้อนที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของ BS หรือ BESS
จ. ใต้หน้าต่างหรือช่องระบายอากาศในอาคาร
หมายเหตุ: กรณีระบบแบตเตอรี่ที่มีแรงดันสูงกว่า DVC-A (สามารถดูรายละเอียดในภาคผนวก ช.) และ ผนังห้องไม่ใช่ฉนวนไฟฟ้า ให้
อ้างอิงข้อกาหนดการติดตัง้ ตามมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทยของ วสท.

รูปที่ 5.1 ข้อจากัดบริเวณสาหรับเครื่องใช้ที่ไม่เกี่ยวข้องกับระบบแบตเตอรี่

รู ปที่ 5.2 ข้อจากัดบริเวณสาหรับเครื่องใช้ที่ไม่เกี่ยวข้องกับระบบแบตเตอรี่ที่มีแรงดันสูงกว่า DVC-A และ


ผนังห้องเป็ นฉนวนไฟฟ้ า
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
56 | บทที่ 5 ร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่

BS หรือ BESS ที่ติดตัง้ ในระเบียง ทางเดิน หรือทางอื่นที่เป็ นทางหนีไฟต้องมีระยะเผือ่ เพียงพอสาหรับการ


อพยพ เป็ นไปตามกฎกระทรวงฉบับที่ 55 ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
5.2.3 ข้อกาหนดสภาพแวดล้อม
5.2.3.1 ทัว่ ไป
ควรติดตัง้ BS หรือ BESS ในตาแหน่งที่มีอุณหภูมิและความชืน้ ตามที่ผผู ้ ลิตแนะนา และไม่ควรติดตัง้ ใกล้วสั ดุที่ติดไฟ
ได้
5.2.3.2 IP Rating
BS หรือ BESS ต้องมีระดับการป้องกันไม่นอ้ ยกว่า IP2X
BS หรือ BESS ที่ติดตัง้ นอกอาคารต้องมีดชั นีการป้องกันเหมาะสมกับตาแหน่งนัน้ และมีระดับการป้องกัน
ไม่นอ้ ยกว่า IP23
หมายเหตุ: การติดตัง้ BS หรือ BESS ในอาคารอาจมีขอ้ จากัดเพิ่มเติมขึน้ อยู่กบั สภาพแวดล้อม
5.2.4 ข้อกาหนดสาหรับสิ่งห่อหุ้มระบบแบตเตอรี่และระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่
5.2.4.1 ทั่วไป
สิ่งห่อหุม้ ต้องออกแบบให้สามารถป้องกันการเข้าถึงโดยบุคคลที่ไม่ได้รบั อนุญาต
สิ่งห่อหุม้ ต้องแห้ง อากาศถ่ายเทได้ และสามารถป้องกันภัยจากธรรมชาติหรือปั จจัยภายนอกต่าง ๆ ได้
5.2.4.2 สิ่งห่อหุ้มระบบแบตเตอรี่
การออกแบบ แผนผัง และโครงสร้างของสิ่งห่อหุม้ ระบบแบตเตอรี่ตอ้ งเป็ นไปตามข้อต่อไปนี้
ก. เหมาะสมสาหรับประเภทของแบตเตอรี่ และระบบแบตเตอรี่
ข. พืน้ ผิวที่เป็ นตัวนาทัง้ หมดของแบตเตอรี่ตอ้ งมีฉนวนหุม้ หรือมีการป้องกัน
ค. สิ่งห่อหุม้ ต่อมีการระบายอากาศที่เพียงพอสาหรับการทางานในช่วงอุณหภูมิการทางานจากผูผ้ ลิต
ง. ต้องไม่มีอุปกรณ์ที่สามารถหล่นลงมาได้ติดตัง้ อยู่เหนือแบตเตอรี่
จ. พืน้ ที่ในสิ่งห่อหุม้ ระบบแบตเตอรี่ตอ้ งมีระยะเผื่อ (clearance) ดังต่อไปนี้
- ต้องมีระยะห่างระหว่างแบตเตอรี่อย่างน้อย 3 มิลลิเมตร
- ระยะระหว่างแบตเตอรี่กับด้านบนของสิ่งห่อหุม้ (เว้นแต่เป็ นสิ่งห่อหุม้ แบบเปิ ดด้านบน) ต้องมีระยะ
ไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของความยาวแบตเตอรี่ หรือ 75 มม. ค่าใดค่าหนึ่งที่มีค่ามากกว่า ทั้งนีร้ ะยะ
เผื่อนีไ้ ม่จาเป็ นต้องไม่เกิน 200 มม. ยกเว้นเป็ นแบตเตอรี่นา้ (flooded battery) ซึ่งต้องมีระยะเผือ่ นี้
อย่างน้อย 300 มม.
- ต้องมีระยะเผื่ออย่างน้อย 25 มม. ระหว่างแบตเตอรี่และผนังของสิ่งห่อหุม้

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 5 ร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่ | 57

- แบตเตอรี่ที่ติดตั้งในแร็ค (rack) ในแนวราบต้องมีระยะอย่างน้อย 25 มม. ระหว่างแบตเตอรี่และ


ด้านบนของแร็ค
- แบตเตอรี่ตอ้ งมีจุดสูงสุดไม่เกิน 2.2 เมตรจากพืน้
ประตูของสิ่งห่อหุม้ ต้องไม่มีการกีดขวางในการเข้าถึงสาหรับการติดตัง้ และการซ่อมบารุง และขนาดของ
สิ่งห่อหุม้ ต้องมีระยะเผื่อเพื่อการเคลื่อนย้าย ติดตัง้ และซ่อมบารุง
5.2.4.3 สิง่ ห่อหุ้มระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่
สิ่งห่อหุม้ ของ BESS จะต้องมีอย่างน้อย 2 ส่วน ส่วนหนึ่งห่อหุม้ BS อีกส่วนหนึ่งห่อหุม้ PCE อุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ
อาจอยู่ในส่วนใดส่วนหนึ่งก็ได้
การเข้าถึงสิ่งห่อหุม้ ทัง้ 2 ส่วนนัน้ ต้องแยกจากกัน เช่น มีประตูที่แยกจากกัน
5.2.4.4 การติดตัง้ สิง่ ห่อหุ้มระบบแบตเตอรี่
ในด้านที่ตอ้ งทางานของสิ่งห่อหุม้ ระบบแบตเตอรี่ตอ้ งมีที่ว่างอย่างน้อย 900 มม. เมื่อเปิ ดประตู หรือ 600 มม. เมื่อเปิ ด
ประตูสาหรับระบบแบตเตอรี่ที่มีแรงดันไม่เกิน DVC-A มีความยาวไม่เกิน 2.2 เมตร และมีแบตเตอรี่ไม่เกิน 2 แถว หรือ
2 ชัน้
สาหรับสิ่งห่อหุม้ แบตเตอรี่ที่เปิ ดด้านบนจะต้องไม่มีอุปกรณ์ที่อาจหล่นลงมาได้อยู่บนสิ่งห่อหุม้ นัน้ รวมถึง
ห้ามติดตัง้ แหล่งกาเนิดแสงสว่างเหนือสิ่งห่อหุม้ นัน้ โดยตรง
5.2.5 ข้อกาหนดสาหรับห้องระบบแบตเตอรี่
5.2.5.1 ทั่วไป
ห้องระบบแบตเตอรี่ตอ้ งใช้สาหรับระบบแบตเตอรี่และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่เท่านัน้
ห้องระบบแบตเตอรี่ตอ้ งตัง้ อยู่ในตาแหน่งที่การเข้าถึงระบบแบตเตอรี่ไม่ถูกขวางโดยโครงสร้างของอาคาร
อุ ปกรณ์อื่น ๆ ที่ไม่ เ กี่ ยวข้องกั บ BESS โดยตรง เช่น อุ ปกรณ์เสริ ม (auxiliary equipment) อุ ปกรณ์ที่มี
เครื่องจักรหมุนที่ไม่ใช่พดั ลมระบายอากาศจะต้องติดตัง้ อยู่นอกห้องระบบแบตเตอรี่
ขนาดของห้องต้องมีระยะเผื่อสาหรับการเข้าถึงระบบแบตเตอรี่เพื่อการติดตัง้ และการซ่อมบารุง
การออกแบบ แผนผัง และโครงสร้างของห้องแบตเตอรี่จะต้องเหมาะสมกับประเภทของระบบแบตเตอรี่ ท่ี
ติดตัง้ และมีการป้องกันการเข้าถึงโดยบุคคลภายนอก
ประตูเข้าออกห้องจะต้องเปิ ดออกไปนอกห้อง และไม่มีสิ่งกีดขวาง
ห้องระบบแบตเตอรี่จะต้องมีการระบายอากาศเพียงพอสาหรับการทางานของแบตเตอรี่ในช่วงอุณหภูมิ
การทางานจากผูผ้ ลิต

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
58 | บทที่ 5 ร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่

ห้องต้องแห้ง มีอากาศถ่ายเทเหมาะสม และป้องกันภัยต่าง ๆ จากธรรมชาติและปั จจัยภายนอกได้


5.2.5.2 แผนผังห้องระบบแบตเตอรี่
ห้องระบบแบตเตอรี่จะต้องมีพนื้ ที่เพียงพอสาหรับการติดตัง้ และซ่อมบารุง โดยต้องคานึงถึงอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ดว้ ย
พื้น ที่ว่ า งในด้านทางานของระบบแบตเตอรี่จะต้องมี ระยะเผื่อ 900 มม. หรื อ 600 มม. ส าหรับระบบ
แบตเตอรี่ที่มีแรงดันน้อยกว่า DVC-A มีความยาวไม่เกิน 2.2 เมตร และมีแบตเตอรี่ไม่เกิน 2 แถว หรือ 2 ชัน้
นอกจากที่ว่างสาหรับทางานแล้ว ห้องระบบแบตเตอรี่จะต้องสอดคล้องตามข้อกาหนดต่อไปนี้
ก. ต้องไม่มีอุปกรณ์ที่อาจร่วงหล่นได้ติดตัง้ เหนือระบบแบตเตอรี่
ข. ช่องทางเดิน (aisle width) ต้องมีค่าไม่นอ้ ยกว่า 600 มม. ช่องทางเดินอาจจาเป็ นต้องมีระยะกว้างขึน้
ขึน้ อยู่กับเครื่องจักรที่ใช้ในการติดตัง้ และซ่อมบารุง
ค. พืน้ ที่ระหว่างแบตเตอรี่จะต้องมีระยะห่างอย่างน้อย 3 มม.
ง. ต้องมีระยะเผื่ออย่างน้อย 25 มม. ระหว่างแบตเตอรี่กับผนังหรือโครงสร้างในด้านที่ไม่จาเป็ นต้องเข้าถึง
สาหรับการซ่อมบารุง
จ. ระบบแบตเตอรี่ตอ้ งมีความสูงไม่เกิน 2.2 เมตรจากพืน้
ถ้า PCE หรืออุปกรณ์เสริมอื่นติดตัง้ ในห้องระบบแบตเตอรี่ ช่องทางเดินระหว่างระบบแบตเตอรี่และ PCE
หรืออุปกรณ์เสริมอื่นจะต้องเป็ นไปตามตารางที่ 1-1 ในมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทยของ วสท.
5.2.5.3 ตาแหน่งของแหล่งกาเนิดแสงสว่าง
ข้อกาหนดสาหรับแสงสว่างสาหรับห้องระบบแบตเตอรี่หรือระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ตอ้ งเป็ นไปตามมาตรฐาน
การติ ดตั้ง ทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทยของ วสท. แหล่ ง กาเนิดแสงต้ อ งไม่ถูกติดตั้งเหนือ ระบบกั กเก็บพลังงาน
แบตเตอรี่หรือส่วนตัวนาที่เปลือยโดยตรง
5.2.6 การป้ องกันอัคคีภัย
5.2.6.1 ทัว่ ไป
นอกจากข้อกาหนดสาหรับห้อ งและสิ่งห่อหุม้ ที่กล่า วไว้ในข้อก่ อนหน้านี้ แบตเตอรี่ตะกั่ว กรด ( lead-acid battery)
นิกเกิลอัลคาไลน์ (nickel alkaline) และลิเธียมไอออน (lithium ion battery) ต้องมีการติดตัง้ เป็ นไปตามข้อกาหนดใน
การป้องกันอัคคีภยั นี้
ถ้าแบตเตอรี่ติดตัง้ อยู่ในอาคารที่มีระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (fire alarm system) ควรมีการติดตั้งอุปกรณ์
ตรวจจับ (detection device) ที่หอ้ งแบตเตอรี่และเชื่อมต่อกับระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้
5.2.6.2 ข้อกาหนดการติดตัง้ สาหรับการป้ องกันอัคคีภัย
ห้องที่ใช้ติดตั้งระบบแบตเตอรี่ ต้องผ่านข้อกาหนดเช่นเดียวกับห้องไฟฟ้าตามมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้าสาหรับ
ประเทศไทย ของ วสท.
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 5 ร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่ | 59

5.3 อันตรายจากไฟฟ้ า
5.3.1 ทั่วไป
ข้อ กาหนดการติ ดตั้งและการเลือ กสายไฟของระบบแบตเตอรี่ต้ องถื อว่าอยู่ ในระดับ DVC-C ถ้า มี การติดตั้ง Non-
separated PCE ที่ ไม่ ใ ช่ อิ นเวอร์เ ตอร์ เช่น Solar Charge Controller และอี กฝั่ ง หนึ่ง ของ PCE ที่ไม่ ใ ช่แ บตเตอรี่ มี
แรงดันเกินกว่า DVC-A
5.3.2 การป้ องกันกระแสเกินจากระบบแบตเตอรี่
5.3.2.1 ทัว่ ไป
การป้องกันกระแสไฟฟ้าเกินต้องถูกติดตัง้ สาหรับทุกตัวนาในระบบแบตเตอรี่ (ยกเว้นวงจรควบคุมและตรวจวัด) การ
ป้องกันกระแสไฟฟ้าเกินต้องถูกติดตัง้ ในตาแหน่งที่ช่วยลดความยาวของสายไฟฟ้าจากระบบแบตเตอรี่
อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน (over current protection) ต้องสอดคล้องตามข้อต่อไปนี้
ก. เป็ นแบบ non-polarized
ข. มีค่าพิกัดสาหรับไฟฟ้ากระแสตรง (DC rated)
ค. มีค่าพิกัดแรงดันสูงกว่าค่าสูงสุดของระบบแบตเตอรี่ภายใต้การทางานทุกเงื่อนไข
ง. ผ่านข้อกาหนดมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทยของ วสท.
จ. มีค่าพิกัดเพื่อป้องกันสายไฟฟ้าในระบบแบตเตอรี่
หมายเหตุ: เมื่อต่อกับระบบที่มีหลาย PCE ค่าพิกัดกระแสของ BESS คือผลรวมทัง้ หมดของกระแสที่สามารถจ่ายได้
จาก PCE ไปยัง ระบบแบตเตอรี่ หรื อ ค่ า พิ กัดกระแสสูง สุด ของ PCE ที่ต ้อ งใช้ใ นการทางานจากระบบ
แบตเตอรี่
อุปกรณ์ป้องกันควรเลือกจากข้อต่อไปนี้
ก. ฟิ วส์ที่มีการห่อหุม้ (HRC fuse)
ข. miniature circuit breaker (MCB) หรือ molded case circuit breaker (MCCB)
ค. air circuit breaker (ACB)
หมายเหตุ: MCB และ MCCB บางตัวมีพิกดั กระแสลัดวงจร DC จากัดและอาจต้องมี HRC Fuse ช่วย
เมื่อระบบแบตเตอรี่ถูกต่อขนานกั น ระบบแบตเตอรี่แต่ละระบบต้องมีอุปกรณ์ป้องกั นกระแสเกิ นแยก
ต่างหาก ทัง้ นีเ้ พื่อป้องกันการคายประจุจากระบบแบตเตอรี่หนึ่งไปยังระบบแบตเตอรี่อื่นเมื่อเกิด Fault ขึน้ ในระบบใด
ระบบหนึ่ง
5.3.2.2 ระบบแบตเตอรี่ที่มกี ารป้ องกันกระแสเกิน
ระบบแบตเตอรี่ที่มีการป้องกันกระแสเกินทั้งในรู ปแบบ BMS หรือ อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินที่ติดตั้งมาพร้อ มกั บ
แบตเตอรี่ จะใช้เป็ นอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินได้จะต้องเป็ นดังต่อไปนี้
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
60 | บทที่ 5 ร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่

ก. ระบบแบตเตอรี่มีอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินที่เป็ น circuit breaker หรือ HRC fuse ที่พร้อมใช้งาน


ข. คู่มือติดตัง้ จากผูผ้ ลิตอนุญาตให้ใช้อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินของ BMS นัน้ ในการป้องกันกระแสเกิน
ในสายไฟฟ้าขาออกได้
ค. สายไฟฟ้าขาออกสามารถทนกระแสได้มากกว่าค่าพิกัดของอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน
5.3.2.3 ระบบแบตเตอรี่ที่ไม่จาเป็ นต้องมีระบบบริหารจัดการแบตเตอรี่
สายไฟฟ้าขาออกหรือบัสบาร์ (busbar) ของระบบแบตเตอรี่ตอ้ งมีการป้องกันกระแสเกิน
เมื่อมีหลายระบบแบตเตอรี่ต่อขนานกัน สายไฟฟ้าขาออกหรือบัสบาร์ของแต่ละระบบแบตเตอรี่ที่ต่อไปยัง
PCE หรือจุดร่วมหนึ่ง ต้องมีอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน ดูรูปที่ 5.3

หมายเหตุ: ต้องมีอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินทีส่ ายทีต่ ่อกับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าเมื่อสายมีขนาดทนกระแสต่ากว่าผลรวมของ


อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินของระบบแบตเตอรี่แต่ละตัว
รูปที่ 5.3 ข้อกาหนดการป้ องกันกระแสเกินสาหรับระบบแบตเตอรี่ต่อขนานกันที่จุดร่วมหนึ่ง
5.3.3 การปลดวงจรของระบบแบตเตอรี่ (Isolation of Battery System)
5.3.3.1 ทั่วไป
ระบบแบตเตอรี่ทุกระบบต้องสามารถปลดวงจรออกจากอุปกรณ์อื่น ๆ ในระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ได้ อุปกรณ์
ปลดวงจรที่ใช้ทงั้ หมดต้องสามารถปลดวงจรได้อย่างปลอดภัย อุปกรณ์ปลดวงจรจะต้องทางานพร้อมกันในทุกตัวนา
อุปกรณ์ปลดวงจรต้องสามารถตัดวงจรได้ในขณะจ่ายไฟ (load breaking)
อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินอาจนามาใช้ทาหน้าที่แทนอุปกรณ์ปลดวงจรได้ ถ้าอุปกรณ์นั้นมีพิกัดสาหรับ
การทางานแบบปลดวงจร

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 5 ร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่ | 61

5.3.3.2 ระบบแบตเตอรี่ที่มีอปุ กรณ์ปลดวงจรภายใน


ระบบแบตเตอรี่ อาจมี อุปกรณ์ที่ใช้ปลดวงจรอยู่ภายใน ถ้า อุ ปกรณ์ปลดวงจรนั้นทาหน้า ที่ปลดวงจรเช่นเดียวกับ
อุปกรณ์ปลดวงจรภายนอก ในกรณีนไี้ ม่จาเป็ นต้องมีอุปกรณ์ปลดวงจรภายนอกเพิ่มเติม
ถ้าระบบแบตเตอรี่มี BMS ที่ผ่านข้อกาหนดเรื่องการป้องกันกระแสเกิน แต่ไม่ผ่านเงื่อนไขในการทาหน้าที่
ปลดวงจร ต้องมีอุปกรณ์ปลดวงจรเพิ่มเติม
5.3.3.3 ระบบแบตเตอรีท่ ีต่ ่อขนาน
สาหรับระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีหลายระบบแบตเตอรี่ต่อขนานกัน ระบบแบตเตอรี่แต่ละระบบต้องมีสวิตช์
ปลดวงจรในทุก ๆ ตัวนา อุปกรณ์ปลดวงจรนีม้ ีเพื่อปลดระบบแบตเตอรี่หนึ่ง ๆ ออกเพื่อการซ่อมบารุงและสามารถให้
ระบบที่เหลือยังทางานต่อไปได้
5.3.3.4 ข้อกาหนดสาหรับสวิตช์ปลดวงจร (Switch Disconnector)
สวิตช์ปลดวงจรที่ใช้เป็ นอุปกรณ์ load breaking disconnection จะต้องเป็ นดังต่อไปนี้
ก. สอดคล้องตามมาตรฐาน IEC 60947-3
ข. เป็ นแบบ non-polarized
ค. เป็ นค่าพิกัด DC
ง. มีแรงดันพิกัดสูงกว่าแรงดันสูงสุดของระบบแบตเตอรี่ภายใต้ทุกเงื่อนไขการทางาน
จ. มีพิกัดที่สามารถทนต่อกระแสลัดวงจรสูงสุดได้
ฉ. มีพิกัดขัน้ ต่าสัมพันธ์กับพิกัดกระแสตรงของ BESS
ช. ผ่านข้อกาหนดมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทยของ วสท.
ซ. มีพิกัดสาหรับการทางานแบบ independent manual
ฌ. มี minimum pollution degree 3 classification
ญ. สามารถล็อคในตาแหน่งเปิ ดได้ และสามารถล็อคได้เมื่อ main contact อยู่ในตาแหน่งเปิ ดเท่านัน้
ฎ. เป็ นไปตามข้อกาหนดการปลดวงจรสาหรับอุปกรณ์ปลดวงจร
ฏ. มี utilization category อย่างน้อย DC21B
ตัวตัดวงจรที่ใช้ในอาคารต้องถูกติดตัง้ ในสิ่งห่อหุม้ ที่มีระดับการป้องกันอย่างน้อย IP23
ตัวตัดวงจรที่ใช้นอกอาคารต้องถูกติดตั้งในสิ่งห่อหุม้ ที่มี ระดับการป้องกันอย่างน้อย IP56 และต้องมีค่า
พิกัดเหมาะสมสาหรับอุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส
5.3.3.5 ตาแหน่งของอุปกรณ์ปลดวงจร
อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินและปลดวงจรจะต้องถูกติดตั้งอยู่ในระยะที่มองเห็น (in sight) จากขั้วขาออกของระบบ
แบตเตอรี่ในทางปฏิบตั ิ และพร้อมใช้งาน

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
62 | บทที่ 5 ร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่

5.3.4 การป้ องกันจากการสัมผัสตัวนาไฟฟ้ า


ระบบแบตเตอรี่จะต้องมีการป้องกันการสัมผัสเพื่อป้องกันเหตุการณ์ไฟฟ้าลัดวงจรที่อาจเกิดขึน้
ผิวที่เป็ นตัวนาทัง้ หมดของแบตเตอรี่จะต้องมีการป้องกันจากการสัมผัส โดยมีระดับการป้ องกันอย่างน้อย
IP2X
สิ่งที่ใช้ปกคลุมจะต้องสามารถถอดออกได้เพื่อการตรวจสอบและซ่อมบารุงขัว้ และข้อต่อต่าง ๆ
5.3.5 การเดินสายไฟฟ้ าจากระบบแบตเตอรีไ่ ปยังอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ า
5.3.5.1 ทั่วไป
ควรพิจารณาให้มีการเกิด inductive loop ให้นอ้ ยที่สดุ ในการเดินสายไฟฟ้าจากระบบแบตเตอรี่ไปยัง PCE
สายไฟฟ้าจากระบบแบตเตอรี่ไปยังอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินต้องไม่มีอุปกรณ์อื่นเชื่อมต่ออยู่นอกจาก
วงจรตรวจวัดและควบคุม
5.3.5.2 ประเภทของสายไฟฟ้ า
สายไฟฟ้าต้องเป็ นไปตามมาตรฐานสายไฟฟ้าสาหรับไฟฟ้ากระแสตรง มอก. 11-2553 หรือ มอก. 11 เล่ม 101-2559
5.3.5.3 แรงดันตก
แรงดันตกระหว่างระบบแบตเตอรี่และ PCE จะต้องมีค่าไม่เกิน 5 % ภายใต้ทุกเงื่อนไขการทางาน
5.3.5.4 การป้ องกันกระแสเกินจากอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ า
ต้องติดตัง้ อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินที่ขวั้ DC ของ PCE ฝั่งแบตเตอรี่ถา้ เป็ นไปตามเงื่อนไขต่อไปนี้
ก. PCE มีกระแส charge หรือกระแสโหลดในสภาวะผิดพร่องสูงกว่าค่าความทนกระแสของสายไฟฟ้า
ระหว่าง PCE และระบบแบตเตอรี่ และ
ข. สายไฟฟ้าระหว่าง PCE และอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินของระบบแบตเตอรี่มีความยาวมากกว่า 3
เมตร
5.3.6 การปลดวงจรอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ าจากระบบแบตเตอรี่
5.3.6.1 ทั่วไป
PCE จะต้องสามารถปลดวงจรไฟฟ้าออกจากระบบแบตเตอรี่ได้สาหรับการซ่อมบารุง และหาสาเหตุของความผิดพร่อง
ต่าง ๆ
5.3.6.2 BESS ทีม่ ี PCE เดียว
ถ้า PCE ไม่ได้อยู่ในระยะที่มองเห็น (in sight) จากระบบแบตเตอรี่ อุปกรณ์ปลดวงจรต้องอยู่ในระยะที่มองเห็นกับ
PCE เพื่อปลดวงจร PCE

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 5 ร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่ | 63

5.3.6.3 BESS ทีม่ ีหลาย PCE


เมื่อ BESS มีหลาย PCE เช่น solar charge controller และ อินเวอร์เตอร์ หรือ หลายอินเวอร์เตอร์ อุปกรณ์ปลดวงจร
ต้องติดตัง้ อยู่ในระยะที่มองเห็นจาก PCE แต่ละชุด
5.3.6.4 PCE ที่มีอปุ กรณ์ปลดวงจรภายใน
PCE อาจมีอุปกรณ์ปลดวงจรภายในที่ทางานในทุกตัวนา เมื่ออุปกรณ์ปลดวงจรภายในเป็ นไปตามข้อกาหนดต่อไปนี้
ไม่จาเป็ นต้องมีอุปกรณ์ปลดวงจรเพิ่มเติม
ก. อุปกรณ์ปลดวงจรที่มีการประสานทางกล (mechanically interlocked) กับส่วนของ PCE ที่สามารถ
ถอดเปลี่ยนได้ และไม่เป็ นอันตรายหรือเกิดความเสียหาย
ข. ตัวนาไฟฟ้าทัง้ หมดมีระดับการป้องกันไม่น้อยกว่า IPXXB หรือ IP2X ตัวนาทั้งหมดมีการป้องกันจาก
การสัมผัส

5.4 อันตรายจากแก๊สระเบิด (Explosive Gas Hazard)


5.4.1 ทั่วไป
ระบบแบตเตอรี่ที่ถือว่ามีอนั ตรายจากแก๊สระเบิดได้แก่ ตะกั่วกรด นิกเกิลอัลคาไลน์ ลิเธียมไอออนที่ มีสารประกอบลิเธีย
มปล่อยไฮโดรเจนภายใต้สภาวะที่ผิดปกติ เช่น แมงกานีสลิเธียม และโฟลว์แบตเตอรี่ที่มีสารละลายมีฤทธิ์เป็ นกรดที่มี
ความเสี่ยงสูงที่จะทาให้เกิดการระเบิดและควันพิษ ระบบแบตเตอรี่เหล่านีจ้ ะต้องติดตัง้ สอดคล้องกับข้อกาหนด 5.4.2
และ 5.4.3
การระบายอากาศของระบบแบตเตอรี่ตอ้ งเป็ นไปตามข้อกาหนดข้อ 5.4.2 และเป็ นชนิดการระบายอากาศ
ตามธรรมชาติหรือเชิงกล อัตราการระบายอากาศจะต้องขึน้ อยู่กับประเภทของระบบแบตเตอรี่
การระบายอากาศถูกนามาใช้เพื่อให้แน่ใจว่าแก๊สระเบิดทัง้ หมดถูกขับออกไปนอกอาคาร การระบายอากาศ
ออกไปนอกอาคารจะต้องไม่อยู่ในพืน้ ที่ตอ้ งห้ามของระบบแบตเตอรี่หรือระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่
5.4.2 การระบายอากาศ
5.4.2.1 ทัว่ ไป
สิ่งห่อหุม้ ระบบแบตเตอรี่และห้องของระบบแบตเตอรี่ที่มีแบตเตอรี่ประเภทมีอันตรายจากแก๊สระเบิด จะต้องมีการ
ระบายอากาศ
แบตเตอรี่ประเภทมีอนั ตรายจากแก๊สระเบิดทุกชนิดจะปล่อยแก๊สไฮโดรเจนและออกซิเจน ในระหว่างการ
ชาร์จ การปล่อยแก๊สไฮโดรเจนในปริมาณมากเกิดขึน้ หลังจากที่เ ซลล์แบตเตอรี่มีสถานประจุ 95 % (SOC) หรือใน
ระหว่างการชาร์จด้วยกระแสสูง ๆ หรือช่วงที่ over charge

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
64 | บทที่ 5 ร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่

5.4.2.2 เซลล์แบตเตอรีต่ ะกั่วกรดกากับด้วยวาล์ว (Sealed valve-regulated lead acid cells)


สิ่งห่อหุม้ ระบบแบตเตอรี่และ ห้องระบบแบตเตอรี่ที่มีแบตเตอรี่ประเภทตะกั่วกรดกากับด้วยวาล์วจะต้องมีการระบาย
อากาศ
แบตเตอรี่ประเภทนีต้ อ้ งชาร์จตามที่ผผู ้ ลิตระบุไว้ ภายใต้สถานการณ์ที่มีการ overcharge หรือเกิดความ
ผิดปกติ แก๊สไฮโดรเจนจานวนหนึ่งอาจปล่อยออกมาจากเซลล์ นอกจากนีก้ ารบริหารจัดการความร้อนและการชาร์จ
สาหรับเซลล์แบตเตอรี่ชนิดนีถ้ ือว่ามีค วามสาคัญมากกว่าเซลล์แบตเตอรี่แบบนา้ และโดยทั่วไปเซลล์ชนิดกากับด้วย
วาล์วจะเกิดความเสียหายที่ไม่สามารถแก้ไขซ่อมแซมได้เมื่ออยู่ในสภาพผิดปกติทางไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง
หมายเหตุ ปฏิกิริยาเคมีของแบตเตอรี่ชนิดกากับด้วยวาล์วทางานบนวัฏจักรการรวมตัวกันของออกซิเจน
ภายใน ซึ่งถูกออกแบบไว้เพื่อยับยัง้ การเกิดแก๊สไฮโดรเจน ภายใต้สภาวะการทางานปกติการเกิดแก๊สไฮโดรเจนและ
การระบายออกจากเซลล์ช นิ ด กากั บ ด้ว ยวาล์ว นั้ น ต่ า กว่ า แก๊ ส ไฮโดรเจนที่ ป ล่ อ ยออกมาจากเซลล์น้า ทั่ ว ไป
ประสิทธิภาพการยับยั้งแก๊สไฮโดรเจนในแบตเตอรี่ชนิดกากับด้วยวาล์วนั้นแตกต่ างกันไปตามเทคโนโลยีของเซลล์
โดยทั่วไปแล้วสาหรับเซลล์แบบเจลจะมีค่ามากกว่า 80% และ สาหรับเซลล์ absorbent glass mat จะมีค่ามากกว่า
90%
5.4.2.3 วิธีการระบาย
ก. อากาศตามธรรมชาติ
หากเป็ นไปได้ควรใช้การระบายอากาศตามธรรมชาติสาหรับสิ่งห่อหุ้มและห้องเก็บระบบแบตเตอรี่ เนื่องจากการ
ระบายอากาศทางกลอาจจะเกิดความผิดปกติ และเกิดประกายไฟได้
ข. เครื่องระบายอากาศทางกล (Mechanical Ventilation)
ในกรณีที่ใช้เครื่องระบายอากาศ อัตราการไหลของอากาศจะถูกกาหนดตามหัวข้อที่ 5.4.2.4
การระบายอากาศทางกลต้องใช้กับช่องระบายอากาศขาเข้าเท่านั้นเพื่อป้ องกันพัดลมไม่ให้เกิด
ความเสียหายจากกรดของแบตเตอรี่ ควัน และหลีกเลี่ยงอุปกรณ์ไฟฟ้ าจากจุดที่อาจจะเกิดอันตรายจาก
แก๊สระเบิด
นอกจากนีค้ วรติดตัง้ อุปกรณ์ตรวจจับการไหลของลม (air flow sensor) หรือตรวจจับการการทางานของ
พัดลมเพื่อแจ้งเตือนและหยุดการทางานของระบบเมื่อเครื่องระบายอากาศขัดข้อง
5.4.2.4 อัตราการระบายอากาศ
ความเข้มข้นเฉลี่ยโดยปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจนภายในสิ่งห่อหุม้ หรือห้องของระบบแบตเตอรี่จะต้องถูกควบคุมให้มี
ค่าต่ากว่า 2 % เพื่อให้การระบายอาการเพียงพอสาหรับป้องกันไม่ให้เกิดการสะสมของแก๊ส และบริภณ
ั ฑ์ไฟฟ้าในห้อง
ระบบแบตเตอรี่ไม่ตอ้ งเป็ นชนิดกันระเบิด ให้คานวณขนาดของพืน้ การระบายอากาศหรืออัตราการระบายขั้นต่าดัง
ตารางที่ 5.1

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 5 ร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่ | 65

ตารางที่ 5.1 ขนาดพืน้ ที่หน้าตัดขั้นต่าและอัตราการระบายอาการขั้นต่าสาหรับระบบแบตเตอรี่ที่ถือว่ามี


อันตรายจากแก๊สระเบิด
การระบายอากาศ
(**)
ตามธรรมชาติ พัดลมระบายอากาศ
ประเภทแบตเตอรี่ พืน้ ที่หน้าตัดขัน้ ต่าของช่องระบาย
อัตราการระบายขัน้ ต่า
อากาศ
ลิตรต่อวินาที [l/s]
ตารางเมตร [m2 ]
PCE ไม่มีการตัด
เซลล์แบตเตอรี่ตะกั่วกรด แรงดันไฟฟ้าเกิน 𝐴 = 0.6𝑛𝐼 𝑞𝑣 = 0.006𝑛𝐼
กากับด้วยวาล์ว อัตโนมัติ (*)
(Sealed valve-regulated PCE มีการตัด
lead acid cells) แรงดันไฟฟ้าเกิน 𝐴 = 0.003𝑛𝐶 𝑞𝑣 = 0.00003𝑛𝐶
อัตโนมัติ
เซลล์แบตเตอรี่ตะกั่วกรด
𝐴 = 0.6𝑛𝐼 𝑞𝑣 = 0.006𝑛𝐼
(Flooded lead acid cells)
เซลล์แบตเตอรี่ชนิดนิกเกิลแคดเมียม
𝐴 = 0.009𝑛𝐶 𝑞𝑣 = 0.00009𝑛𝐶
(Nickel cadmium cells)

โดยที่ I คือ อัตรากระแสขาออกสูงสุดของ Charger หรืออัตราของอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน ค่าใดค่าหนึ่งที่


น้อยกว่า [แอมแปร์]
C คือ ขนาดประจุไฟฟ้าของแบตเตอรี่ที่อต
ั ราการคายประจุ 3 ชั่วโมง [แอมแปร์-ชั่วโมง]
n คือ จานวนของเซลล์แบตเตอรี่ขนาด (แบตเตอรี่ตะกั่วกรดมีแรงดัน 2 V/cell และนิกเกิลแคดเมียม
1.2 V/cell)
หมายเหตุ: (*) PCE ทีไ่ ม่มีการตัดแรงดันไฟฟ้าเกินอัตโนมัติคือ PCE ทีจ่ ากัดกระแส แต่ไม่จากัดแรงดัน
(**) ใช้สมมติฐานว่าการระบายอากาศตามธรรมชาติมีความเร็วลม 1 เมตร/วินาที

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
66 | บทที่ 5 ร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่

5.4.2.5 การจัดวางการระบายอากาศ
การจัดวางและการออกแบบระบบระบายอากาศมีขอ้ กาหนดดังต่อไปนี้
ก. ห้องระบบแบตเตอรี่และสิ่งห่อหุม้ จะต้องมีช่องระบายอากาศ แบบเจาะรูหรือ แบบตะแกรงก็ได้ เพื่อให้
อากาศพัดผ่านแบตเตอรี่
ข. ช่องระบายอากาศเข้าและออกจะต้องอยู่ในด้านตรงกันข้ามกัน ยกเว้นกรณีต่อไปนี้
ค. เพดานของสิ่งห่อหุม้ สามารถส่งแก๊สระเบิดไปยังช่องระบายอากาศได้
ง. ช่องระบายอากาศอยู่บริเวณตรงกลางของสิ่งห่อหุม้ และมีความยาวอย่างน้อย 75% ของสิ่งห่อหุม้
จ. มีเซลล์หรือ มอดูลแบตเตอรี่ไม่เกิน 2 แถว

อปกร อ ็กทรอ ก อากา ออก

อากา ขา
่งห่อห แบต ตอรี่

รูปที่ 5.4 ตัวอย่างสิ่งห่อหุ้มระบบแบตเตอรี่ทมี่ ีช่องระบายอากาศขาเข้าและออกตรงข้ามกัน

รูปที่ 5.5 ตัวอย่างสิ่งห่อหุ้มระบบแบตเตอรี่ทมี่ ีช่องระบายอากาศขาเข้าและออกด้านเดียวกัน

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 5 ร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่ | 67

การจัดวางระบบระบายอากาศมีคาแนะนาต่อไปนี้
ก. ช่องระบายอากาศควรอยู่ในระดับสูงสุดในสิ่งห่อหุม้ แบตเตอรี่หรือ ห้องระบบแบตเตอรี่
ข. ทางเข้า ของช่องระบายอากาศควรอยู่ ระดับต่ า ในสิ่ งห่อหุ้มระบบแบตเตอรี่ และไม่ ควรอยู่สูงกว่า
ด้านบนของแบตเตอรี่แต่ละตัว และหากจาเป็ นควรติดตัง้ แผ่นป้องกันแมลงหรือสัตว์ต่าง ๆ
ค. เพื่อ หลี กเลี่ ยงการแบ่ง ชั้นการไหลของอากาศ ทางเข้า และทางออกของช่อ งระบายอากาศควร
ประกอบด้วย
- รูระบายอากาศซึ่งเว้นระยะห่างเท่ากันตลอดผนังของห้องหรือสิ่งห่อหุม้ หรือ
- ช่องยาวตามแนวตลอดผนังของห้องหรือสิ่งห่อหุม้
5.4.2.6 แบตเตอรีเ่ คมีชนิดอืน่
แบตเตอรี่ชนิดอื่นนอกเหนือจากชนิดตะกั่วกรดหรือนิกเกิลแคดเมียม ต้องปฏิบตั ิตามคาแนะนาการระบายอากาศของ
ผูผ้ ลิต
หมายเหตุ: ควรปฏิบัติตามคาแนะนาการติดตั้งระบบระบายอากาศตามผูผ้ ลิตเนื่อ งจากแบตเตอรี่ ลิเ ธีย มไอออนมี
ข้อกาหนดเฉพาะสาหรับการระบบระบายอากาศ
5.4.3 ข้อกาหนดเพิม่ เติมสาหรับห้องและสิง่ ห่อหุ้ม
นอกเหนือจากข้อกาหนดที่ระบุไว้ในหัวข้อ 5.2 แล้ว ถ้าระบบแบตเตอรี่จดั อยู่ในกลุ่มที่มีอนั ตรายจากแก๊สระเบิดจะต้อง
ติดตัง้ ตามข้อกาหนดเพิ่มเติมต่อไปนี้
ก. ห้องและสิ่งห่อหุม้ ต้องออกแบบให้ไม่มีการสะสมของแก๊สภายใน
ข. สิ่งห่อหุม้ ต้องเป็ นไปตามข้อกาหนดเรื่องการระบายอากาศตามชนิดของแบตเตอรี่
ค. ห้า มติ ดตั้ง อุ ปกรณ์ชนิดใดก็ ตามที่อ าจก่ อ ให้เ กิ ดประกายไฟหรื อ อาร์คเหนือ แบตเตอรี่ หรื อ มอดูล
แบตเตอรี่ภายในสิ่งห่อหุม้
ง. ประตูทางเข้าออก ช่องสายเคเบิลระหว่างแบตเตอรี่ และส่วนอื่นของ BESS จะต้องถูกปิ ดผนึกอย่างแน่น
หนา โดยแน่ใจว่าอากาศไหลผ่านระบบแบตเตอรี่และออกจากทางช่องระบายอากาศเท่านัน้
จ. อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินและปลดวงจรต้องติดตั้งอยู่นอกสิ่งห่อหุม้ ระบบแบตเตอรี่ ทั้งนีต้ อ้ งติดตัง้ ให้
ใกล้กับสิ่งห่อหุม้ ของแบตเตอรี่มากที่สดุ เพื่อลดความยาวของสายเคเบิล้
ฉ. ไม่ติดตัง้ เต้ารับภายในสิ่งห่อหุม้
ช. สาหรับสิ่งห่อหุม้ ระบบแบตเตอรี่ที่ติดตัง้ อยู่ในห้อง การระบายอากาศต้องระบายออกไปนอกห้อง
ซ. ห้ามวางอุปกรณ์ไว้เหนือสิ่งห่อหุม้ ระบบแบตเตอรี่ เว้นแต่ว่าประตูทางเข้าและช่องระบายอากาศไม่เ ปิ ด
จากทางด้านบน มีแผ่นป้องกันแก๊สระหว่างสิ่งห่อหุม้ ระบบแบตเตอรี่และตูอ้ ุปกรณ์ และช่องระบาย
อากาศระบายอากาศออกไปนอกอาคาร

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
68 | บทที่ 5 ร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่

ฌ. อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินของระบบแบตเตอรี่ สวิตช์ และเต้ารับทัง้ หมดที่ติดตัง้ ในห้องแบตเตอรี่จะต้อง


ติดต่าจากขัว้ แบตเตอรี่อย่างน้อย 100 มม. หรือห่างจากแบตเตอรี่อย่างน้อย 600 มม.
ญ. ระยะห่างระหว่างแบตเตอรี่และอุปกรณ์อื่น ๆ ที่อยู่ในห้องระบบแบตเตอรี่ตอ้ งห่างกันอย่างน้อย 600 มม. และ
100 มม. จากขัว้ แบตเตอรี่ ยกเว้นมีสิ่งกีดขวาง
ฎ. ห้ามติดตั้งโคมไฟฟ้า ในระยะ 200 มม. จากระบบแบตเตอรี่ หรืออยู่ในเส้นทางการระบายอากาศของระบบ
แบตเตอรี่

5.5 ประเด็นความปลอดภัยสาหรับระบบกักเก็บพลังงาน
5.5.1 ทั่วไป
ระบบแบตเตอรี่ (battery system) ในอาคารจะต้องมีค่า nominal voltage ดังนี้
ก. แรงดันไฟฟ้ากระแสตรงไม่เกิน 1,000 โวลต์ สาหรับอาคารที่พกั อาศัย
ข. แรงดันไฟฟ้ากระแสตรงไม่เกิน 1,500 โวลต์ สาหรับอาคารอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ที่พกั อาศัย
5.5.2 การป้ องกันกระแสเกิน
5.5.2.1 ทัว่ ไป
ความผิ ดพร่ อง (fault) ที่เ กิ ดจากการลัดวงจรในระบบแบตเตอรี่ กล่ อ งต่อ และรวมสาย หรื อ การลัดวงจรลงดินใน
แบตเตอรี่ จะทาให้เกิดกระแสเกินและความเสียหายในแบตเตอรี่
5.5.2.2 ข้อกาหนดสาหรับการป้ องกันกระแสเกิน
ต้องมีการป้องกันกระแสเกินตามที่กาหนดโดยผูผ้ ลิตแบตเตอรี่และบริภณ
ั ฑ์ที่กี่ยวข้อง หากผูผ้ ลิตไม่ได้ระบุการป้องกัน
กระแสเกินไว้ ต้องปฏิบตั ิตามข้อ ก. และ ข. ต่อไปนี้
ก. การคานวณกระแสลัดวงจร
𝑉𝑜𝑐
𝐼𝑠𝑐 =
𝑅𝑖
โดยที่ Isc คือกระแสลัดวงจรของเซลล์แบตเตอรี่ (cell short-circuit current) หน่วยแอมป์ (A)
VOC คือแรงดันเปิ ดวงจรของเซลล์ (cell open-circuit voltage) หน่วยโวลท์ (V)
Ri คือความต้านทานภายในเซลล์ (cell internal resistance) หน่วยโอห์ม (Ω)
ข. การกาหนดขนาดการป้ องกันกระแสเกิน
การเลือกขนาดพิกัดสาหรับอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินสาหรับระบบแบตเตอรี่ย่อยแต่ละระบบดังแสดงใน รู ปที่ 5.6
จะต้องพิจารณาดังนี้ (เมื่อจานวนแถวของแบตเตอรี่มากกว่า 1 แถว)

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 5 ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ | 69

ܲ௉஼ாǡ஺஼
‫ܫ‬௕ ൌ
ߟ௉஼ா ൈ ܸ௉஼ாǡ௠௜௡
‫ܫ‬௕
‫ܫ‬௥ ൌ
݊െͳ
‫ܫ‬௡ǡ௦௧௥௜௡௚ ൒ ‫ܫ‬௥ 
‫ܫ‬௡ ൒ ‫ܫ‬௕
โดยที ୠ คือ พิกัดกระแสในการคายและประจุรวมของแบตเตอรี หน่วยแอมป์
௥ คือ พิกัดกระแสในการคายและประจุรวมของแบตเตอรีในแต่ละแถว หน่วยแอมป์
ǡ୅େ คือ กําลังไฟฟ้าขาออกของ PCE หน่วยวัตต์
Ʉ୔େ୉ คือ ค่าประสิทธิภาพของ PCE
ǡ୫୧୬ คือ ค่าแรงดัน DC ตําสุดของ PCE หน่วยโวลท์
୬ǡୱ୲୰୧୬୥ คือ ขนาดพิกัดกระแสของอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินในแต่ละแถว (current setting of protection
device) หน่วยแอมป์ และ
୬ คือ ขนาดพิกัดกระแสของอุปกรณ์ป้องกั นกระแสเกิน (current setting of protection device)
หน่วยแอมป์ และ
 คือ จํานวนแถว (string) ของแบตเตอรี (ถ้า  ൌ ͳ, ୠ ൌ ୰ )
สําหรับค่าพิกัดกระแสลัดวงจรสูงสุด (breaking capacity) ของอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน ต้องมีค่าไม่
น้อยกว่าค่ากระแสลัดวงจรของเซลล์แบตเตอรี ୱୡ ตามหัวข้อ . . . ก.

#1 ระบบแบตเตอรี In,string

#2 ระบบแบตเตอรี In,string
Ib อุปกรณ์แปลงผัน
In ≥ Ib
กําลังไฟฟ้า

#n ระบบแบตเตอรี In,string

รูปที 5.6 ข้อกําหนดการป้ องกันกระแสเกินสําหรับระบบแบตเตอรีต่อขนานกันทีจุดร่วมหนึง

5.6 ตัวอย่างรูปแบบการเชือมต่อระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรีและระบบการผลิตไฟฟ้ าจาก


พลังงานแสงอาทิตย์
ตัวอย่างการเชือมต่อระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรีและระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์รูปแบบต่าง ๆ
แสดงดังรูปที 5.7 ถึง รูปที 5.10

มาตรฐานการติดตังทางไฟฟ้ าสําหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ทติี ดตังบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
70 | บทที่ 5 ร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่

รูปที่ 5.7 ตัวอย่างการเชื่อมต่อระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่จุดร่วม AC

รูปที่ 5.8 ตัวอย่างการเชื่อมต่อระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่จุดร่วม DC

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 5 ร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่ | 71

รูปที่ 5.9 ตัวอย่างการเชื่อมต่อระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่ใช้ Hybrid PCE

รูปที่ 5.10 ตัวอย่างการเชื่อมต่อระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรีส่ าหรับระบบ UPS

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
72 | บทที่ 5 ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2656 (วสท. 022013-22)
บทที่ 6
การทาสัญลักษณ์และเอกสาร

6.1 การทาสัญลักษณ์ของบริภัณฑ์
บริภัณฑ์ไฟฟ้าทัง้ หมดต้องถูกทาสัญลักษณ์ตามข้อกาหนดว่าด้วยการทาสัญลักษณ์ของมาตรฐาน หรือกฎระเบียบที่
เกี่ยวข้อง

6.2 ข้อกาหนดสาหรับป้าย
ป้ายสัญลักษณ์ที่จาเป็ นในส่วนนีต้ อ้ งเป็ นไปตามข้อกาหนดต่อไปนี้
ก. มีความทนทาน
ข. วัสดุในการทาป้ายสัญลักษณ์ตอ้ งเหมาะสมกับสภาพพืน้ ที่
ค. ต้องติดตัง้ ให้เหมาะสมกับสภาพพืน้ ที่
ง. ใช้ภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษ
จ. อ่านง่าย ชัดเจน และขนาดของตัวอักษรต้องเหมาะสมกับสภาพพืน้ ที่
ฉ. ลบไม่ออก หรือไม่จางหายไป
ช. มองเห็นได้เมื่อต้องใช้งาน
หมายเหตุ: ขนาดตัวอักษรต้องสูงไม่นอ้ ยกว่า 5 มม. ต่อเมตรของระยะการมองเห็น

6.3 การระบุว่ามีระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์
เพื่อความปลอดภัยของผูป้ ฏิบตั ิงาน ต้องระบุว่าอาคารมีการติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ โดยแสดง
เครื่องหมายดังตัวอย่างในรูปที่ 6.1 ในตาแหน่งที่สงั เกตเห็นได้ง่ายที่ทางเข้าอาคาร เพื่อให้ทราบว่ามีระบบผลิตไฟฟ้า
จากพลังงานแสงอาทิตย์อยู่ดว้ ย เช่น ประตูรวั้ ประตูเข้าอาคาร ป้ายบ้านเลขที่ เป็ นต้น นอกจากนีต้ อ้ งแสดงข้อมูล
สาหรับเจ้าหน้าที่ดบั เพลิง ตามตัวอย่างในรูปที่ 6.3 หรือรูปที่ 6.4 ด้วย

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
74 | บทที่ 6 การทำ ญ ก แ อก าร

รูปที่ 6.1 สัญลักษณ์อาคารที่มกี ารติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์


ที่ ก ล่ อ งต่ อ สายของ PV array และกล่ อ งต่ อ สายของ PV string ต้ อ งแสดงตั ว อั ก ษรสี ด าบนพื้ น สี เ หลื อ ง
ดังตัวอย่างในรูปที่ 6.2

รูปที่ 6.2 ตัวอย่างสัญลักษณ์สาหรับกล่องต่อสายของ PV array และกล่องต่อสายของ PV string

6.4 ข้อมูลสาหรับเจ้าหน้าที่ดับเพลิง
6.4.1 ป้ ายแสดงข้อมูลแรงดันและกระแส
PV array ที่ติดตั้งบนอาคารและมีพิกัดกาลังไฟฟ้ามากกว่า 350 วัตต์ หรือแรงดัน VOC ARRAY มากกว่าแรงดันต่าพิเศษ
(120 โวลต์ กระแสตรง) ต้องติดตัง้ ป้ายแสดงข้อมูลสาหรับเจ้าหน้าที่ดบั เพลิงที่บริภณ
ั ฑ์ประธานของอาคาร และในจุด
ที่ระบุตามข้อ 6.1 ให้สามารถมองเห็นได้ง่ายโดยไม่มีสิ่งใดกีดขวาง ป้ายแสดงข้อมูลสาหรับเจ้าหน้าที่ดบั เพลิงต้องเป็ น
ตัวอักษรสีขาวบนพืน้ สีแดง ตัวอักษรต้องสูงไม่นอ้ ยกว่า 5 มม. และต้องระบุขอ้ มูลดังตัวอย่างในรูปที่ 6.3

รูปที่ 6.3 ตัวอย่างป้ ายแสดงข้อมูลแรงดันและกระแส

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
บทที่ 6 การทำ ญ ก แ อก าร | 75

สาหรับระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ชนิดอินเวอร์เตอร์ขนาดเล็กมาก (micro-inverters) ต้องติดตั้งป้าย


แสดงข้อมูลสาหรับเจ้าหน้าที่ดบั เพลิงที่บริภณ
ั ฑ์ประธาน ด้วยข้อความดังตัวอย่างในรูปที่ 6.4

แผงเซลล์
แผงเซลล์แแสงอาทิ
สงอาทิตตย์ย์(ระบุ
(ระบุตตาแหน่
าํ แหน่งงติติดดตัตัง้ ง)
) ____________________
____________________
กรณี
กรณีฉฉกุ กุ กเฉิ
กเฉินนให้ให้ตตดั ดั กระแสไฟฟ้
กระแสไฟฟ้าาทีที่ (ระบุ
(ระบุตตาแหน่
าํ แหน่งงและแผนผั
และแผนผังง))__________
__________

รูปที่ 6.4 ตัวอย่างป้ ายแสดงข้อมูลสาหรับเจ้าหน้าที่ดบั เพลิง


หมายเหตุ: 1. ในการติดตัง้ ขนาดเล็ก ข้อมูลของตาแหน่งอาจเป็ นแบบทั่วไป (เช่น บนหลังคา) ในการติดตัง้ ขนาดใหญ่กว่านี ้ ควรให้
ข้อมูลเพิ่มเติม เช่น แผนที่ หรือแผนผังเพือ่ ระบุตาแหน่ง
2. ตัวอย่างการแสดงสัญลักษณ์สาหรับข้อมูลเพลิงไหม้ ตามรูปที่ 6.3 และ 6.4

6.5 ป้ าย/สัญญาณสาหรับอุปกรณ์ตดั วงจร


6.5.1 ข้อกาหนดทั่วไป
อุปกรณ์ตดั วงจร ยกเว้นเต้าเสียบและเต้ารับ ต้องทาสัญลักษณ์ดว้ ยชื่อและตัวเลข ตามแบบไดอะแกรมของ PV array
อุปกรณ์ตดั วงจรทุกตัวต้องมีการระบุตาแหน่งการปิ ด-เปิ ดอย่างชัดเจน เช่น “O” (ปิ ด) และ “I” (เปิ ด) เป็ นต้น
6.5.2 อุปกรณ์ตัดวงจรของ PV array
อุปกรณ์ตดั วงจรของ PV array ต้องมีสญ
ั ลักษณ์ติดไว้ในตาแหน่งที่ชดั เจนด้วยตัวอักษร เช่นตัวอย่างในรูปที่ 6.5

อปกร ต ง ร
ง ร ซ แ งอาทต (PV array) กร แ ตรง
รูปที่ 6.5 ตัวอย่างสัญลักษณ์ที่ตดิ ถัดจาก PV array สาหรับอุปกรณ์ตัดวงจรกระแสตรง
เมื่ อ ใช้ง านอุปกรณ์แยกวงจร หรื อ อุ ปกรณ์ตัดวงจรหลายตัวที่ไม่ อยู่ ในกลุ่มนี้ ต้อ งติ ดตั้ง ถั ดจากอุ ปกรณ์แปลงผัน
กาลังไฟฟ้า ต้องระบุสญ ั ลักษณ์ และสัญลักษณ์ตอ้ งเป็ นตัวอักษรสีดาบนพืน้ สีเหลือง ดังแสดงในรูปที่ 6.6

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
76 | บทที่ 6 การทำ ญ ก แ อก าร

รูปที่ 6.6 ตัวอย่างสัญลักษณ์สาหรับอุปกรณ์แยกวงจร/อุปกรณ์ตัดวงจรหลายตัว


เมื่อใช้งานอุปกรณ์หยุดทางานฉุกเฉิ น สาหรับระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ต้องระบุสัญลักษณ์ และ
สัญลักษณ์ตอ้ งเป็ นตัวอักษรสีขาวบนพืน้ สีแดง ดังแสดงในรูปที่ 6.7

รูปที่ 6.7 ตัวอย่างสัญลักษณ์สาหรับอุปกรณ์หยุดทางานฉุกเฉิน


6.5.3 ขัน้ ตอนการหยุดจ่ายไฟ
ระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ตอ้ งมีขนั้ ตอนการหยุดจ่ายไฟ (shutdown) ตามข้อกาหนดของการไฟฟ้าฯ
คาแนะนาของผูผ้ ลิต หรือผูต้ ิดตัง้ ระบบ ป้ายขัน้ ตอนการหยุดจ่ายไฟ ต้องติดไว้ใกล้กับอุปกรณ์แยกวงจร

6.6 เอกสาร
ควรมีการเตรียมเอกสารต่าง ๆ ตามคาแนะนาในภาคผนวก ค. และภาคผนวก ง.

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
ภาคผนวก ก.
การต่อลงดินและการแยกวงจรกระแสตรง
(ภาคผนวกมิใช่ส่วนหนึ่งของมาตรฐานแต่มีขนึ้ เพื่อใช้เป็ นข้อมูลเท่านั้น)

ก.1 ตัวอย่างของรูปแบบการต่อลงดิน
ตัวอย่างรูปแบบที่เป็ นไปได้ในการต่อลงดินสาหรับระบบ PV ที่ต่อกับอินเวอร์เตอร์ แสดงดังรูปที่ ก.1
หมายเหตุ: ไดอะแกรมเหล่านีไ้ ม่ได้แสดงตาแหน่งทางกายภาพที่ตงั้ แท้จริงของการต่อลงดิน แสดงไว้เฉพาะการต่อทางไฟฟ้า
เท่านัน้
+
PV
array
-

+
PV
array
-

+
PV
array
-

+
PV
array
-

+
PV
array
-

+
PV
array
-

รูปที่ ก.1 รูปแบบของระบบการต่อลงดิน


มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
78 | า ก ก การต่อ ง แ การแ ก ง รกร แ ตรง

ก.2 ข้อกาหนดพิกดั แรงดันของตัวตัดวงจรกระแสตรง


รูปที่ ก.2 ถึง ก.5 อธิบายการทางานของตัวตัดวงจรแบบปกติและมีภาวการณ์ลดั วงจรลงดินจุดเดียว ดังนี้
ก. PV array ที่ไม่มีการต่อลงดิน ที่จ่ายไฟให้อินเวอร์เตอร์แบบแยกส่วน (ดูตวั อย่างในรูปที่ ก.2)
ในกรณีนี ้ ขั้วทั้งสองของ PV string และตัวตัดวงจร ต้องมีพิกัดแรงดันอย่างน้อยเท่ากับแรงดันสูงสุดของ
PV array
การต่อลงดินของโครงสร้าง PV module ของระบบเหล่านี ้ ทาให้ระบบป้องกันของอินเวอร์เตอร์ตรวจจับการ
ลัดวงจรลงดินครัง้ แรก สิ่งนีม้ ีความจาเป็ นเพราะการลัดวงจรลงดินครัง้ ที่สองอาจก่อให้เกิดอาร์กและไฟไหม้ได้ ในกรณี
นีอ้ ินเวอร์เตอร์จะระบุความผิดปกติและส่งสัญญาณเตือน ตามที่ระบุไว้ในข้อ 3.4.3
ข. PV array ที่มีการต่อลงดินตามหน้าที่โดยผ่านความต้านทานที่มีค่าสูง ที่จ่ายไฟให้อินเวอร์เตอร์แบบแยก
ส่วน โดยกาหนดค่าความต้านทาน ดังสมการที่ (ก.1)
V
R  OC ARRAY (ดูตวั อย่างในรูปที่ ก.3) (ก.1)
0.03
ในกรณีนี ้ แต่ละขัว้ ของตัวตัดวงจร/อุปกรณ์แยกวงจร ต้องมีพิกัดแรงดันอย่างน้อยเท่ากับแรงดันสูงสุดของ
PV array
การต่อลงดินของโครงสร้าง PV module ของระบบเหล่านี ้ ทาให้ระบบป้องกันของอินเวอร์เตอร์ตรวจจับการ
ลัดวงจรลงดินครัง้ แรก สิ่งนีม้ ีความจาเป็ นเพราะการลัดวงจรลงดินครัง้ ที่สองอาจก่อให้เกิดอาร์กและไฟไหม้ได้ ในกรณี
นีอ้ ินเวอร์เตอร์จะระบุความผิดปกติและส่งสัญญาณเตือน ตามที่ระบุในข้อ 3.4.3
ค. PV array ที่มีการต่อลงดินตามหน้าที่ผ่านอุปกรณ์ตัดวงจรผิดพร่องลงดิน (earth fault interrupter, EFI) ที่
จ่ายไฟให้อินเวอร์เตอร์แบบแยกส่วน (ดูตวั อย่างในรูปที่ ก.4)
ในกรณีนี้ แต่ละขัว้ ของตัวตัดวงจร ต้องมีพิกัดแรงดันอย่างน้อยเท่ากับแรงดันสูงสุดของ PV array
ง. PV array ที่ ต่อกั บอิ นเวอร์เตอร์แบบไม่ แยกส่ วน (ชนิดไม่ มีหม้อแปลง) (non-seperated (transformerless)
inverter) (ดูตวั อย่างในรูปที่ ก.5)
ในกรณีนี้ แต่ละขัว้ ของตัวตัดวงจร/อุปกรณ์แยกวงจร ต้องมีพิกัดแรงดันอย่างน้อยเท่ากับแรงดันสูงสุดของ PV
array
การต่ อ ลงดิ นของโครงสร้า ง PV module ของระบบเหล่ า นี้ ทาให้กระแสรั่ว แบบคาปาซิทีฟ (capacitively
coupled leak) ไหลไปยังโครงสร้างของ PV module โดยไม่เป็ นอันตราย และเป็ นการป้องกันปั ญหาไฟฟ้าดูด แต่
อาจจะทาให้ระบบป้องกันของอินเวอร์เตอร์ตรวจจับการลัดวงจรลงดินครัง้ แรกด้วยเช่นกัน ในกรณีนี้ อินเวอร์เตอร์
อาจจะระบุความผิดปกติและส่งสัญญาณเตือน ตามที่ระบุไว้ในข้อ 3.4.3
คาเตือน: ไม่อนุญาตให้ต่อลงดินโดยตรงตามหน้าที่ของ PV array ที่ต่ออยู่กับอินเวอร์เตอร์แบบไม่แยกส่วน
หมายเหตุ: โครงสร้างของ PV module ทัง้ หมดให้ต่อลงดิน

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
า ก ก การต่อ ง แ การแ ก ง รกร แ ตรง | 79

L+
PV array
PV array PV array

A
=

VARRAY
N
~

L-

L+

PV array

A
=

VARRAY
N
~

L-
PV array
PV array

L+
PV array
PV array
PV array

A
=

VARRAY
N
~

L-

รู ป ที่ ก.2 ตั ว อย่ า งแสดงการแยกการต่ อ ลงดิ น ของ PV array ที่ ต่ อ อยู่ กั บ อิ น เวอร์เ ตอร์ แ บบแยกส่ ว น
ภายใต้การทางานปกติและภาวะความผิดพร่องครั้งเดียว (single fault)

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
80 | า ก ก การต่อ ง แ การแ ก ง รกร แ ตรง

L+
PV array
PV array
PV array

A
=

VARRAY
N
~

L-

L+

PV array

A
=

VARRAY
N
~

L-
PV array
PV array

L+
PV array
PV array
PV array

A
=

VARRAY
N
~

L-

รู ปที่ ก.3 ตัวอย่างแสดง PV array ซึ่งมีการต่อลงดินเพื่อการทางานได้ผ่านความต้านทานที่มีค่าสูงที่ต่ออยู่


กับอินเวอร์เตอร์แบบแยกส่วน ภายใต้การทางานปกติและภาวะความผิดพร่องครั้งเดียว

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
า ก ก การต่อ ง แ การแ ก ง รกร แ ตรง | 81

การ งา า ปกต
L+
ข้ ้ตี อง ือก ก หรบแรง ต็ ข า ของ PV array
ื่อง าก ตซต ตอ ตอง การกบ า การ า ร่อง
PV array
ที่ร บ า ่าง
อ อร ตอร
แบบแ ก ่ A
=

VARRAY
N
รง ~
EFI
การต่อ ง ตา ห าที่

L- การต่อ ง
ของ ่งต ต้ง

L+

า ร่อง
PV array ที่ข้ บ ก

อ อร ตอร
แบบแ ก ่ A
= กร แ ร่อง ห ี
แ ง ซ่ง ของต ต การ
VARRAY ร่อง ง รร บ
~
N ื่อต กร แ ร่อง แ
รง EFI แ งการแ ง ตือ
การต่อ ง ตา ห าที่

L- การต่อ ง
ต ต ง ร ร่อง ง ตองต แรง ของ ่งต ต้ง
แ กร แ ต็ ข า ของ PV array

L+ ข้ ้ี อง ห็ แรง
แ กร แ ทง้ ห ของ PV array
PV array

อ อร ตอร
แบบแ ก ่ ่ กี ร แ ร่อง
A
=
า การ ี้ แต่ข้ บ กของ
VARRAY ตซต ตอ ทาการต
กร แ ปกตซ่ง า การ ่ ี้
N
รง ~ อ ตรา
EFI ื่อง ากอา ่ า าร
การต่อ ง ตา ห าที่
ตร บ า ร่องแรก
L- า ร่อง การต่อ ง
ที่ข้ บ ของ ่งต ต้ง

รูปที่ ก.4 ตัวอย่างแสดง PV array ที่มีการต่อลงดิน ที่ต่ออยู่กับอินเวอร์เตอร์แบบแยกส่วนภายใต้การทางาน


ปกติและภาวะความผิดพร่องครั้งเดียว (single fault)

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
82 | า ก ก การต่อ ง แ การแ ก ง รกร แ ตรง

L+

PV array

PV array

A
VARRAY =
N
-

L-

หมายเหตุ : อิ นเวอร์ เตอร์ มีการต่ อภายในระหว่ าง PV array ขั้วบวกและขั้วลบ และด้านกระแสสลั บ ที่นิ วทรัลถู กต่ อเข้ ากับ ระบบ
การต่อลงดิน
ในอินเวอร์เตอร์แบบไม่แยกส่วนบางตัว การต่อนิวทรัลภายในถูกต่อไปยังขัว้ ลบของ PV
ในอินเวอร์เตอร์แบบไม่แยกส่วนบางตัว การต่อนิวทรัลภายในถูกต่อไปยังขัว้ บวกของ PV
ในอินเวอร์เตอร์แบบไม่แยกส่วนบางตัว อาจมีการเปลี่ยนการต่อนิวทรัลภายในระหว่างขัว้ บวกและขัว้ ลบ
ของ PV อย่างรวดเร็ว
ผลของการนี ้ คือ ตัวตัดวงจรชนิดสองขัว้ อาจมีความจาเป็ น เพื่อใช้ตดั กระแสจาก PV array
รูปที่ ก.5 ตัวอย่างแสดง PV array ที่ต่ออยู่กบั อินเวอร์เตอร์แบบไม่แยกส่วน

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
ภาคผนวก ข.
ข้อแนะนาสาหรับการบารุ งรักษา
(ภาคผนวกมิใช่ส่วนหนึ่งของมาตรฐานแต่มีขนึ้ เพื่อใช้เป็ นข้อมูลเท่านั้น)

ข.1 ความปลอดภัย
ต้องให้ความสนใจในกระบวนการบารุงรักษา โดยทาตามข้อกาหนดความปลอดภัย ดังนี้
ก. กระบวนการหยุดจ่ายไฟฉุกเฉิน
ข. ปฏิบตั ิตามสัญลักษณ์ทงั้ หมด
ค. การหยุดจ่ายไฟของระบบและตัดกระแสของ PV array ตามคู่มือขัน้ ตอนการหยุดจ่ายไฟ
ง. แยก PV string ให้บางส่วนมีแรงดันต่าพิเศษ (ถ้าเกี่ยวข้อง)
จ. เตือนว่าส่วนใดที่ยงั มีไฟฟ้า ซึ่งไม่สามารถดับไฟได้ในช่วงเวลากลางวัน

ข.2 การบารุงรักษาเป็ นช่วงเวลา


กิจกรรมการบารุงรักษาต่อไปนีค้ วรถูกพิจารณารวมเข้าไปในขัน้ ตอนการบารุงรักษาตามสถานที่ติดตัง้ ขนาด และการ
ออกแบบของ PV array
ก. สัญลักษณ์เตือนและคาแนะนาของผูผ้ ลิต
ข. การทาความสะอาดสาหรับ PV array อาจจะทาเป็ นช่วงเวลาตามสถานที่ ซึ่งมีฝ่ ุน หรือวัสดุปนเปื ้อน
ค. การตรวจสอบตามช่วงเวลาควรทาเพื่อตรวจสอบความสมบูร ณ์ การต่อทางไฟฟ้า การผุกร่อน และการ
ป้องกันทางกลของการต่อสาย
ง. ตรวจสอบแรงดันเปิ ดวงจรและค่ากระแสลัดวงจร
จ. ตรวจสอบการต่อลงดินเพื่อการทางานได้ (ถ้ามี)
ฉ. ตรวจสอบการทางานของระบบติดตาม (tracking system) (ถ้ามี)
ช. วัดค่าคุณลักษณะ I – V (ถ้าเป็ นไปได้)
ซ. ปรับแต่งแนวเอียงของ PV array เพื่อให้สามารถรับแสงแดดตามฤดูกาลได้เพิ่มขึน้ (ถ้ามี)
ฌ. ตรวจเช็คโครงสร้างการติดตัง้ PV array
ญ. ทดสอบการทางานของสวิตช์อย่างสม่าเสมอ
ฎ. ตรวจสอบความเสียหายของ PV module (รอยแตก ความชืน้ รอยไหม้ เป็ นต้น)
ฏ. ตรวจเช็คสถานะของกับดักฟ้าผ่า (surge arrester) (ถ้ามี)
ฐ. ตรวจสอบบริเวณที่อุณหภูมิไม่สม่าเสมอด้วยกล้องที่ไวต่อการแผ่รงั สีอินฟราเรด (infrared scan)

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
84 | า ก ข ขอแ ำ ำหรบการบำรงรก า

ตัวอย่างตารางการบารุงรักษาถูกแสดงไว้ในตารางที่ ข.1
ตารางที่ ข.1 ตัวอย่างตารางการบารุ งรักษา
ระบบย่อย
การบารุงรักษา* ความถี่† บันทึก
หรือส่วนประกอบ
สถานที่ตงั้ การตรวจสอบ ทุก 3 เดือน ท าความสะอาด ตามที่
ก) ความสะอาด (การสะสมของเศษซาก ต้องการ หรือตามที่กาหนด
รอบ ๆ และ/หรือข้างใต้ PV array ไว้
ข) ไม่มีเงามาบัง PV array ตัดต้นไม้ ถ้าจาเป็ น
PV module ตรวจสอบความสะอาด ทุก 3 เดือน ทาความสะอาด ถ้าจาเป็ น
(การสะสมของฝุ่น รา บน PV array)
ตรวจสอบความผิดปกติ ด้วยสายตา รวมถึง 1 ปี PV module ที่ พ บ ค ว า ม
ก) รอยแตก ผิ ด ปกติ ด้ ว ยสายตา ควร
ข) รอยไหม้ ต้ อ ง ท า ก า ร ต ร ว จ ส อ บ
ค) ความชืน้ เ พิ่ ม เ ติ ม ส า ห รั บ
ง) การสึกกร่อนของโครง ประสิ ท ธิ ภ าพและความ
ป ล อ ด ภั ย เ พื่ อ ท า ก า ร
ตัดสินใจที่จะเปลี่ยนใหม่
ตรวจสอบกล่องต่อสาย สาหรับ 1 ปี หากมีความผิดปกติของซล
ก) ความแข็งแรงของจุดต่อ แคลมป์ และไดโอดลัด ข้า ม
ข) นา้ สะสม (นา้ ขัง) ควรต้องทาการเปลี่ยน
ค) ความสมบูรณ์ของฝาปิ ด
ง) ความสมบูรณ์ของทางเข้าสายเคเบิล และ
การซี ล ของข้ อ ต่ อ ยึ ด สายไฟเข้า กั บ กล่ อ ง
และการซีลของท่อ
จ) ความสมบูรณ์ของอุปกรณ์จับยึด
ตรวจสอบไดโอดลัดข้าม
การติดตัง้ การต่อสาย ตรวจสอบความสมบูรณ์ทางกลของท่อ 5 ปี ท่ อ ที่ เ สี ย หายควรท าการ
เปลี่ยน
ตรวจสอบความสมบูรณ์ของฉนวนเคเบิลที่ 5 ปี เคเบิลที่เสียหายควรทาการ
ติดตัง้ โดยไม่ใช้ท่อ เปลี่ยน
เช็ค กล่องต่อสายสาหรับ : 1 ปี ซี ล ไดโอดกั้น กระแส และ
ก) ความแข็งแรงของการต่อ อุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น ฟ้ า ผ่ าที่
ข) นา้ สะสม นา้ ขัง เสียหาย ควรทาการเปลี่ยน
ค) ความสมบูรณ์ของฝาปิ ด

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
า ก ข ขอแ ำ ำหรบการบำรงรก า | 85

ระบบย่อย
การบารุงรักษา* ความถี่† บันทึก
หรือส่วนประกอบ
ง) ความสมบูรณ์ของทางเข้าสาย และ/หรือ
การซีลของท่อ
จ) ความสมบูรณ์ของอุปกรณ์จับยึด
ตรวจสอบ:
ฉ) ไดโอดกัน้ กระแส
ช) อุ ป กรณ์ ป้ อ งกั น ฟ้ า ผ่ า ส าหรั บ การ
เสื่อมสภาพ
ตรวจสอบการต่อ สาหรับ 1 ปี
ก) ความแข็งแรงของการต่อ
ข) การสึกกร่อน
คุณลักษณะทางไฟฟ้า วัดแรงดันเปิ ดวงจร 1 ปี
วัดกระแสลัดวงจร 1 ปี
อุปกรณ์ป้องกัน ตรวจสอบความสมบูรณ์ของฟิ วส์ 1 ปี
ตรวจสอบการทางานของเซอร์กิตเบรกเกอร์ 1 ปี
และเครื่องตัดไฟรั่ว (ถ้ามี)
ตรวจสอบการทางานของระบบป้องกัน 1 ปี
ความผิดพร่องลงดิน
ตรวจสอบการทางานของอุปกรณ์แยก PV 1 ปี
array ให้เป็ นอิสระ
การติดตัง้ โครงสร้าง ตรวจสอบความแข็งแรงและความสมบูรณ์ 1 ปี
ของน็อตและตัวยึดอื่นๆ
ตรวจสอบการสึกกร่อน 5 ปี
* หัวข้อการดูแลรักษาที่แสดงเป็ นเพียงตัวอย่างเท่านัน้
† จานวนความถี่เป็ นเพียงตัวอย่าง จานวนความถี่ขนึ ้ อยู่กับสภาพหน้างาน

ข.3 การทางานและกระบวนการบารุงรักษา
การทางานและกระบวนการบารุงรักษาควรรวมสิ่งเหล่านี ้
ก. คาบรรยายอย่างย่อของหน้าที่และการทางานของอุปกรณ์ที่ถูกติดตัง้ ทัง้ หมด รวมถึงข้อมูลรายละเอียดตาม
เอกสารของผูผ้ ลิต (ดูภาคผนวก ค.)
ข. กระบวนการหยุดทางานของระบบเพื่อการบารุงรักษาและในกรณีฉุกเฉิน
ค. ข้อกาหนดของวงรอบการบารุงรักษา รวมถึง กระบวนการและตารางการทางาน
ง. เอกสารอุปกรณ์จากผูผ้ ลิต (เอกสารข้อมูล คู่มือ และอื่นๆ) สาหรับอุปกรณ์ทุกตัว
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
86 | า ก ข ขอแ ำ ำหรบการบำรงรก า

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
ภาคผนวก ค.
การทดสอบและกระบวนการทดสอบก่อนใช้งาน
(ภาคผนวกมิใช่ส่วนหนึ่งของมาตรฐานแต่มีขนึ้ เพื่อใช้เป็ นข้อมูลเท่านั้น)

ค.1 ทั่วไป
ภาคผนวกนีเ้ สนอข้อกาหนดของกระบวนการทดสอบอย่างต่าสุด และตัวอย่างเอกสารของกระบวนการทดสอบการ
ทางานของระบบและอุปกรณ์ต่าง ๆ ซึ่งควรเตรียมให้เรียบร้อ ยในขณะที่ทาการทดสอบการทางานของระบบและ
อุปกรณ์ต่าง ๆ

ค.2 กระบวนการทดสอบการทางาน
กระบวนการทดสอบการทางานของระบบและอุปกรณ์ต่างๆ นี้ ต้องกระทา หลังจากติดตั้ง PV array และก่อนการต่อ
PV string กับวงจรอื่น ๆ
ก. ตรวจสอบและบันทึกความต่อเนื่องของ PV array, PV sub-array และการเชื่อมต่อของ PV array
ข. ตรวจสอบและบันทึกความต่อเนื่องของการต่อลงดินทัง้ หมด รวมถึงการต่อลงดินของโครงของ PV module
ค. ตรวจสอบและบันทึกแรงดันและขัว้ แรงดันไฟฟ้าของ PV string, PV sub-array และ PV array
หมายเหตุ: การทดสอบนีม้ ีความสาคัญอย่างมาก โดยเฉพาะการตรวจสอบขัว้ ไฟฟ้า ถ้า PV string ต่อกลับขัว้ ผลทีต่ ามมาคือ
อาจทาให้เกิดเพลิงไหม้และอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินทางานผิดพลาด เพราะแรงดันใน PV string ที่ต่อกลับขั้วจะมีค่าสูงเป็ นสองเท่า
ของพิกดั แรงดัน
ง. กระแสลัดวงจรของ PV string และความเข้มแสง ณ เวลาที่ทาการวัดอาจถูกตรวจเช็ค ณ ขณะนั้น ถ้า
ต้องการ คาแนะนาเพื่อความปลอดภัยสาหรับทาการลัดวงจร อยู่ในหัวข้อ ค.3
จ. ต่อ PV string กับสายของ PV array อื่น ๆ
ฉ. ตรวจสอบความต้านทานของฉนวนเทียบกับดิน ทาตามกระบวนการวัดค่าความต้านทานที่แสดงในหัวข้อ ค.4
ช. เมื่ อ ถอดอุ ปกรณ์ทดสอบฉนวนและต่ อสายของ PV array กลับเข้า ที่ ปิ ด ตัว ตัดวงจรของ PV array และ
ตรวจสอบการทางานของ PV array ภายใต้โหลดปกติในระบบที่ทาการติดตัง้
ซ. ตรวจสอบและบันทึกแรงดันทางาน และกระแสของ PV array
ฌ. อาจทาการตรวจสอบกระแสทางานของ PV string ในทุก PV string ของ PV array ได้ในครัง้ นี้
ญ. การท างานของตัวตัดวงจรของ PV array ขณะที่ระบบทางานอยู่ (เช่น ทางานภายใต้โหลดปกติ) ต้อง
ตรวจสอบให้แน่ใจว่าปลอดภัยสาหรับการแยกอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าจาก PV array

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
88 | า ก การท อบแ กร บ การท อบก่อ งา

ค.3 PV Array – แรงดันกระแสตรง – ตัวอย่างเอกสารกระบวนการทดสอบการทางาน


ค.3.1 ทั่วไป
คาเตือน : กระบวนการต่อไปนี้อธิบายการวัดกระแสลัดวงจร ซึง่ แรงดันไฟฟ้ าอาจมีค่าสูงมาก และถ้าไม่ทา
ตามกระบวนการ อาจเกิดการอาร์กและความเสียหายต่ออุปกรณ์เกิดขึน้ ได้
หมายเหตุ: โดยทั่วไปการบันทึกข้อมูลของกระแสทางานจริงของแต่ละ PV string ก็เพียงพอสาหรับการทดสอบการทางานของระบบ
และอุปกรณ์ ยกเว้นทีก่ าหนดให้การทดสอบการลัดวงจรเป็ นส่วนหนึ่งของสัญญาโครงการ
เมื่อจาเป็ นต้องวัดกระแสลัดวงจร ขัน้ ตอนดังนีต้ อ้ งปฏิบตั ิตามเพื่อความปลอดภัยในการวัดกระแสลัดวงจร
ดังแสดงตามรูปที่ ค.1
ก. ตรวจสอบให้แน่ใจว่าตัวตัดวงจร ที่อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า อยู่ในตาแหน่ง “OFF”
ข. ตรวจสอบให้แน่ใจว่าการเชื่อมต่อฟิ วส์ของแต่ละ PV string (ถ้าต่ออยู่) ถูกถอดออก หรือการเชื่อมต่อใน
แต่ละ PV string ถูกปลดวงจรออก
ค. ปลดสายเคเบิลที่ต่อระหว่างตัวตัดวงจรของ PV array กับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า
ง. ในขณะที่ตวั ตัดวงจรของ PV array ที่อยู่ที่ตาแหน่ง “OFF” เชื่อมต่อตัวตัดวงจรทดสอบ (อ้างอิงรูปที่ ค1)
จ. ติดตัง้ ฟิ วส์ที่ PV string แถวที่ 1 หรือเชื่อมต่อสายของวงจรของ PV string ให้สมบูรณ์
ปิ ดวงจรของสวิตช์สาหรับตัดวงจรของ PV array หลังจากนัน้ ให้ปิดวงจรของตัวตัดวงจรทดสอบ และใช้
แคลมป์ มิเตอร์วดั กระแสลัดวงจรกระแสตรงสาหรับ PV string แถวที่ 1 เมื่อวัดกระแสเสร็จเรียบร้อยให้
เปิ ดวงจรของตัวตัดวงจรทดสอบ และปลดฟิ วส์ของ PV string แถวที่ 1
ฉ. ทาซา้ ในขัน้ ตอนที่ จ. สาหรับ PV string ในแถวถัดไป
ช. หลังจาก PV string แต่ละแถวถูกทาการวัดค่าเรียบร้อยแล้ว ตรวจสอบให้แน่ใจว่าตัวตัดวงจรทดสอบอยู่
ตาแหน่ง “OFF” หลังจากนัน้ ให้ติดตัง้ ฟิ วส์สาหรับ PV string ทุกแถว และต่อวงจรของ PV string ทุกแถว
เมื่อทาการเชื่อมต่อเรียบร้อยแล้วให้ปิดวงจรของตัวตัดวงจรทดสอบ และวัดค่ากระแสตรงโดยใช้แคลมป์
มิเตอร์ เมื่อทาการวัดค่ากระแสเสร็จสิน้ ให้เปิ ดวงจรตัวตัดวงจรทดสอบ และปลดวงจรของ PV array
ออกโดยให้ตัวตัดวงจรอยู่ในตาแหน่ง “OFF” จากนั้นเชื่อมต่อสายเคเบิลของ PV array เข้ากับอุปกรณ์
แปลงผันกาลังไฟฟ้าตามเดิม และตรวจสอบความแข็งแรงของขัว้ ต่อสาย

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
า ก การท อบแ กร บ การท อบก่อ งา | 89

าก ห
า ขางของ ตซต ง ร
ของ PV array

OFF OFF

า ื่อ ต่อ
ตอร
แบบแ ป์

รูปที่ ค.1 การต่อวงจรของตัวตัดวงจรทดสอบในการทดสอบการลัดวงจร

ค.4 การวัดค่าความเป็ นฉนวน


คาเตือน : ในเวลากลางวัน วงจรกระแสตรงของ PV array จะมีกระแสไฟฟ้ า และไม่สามารถตัดวงจรก่อนทา
การทดสอบนี้ได้เหมือนอย่างวงจรกระแสสลับทั่วไป
การทดสอบนีค้ วรเป็ นการทดสอบลาดับสุดท้าย โดยที่สายเคเบิลทุกเส้นของ PV string ทุกแถว ถูกเชื่อมต่อครบ
สมบูรณ์แล้ว ในระบบใหญ่ ๆ ควรวัดความเป็ นฉนวนของ PV array เป็ นส่วน ๆ ก่อน จากนั้นจึงไปวัดความเป็ นฉนวน
ของ PV array ที่เชื่อมต่อครบถ้วนสมบูรณ์ภายหลังจากการสับสวิตช์ของ PV sub-array
ก่อนทาการทดสอบ
ก. ต้องจากัดไม่ให้ผทู ้ ี่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามาในบริเวณทดสอบ
ข. ต้องไม่ให้ผใู ้ ดสัมผัสส่วนที่เป็ นโลหะของ PV array หรือผิวหน้าของ PV module
ค. แยก PV array ออกจากอินเวอร์เตอร์ ที่จุดของสวิตช์สาหรับตัดวงจร
ง. แยกชิน้ ส่วนของอุปกรณ์ที่สามารถมีผลกับการวัดค่าความเป็ นฉนวน (เช่น อุปกรณ์ป้องกันแรงดันเกิน) ใน
กล่องต่อสายและกล่องรวมสาย
การวัดค่าความเป็ นฉนวนต้องกระทาด้วยเครื่องมือวัดค่าความเป็ นฉนวนที่ต่อระหว่างดินกับขั้วบวกของ PV
array และจากนัน้ ทาการทดสอบค่าความเป็ นฉนวนระหว่างดินกับขัว้ ลบของ PV array การทดสอบสายไฟต้องมั่นใจ
ด้านความปลอดภัยก่อนทาการทดสอบ และค่าความเป็ นฉนวนต้องถูกจดบันทึก

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
90 | า ก การท อบแ กร บ การท อบก่อ งา

ปฏิบัติตามคู่มือของการวัดค่าฉนวนเพื่อให้แน่ใจว่าแรงดันทดสอบอยู่ในช่วงตามตารางที่ ค.1 และอ่านค่า เม


กะโอห์ม (MΩ) ค่าความเป็ นฉนวนที่ถูกวัดด้วยแรงดันทดสอบตามตารางที่ ค.1 เป็ นที่น่าพอใจ ถ้าแต่ละวงจรมีค่า
ความเป็ นฉนวนไม่นอ้ ยกว่าค่าที่แสดงในตารางที่ ค.1
ต้องแน่ใจว่าระบบได้ปลดวงจร ก่อนปลดสายเคเบิลทดสอบออก หรือการสัมผัสส่วนที่เป็ นตัวนาไฟฟ้า
ตารางที่ ค.1 ค่าต่าสุดของฉนวน
แรงดันระบบ แรงดันทดสอบ (Vdc) ค่าฉนวนต่าสุด
(Voc stc x 1.1 ) (เมกะโอห์ม)
< 120 250 0.5
120 – 500 500 1
> 500 1000 1

การทดสอบค่าความเป็ นฉนวนควรทาซา้ สาหรับแต่ละ PV array เป็ นอย่างน้อย ถ้าต้องการทดสอบ PV string


ด้วยก็ได้

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
า ก การท อบแ กร บ การท อบก่อ งา | 91

ตารางที่ ค.2 ตัวอย่าง – PV array – เอกสารกระบวนการทดสอบการทางาน


รายละเอียดการติดตั้ง
สถานที่ของการติดตัง้
ผู้ผลิต PV module และหมายเลข
จานวนของ PV module ในการต่ออนุกรมใน PV string
จานวน PV string ในการต่อขนานใน PV array

การตรวจสอบความต่อเนื่อง
การตรวจสอบวงจร (บันทึกรายละเอียดของวงจรที่ถูกตรวจสอบในคอลัมน์นี้)

การตรวจสอบขั้ว และแรงดันเปิ ดวงจร ขัว้ แรงดัน


PV string 1 โวลต์
PV string 2 โวลต์
PV string 3 โวลต์
PV string 4 โวลต์
PV sub-array (ถ้าต้องการ) โวลต์
PV array ทีต่ วั ตัดวงจรของ PV array โวลต์
คาเตือน :
• ถ้า PV string ถูกกลับขั้ว และถูกต่อกับ PV string อื่น อาจทาให้เกิดเพลิงไหม้
• ถ้าถูกกลับขั้วที่อินเวอร์เตอร์ ความเสียหายอาจเกิดขึน้ ที่อินเวอร์เตอร์
หมายเหตุ : เมื่อกระแสลัดวงจรของ PV array มีความจาเป็ น ให้ทาการบันทึกไว้ทนี่ ี่
กระแสลัดวงจร
PV string 1 แอมป์
PV string 2 แอมป์
PV string 3 แอมป์
PV string 4 แอมป์
PV array (ถ้าต้องการ) แอมป์
ความเข้มแสงอาทิตย์ ณ เวลาที่ทาการบันทึก วัตต์/ตร.ม.

การวัดค่าความเป็ นฉนวน
ระหว่างขัว้ บวกของ PV array กับดิน เมกะโอห์ม
ระหว่างขัว้ ลบของ PV array กับดิน เมกะโอห์ม

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
92 | า ก การท อบแ กร บ การท อบก่อ งา

การทางานของระบบ
แรงดันของ PV array โวลต์
กระแสของ PV array แอมป์
สวิตช์สาหรับตัดวงจรของ PV array ทางานถูกต้องภายใต้โหลด

ข้อมูลของผู้ติดตั้ง
ชื่อผูต้ ิดตัง้ ที่ได้รบั การรับรอง
หมายเลขของผูต้ ิดตัง้
ลายมือชื่อ วันที่
ชื่อของช่างไฟฟ้าที่มีใบอนุญาต
หมายเลขของช่างไฟฟ้า
ลายมือชื่อ วันที่
ข้อมูลของผู้ควบคุมงาน
ชื่อวิศวกรผูค้ วบคุมงาน
เลขที่ใบประกอบวิชาชีพ
ลายมือชื่อ วันที่
ชื่อวิศวกรผูอ้ อกแบบ
เลขที่ใบประกอบวิชาชีพ
ลายมือชื่อ วันที่

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
ภาคผนวก ง.
กระบวนการทดสอบก่อนใช้งาน – เพิ่มเติม
(ภาคผนวกมิใช่ส่วนหนึ่งของมาตรฐานแต่มีขนึ้ เพื่อใช้เป็ นข้อมูลเท่านั้น)

ง.1 ทั่วไป
กระบวนการทดสอบการทางานของระบบและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่แสดงไว้ในภาคผนวกนีอ้ าจใช้เป็ นส่วนหนึ่งของ
สัญญาสาหรับ PV array ที่มีขนาดใหญ่ (>10 กิโลวัตต์)

ง.2 การวัดแรงดันเปิ ดวงจร


ง.2.1 ทั่วไป
กระบวนการต่อ ไปนีเ้ ป็ นแนวทางในการวัดแรงดันเปิ ดวงจรของ PV array ที่มีจานวน PV string จานวน
หลาย string และสภาวะแวดล้อมกับสภาพการทางานของ PV array มีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงอย่างมากในช่วงขณะทา
การวัดค่า เนื่องจากเวลาที่ตอ้ งใช้ในการวัดแต่ละครัง้
ง.2.2 กระบวนการทดสอบ
ก่อนสับสวิตช์ใด ๆ และติดตั้งฟิ วส์ แรงดันเปิ ดวงจรของแต่ละ PV string ควรถูกตรวจวัด ค่าที่วัดได้ควร
นาไปเปรียบเทียบกับค่าที่คาดการณ์ และหากต้องปรับแก้ค่า ตามอุณหภูมิควรดาเนินการตามข้อกาหนดของผูผ้ ลิต
อุณหภูมิของ PV module ควรวัดจากด้านหลังของ PV module ที่อยู่ในตาแหน่งกึ่งกลางของแต่ละ PV string การวัด
แรงดันควรมีความแม่นยา ±2% และการวัดอุณหภูมิควรมีความแม่นยา ±1 องศาเซลเซียส
แรงดันเปิ ดวงจรที่วดั ค่าได้ของแต่ละ PV string ควรอยู่ในช่วง ±3% ของค่าที่คาดการณ์ ถ้ามีความแตกต่าง
มากกว่านีค้ วรตรวจสอบการต่อสายของ PV string (ดูหมายเหตุ 1 และ 2) และทาการแก้ไข เมื่อทุก PV string ถูก
ตรวจสอบความถูกต้องแล้ว (และแก้ไขถ้าจาเป็ น) PV string ควรต่อขนานกันผ่านอุปกรณ์สวิตช์ และ/หรือติดตัง้ ฟิ วส์
หมายเหตุ: 1. แรงดันทีน่ อ้ ยกว่าค่าทีค่ าดการณ์อาจหมายถึงการต่อผิดขัว้ ของ PV module หนึ่งมอดูลหรือมากกว่า หรือมีความผิด
พร่อง บางส่วนระหว่างสายเส้นไฟ หรือสายเส้นไฟกับดิน เนือ่ งจากฉนวนเกิดความเสียหาย หรือมีการสะสมของน้าใน
ท่อร้อยสาย
2. หากแรงดันทีอ่ ่านได้มีค่าสูง โดยทั่วไปเป็ นผลมาจากการต่อสายทีผ่ ิดพลาด
ง.2.3 การวัดสาหรับ PV array และ PV sub-array
เมื่อการติดตั้ง PV string ทั้งหมดได้รบั การตรวจสอบและนามาเชื่อมต่อขนานกันแล้ว แรงดันเปิ ดวงจรของ
แต่ ล ะ PV sub-array (ถ้า มี ) และ PV array ควรถู กวัดโดยใช้กระบวนการเดียวกันกั บ PV string ค่ า ที่วัดได้ควรอยู่
ในช่วง ±3% ของค่าที่คาดการณ์ มิฉะนัน้ ควรตรวจสอบการเดินสายและแก้ไขหากพบข้อผิดพลาด นอกเหนือจากการ

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
94 | า ก ง กร บ การท อบก่อ งา - ่ ต

ต่อผิดขัว้ และความบกพร่องของฉนวนแล้ว อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ (surge protection devices) ที่เสียหายสามารถทาให้


เกิดแรงดันต่ากว่าค่าที่คาดการณ์ ในกรณีของ PV array และ PV sub-array
ง.2.4 การบันทึก
เจ้าหน้าที่ผูท้ าการทดสอบควรจัดเตรียมรายงานที่ประกอบด้วยผลการวัดแรงดันและอุณหภูมิ และระบุ
สภาพการเดินสายของ PV array หลังการทดสอบ รวมถึงการซ่อมแซมและแก้ไขที่ได้ดาเนินการอันเป็ นผลมาจากการ
ตรวจสอบนี ้

ง.3 การวัดกระแสลัดวงจร
ง.3.1 ทั่วไป
กระแสลัดวงจรของ PV array ควรวัดโดยใช้กระบวนการในข้อ ง.3.2 และ ง.3.3 เพื่อตรวจสอบเพิ่มเติมว่าไม่
มีความผิดพลาดในการเดินสายของ PV array รวมถึงตรวจสอบว่า PV module และอุปกรณ์อื่นๆ อยู่ในสภาพดี
ง.3.2 กระบวนการทดสอบ
ค่ า กระแสลัดวงจรที่วัดได้ใ นแต่ ล ะส่ ว นของ PV array ควรนามาเปรี ยบเทียบกั บค่ า กระแสลัดวงจรที่
คาดการณ์ สมการ (ง.1) สามารถนามาใช้ในการคานวณกระแสในแต่ละส่วนของ PV array การวัดค่ากระแสควรมี
ความแม่ น ยา ±2% การวั ดค่ า ความเข้ม แสงควรทาพร้อ มกั น กั บการวัดค่ า กระแสลัดวงจร เครื่ อ งวั ดความเข้ม
แสงอาทิตย์ (pyranometer) หรื อ PV cell อ้า งอิ ง ที่เหมาะสมควรนามาใช้เพื่อประเมิ นค่ าความเข้มแสงในระนาบ
เดียวกันด้วยความแม่นยา ±2%
ISC EXPECTED = n x ISC MOD x (G1 / 1000) x 0.95 (ง.1)
โดยที่ ISC EXPECTED คือ ค่ากระแสลัดวงจรที่คาดการณ์ในส่วนที่ทาการทดสอบ
n คือ จานวนของ PV string ที่ต่อขนานกันภายในส่วนที่ทาการทดสอบ
ISC MOD คือ กระแสลัดวงจรของ PV module (ข้อมูลจากผูผ้ ลิต)
G1 คือ ความเข้มแสงในแนวระนาบของ PV array (W/m2)
0.95 คือ ตัวประกอบสาหรับความไม่เข้ากัน (mismatch)
หมายเหตุ: 1. ISC ของ PV array หรือส่วนของ PV array ควรวัดในเงือ่ นไขที่ PV array ไม่มีเงาบดบัง ภายใต้สภาพท้องฟ้าแจ่มใสใน
ช่วงเวลาเทีย่ งวัน
2. กระแสลัดวงจรของอุปกรณ์ PV แบบผลึกซิลิกอน ค่อนข้างไม่อ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิแวดล้อมตลอดช่วง
การทางาน (-10 ถึง 40 องศาเซลเซียส) โดยมีค่าเพิ่มขึน้ เพียงเล็กน้อยเมื่ออุณหภูมิเพิ่มสูงขึน้
3. PV cell ที่ใช้เทคโนโลยีอื่นมีความอ่อนไหวต่ออุณหภูมิ หรือปัจจัยอื่น ๆ มากกว่า เช่น องค์ประกอบของสเปคตรัม
ดังนัน้ อาจต้องปรับปรุงสมการ (ง.1) ให้สอดคล้องกับข้อจากัดทีม่ ีเพิ่มเติม
4. PV module ในบางเทคโนโลยีตอ้ งใช้เวลาในการปรับค่า (settling time) ส่งผลให้พารามิเตอร์ทางไฟฟ้าด้านออกมีค่า
สูงกว่าค่าปกติ (nominal value) อย่างมีนยั สาคัญ จึงควรนาผลจากปัจจัยเหล่านีไ้ ปปรับในสมการ (ง.1) ด้วย

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
า ก ง กร บ การท อบก่อ งา - ่ ต | 95

5. ค่า ISC ที่ต่ า แสดงว่ามีกระแสผิดพร่องลงดินไหลวนใน PV array เนื่องจากเกิดความผิดพร่องลงดินหลายตาแหน่ง


หรือเกิดจากการบังเงา
6. ค่าจากการวัดทีส่ ูงกว่าค่าคาดการณ์อาจแสดงถึงการจัดเรียง PV array ทีไ่ ม่เป็ นไปตามทีอ่ อกแบบ หรือความเข้มของ
แสงที่ PV Array ได้รบั มีค่ามากขึน้
ง.3.3 การบันทึก
เจ้าหน้าที่ผทู ้ าการทดสอบควรจัดเตรียมรายงานซึ่งประกอบด้วยผลการวัดกระแสและความเข้มแสง และ
ระบุส ภาพการเดิ นสายของ PV array หลัง การทดสอบ รวมถึ ง การซ่อ มแซมและแก้ไขที่ได้ดาเนินการอันเป็ นผล
มาจากการตรวจสอบนี ้

ง.4 การตรวจสอบด้วยภาพความร้อน (Infrared Scan)


กล้องที่ไวต่อการแผ่รังสีอินฟราเรดสามารถนามาใช้เ พื่อตรวจสอบบริเวณที่อุณหภู มิไม่สม่ าเสมอ ความไม่
สม่าเสมอของอุณหภูมิสามารถบ่งชีถ้ ึงปั ญหาภายใน PV array ได้

ง.5 การทดสอบการทางานของอุปกรณ์ตดิ ตามดวงอาทิตย์ (Tracker) ของ PV Array (ถ้ามี)


ตรวจสอบการทางานและสมรรถนะของกลไกติดตามดวงอาทิตย์ของ PV Array ตามข้อกาหนดของผูผ้ ลิตและ
ความต้องการของระบบ

ง.6 เส้นโค้งกระแส-แรงดัน (I-V Curve) ของ PV Array


เส้นโค้งกระแส-แรงดันของ PV array เป็ นตัวบ่งชีท้ ี่ดีสาหรับบอกความถูกต้องในการติดตัง้ และการทางานของ
ส่วนประกอบต่าง ๆ ภายใน PV array การวัดทาได้ดว้ ยโหลดแบบโปรแกรมได้ (programmable load) หรือ โหลดแบบ
ตัวเก็บประจุ การวัดควรเป็ นไปตามมาตรฐาน IEC 61829 ซึ่งระบุวิธีการในการคานวณจากค่าที่วัดได้จริงไปสู่ค่าที่
สภาวะมาตรฐานในการทดสอบ (STC) สาหรับ PV array แบบผลึ กซิลิ คอน ส่ ว น PV module ที่ใ ช้เ ทคโนโลยีอื่ น
สามารถแสดงเพียงค่าที่วดั ได้จริงพร้อมระบุสภาวะที่ทาการทดสอบ

ง.7 การทดสอบการป้ องกันความผิดพร่องลงดิน (ถ้ามี)


ง.7.1 ทั่วไป
หากมี ควรตรวจสอบการทางานของระบบป้องกันความผิดพร่องลงดิน การทางานในการแจ้งเตือน และการ
ปรับตัง้ ค่า
ง.7.2 การวัด
การวัดกระแสควรมีความแม่นยา ±2%
ง.7.3 กระบวนการทดสอบ

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
96 | า ก ง กร บ การท อบก่อ งา - ่ ต

ทดสอบเมื่อมีความเข้มแสง 500 W/m2 ขึน้ ไป ภายใต้สภาพท้องฟ้าแจ่มใส โดยดาเนินการทีละขัน้ ตามข้อ ก.


ถึง ง. ดังนี้
ก. ตัง้ ค่าระบบ PV ให้อยู่ในโหมดการทางานปกติ
ข. ใช้โหลดความต้านทานแบบปรับค่าได้จาลองความผิดพร่องลงดินที่มีค่าอิมพีแดนซ์สงู บนตัวนาหนึ่งที่ไม่
ต่อลงดินของเคเบิลของ PV array
หมายเหตุ: อินเวอร์เตอร์บางรุ่นจะตรวจจับสภาวะความผิดพร่องลงดินเมื่อเริ่มทางานเท่านัน้ ดังนัน้ จึงจาเป็ นต้องปิ ด
อินเวอร์เตอร์และเปิ ดใหม่อีกครัง้ เพือ่ เริ่มการทดสอบความผิดพร่องลงดิน
ค. ค่อย ๆ ปรับลดค่าความต้านทาน จนกระทั่งอุปกรณ์ป้องกันความผิดพร่องลงดินตรวจจับความผิดพร่อง
บันทึกระดับกระแสผิดพร่องลงดิน และ/หรือค่าความต้านทานซึ่งทาให้อุปกรณ์ป้องกันความผิดพร่องลง
ดินทางาน
ง. ค่าที่วดั ได้ควรเป็ นไปตามมาตรฐาน IEC 62109 สาหรับการตรวจสอบความผิดพร่องลงดินให้ทดสอบตาม
กระบวนการข้างต้นกับทัง้ ตัวนาขัว้ บวกและลบสาหรับ PV array ที่ไม่ต่อลงดิน

ง.8 เอกสารที่ควรจัดเตรียมให้กบั โครงการใช้ในการบารุงรักษาระบบ


เอกสารที่ควรจัดเตรียมให้กับโครงการรวมทัง้ เอกสาร ในการออกแบบ ติดตัง้ และ ทดสอบ ระบบทัง้ หมด ควร
ประกอบด้วยเอกสารอย่างน้อยดังต่อไปนี้
ง.8.1 แผนผังแสดงแนวสายไฟฟ้ า
ง.8.1.1 แผนผังแสดงแนวสายไฟฟ้ า
ง.8.1.2 ข้อมูลของแผนผังแสดง Array และ Sub-Array ควรประกอบด้วย
ก) ชนิด PV module
ข) จานวนทัง้ หมดของ PV module
ค) จานวนของ String
ง) จานวนของ PV Module ต่อ String
จ) ระบุ String ที่เชื่อมต่อกับอินเวอร์เตอร์
ง.8.1.3 ข้อมูลของ PV string
ก) ข้อมูลเฉพาะทัง้ ขนาดและชนิดของ string เคเบิล
ข) ข้อมูลเฉพาะ ชนิด และ พิกัดแรงดัน/ กระแสของอุปกรณ์ปอ้ งกันกระแสเกินของ string ที่ติดตัง้
ค) ชนิดของไดโอดกัน้ กระแส (ถ้ามี) Blocking diode

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
า ก ง กร บ การท อบก่อ งา - ่ ต | 97

ง.8.1.4 รายละเอียดทางด้านไฟฟ้ าของ Array ต้องประกอบไปด้วย


ก) ข้อมูลเฉพาะทัง้ ขนาดและชนิดของ Array เคเบิล
ข) ตาแหน่งติดตัง้ ของกล่องแยกสาย Array junction และกล่องต่อสาย combiner box
ค) รายละเอียดพิกัดด้านไฟฟ้ากระแสตรงของ อุปกรณ์ปอ้ งกัน และ อุปกรณ์ตดั ต่อวงจร
ง.8.1.5 รายละเอียดระบบไฟฟ้ ากระแสสลับ AC
ระบุ ตาแหน่งและรายละเอียดพิกัดด้านไฟฟ้ากระแสสลับของอุปกรณ์ป้องกัน และอุปกรณ์ตดั ต่อวงจร
ง.8.1.6 การต่อ ง แ การปองก แรง ก
ก) รายละเอียดขนาดและชนิดของการต่อลงดินและการต่อประสานตัวนา รวมถึงการต่อประสานศักย์ของ
เคเบิลกับโครง array ที่ติดตัง้
ข) รายละเอียดการเชื่อมต่อกับระบบป้องกันฟ้าผ่า ที่มีอยูเ่ ดิมของโครงการ
ค) รายละเอียด ตาแหน่ง และ พิกัดทัง้ ด้านไฟฟ้ากระแสสลับและไฟฟ้ากระแสตรงของการติดตัง้ อุปกรณ์
ป้องกันเสิรจ์
ง.8.2 แผนผังแสดงการจัดวาง String
ง.8.3 เอกสารแสดงข้อมูลอุปกรณ์หลัก
ก) เอกสารแสดงข้อมูลมอดูลสาหรับชนิดของมอดูลทีใ่ ช้งานในระบบ
ข) เอกสารแสดงข้อมูลอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าสาหรับชนิดของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าที่ใช้งานใน
ระบบ
ค) อุปกรณ์หลักอื่น ๆ
ง.8.4 ข้อมูลออกแบบทางกล
ต้องมีเอกสารข้อมูลสาหรับระบบการติดตัง้ array รวมถึงเอกสารที่เกี่ยวข้อง หากโครงสร้างในการติดตัง้ ได้รบั
การออกแบบทางด้านวิศวกรรมแบบกาหนดเอง
ง.8.5 ระบบไฟฟ้ าฉุกเฉิน
เอกสารเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าฉุกเฉินต่าง ๆ และ การแจ้งเหตุเพลิงไหม้ทเี่ กี่ยวข้องกับระบบการผลิตไฟฟ้าจาก
พลังงานแสงอาทิตย์ ต้องรวมถึงข้อมูลการทางานและรายละเอียดในการออกแบบ ติดตัง้ พลังงานจากแสงอาทิตย์ และ
หลักการออกแบบ และ การทางานอย่างครบถ้วน
ง.8.6 คู่มือการใช้งานและการบารุ งรักษา
ก) ขัน้ ตอนการตรวจสอบและพิสจู น์หาข้อผิดพลาดและแก้ไขให้ถกู ต้อง
ข) รายการตรวจสอบ ในกรณีระบบไม่ทางาน
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
98 | า ก ง กร บ การท อบก่อ งา - ่ ต

ค) ขัน้ ตอนการปิ ดระบบในกรณีฉุกเฉิน และ การปลดระบบการเชือ่ มตอ


ง) ข้อแนะนาการบารุงรักษาและการทาความสะอาดอุปกรณ์ทุกสวน
จ) ข้อคานึงถึงการใช้งานพืน้ ที่หลังคาในอนาคต ที่เกี่ยวข้องกับพืน้ ที่การติดตัง้ ระบบเพื่อไม่ให้เกิดปั ญหาการ
ย้ายระบบในภายหลัง
ฉ) เอกสารการรับประกันของ PV module และ อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า และ อื่น ๆ
ง.8.7 ผลการทดสอบ และ ข้อมูลการทดสอบก่อนส่งมอบงาน
ให้มีผลการทดสอบและข้อมูลอย่างน้อย ดังต่อไปนี้
ง.8.7.1 การตรวจสอบ
ง.8.7.1.1 ระบบไฟฟ้ ากระแสตรง DC- การตรวจสอบการป้ องกันไฟฟ้ าดูด
ก) ควรมีการป้องกันโดยการวัดค่าแรงดันไฟฟ้าตา่ พิเศษ ทัง้ ทีแ่ ยกจากกันหรือเพือ่ ความปลอดภัย
SELV / PELV – (ใช่ / ไม่)
ข) ควรมีการป้องกันโดย ใช้เครือ่ งใช้ไฟฟ้าประเภท II หรือ ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าทีใ่ ช้ฉนวนสองชัน้ ทีเ่ ทียบเท่า
กับการนามาใช้ดา้ นไฟฟ้ากระแสตรง – (ใช่ / ไม่)
ค) การเลือกเคเบิลของ PV string และ array และการนามาติดตัง้ ที่จะทาให้เกิดความเสี่ยงของความผิด
พร่อง(ลัดวงจร)ลงดินและไฟฟ้าลัดวงจรตา่ สุด เช่น การใช้สายฉนวนสองชัน้ (ใช่ / ไม่)
ง.8.7.1.2 ระบบไฟฟ้ ากระแสตรง DC-การตรวจสอบการป้ องกันผลจากความผิดพร่องของฉนวนไฟฟ้ า
ก) เป็ นอุปกรณ์ที่มีการแยกวงจรแยกส่วนด้านในโดยใช้หลักการของ Galvanic isolation เช่น ภายใน
อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า หรือ ด้านไฟฟ้ากระแสสลับ (ใช่ / ไม่)
ข) การต่อสายดินของตัวนาไฟฟ้ากระแสตรงใด ๆ มีการต่อสายดินที่สายตัวนากระแสตรง – (ใช่ / ไม่)
ค) มีอุปกรณ์วดั ค่าความต้านทานความเป็ นฉนวนเทียบกับดินของ PV array และ ระบบแจ้งเตือน ซึ่ง
ปกติจะเป็ นอุปกรณ์มาตรฐานในอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟา
ง) มีอุปกรณ์วดั ค่ากระแสรั่วลงดินของ PV Array และ ระบบแจ้งเตือน
ง.8.7.1.3 ระบบไฟฟ้ ากระแสตรง DC-การป้ องกันกระแสเกิน
ก) สาหรับระบบที่ไม่มี อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินที่ String
ข) สาหรับระบบที่มี อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินที่ String
ค) สาหรับระบบที่ไม่มี อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินที่ Array และ Sub-String
ง.8.7.1.4 ระบบไฟฟ้ ากระแสตรง DC-การตรวจสอบการต่อลงดินและการต่อประสาน
ง.8.7.1.5 ระบบไฟฟ้ ากระแสตรง DC-การตรวจสอบการป้ องกันผลกระทบจากฟ้ าผ่าและแรงดันเกิน

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
า ก ง กร บ การท อบก่อ งา - ่ ต | 99

ก) ควรมีการจัดให้พนื้ ที่การเดินสายไฟเป็ นลูปให้นอ้ ยทีส่ ดุ เท่าที่เป็ นไปได้ เพื่อให้แรงดันเหนี่ยวนาที่เกิด


จากฟ้าผ่ามีค่าต่าทีส่ ดุ
ข) การเลือกใช้ อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ ให้เหมาะสมกับความยาวของเคเบิลทีท่ าการติดตัง้ ตามมาตรฐาน
ง.8.7.1.6 ระบบไฟฟ้ ากระแสตรง DC-การเลือกและการติดตั้งบริภณ ั ฑ์ไฟฟ้ า
ก) พิกัดแรงดันไฟฟ้าของ PV module ต้องสามารถรองรับ แรงดันไฟฟ้าสูงสุดของระบบไฟฟ้ากระแสตรง
DC
ข) พิกัดแรงดัน และ กระแส ของ ทุกอุปกรณ์ของ ระบบไฟฟ้ากระแสตรง DC ต้องสามารถรองรับ แรงดัน
และกระแสสูงสุดของระบบไฟฟ้ากระแสตรง DC ได้ ตามมาตรฐาน
ค) การเลือกและติดตัง้ สายไฟ ควรคานึงถึงการทนต่อผลกระทบจากภายนอก เช่น แรงลมกระโชก
ลูกเห็บ อุณหภูม,ิ รังสียูวี UV, และ รังสีจากแสงอาทิตย์ เป็ นต้น
ง) มีอุปกรณ์ในการแยกวงจรและปลดวงจร ในส่วนของทัง้ PV array strings และ PV sub-arrays
จ) อุปกรณ์ตดั วงจรด้านระบบไฟฟ้ากระแสตรง DC ต้องถูกติดตัง้ ใน อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าแล้ว
ฉ) ถ้าไดโอดกัน้ กระแส blocking diodes ถูกติดตัง้ แล้ว พิกัดแรงดันย้อนกลับ จะมากกว่า แรงดันเปิ ด
วงจร ที่ภาวะทดสอบมาตรฐาน อย่างน้อย สองเท่า
ช) เต้าเสียบและเต้ารับที่ต่อเข้าด้วยกัน ต้องมาจากผูผ้ ลิตเดียวกัน
ง.8.7.1.7 ระบบไฟฟ้ ากระแสสลับ AC
ก) ต้องมีระบบแยกวงจรในอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า
ข) ต้องเชื่อมต่อ อุปกรณ์ในการแยกวงจรและอุปกรณ์สวิตช์ เช่น สายเชือ่ มต่อกับโหลด และแหล่งจ่าย
เชื่อมต่อกับการไฟฟ้า เป็ นต้น
ค) ต้องตัง้ ค่าสมรรถนะการทางาน ของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า ให้เป็ นไปตาม ข้อกาหนดของการ
ไฟฟ้าส่วนภูมิภาคและการไฟฟ้านครหลวง
ง) กรณีที่มีการติดตัง้ เครื่องตัดไฟรั่วในด้านไฟฟ้ากระแสสลับเข้ากับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า
อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าต้องเป็ นไปตาม IEC TS 62548:2013
ง.8.7.2 การทดสอบ
ง.8.7.2.1 การทดสอบระบบของ AC modules, power optimizers, Micro inverter
ง.8.7.2.2 หมวดการทดสอบที่ 1 พืน้ ฐานที่ใช้กับระบบทัว่ ไปทั้งขนาดเล็กและใหญ่
ก) ทดสอบความต่อเนื่องของการต่อลงดินและ/หรือ ความต่อเนื่องของการต่อประสานศักย์ตวั นา
ข) ทดสอบการต่อขัว้ บวกและลบ
ค) ทดสอบกล่องต่อสาย
ง) ทดสอบแรงดันเปิ ดวงจร ของ string
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
100 | า ก ง กร บ การท อบก่อ งา - ่ ต

จ) ทดสอบกระแสลัดวงจร ของ string


ฉ) ทดสอบ ฟั งก์ชนั การทางาน
ช) ทดสอบค่าความต้านทานของฉนวน ด้านวงจรไฟฟ้ากระแสตรง DC
ซ) ทดสอบโครงสร้างยึดแผง
ฌ) ทดสอบ PV String
ญ) ทดสอบอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า
ฎ) ทดสอบระบบแสดงผล
ฐ) ทดสอบ (ถ้ามี) บริภณ ั ฑ์ประธาน หม้อแปลงไฟฟ้า Switchgear และ แบตเตอรี่
ด้วยเหตุผลด้านความปลอดภัย ต้องทดสอบการต่อขัว้ บวกและลบ รวมถึง การทดสอบกล่องต่อสาย ให้
เรียบร้อยก่อนที่จะเชือ่ มต่อวงจรของ string เขาด้วยกัน
ง.8.7.2.3 หมวดการทดสอบที่ 2 ใช้กับระบบใหญ่และมีความซับซ้อนมากขึน้ ซึ่งต้องผ่านการทดสอบใน
หมวดการทดสอบที่ 1 มาแล้ว
ก) การทดสอบหาค่ากราฟ กระแส-แรงดัน
ข) การทดสอบค่าความร้อนโดยใช้ เครือ่ งวัดอุณหภูมิอินฟราเรด IR
ง.8.7.2.4 การเพิ่มเติมรายการทดสอบ ในกรณีต่าง ๆ เช่น ตามสถานการณ์ ตามต้องการของ โครงการ
หรือ เงื่อนไข อื่น ตามที่ตกลงกันไว้
ก) ทดสอบค่าความต้านทานการต่อลงดิน
ข) การทดสอบไดโอดกัน้ กระแส Blocking diode
ค) การทดสอบความเป็ นฉนวนแบบเปี ยก ค่าความต้านทานของฉนวนในกรณีทเี่ ปี ยก
ง) การทดสอบและบันทึกทัง้ ค่าพลังงานกรณีทแี่ ผง PV module มีเงาบัง

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
ภาคผนวก จ.
การป้ องกันผลกระทบของฟ้ าผ่าและแรงดันเกิน
(ภาคผนวกมิใช่ส่วนหนึ่งของมาตรฐานแต่มีขนึ้ เพื่อใช้เป็ นข้อมูลเท่านั้น)

จ.1 การป้ องกันฟ้ าผ่า


เนื่องจากระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ติดตัง้ อยู่ในที่โล่งแจ้ง และมีพนื้ ที่ขนาดใหญ่ จึงมีความเสี่ยง
สูงที่จะเกิดความเสียหายจากฟ้าผ่าทัง้ โดยตรงและโดยอ้อม ซึ่งกระแสฟ้าผ่าทาให้เกิดผลเสียหายแก่สิ่งติดตัง้ ในระบบ
PV ได้ ดังนั้นเพื่อหลีกเลี่ยงความเสียหายเนื่องจากฟ้าผ่า จึงจาเป็ นต้องมีการป้องกันฟ้าผ่าและการป้องกันเสิ ร ์จที่
ประสานสัมพันธ์กันอย่างดี

จ.2 วัตถุประสงค์ของระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอก


ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกมีวตั ถุประสงค์เพื่อดักรับวาบฟ้าผ่าที่จะผ่าลงสิ่งปลูกสร้าง รวมถึงด้านข้างของสิ่ง
ปลูกสร้าง และนากระแสฟ้าผ่าจากจุดที่ฟ้าผ่าไปยังดิน ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกยังมีวตั ถุประสงค์ในการกระจาย
กระแสฟ้า ผ่า ไปยังดิ นโดยไม่ ทาให้เ กิดความเสียหายทางความร้ อ นและทางกล หรื อ เกิ ดประกายอันตรายที่อาจ
ก่อให้เกิดเพลิงไหม้หรือระเบิดด้วย

จ.3 ทางเลือกสาหรับระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอก


หากเป็ น ไปได้ ควรใช้ร ะบบป้อ งกั นฟ้า ผ่ า ภายนอกแบบแยกอิ ส ระ สาหรับระบบพลัง งานผลิ ตไฟฟ้า จาก
แสงอาทิตย์ที่พิจารณาแล้วพบว่า ผลกระทบด้านความร้อนและแรงระเบิด ณ จุดที่ฟ้าผ่าหรือบนตัวนากระแสฟ้าผ่าอาจ
ทาให้เกิดความเสียหายต่อ PV array และอุปกรณ์ที่ต่อถึงกันได้
อาจพิจารณาใช้ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกแบบแยกอิสระ เมื่ออัตราการเป็ นแม่เหล็กของส่วนต่าง ๆ ในระบบ
ไปมีส่วนทาให้การแผ่สนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากกระแสฟ้าผ่าในตัวนาลงดินลดลง

จ.4 ระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอก


วิธีการป้องกันฟ้าผ่าภายนอกที่อธิบายไว้ในมาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า อาจนามาปรับใช้สาหรับระบบผลิตไฟฟ้าจาก
พลังงานแสงอาทิตย์ได้ ซึ่งระบบป้องกันฟ้าผ่าสาหรับ PV array รวมถึง
ก. ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก
ข. การต่อลงดินและการต่อประสาน
ค. การป้องกันสนามแม่เหล็ก และการจัดเส้นทางเดินสายเคเบิลหรือสายตัวนา และ
ง. การประสานสัมพันธ์ของอุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
102 | า ก การปองก กร ทบของ า ่าแ แรง ก

รู ปที่ จ.1ก - จ.1จ เป็ น ตัว อย่ า งทั่ว ไปของการต่ อ PV array บนหลัง คา พร้อ มกั บระบบการป้อ งกั นฟ้าผ่าที่
สมบูรณ์ ซึ่งประกอบด้วยระบบป้องกันฟ้าผ่าทั้งภายนอกและภายใน สาหรับตัวอย่างนี้ ระยะการแยก “S” เกิดจาก
ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกที่แยกอิสระจาก PV array
เมื่อ PV array ได้รับการป้องกันด้วยระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก ควรต้องคงระยะการแยกต่าสุดระหว่างส่วน
นาไฟฟ้าของ PV array และระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกไว้ให้ได้ เพื่อป้องกันกระแสฟ้าผ่าบางส่วน ไหลผ่านส่วนที่เป็ น
โลหะของ PV array
PV array ที่ติดตั้งบนหลังคาของอาคาร และไม่สามารถรักษาระยะการแยกได้ เนื่องจากพืน้ ที่จากัด จาเป็ น
จะต้องต่ออุปกรณ์ป้องกันฟ้าผ่ากับส่วนโลหะของ PV module เข้าด้วยกันโดยตรง

บาน โรงงาน ซื้อไฟฟาแรงต่ํา ไมมีทั้งการปองกัน


ฟาผาภายนอก และไมมีการปองกันฟาผาภายใน
1 2 3 4 5 : Class II

S: ระยะแยก
1 PE SPD: อุปกรณปองกันเสิรจ
4 ACU: อุปกรณควบคุม

5 3

9 1. อุปกรณปองกันเสิรจ (ดูตารางที่ จ.1)


2. อุปกรณปองกันเสิรจ (ดูตารางที่ จ.1)
3. อุปกรณปองกันเสิรจ (ดูตารางที่ จ.1)
4. อุปกรณปองกันเสิรจสําหรับทั้งแหลงจายไฟ แรงดันต่ําตามมาตรฐาน
LPS system IEC 61643-11 และ 61643-21 (ดูตารางที่ จ.1)
5. อุปกรณปองกันเสิรจ (ทดสอบอิมพัลสแบบ D1)
สําหรับสายสัญญาณ IEC 61643-11 และ 61643-21 (ดูตารางที่ จ.1)
6. ระบบตัวนําลอฟา (ระบบปองกันฟาผา)
7. ตัวนําลงดิน (ระบบปองกันฟาผา)
8. ระบบรากสายดิน (ระบบปองกันฟาผา)
9. ระบบสายดินอางอิง (MET/MEC)
รูปที่ จ.1ก ตัวอย่างการติดตั้ง SPD สาหรับอาคารที่ซอื้ ไฟฟ้ าแรงต่าและติดตั้งแผงโซลาร์ แต่ไม่มีระบบ
ป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอกแต่มีระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายใน

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
104 | ภาคผนวก จ. การปองกันผลกระทบของฟาผาและแรงดันเกิน

บาน โรงงาน ซื้อไฟฟาแรงสูง มีทั้งการ


6 ปองกันฟาผาภายนอก และการปองกันฟาผา
ภายใน การปองกันฟาผาภายในระยะแยกได
1 2 3 : Class II
7 4 5 : Class I
S: ระยะแยก
SPD: อุปกรณปองกันเสิรจ
8 ACU: อุปกรณควบคุม
1
4

1. อุปกรณปองกันเสิรจ (ดูตารางที่ จ.1)


3
5 2. อุปกรณปองกันเสิรจ (ดูตารางที่ จ.1)
2 3. อุปกรณปองกันเสิรจ (ดูตารางที่ จ.1)
9
4. อุปกรณปองกันเสิรจสําหรับทั้งแหลงจายไฟ แรงดันต่ําตามมาตรฐาน
IEC 61643-11 และ 61643-21 (ดูตารางที่ จ.1)
5. อุปกรณปองกันเสิรจ (ทดสอบอิมพัลสแบบ D1)
สําหรับสายสัญญาณ IEC 61643-11 และ 61643-21 (ดูตารางที่ จ.1)
6. ระบบตัวนําลอฟา (ระบบปองกันฟาผา)
7. ตัวนําลงดิน (ระบบปองกันฟาผา)
LPS system 8. ระบบรากสายดิน (ระบบปองกันฟาผา)
9. ระบบสายดินอางอิง (MET/MEC)
รูปที จ.1ง ตัวอย่างการติดตัง SPD สําหรับอาคารทีซือไฟฟ้ าแรงสูงและติดตังแผงโซลาร์ โดยมีระบบป้ องกัน
ฟ้ าผ่าภายนอกและระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายใน สามารถเว้นระยะแยก (S) ระหว่างแผงกับตัวนําล่อฟ้ าได้
บาน โรงงาน ซื้อไฟฟาแรงสูง
S
6 มีทั้งการปองกันฟาผาภายนอก
S
และการปองกันฟาผาภายใน
S การปองกันฟาผาภายในระยะแยกไมได
7 1 2 3 4 5 : Class I
S

8 S: ระยะแยก
PE SPD: อุปกรณปองกันเสิรจ
1 4 ACU: อุปกรณควบคุม
1. อุปกรณปองกันเสิรจ (ดูตารางที่ จ.1)
3 2. อุปกรณปองกันเสิรจ (ดูตารางที่ จ.1)
5
2 9 3. อุปกรณปองกันเสิรจ (ดูตารางที่ จ.1)
4. อุปกรณปองกันเสิรจสําหรับทั้งแหลงจายไฟ แรงดันต่ําตามมาตรฐาน
IEC 61643-11 และ 61643-21 (ดูตารางที่ จ.1)
5. อุปกรณปองกันเสิรจ (ทดสอบอิมพัลสแบบ D1)
สําหรับสายสัญญาณ IEC 61643-11 และ 61643-21 (ดูตารางที่ จ.1)
6. ระบบตัวนําลอฟา (ระบบปองกันฟาผา)
7. ตัวนําลงดิน (ระบบปองกันฟาผา)
8. ระบบรากสายดิน (ระบบปองกันฟาผา)
LPS system 9. ระบบสายดินอางอิง (MET/MEC)
รูปที จ.1จ ตัวอย่างการติดตัง SPD สําหรับอาคารทีซือไฟฟ้ าแรงสูงและติดตังแผงโซลาร์ โดยมีระบบป้ องกัน
ฟ้ าผ่าภายนอกและระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายใน แต่ไม่สามารถเว้นระยะแยก (S) ระหว่างแผงกับตัวนําล่อฟ้ า
ได้
มาตรฐานการติดตังทางไฟฟ้ าสําหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ทติี ดตังบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
ภาคผนวก จ. การปองกันผลกระทบของฟาผาและแรงดันเกิน | 105

รูปที จ.2 การติดตังระบบผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบ extended green field


พร้อมกับเสาป้ องกันฟ้ าผ่าแบบอิสสระ โดยทีรักษาระยะการแยก “S” ไว้
สิงสําคัญในการติดตังระบบป้องกันฟ้าผ่า คือ ต้องหลีกเลียงการเกิดเงาเนืองจากเสาล่อฟ้าให้น้อยทีสุดเท่าที
เป็ นไปได้ ทังนีขึ นอยู่กับลักษณะของโครงสร้างของ PV module ซึงเงาทีเกิดขึนจะรบกวนและลดประสิทธิภาพการ
ทํางานของการผลิตไฟฟ้า
เงือนไขการออกแบบการป้องกันฟ้าผ่าสําหรับ PV array โดยใช้เสาล่อฟ้าผ่า จําเป็ นต้องพิจารณาทังระยะการ
แยก “S” และรูปแบบของเงาทีอาจเกิดขึนจากเสาล่อฟ้าดังแสดงในรูปที จ.3
ระยะการแยก รัศมีทรงกลมกลิ้งตามระดับ
การปองกันฟาผา
S
แทงตัวนําลอฟา

r มุมปองกัน
α

เสนเงา

รูปที จ.3 ระบบเสาล่อฟ้ าทีพิจารณาระยะการแยก “S” และ เส้นเงา


แนวทางทีเป็ นไปได้ในทางปฏิบตั ิ คือการใช้เสาล่อฟ้าแบบแยกอิสระทีเรียวเล็ก มีความสูงปรับเปลียนได้ และถูก
ต่อด้วยตัวนําหุม้ ฉนวนทนแรงดันสูงทีถูกออกแบบมาเป็ นพิเศษ ตัวนํานีสามารถใช้เป็ นตัวนําทีต่อถึงกันระหว่างเสาล่อ
ฟ้า และเป็ นตัวนําลงดินได้ โดยจะช่วยลดการแผ่ของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าลงได้อย่างมาก จึงไม่เกิดการรบกวน หรือทํา
ความเสียหายต่อบริภณ ั ฑ์ทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ทีอยู่ใกล้เคียง

มาตรฐานการติดตังทางไฟฟ้ าสําหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ทติี ดตังบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
106 | า ก การปองก กร ทบของ า ่าแ แรง ก

จ.5 การต่อลงดินของระบบป้ องกันฟ้ าผ่าภายนอก


จ.5.1 หลักการเบือ้ งต้น
ตัวนาลงดินแต่ละตัว ต้องต่อกับแท่งรากสายดิน หรือระบบรากสายดิน การออกแบบระบบรากสายดินต้อง
เป็ นลักษณะที่ช่วยให้กระแสฟ้าผ่าไหลลงดินได้โดยที่เกิดแรงดันช่วงก้าวและแรงดันสัมผัสน้อยที่สดุ และมีความเสี่ยง
ของการเกิดวาบไฟด้านข้างไปยังส่วนโลหะที่อยู่ขา้ งใน หรืออยู่ใกล้กับสิ่งปลูกสร้างน้อยที่สดุ ด้วย สิ่งเหล่านีส้ ามารถทา
ให้สาเร็จได้โดยการทาให้แน่ใจว่าศักย์ไฟฟ้าเทียบกับดินที่แต่ละรากสายดิน ถูกจากัดด้วยค่าความต้านทานดินที่ต่า
เพียงพอ ดังนัน้ กระแสฟ้าผ่าที่ไหลลงดินจะกระจายตัวอย่างสม่าเสมอเท่าที่เป็ นไปได้ไปยังทุกทิศทางที่ออกจากสิ่งปลูก
สร้าง
จ.5.2 ค่าความต้านทานดิน
โดยทั่วไป ค่าความต้านทานดินโดยรวมของระบบป้องกันฟ้าผ่า ควรมีค่าไม่เกิน 10 โอห์ม ก่อนที่จะต่ อ
ประสานกับระบบสาธารณูปโภคอื่นที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของระบบป้องกันฟ้าผ่า
จ.6 ระบบป้ องกันฟ้าผ่าภายในและการป้ องกันเสิรจ์ (SPD)
การติดตัง้ และประเภทของอุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ ขึน้ อยู่กับปั จจัยหลายประการ ดังนี้
ก. อาคารที่ไม่มีระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก
ข. อาคารที่มีระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกที่รกั ษาระยะการแยก “S” ไว้ได้
ค. อาคารที่มีระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกที่รกั ษาระยะการแยก “S” ไว้ไม่ได้
ประเภทและระดับของอุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ ขึน้ อยู่กับระบบป้องกันฟ้าผ่า (ระดับที่ได้รบั การแนะนา และตาแหน่ง
ของอุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ แสดงไว้ในตารางที่ จ.1
ตารางที่ จ.1 อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ ที่ขึน้ อยู่กับตาแหน่งและระบบป้ องกันฟ้ าผ่าที่นามาใช้งาน
อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ ด้านอินพุตและ อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ ด้านรับไฟฟ้ า
การป้ องกันฟ้ าผ่า เอาท์พุตของอุปกรณ์แปลงผัน กระแสสลับและสายสัญญาณจาก
กาลังไฟฟ้ า ภายนอก
ไม่มีระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์
class II ที่ถูกทดสอบ แนะนา class II ที่ถูกทดสอบ
ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์
ที่รกั ษาระยะการแยก “S” ไว้ได้ class II ที่ถูกทดสอบ class I ที่ถูกทดสอบ
ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอก อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์
ที่รกั ษาระยะการแยก “S”ไว้ไม่ได้ class I ที่ถูกทดสอบ class I ที่ถูกทดสอบ

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
า ก การปองก กร ทบของ า ่าแ แรง ก | 107

จ.7 การเลือกอุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ ที่ติดตั้งด้านกระแสตรงของระบบ PV


จ.7.1 ทั่วไป
เนื่องด้วยคุณลักษณะ V-I ของระบบ PV อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ ที่ถูกออกแบบและผลิตมาเฉพาะสาหรับใช้
งานด้านกระแสตรงของระบบ PV เท่านัน้ จึงสามารถนามาใช้งานได้ โดยผูผ้ ลิตอุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ ต้องระบุว่าอุปกรณ์
ป้องกันเสิรจ์ นัน้ เหมาะสาหรับการใช้งานกระแสตรงของระบบ PV
ความสามารถในการดีสชาร์จของอุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ สาหรับป้องกันด้านกระแสตรงของระบบ PV ซึ่งไม่ได้
นากระแสฟ้าผ่า (SPD Class II) ควรมีค่ากระแสดีสชาร์จ In ปกติต่าสุดอยู่ที่ 5 kA (8/20 µs) ต่อขั้ว (IEC 60364-5-
534) การเลือกค่าพิกัดกระแส In ที่สงู ขึน้ เป็ นผลทาให้อายุการใช้งานนานขึน้
ความสามารถในการดิสชาร์จของอุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ ที่มีเจตนานากระแสฟ้าผ่าสูง ๆ และใช้ในการประสาน
ให้ศักย์เท่า กัน ที่ด้า นกระแสตรงของระบบ PV (SPD Class I) ควรมี ค่าพิกัดกระแสอิ มพัลส In อย่ า งน้อ ย 12.5 kA
(10/350) ต่อขัว้ (IEC 60364-5-534)
หมายเหตุ: อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จทีใ่ ช้งานในระบบ PV อาจเสียหายด้วยเหตุผลต่อไปนี ้
ก. Thermal Runaway Mode – เนือ่ งจากรับฟ้าผ่าเกินขนาด สิ่งนีส้ ามารถนาไปสู่ความเสียหายของอุปกรณ์ภายในอย่าง
ช้า ๆ
ข. Short-circuit Mode เนือ่ งจากความเครียดเกินกว่าค่าคุณลักษณะ ซึ่งนาไปสู่การเสือ่ มค่าแบบทันทีทนั ใดของอิมพีแดนซ์
ในอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ
ถ้าอุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ เข้าสู่โหมดการลัดวงจร กระแสผิดพร่องจะขึน้ อยู่กับจานวน PV string ตาแหน่งที่
เกิดความผิดพร่อง และระดับความเข้มแสงอาทิตย์ สิ่งนีท้ าให้การตรวจจับการลัดวงจรภายในระบบ PV ทาได้ยาก
เพราะกระแสผิดพร่องอาจเกิดขึน้ โดยไม่ทาให้อุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินของสิ่งติดตัง้ นัน้ ทางาน
ในกรณีเหล่านี ้ อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ ต้องติดตัง้ อุปกรณ์ป้องกันพิเศษที่เหมาะกับการทางานในภาวะมีกระแส
ผิดพร่องที่เกิดจาก PV array
อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ตดั วงจรของอุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ ตลอดอายุการใช้งานคือ
ก. อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ ที่มีตวั ตัดวงจรอยู่ภายใน (built-in SPD-disconnector)
ข. อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ ที่มีตวั ตัดวงจรต่ออนุกรมอยู่ภายนอก และทางานประสานกัน ตลอดอายุการใช้งาน
ของอุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ (ฟิ วส์ เซอร์กิตเบรกเกอร์) และ
ค. การผสมกันระหว่างข้อ ก. และ ข.
หมายเหตุ: การตัดวงจรของอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จ ที่เสียหาย หรือพังสาหรับด้านกระแสตรงของระบบ PV ด้วยอุปกรณ์
ป้องกันกระแสเกินจากต้นทาง (upstream) นัน้ ทาได้ยาก เนือ่ งจากกระแสที่ระบุกบั กระแสลัดวงจรของ PV array มีค่าใกล้เคียงกัน ตัว
ตัดวงจรของอุปกรณ์ป้องกันเสิร์จโดยปกติ ซึ่งมีการทางานทีเ่ ชื่อถือได้ในการตัดวงจรเมื่อสิ้นอายุการใช้งาน (end-of –life scenario) จะ
ออกแบบเพื่อการใช้งานในระบบกระแสสลับ กลไกการตัดวงจรกระแสตรงมีความแตกต่างจากการใช้งานด้านกระแสสลับ ดังนัน้ จึงมี
ความจาเป็ นต้องใช้ตวั ตัดวงจรด้านกระแสตรงโดยเฉพาะ กฎทั่วไปสาหรับการตัดวงจรกระแสผิดพร่องกระแสตรง คือ แรงดันอาร์กของ
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
108 | า ก การปองก กร ทบของ า ่าแ แรง ก

ตัวตัดวงจร ต้องสูงกว่าแรงดันเปิ ดวงจรของแหล่งจ่ายไฟกระแสตรง เนื่องด้วยคุณลักษณะเฉพาะของ I-V ของระบบ PV จึงควรใช้


อุปกรณ์ป้องกันเสิร์จทีอ่ อกแบบมาเฉพาะสาหรับใช้งานด้านกระแสตรงตามทีผ่ ผู ้ ลิตระบุไว้
ประสิทธิภาพของตัวตัดวงจรทีอ่ ยู่ภายใน ต่อภายนอก หรือแบบผสม ควรเขียนไว้อย่างชัดเจนในเอกสารทาง
เทคนิคของผูผ้ ลิตอุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์
จ.7.2 การเลือกแรงดันทางานต่อเนื่องสูงสุด
แรงดันการทางานต่อเนื่องสูงสุด Vc ของอุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ ควรเลือกให้มีค่าสูงกว่า หรือเท่ากับค่าแรงดัน
เปิ ดวงจรสูงสุดของ PV array ภายใต้ทุกเงื่อนไข (การแผ่รงั สี และอุณหภูมิหอ้ ง)
ค่าต่าสุดของ Vc ควรสูงกว่า หรือเท่ากับแรงดันสูงสุดของ PV array
Vc ควรถูกพิจารณาสาหรับแต่ละโหมดของการป้องกัน (+/-, +/earth และ -/earth)
หมายเหตุ: แรงดันระหว่างตัวนากระแสตรงและดินขึ้นอยู่กับเทคโนโลยีของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าและไม่จาเป็ นต้อ งมี
ลักษณะเป็ น d.c. สมบูรณ์เสมอไป

จ.8 การเลือกอุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ ต่อระดับการป้ องกัน Vp และภูมิคุ้มกันของระบบ


ในการระบุระดับการป้องกันที่ตอ้ งการ มีความจาเป็ นต้องสร้างระดับความทนทานได้ของอุปกรณ์ที่ถูกต่อ ดังนี้
ก. แหล่งจ่ายไฟ และอุปกรณ์ปลายทาง (terminal equipment) ต้องเป็ นไปตามมาตรฐานติดตั้งฯ หรือ IEC
61000-4-5 และ IEC 60664-1
ข. อุปกรณ์สื่อสาร ต้องเป็ นไปตามมาตรฐาน IEC 61000-4-5, ITU-T K.20 และ ITU-T K.21
เพื่อให้แน่ใจถึงการป้องกันอุปกรณ์ ระดับการป้องกัน Vp ต้องต่ากว่าค่าแรงดันที่ทนได้ (withstand voltage)
ของอุปกรณ์ที่ถูกป้องกัน ค่าเผื่อเพื่อความปลอดภัยอย่างน้อย 20 % ควรอยู่ระหว่างแรงดันที่ทนได้ของอุปกรณ์กับ Vp
(อ้างอิงตามมาตรฐาน IEC 61643-12)
ค่ า แรงดัน เกิ น ของ PV module ที่ยอมรับได้ถูกกาหนดโดยส่ ว นใหญ่ จากแรงดันทนได้ย้อ นกลับ (Reverse
withstand voltage) ของไดโอดย้อนกลับ (reverse diodes) (ในขนาดของแรงดันค่าเป็ นหลักร้อยเล็กน้อย ต่อไดโอด)
สาหรับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า ระดับแรงดันที่ทนได้ถูกเชื่อมโยงกับแรงดันเปิ ดวงจรสูงสุดและทางเลือก
ของเทคโนโลยีของผูผ้ ลิต ถ้าไม่มีขอ้ มูล ระดับแรงดันเกินที่ทนได้สามารถถูกประมาณการให้เป็ น 5 x VOC STC
การติดตัง้ ของอุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ กระแสตรงของระบบ PV
เฉพาะอุ ปกรณ์ป้อ งกั นเสิร ์จเพียง 1 ตัว เป็ นที่ต้อ งการสาหรับที่ปลายของอุ ปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า ถ้า
ระยะห่าง “E” ระหว่างอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า และ PV array น้อยกว่า 10 เมตร
เมื่อระยะห่าง “E” ระหว่างอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า และ PV array มากกว่า 10 เมตร อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ 2 ตัว มี
ความจาเป็ นเพื่อป้องกันทัง้ อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า และ PV array (ดูรูปที่ จ.4)

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
า ก การปองก กร ทบของ า ่าแ แรง ก | 109

ก ่องต่อ า ื้ ที่ งรอบ


อ ที่

E > 10m

DC
AC
SPD SPD

รูปที่ จ.4 ตัวอย่างระยะห่างที่ต้องการระหว่างอุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ บนด้านกระแสตรงของการติดตั้ง PV

จ.9 การต่อลงดินของอุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์
กฎต่อไปนี้ ก. และ ข. ใช้เพื่อการต่อลงดินของอุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์
ก. class II type SPD ตั ว นาของการต่ อ ลงดิ น ต้อ งเป็ นทองแดงที่ มี พื้น ที่ ห น้ า ตั ด 6 ตร.มม. หรื อ เท่ า กั บ
พืน้ ที่หน้าตัดของตัวนามีไฟ ถ้ามากกว่า 6 ตร.มม.
ข. class I type SPD ตั ว นาของการต่ อ ลงดิ น ต้อ งเป็ นทองแดงที่ มี พื้นที่ ห น้า ตั ด 16 ตร.มม. หรื อ เท่ า กั บ
พืน้ ที่หน้าตัดของตัวนามีไฟ ถ้ามากกว่า 16 ตร.มม.

จ.10 การกาบังและการชีลด์ (Screening and Shielding)


เคเบิลกระแสตรงทุกเส้นควรถูกติดตัง้ เพื่อให้สายบวกและสายลบของแถวเดียวกันและเคเบิลของแถวหลัก ควร
ถูกรวมกัน เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดกระแสวนลูปในระบบ ข้อกาหนดของการรวมกันรวมถึงตัวนาการต่อลงดินและการ
ประสานศักย์

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
110 | า ก การปองก กร ทบของ า ่าแ แรง ก

เคเบิลที่มีความยาว (เช่น เคเบิลของแถวหลักที่ยาว 50 เมตร) ต้องถูกติดตัง้ ในท่อเหล็กที่ต่อลงดิน หรือในทาง


เดินไฟ หรือต้องมีการป้องกันทางกลซึ่งมีชีลด์ เช่น ฉนวนโลหะ หรือเคเบิลเพิ่มเกราะเหล็ก หรื อป้องกันด้วยอุปกรณ์
ป้องกันเสิรจ์
หมายเหตุ:
(1) ค่ า ที่ถู ก รวมอยู่ ใ นนี เ้ ป็ น แนวทาง การป้ อ งกัน แรงดัน เกิ น เป็ น ประเด็ น ที่ซับ ซ้อ น และการประเมิ น รอบด้า นควรกระทา
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณทีม่ ีฟ้าผ่าเป็ นเรื่องปกติ
(2) ค่าเหล่านีจ้ ะทาหน้าที่ป้องกันเคเบิลจาก inductive surge โดยการเพิ่มขึ้นของค่าอินดักแตนซ์ และลดทอนของการส่งต่อ
ของเสิร์จ ต้องระวังน้า หรือการกลั่นตัวของน้าในอากาศที่สะสมอยู่ในท่อ หรือทางเดินสายไฟ ออกจากท่อและทางเดิ น
สายไฟ ด้วยการออกแบบอย่างเหมาะสมและติดตัง้ การระบายอากาศ

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
ภาคผนวก ฉ.
องค์ประกอบของระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่
(ภาคผนวกมิใช่ส่วนหนึ่งของมาตรฐานแต่มีขนึ้ เพื่อใช้เป็ นข้อมูลเท่านั้น)

ฉ.1 ทั่วไป
ระบบกั กเก็ บ พลัง งานส ารอง (energy storage system, ESS) หมายถึ ง ระบบที่ แ ปลงพลัง งานไฟฟ้า เป็ น
พลังงานรูปแบบอื่น และสามารถแปลงพลังงานนัน้ กลับออกมาเป็ นพลังงานไฟฟ้าได้ โดยทั่วไประบบกักเก็บพลังงานมี
หลายประเภท ขึน้ อยู่กับวัตถุประสงค์การใช้งาน และข้อจากัดต่าง ๆ เช่น ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ตอ้ งการกักเก็บ
กาลังไฟฟ้าที่ตอ้ งการ ขนาดและสถานที่ของพืน้ ที่ติดตัง้ เป็ นต้น
ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ (battery energy storage system, BESS) คือระบบกักเก็บพลังงานประเภท
หนึ่ ง ซึ่ง มี แ บตเตอรี่เ ป็ นอุ ปกรณ์หลักในการกักเก็บพลังงาน โดยแปลงพลังงานไฟฟ้าเป็ นพลังงานเคมีเ พื่อกักเก็บ
พลังงาน และแปลงพลังงานเคมีกลับเป็ นพลังงานไฟฟ้าเมื่อต้องการใช้งาน รูปที่ ฉ.1 แสดงรูปแบบทั่วไปของระบบกัก
เก็บพลังงานแบตเตอรี่

รูปที่ ฉ.1 รูปแบบทั่วไปของระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่

ฉ.2 ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่
ฉ.2.1 ภาพรวม
ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่มีหลากหลายประเภทที่สามารถนามาใช้ได้ รายการต่อไปนีเ้ ป็ นตัวอย่างของ
ปั จจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการออกแบบและการติดตัง้ ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่
ก. แรงดันของแบตเตอรี่
ข. การจาแนกและองค์ประกอบของขัว้ ต่อสายของอินเวอร์เตอร์ (Inverter)
ค. รูปแบบการต่อสายดิน
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
112 | า ก ฉ อง ปร กอบของร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่

ง. กระแสลัดวงจรของแบตเตอรี่ที่คาดว่าจะเกิดขึน้
จ. ขนาดของระบบแบตเตอรี่
ฉ. สมบัติทางเคมีของระบบแบตเตอรี่
ช. การเข้าถึงระบบแบตเตอรี่ เช่น ข้อจากัดในการเข้าถึงพืน้ ที่ ลักษณะของตูห้ รือห้องบรรจุแบตเตอรี่
ซ. ความต้องการหรือวัตถุประสงค์ในการใช้งานระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่
ฌ. ปั จจัยความเสี่ยงที่ยอมรับได้
ฉ.2.2 สมบัติทางเคมีของระบบแบตเตอรี่
ต่อไปนีเ้ ป็ นสมบัติทางเคมีของระบบแบตเตอรี่ที่มาตรฐานบทนีค้ รอบคลุม
ก. ตะกั่วกรด (lead-acid)
ข. นิกเกิล-แคดเมียม (nickel-cadmium)
ค. โฟลว์ (flow)
ง. ไอออนลูกผสม (hybrid-ion)
จ. ลิเธียมไอออน (lithium-ion)
ระบบแบตเตอรี่ใด ๆ คนประกอบด้วยเทคโนโลยีหรือสมบัติทางเคมีเพียงชนิดเดียวเท่านั้น แม้ว่ามันอาจ
เป็ นไปได้ที่จะผสมระบบแบตเตอรี่จากหลายเทคโนโลยีไว้ในระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ เราควรพิจารณาทาเฉพาะ
เมื่อมีการแยกการเชื่อมต่อหรือแยกอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าเท่านัน้ เพื่อให้สามารถจัดการกับการ charge และ
discharge สาหรับระบบแบตเตอรี่เหล่านัน้
ฉ.2.3 ระบบแบตเตอรี่ (Battery System)
ระบบแบตเตอรี่อาจประกอบด้วยอุปกรณ์หลากหลายที่นอกเหนือจากเซลล์แบตเตอรี่ ได้แก่ อุปกรณ์ป้องกัน
แบตเตอรี่ มอดูลบริหารจัดการแบตเตอรี่ ระบบบริหารจัดการแบตเตอรี่ ปั๊ม อุปกรณ์บริหารจัดการความร้อน อุปกรณ์
ป้องกันอัคคีภยั เป็ นต้น
เพื่อการป้องกันและการตัดการเชื่อมต่อ ขาออกทางไฟฟ้าของระบบแบตเตอรี่ถูกนิยามให้เป็ นจุดที่แรงดัน
เท่ากับแรงดันทางาน DC ของระบบ สาหรับแบตเตอรี่บางประเภท ระบบแบตเตอรีป่ ระกอบด้วยหนึง่ แถว (string) ของ
แบตเตอรี่ เช่น แบตเตอรี่ตะกั่วกรด สาหรับบางเทคโนโลยี ระบบแบตเตอรี่อาจประกอบด้วยหลายมอดูลแบตเตอรี่
เชื่อมต่อกันแบบอนุกรมและขนานซึ่งเชื่อมต่อกับระบบบริหารจัดการแบตเตอรี่ ไฟฟ้าขาออกก็คือขัว้ ขาออกจากระบบ
บริหารจัดการแบตเตอรี่
การเลือกระบบแบตเตอรี่หรือส่วนประกอบของระบบแบตเตอรี่ควรคานึงถึง (แต่ไม่จากัด) สิ่งต่อไปนี้
ก. ความเข้ากันได้กับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า (PCE)

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
า ก ฉ อง ปร กอบของร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่ | 113

ข. ประมาณการลักษณะการทางาน (ค่ากระแสของการ charge และ discharge สูงสุด ค่าพิกัดความจุและ


ระยะเวลาในการ charge และ discharge ความสามารถในการทางานภายใต้สภาวะ partial state of
charge)
ค. ประมาณการอายุการใช้งาน
ง. สถานที่ในการติดตัง้ รวมถึงปั จจัยของสภาพแวดล้อม
จ. ค่าแรงดันที่ระบุ (nominal voltage) สูงสุดของระบบ
ฉ. การพิจารณาความอันตรายเพิ่มเติม
ช. การให้บริการและการเข้าเปลี่ยนอุปกรณ์
ฉ.2.4 องค์ประกอบที่สาคัญของระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่
ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 3 องค์ประกอบ ดังแสดงในรูปที่ ฉ.2 ได้แก่
ก. ระบบแบตเตอรี่ (battery system)
ข. อุปกรณ์ป้องกัน (protection device) และตัวเชื่อมต่อ (interface) และ
ค. อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า (PCE)

หมายเหตุ: 1 อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าอาจประกอบด้วยหนึ่งหรือหลายอุปกรณ์
2 ตัวเชื่อมต่อ (interface) อาจเป็ นสายสือ่ สาร และ/หรือการแสดงผลต่าง ๆ
รูปที่ ฉ.2 องค์ประกอบทั่วไปของระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
114 | า ก ฉ อง ปร กอบของร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่

ฉ.2.5 องค์ประกอบของระบบแบตเตอรี่
รูปที่ ฉ.3 แสดงองค์ประกอบทั่วไปของระบบแบตเตอรี่

รูปที่ ฉ.3 องค์ประกอบทั่วไปของระบบแบตเตอรี่


ฉ.2.6 องค์ประกอบทั่วไปของระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่
หัวข้อย่อยนีใ้ ช้ได้กับระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ทุกประเภท รู ปที่ ฉ.4 ถึงรู ปที่ ฉ.7 แสดงรู ปแบบของ
ระบบแบตเตอรี่ที่เป็ นไปได้ที่สามารถเป็ นส่วนหนึ่งของระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ได้
รู ปที่ ฉ.4 เป็ นตัวอย่างของระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีระบบแบตเตอรี่ประกอบด้วยเซลล์แบตเตอรี่
เช่น ตะกั่วกรด หรือนิกเกิล -แคดเมียม เชื่อมต่อกันแบบอนุกรมโดยไม่มี ระบบบริหารจัดการแบตเตอรี่ หนึ่งแถวของ
แบตเตอรี่ประเภทนีถ้ ือเป็ นระบบแบตเตอรี่

รูปที่ ฉ.4 รูปแบบทั่วไปของระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีระบบแบตเตอรีป่ ระกอบด้วยเซลล์แบตเตอรี่


และไม่มีระบบบริหารจัดการแบตเตอรี่ (รูปแบบทั่วไปของระบบตะกั่วกรด)

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
า ก ฉ อง ปร กอบของร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่ | 115

รู ปที่ ฉ.5 เป็ นตัวอย่างของระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่ประกอบด้วยมอดูลแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนต่อ


กันแบบขนาน และ/หรืออนุกรม ซึ่งต้องมีระบบบริหารจัดการแบตเตอรี่

รูปที่ ฉ.5 รูปแบบทั่วไปของระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีระบบแบตเตอรีป่ ระกอบด้วยมอดูล


แบตเตอรี่ลิเธียมไอออน
รูปที่ ฉ.6 เป็ นตัวอย่างของระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีระบบแบตเตอรี่ประกอบด้วยแบตเตอรี่ลิเธี ย ม
ไอออน แต่ละแบตเตอรีม่ ีวงจรสาหรับตรวจสอบ และ/หรือปรับสมดุล และเชื่อมต่อกับระบบบริหารจัดการแบตเตอรี่
อุปกรณ์เสริม (auxiliary equipment) ที่แสดงในรู ปอาจรวมถึงอุปกรณ์เช่น ระบบแจ้งเตือนแบตเตอรี่ หรือ
ระบบดับเพลิง หรืออุปกรณ์สาหรับระบบทาความเย็นและอุปกรณ์เฉพาะสาหรับอุปกรณ์สื่อสารของระบบแบตเตอรี่

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
116 | า ก ฉ อง ปร กอบของร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่

รูปที่ ฉ.6 รูปแบบทั่วไปของระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีระบบแบตเตอรีป่ ระกอบด้วยแบตเตอรี่ลิ


เธียมไอออนซึ่งมีวงจรควบคุมอยู่กบั แต่ละแบตเตอรีเ่ ชื่อมต่อกับระบบบริหารจัดการแบตเตอรี่
รู ปที่ ฉ.7 แสดงระบบกั กเก็ บพลังงานแบตเตอรี่ ที่มีร ะบบแบตเตอรี่ ประกอบด้วยมอดูลโฟลว์แบตเตอรี่
อุปกรณ์เสริม และระบบบริหารจัดการแบตเตอรี่ อุปกรณ์เสริมโดยทั่วไปในกรณีนอี้ าจรวมถึงปั๊ม อุปกรณ์ตรวจจับและ
แจ้งเตือนการรั่ว ตัวควบคุมปั๊ ม และการป้องกันสาหรับอุปกรณ์เสริม

รูปที่ ฉ.7 รูปแบบทั่วไปของระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีระบบแบตเตอรีป่ ระกอบด้วยมอดูลโฟลว์


แบตเตอรี่ อุปกรณ์เสริม และระบบบริหารจัดการแบตเตอรี่
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
า ก ฉ อง ปร กอบของร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่ | 117

ฉ.3 การใช้งานระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่
ฉ.3.1 การใช้งาน
มาตรฐานบทนีค้ รอบคลุมประเภทของระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ต่อไปนี้
ก. ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าเชื่อมต่อกับวงจรใช้งาน DC
ข. ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าแยกโดด (separated/isolated PCE)
เชื่อมต่อกับวงจรใช้งาน AC (อาจมีการเชื่อมต่อ DC ด้วย)
ค. ระบบกั กเก็ บพลังงานแบตเตอรี่ ที่มีอุ ปกรณ์แ ปลงผันกาลังไฟฟ้า ไม่ แยกโดด (non-separated/non-
isolated PCE) เชื่อมต่อกับวงจรใช้งาน AC (อาจมีการเชื่อมต่อ DC ด้วย)
การทางานของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าประกอบด้วย
ก. DC to DC converter หรือ AC to DC battery charger
ข. Inverter แบบ stand-alone หรือ inverter ที่ทางานหลายโหมด หรือ inverter อื่นที่เชื่อมต่อกับกริดซึ่ง
สามารถเชื่อมต่อกับระบบแบตเตอรี่ได้
หมายเหตุ: ระบบแบตเตอรี่บางระบบมี DC/DC converter เป็ นอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าทางานร่วมกับระบบแบตเตอรี่
ระบบนีต้ อ้ งการอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าเพิ่มอีกเพื่อเชื่อมต่อกับวงจรใช้งาน อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าที่
ฝังตัวนี ้ (DC/DC converter) ถือว่าเป็ นส่วนหนึ่งของอุปกรณ์เสริมและเป็ นส่วนประกอบของระบบแบตเตอรี่
ฉ.3.2 สถาปั ตยกรรมระบบ (System Architectures)
การติดตัง้ ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่อาจประกอบด้วยรูปแบบหนึ่งรูปแบบใดต่อไปนี้
ก. หนึ่ง ระบบกั กเก็ บพลังงานแบตเตอรี่ ที่มีหนึ่งระบบแบตเตอรี่ ต่อกั บหนึ่งหรือ หลายอุ ปกรณ์แปลงผัน
กาลังไฟฟ้า
ข. หนึ่ง ระบบกั กเก็ บพลังงานแบตเตอรี่ ที่มีร ะบบแบตเตอรี่ หลายระบบขนานกันต่ อ กั บหนึ่งหรื อหลาย
อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า
ค. หลายระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ แต่ละระบบมีหนึ่งหรือหลายระบบแบตเตอรี่ต่อกับหนึ่งหรือหลาย
อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า
เมื่อการติดตัง้ ประกอบด้วยหลายระบบกักเก็บพลังงาน โดยที่ระบบกักเก็บพลังงานรวมมีขนาดความจุติดตัง้
มากกว่า 200 kWh มาตรฐานบทนีป้ ระยุกต์ใช้กับแต่ละระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ย่อยนัน้ โดยที่แต่ละระบบย่อยมี
ขนาดน้อยกว่า 200 kWh
ฉ.3.3 แผนผังทางไฟฟ้ า (Electrical Diagrams)
รู ปที่ ฉ.8 ถึงรู ปที่ ฉ.12 แสดงรู ปแบบการเชื่อมต่อทางไฟฟ้าของการติดตั้งระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่
เริ่มตัง้ แต่หนึ่งระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีหนึ่งระบบแบตเตอรี่ต่อกับหนึ่งอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าไปจนถึง
หลายระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ต่อขนานกันเชื่อมต่อกับหลายอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
118 | า ก ฉ อง ปร กอบของร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่

ระบบแยกส่วนและป้ องกัน
ระบบแยกส่วนและป้ องกันแบตเตอรี่ อุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ า
ระบบแบตเตอรี่

อุปกรณ์แปลงผัน
กาลังไฟฟ้ า

หมายเหตุ: 1 จาเป็ นต้องมีอุปกรณ์ตดั วงจรสาหรับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า (PCE Disconnection Device) ถ้าระบบ


แบตเตอรี่ไม่ได้อยู่ติดกับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า และอุปกรณ์ป้องกันต้องติดตัง้ หากจาเป็ น
2 สัญลักษณ์ฟิวส์สวิ ตช์ (Switched Fuse) นัน้ แสดงถึงการเป็ นอุปกรณ์ตัดวงจร (Disconnection Device)
และอุปกรณ์ป้องกัน (Protection Device) อุปกรณ์เหล่านีส้ ามารถทดแทนได้ดว้ ย DC Circuit Breaker ที่
เหมาะสม
รูปที่ ฉ.8 แผนผังแสดงการเชื่อมต่อสาหรับระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีหนึ่งระบบแบตเตอรี่เชื่อมต่อ
กับหนึ่งอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ า

หมายเหตุ : 1 จาเป็ นต้องมีอุปกรณ์ตดั วงจรสาหรับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า (PCE Disconnection Device) ถ้าระบบ


แบตเตอรี่ไม่ได้อยู่ติดกับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า และอุปกรณ์ป้องกันต้องติดตัง้ หากจาเป็ น
2 สัญลักษณ์ฟิวส์สวิ ตช์ (Switched Fuse) นัน้ แสดงถึงการเป็ นอุปกรณ์ตัดวงจร (Disconnection Device)
และอุปกรณ์ป้องกัน (Protection Device) อุปกรณ์เหล่านีส้ ามารถทดแทนได้ดว้ ย DC Circuit Breaker ที่
เหมาะสม
รูปที่ ฉ.9 แผนผังแสดงการเชื่อมต่อสาหรับระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีหลายระบบแบตเตอรี่ต่อ
ขนานกันเชื่อมต่อกับหนึ่งอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ า

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
า ก ฉ อง ปร กอบของร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่ | 119

หมายเหตุ: 1 จาเป็ นต้องมีอุปกรณ์ตดั วงจรสาหรับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า (PCE Disconnection Device) ถ้าระบบ


แบตเตอรี่ ไ ม่ ไ ด้อ ยู่ ติ ด กับ อุ ป กรณ์ แ ปลงผัน กาลัง ไฟฟ้ า หรื อ ถ้า อุ ป กรณ์ ตัด วงจรของอุ ป กรณ์ แ ปลงผั น
กาลังไฟฟ้าทาหน้าทีอ่ นื่ และอุปกรณ์ป้องกันต้องติดตัง้ หากจาเป็ น
2 สัญลักษณ์ฟิว ส์สวิตช์ (Switched Fuse) นัน้ แสดงถึงการเป็ นอุปกรณ์ตัดวงจร (Disconnection Device)
และอุปกรณ์ป้องกัน (Protection Device) อุปกรณ์เหล่านีส้ ามารถทดแทนได้ดว้ ย DC Circuit Breaker ที่
เหมาะสม
รูปที่ ฉ.10 แผนผังแสดงการเชื่อมต่อสาหรับระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีหนึ่งระบบแบตเตอรี่
เชื่อมต่อกับหลายอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ า

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
120 | า ก ฉ อง ปร กอบของร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่

หมายเหตุ: 1 จาเป็ นต้องมีอุปกรณ์ตดั วงจรสาหรับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า (PCE Disconnection Device) ถ้าระบบ


แบตเตอรี่ไม่ได้อยู่ติดกับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า และอุปกรณ์ป้องกันต้องติดตัง้ หากจาเป็ น
2 สัญลักษณ์ฟิวส์สวิ ตช์ (Switched Fuse) นัน้ แสดงถึงการเป็ นอุปกรณ์ตัดวงจร (Disconnection Device)
และอุปกรณ์ป้องกัน (Protection Device) อุปกรณ์เหล่านีส้ ามารถทดแทนได้ดว้ ย DC Circuit Breaker ที่
เหมาะสม
รูปที่ ฉ.11 แผนผังแสดงการเชื่อมต่อสาหรับระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ที่มีหนึ่งระบบแบตเตอรี่
เชื่อมต่อกับหลายอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ า

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
า ก ฉ อง ปร กอบของร บบกก ก็บ งงา แบต ตอรี่ | 121

หมายเหตุ: 1 จาเป็ นต้องมีอุปกรณ์ตดั วงจรสาหรับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า (PCE Disconnection Device) ถ้าระบบ


แบตเตอรี่ ไ ม่ ไ ด้อ ยู่ ติ ด กับ อุ ป กรณ์ แ ปลงผัน กาลัง ไฟฟ้ า หรื อ ถ้า อุ ป กรณ์ ตัด วงจรของอุ ป กรณ์ แ ปลงผัน
กาลังไฟฟ้าทาหน้าทีอ่ นื่ และอุปกรณ์ป้องกันต้องติดตัง้ หากจาเป็ น
2 แผนผังนีแ้ สดงสองกลุ่มของสามอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าแบบเฟสเดียว อาจใช้รูปแบบการติดตัง้ อืน่ ได้
3 PCE Isolation ต้องผ่านข้อกาหนดของตามมาตรฐาน AS/NZS 4777 หรือ AS/NZS 4509 หรือ AS/NZS
3000
4 สัญลักษณ์ฟิวส์สวิ ตช์ (Switched Fuse) นัน้ แสดงถึงการเป็ นอุปกรณ์ตัดวงจร (Disconnection Device)
และอุปกรณ์ป้องกัน (Protection Device) อุปกรณ์เหล่านีส้ ามารถทดแทนได้ดว้ ย DC Circuit Breaker ที่
เหมาะสม
รูปที่ ฉ.12 แผนผังแสดงหลายระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ แต่ละระบบมีหนึ่งระบบแบตเตอรี่เชื่อมต่อ
กับหลายอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ า

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
122 | ภาคผนวก ฉ. องค์ประกอบของระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2656 (วสท. 022013-22)
ภาคผนวก ช.
การจาแนกประเภทแรงดันไฟฟ้ าแบบเด็ดขาด
(ภาคผนวกมิใช่ส่วนหนึ่งของมาตรฐานแต่มีขนึ้ เพื่อใช้เป็ นข้อมูลเท่านั้น)

ระดับการจาแนกประเภทแรงดันไฟฟ้าแบบเด็ดขาด (Decisive voltage classification, DVC) ตามที่นิยามใน


IEC 62109-1 แสดงดังตารางที่ ช.1
ระบบการจาแนกประเภทแรงดันไฟฟ้าแบบเด็ดขาด กล่าวถึงระดับแรงดันไฟฟ้าและระดับของการแยกพอร์ต
แบตเตอรี่ที่เกี่ยวข้องจากกริดหรือจากแหล่งพลังงานอื่น ๆ เช่น ในกรณีของตัวควบคุมการชาร์จตามที่ติดตั้งด้วยแผง
เซลล์แสงอาทิตย์ การจาแนกประเภทนีช้ ่วยลดความยุ่งยากในการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและข้อกาหนด
ของสิ่งห่อหุม้ สาหรับระบบแบตเตอรี่
การจาแนกประเภทของวงจรของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า รวมถึงอินเวอร์เตอร์และตัวควบคุมการประจุ
จะต้องทาตามการจาแนกประเภทแรงดันไฟฟ้าแบบเด็ดขาด
พอร์ตอินเวอร์เตอร์และอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าทั้งหมดจะต้องจัดประเภทและทาเครื่องหมายตามการ
จาแนกประเภทแรงดันไฟฟ้าแบบเด็ดขาด
ตารางที่ ช.1 สรุปช่วงแรงดันของ Decisive voltage classification
Limits of working voltage (V)
DVC AC voltage RMS AC voltage peak DC voltage mean
UACL UACL UDCL
A1 ≤ 25 ≤ 35.4 ≤ 60
B 2
≤ 50 ≤ 71 ≤ 120
C 2
> 50 > 71 > 120
หมายเหตุ: 1 ภายใต้เงือ่ นไขความผิดปกติทางไฟฟ้า วงจร DVC-A อนุญาตให้มีแรงดันไฟฟ้าสูงสุดถึงขีดจากัด DVC-B
สูงสุด 0.2 วินาที
2 หากระบบแบตเตอรี่เป็ น DVC-B หรือ DVC-C ระบบจะถือว่าเป็ นการติดตัง้ แรงดันต่ าตามมาตรฐานการ
ติดตัง้ ทางไฟฟ้าฯ ของ วสท.

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
124 | ภาคผนวก ช. การจาแนกประเภทแรงดันไฟฟ้ าแบบเด็ดขาด

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2656 (วสท. 022013-22)
ภาคผนวก ซ.
การต่อลงดินสาหรับระบบแบตเตอรี่
(ภาคผนวกมิใช่ส่วนหนึ่งของมาตรฐานแต่มีขนึ้ เพื่อใช้เป็ นข้อมูลเท่านั้น)

ซ.1 ทั่วไป
การต่อลงดินสาหรับระบบแบตเตอรี่ที่เชื่อมต่อกับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ามีขอ้ แนะนาดังต่อไปนี้

ซ.1.2 Floating/Separated
ระบบแบตเตอรี่แบบลอย (Floating Battery System) เชื่อมต่อกับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้าแบบแยก
ส่วนคือ รูปแบบของระบบแบตเตอรี่ที่ไม่ตอ้ งต่อลงดิน และไม่มีการอ้างอิงสายดิน ดังรูปที่ ซ.1
ระบบแบตเตอรี่แบบลอย และอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ากับวงจรใช้งาน ไม่จาเป็ นต้องมีการต่อสายดิน
เพิ่มเติม ยกเว้นการตรวจวัดความผิดพร่องลงดิน (earth fault monitoring)

หมายเหตุ: 1 จาเป็ นต้องมีอุปกรณ์ตดั วงจรของอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้า ถ้าอุปกรณ์ตดั วงจรของระบบแบตเตอรี่ไ ม่ได้


อยู่ใกล้เคียง
2 จุดเชื่อมต่อ 1 ทีแ่ สดงใช้สาหรับเชื่อมต่อกับกริดสามารถใช้เชื่อมต่อกับเครื่องกาเนิดไฟฟ้าได้
รูปที่ ซ.1 แผนผังการติดตั้งระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่แบบลอยต่อกับอุปกรณ์แปลงผันกาลังไฟฟ้ าแบบ
แยกส่วน
ซ.2 ขนาดของสายดินของบริภัณฑ์ไฟฟ้า
ขนาสายดินของบริภณ ั ฑ์ไฟฟ้าสาหรับระบบแบตเตอรี่ตอ้ งสามารถทนกระแสลัดวงจรของระบบแบตเตอรี่ได้
และ ต้องมีขนาดเป็ นไปตามมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทยของ วสท. ตารางที่ 4-2

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
126 | ภาคผนวก ซ. การต่อลงดินสาหรับระบบแบตเตอรี่

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2656 (วสท. 022013-22)
ภาคผนวก ฌ.
การออกแบบสายไฟ PV CABLE
(ภาคผนวกมิใช่ส่วนหนึ่งของมาตรฐานแต่มีขนึ้ เพื่อใช้เป็ นข้อมูลเท่านั้น)

การออกแบบ PV cable มีขนั้ ตอนดังนี้


ฌ.1 ออกแบบการติดตั้งการวาง PV String ทีเ่ หมาะสม
ก. เลือกรุ่น PV, inverter, กาหนด string ทิศทาง และตาแหน่งแผง
ข. พิจารณา ประสิทธิภาพ ความคุม้ ค่าการลงทุน รวมถึงค่าใช้จ่ายการลงทุนระบบด้าน AC
ค. พิจารณาความสะดวกต่อการบารุงรักษา
ฌ.2 เลือกรูปแบบ การต่อ วงจร จานวนแผงที่ต่อขนาน และอนุกรม
ก. หาค่า VOC mod, VOC array
ข. หาค่า ISC mod, IISC array , ImodMaxOCPR
ฌ.3 เลือกชนิด PV cable
สายไฟทีแ่ นะนาสาหรับ PV cable ตาม IEC 62930
ก. tin-coated copper conductor
ข. cross-linked compound insulation
ค. cross-Linked compound sheath
ง. 0.9/1.5kVDC voltage rating
จ. max. conductor temp 90 ºC
ฌ.4 เลือกขนาดพิน้ ที่หน้าตัดของ PV Cable
ในการเลือกขนาดพืน้ ที่หน้าตัด PV cable นัน้ จะต้องพิจารณา เรื่อง loss ของระบบก่อน เนือ่ งจากมีผลต่อ
ประสิทธิภาพของระบบผลิตและอาจส่งผลให้เกิดความไม่คมุ้ ค่าการลงทุนได้ ซึ่งต้องใช้โปรแกรมในการคานวณค่า loss
ของ PV cable ที่ยอมรับได้เทียบกับ loss ของระบบโดยรวม
ในการคานวณหาขนาดพืน้ ที่หน้าตัด PV cable ที่จะกล่าวถึงต่อไปนีจ้ ะพิจารณาในเรื่อง ampacity หรือการทน
กระแสของสายไฟเท่านัน้ โดยเลือกจากพิกัดกระแสอุปกรณ์ป้องกัน และ พิกัดกระแสสายไฟ In ที่คานวณได้ตามบทที่ 4
ตารางที่ 4.2 แล้วจึงนามาเทียบกับพิกัดการนากระแสของ PV cable ตามตาราง ฌ1 ซึ่งเป็ นค่าพิกัดกระแสที่อา้ งอิง
มาตรฐาน IEC 62930 และ ปรับค่า conversion factor แล้ว

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
128 | า ก ฌ การออกแบบ า PV CABLE

ตารางที่ ฌ.1 พิกดั นากระแสของ PV cable ที่ ambient temperature 70ºC


ขนาดพืน้ ที่หน้าตัด เคเบิล 1 วงจรเดินลอยในอากาศ
(Sq.mm.) (A)
1.5 13
2.5 19
4 26
6 33
10 46
16 62
25 80
35 99
50 121
70 156
95 190
120 221
150 255
185 293
240 347
300 401
400 478

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
า ก ฌ การออกแบบ า PV CABLE | 129

ตารางที่ ฌ.2 พิกดั นากระแสของ PV cable ที่ ambient temperature 60ºC


ขนาดพืน้ ที่หน้าตัด เคเบิล 1 วงจรเดินลอยในอากาศ
(Sq.mm.) (A)
1.5 17
2.5 23
4 31
6 41
10 56
16 75
25 97
35 121
50 148
70 190
95 232
120 271
150 313
185 359
240 425
300 492
400 585

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
130 | า ก ฌ การออกแบบ า PV CABLE

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)
131 | ขอ อแ ่ ต

สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)


มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสาหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ดิ ตั้งบนหลังคา
พ.ศ. 2565
(ฉบับ พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2565)
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
เพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงมาตรฐานนี้ กรุณากรอกข้อมูลที่ท่านเห็นว่าน่าจะมการปรับปรุง แก้ไข/เพิ่มเติม ลง
ในช่องว่างข้างล่างนี้ และส่งกลับมาที่ วสท. ทาง Fax: 0-2184-4662 หรือ E-mail: eit@eit.or.th
ควรปรับปรุ งในเรื่อง

ขอแก้ไขเนื้อหา

เพิ่มเติมเนื้อหา

(กรณีกรอกข้อมูลไม่พอ ให้เพิ่มเติมในกระดาษเปล่าแล้วแนบมาพร้อมกับเอกสารฉบับนี)้
จาก (นาย/นาง/นางสาว)
หน่วยงาน/บริษัท
โทรศัพท์ โทรสาร
E-mail:
(คณะกรรมการมาตรฐานฯ ขอขอบพระคุณล่วงหน้ามา ณ ที่นี)้

มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้ าสาหรับประเทศไทย:
ระบบการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ท่ตี ิดตั้งบนหลังคา พ.ศ. 2565 (วสท. 022013-22)

You might also like