You are on page 1of 290

สารบัญ

บทที 1: Introduction and Installation 1


GstarCAD 202 Introduction 1
System Requirements 1
GstarCAD 202 Installation 2

บทที 2: Starting up GstarCAD 2020 6


The User Interface 6
Quick Access Toolbar 7
Workspace Switching 7
Menu Bar 8
Menus and Shortcut Menus 8
Shortcuts Customize 8
The Ribbon 9
Appearance 10
Drawing Area 11
Toolbars 1.
Displaying and Hiding Toolbars 1.
Starting Commands Using Toolbars 12
User Coordinate System (UCS) 12
Model Space and Layout Space tabs 13
Command Window 14
Enter Commands on the Command Line 16
Specify Command Options 16
Execute, Repeat and Cancel Commands 16
Nesting a Command 16
Enter System Variables on the Command Line 1<
Using the Prompt History Window 1<
Switch Dialog Boxes and Command Line 1<
Dynamic Input 1<
Status Bar 1>
Properties Palette 1>
Customize the Drawing Environment 1@
Set Interface Options 1@
Settings of Modifying Interface 1@
Save and Restore Profiles .A
Tool Palettes 2
Design Center 2
Workspace ________________________________________________________________ 22
Movebak _________________________________________________________________ 23

บทที 3: Create, Open, Save and Recover a Drawing 24


Create a Drawing 24
Create a New Drawing Using Default Settings 24
Create a New Drawing Using a Setup Wizard 24
Create a New Drawing Using Template 25
Open a Drawing 26
Open a Drawing 26
Multiple Open Drawings 27
Save a Drawings 27
Save a Drawing 27
Save Your Drawing Automatically 28
Save Part of a Drawing File 28
Save to a Different Type of Drawing File 29
Use Backup Files 29
Reduce the Time Required to Save a Drawing File 29
Recover a Drawing 30
Recover a Damaged File 30
Drawing Recovery Manager G1
DWG Convert ________________________________________________________________ 31

บทที 4: Control the Drawing Views 32


Redraw and Regenerate a Drawing 32
Magnify a View (Zoom) 3G
Zooming Methods 3G
Zoom to Magnify a Specified Rectangular Area 34
Zoom in Real Time 34
Displaying the Previous View of a Drawing 36
Zooming to a Specific Scale 36
Displaying the Entire Drawing 3<
Pan and View 3<
Display Multiple Views on Model Space 3>
Set Model Space Viewports 3>
Working with Multiple Views of a Single Drawing 3>
Working with Multiple Drawings 3I
View Manager 3I
Specify a 3D View 4A
Set the Viewing Direction 4A
Isometric View 4.
Draw 2D Isometric Views 4.
Set Isometric Grid and Snap 4G
Change a 3D View Dynamically 44
Hide Lines or Shade 3D Objects 44
Add Simple Shading to 3D Objects 46
Render 46
Render Environment 4<
Light 4>
Materials 4>
M.LVPORT 4>
Hideden Message Setting___________________________________________________________ 48

บทที 5: Precision Tools and the properties of Drawing 50


Specify Units, Angles and Scale 51
Set the Units Format 6
Set Angle Conventions 6
Setting Scale Factors 6
Drawing Limits 6.
Grid and Grid Snap 6.
Change Grid and Snap Spacing 6G
Use Object Snaps 6G
Setting Object Snaps 6G
AutoSnap Tool 54
Use Polar Tracking and Object Snap Tracking 54
Polar Tracking 66
Object Snap Tracking 6<
Use Orthogonal (Ortho Mode) 6>
Working with Layers 6>
Create and Name Layers 6>
Setting the Current Layer 6>
Removing Layers 6@
Controlling Layer Visibility 6@
Locking and Unlocking Layers 56
Controlling Layer Printing 6I
Setting a Layer's Print Style 6I
Freeze or Thaw Layers <A
Setting the Layer Color <A
Setting a Layer's Linetype <
Setting a Layer's Lineweight <
Filter List of Layers <
Displaying Lineweights <.
Display Lineweights in Model Space <.
Display Lineweights in Layouts <.
Auto Layer <G

บทที 6: Create Objects 64


Draw Linear Objects 64
Lines 64
Multilines 64
Ray 65
Construction Lines 66
Polylines 66
Polygons 66
Rectangles 68
Points 69
Freehand Sketches 69
Draw Curved Objects 69
Arcs 70
Circles 71
Ellipses 71
Splines 72
Helix >3
Donut 74
Create 3D Objects 74
3D Thickness and Elevation >4
3D Faces 75
Ruled Surfaces 75
Tabulated Surface 75
Revolved Surface 76
Solid Box 77
Solid Cone 77
Solid Cylinder 78
Sphere 78
Torus 78
Pyramid 79
Wedge 79
Solids Extrude 80
Solids Revolve 80
Creating Composite Solids 81
Create Regions 81
Create Revision Cloud 82
Create Break Line 82
Create Wipeout 83
Section Plane 84

บทที 7: Modify Objects 86


Remove Objects @6
Copy Objects @6
Mirror Objects @6
Offset an Object 8<
Create an Array of Objects 8>
Move Objects 8>
Rotate Objects 8>
Align Objects 8@
Scale Objects 8@
Lengthen Objects 8@
Stretch Objects 8I
Trim Objects 8I
Extend Objects 8I
Create Breaks IA
Create Chamfers IA
Create Fillets I
Trim and Extend Filleted Objects I.
Fillet Line and Polyline Combinations I.
Fillet Parallel Lines I.
Disassociate Compound Objects I.
Modify Polylines IG
Modify Multilines IG
Array Options I4
Clip I6
Add Selected I6
Change to ByLayer I<
Viewport Scale__________________________________________________________________________ 96
Right-Click+Drag Method_________________________________________________________________ 97
Selection Cycling________________________________________________________________________ I>

บทที 8: Notes and Labels I@


Create Text I@
Single-Line Text I@
Multiline Text II
Work with Text Styles II
Create Leader A.
Leaders A.
Modify Text A.
Change Text _____________________________________________________________________ A.
Attribute Increment ______________________________________________________________________ A4
Check Spelling __________________________________________________________________ 104

บทที 9: Dimensions and Tolerances 105


Create Dimensions 105
Horizontal and Vertical Dimensions 106
Create Aligned Dimensions 106
Create Baseline and Continued Dimensions 106
Create Rotated Dimensions 107
Create Angular Dimensions 107
Create Radial Dimensions 108
Jogged Dimension 108
Create Diameter Dimensions 108
Create Ordinate Dimensions A9
Create Quick Dimension A9
Create Arc Length Dimension A9
Use Dimension Styles 110
Dimension Styles 111
Modify Dimension Lines 112
Modify Extension Lines 112
Choose Dimension Arrowheads 112
Fit Dimension Text within Extension Lines 113
Fit Diameter Dimension Text 113
Align Dimension Text 114
Position Dimension Text Vertically 114
Position Dimension Text Horizontally 114
Dimension Units 114
Alternate Units 115
Display Lateral Tolerances 116
Set the Scale for Dimensions 116
Modify Existing Dimensions 117
Modify Dimension Style 117
Make Dimensions Oblique 117
Dimension Jogged Linear 118
Dimension Inspection 118
Adjust Dimension Space 19
Add Geometric Tolerances 120
Geometric Tolerance Dialog Box 120
Geometric Tolerance Symbols 121
Material Conditions 121
Datum Reference Frames 121
Projected Tolerance Zones 121
Composite Tolerances 122

บทที 10: Blocks, Attribute and Xrefs 123


Create and Insert Blocks 123
Create Blocks 123
Create Nested Blocks 1.4
Create Drawing Files for Use as Blocks 1.4
Change the Base Point of Drawings to Be Used as Blocks 1.4
Update Changes in the Original Drawing 1.4
Use Paper Space Objects in Blocks 1.5
Insert Blocks 1.5
Modify a Block Definition 1.6
Remove Block Definitions 1.6
Define and Use Block Attributes 1.7
Extract Block Attribute Data 1.8
Reference Other Drawing Files (Xrefs) 1.8
Attach External References 1.9
Control the Properties of Referenced Layers 1.9
Xref Clipping Boundaries 1.9
Nest and Overlay External References 130
Binding an Xref to a Drawing 131
Refresh Xrefs 131
Redefine Block __________________________________________________________________ 132

บทที 11: Hatches and Raster Images 133


Hatches 133
Define Hatch Boundary 133
Control the Hatching in Islands 134
Choose and Define Hatch Patterns 1G5
Solid 136
Work with Raster Images 137
Attach, Scale, and Detach Raster Images 137
Attach Raster Images 138
Scale Raster Images 138
Detach Raster Images 138
Modify and Manage Raster Images 138
Change Raster Image Brightness, Contrast, and Fade 139
Improve the Display Speed of Raster Images 139
Transparency___________________________________________________________________________________________ 140
Area Table _____________________________________________________________________________________________ 140
บทที 12: Layout, Plot and Publish Drawing 141
Create Multiple-View Drawing Layouts 141
Overview of Layout 141
Work with Model Space and Paper Space 141
Specify Layout Settings 142
Select a Paper Size for a Layout 142
Determine the Drawing Orientation of a Layout 143
Adjust the Plot Offset of a Layout 143
Set the Plot Area of a Layout 144
Set the Plot and Lineweight Scale for a Layout 144
Move and Copy Layouts 145
Create Layout from Template 146
Create and Modify Layout Viewports 146
Plot Drawings 147
Plot Settings 147
Set Paper Size 148
Position the Drawing on the Paper 148
Set Drawing Orientation 148
Set Plot Scale 148
Set Plot Options 148
Specify the Area to Plot 149
Preview a Plot 149
Use Plot Styles 150
Plot Files to Other Formats 151
Publish Drawings 152

บทที 13: Create and Edit Dynamic Blocks 154


Dynamic Block Editor 154
Dynamic Block Editor Tool Panels 155
Parameters 156
Actions 157
The General Steps of Creating a Dynamic Block Definition 158
Dynamic Blocks Creation Samples 159
Base Point Parameter 160
Visibility 161
Alignment 163
Flip 163
Point Movement 164
Linear Movement 165
Number of Grips 166
Angle Offset 166
Linear Stretch 167
Parameter Value Set 168
Symmetrical Stretch 169
Distance Multiplier 170
Chain Action 171
Scale Action 172
Scale Character 174
Rotation 177
Polar Stretch 178
Polar Stretch Action Characteristics 179
Polar Array 181

บทที 14: Express Tools 183


Block Tools 183
Copy Nested Objects 184
Import/Export Attribute information_________________________________________________________ 185
Statistics Block Number __________________________________________________________________ 186
Change Block linewidth __________________________________________________________________ 187
Change Block Layer _____________________________________________________________________ 188
List Xref/Block Properties ________________________________________________________________ 189
Exten to Nested Objects __________________________________________________________________ 190
Text Tool ______________________________________________________________________________ 191
Dimension Tools 192
Text Align _____________________________________________________________________________ 193
Text online ____________________________________________________________________________ 193
Arc-Aligned Text _______________________________________________________________________ 194
Text Mark _____________________________________________________________________________ 194
Mark RText____________________________________________________________________________ 195
Change RText __________________________________________________________________________ 196
Extened Text Editor _____________________________________________________________________ 197
Automatic Text Numbering _______________________________________________________________ 198
Text Incremental Copy ___________________________________________________________________ 198
Scale _________________________________________________________________________________ 199
Text outline ____________________________________________________________________________ 199
Justify Text ____________________________________________________________________________ 200
Rotate Text ____________________________________________________________________________ 200
Document input ________________________________________________________________________ 201
Convert Text to Mtext ___________________________________________________________________ 201
Change Text Style ______________________________________________________________________ 202
Change One Character ___________________________________________________________________ 203
Adjust Character ________________________________________________________________________ 204
Dimension Tool ________________________________________________________________________ 204
Change Dim style _______________________________________________________________________ 205
Update Dimension _______________________________________________________________________ 206
Dimstyle Import _________________________________________________________________________ 207
Detach Leader from Annotation ____________________________________________________________ 208
Selection Tools 209
Edit Tool ______________________________________________________________________________ 213
Arrange Tool 215
LayoutByPath __________________________________________________________________________ 217
AreaSum ______________________________________________________________________________ 221
Move/Copy/Rotate ______________________________________________________________________ 222
Trim Enhancement ______________________________________________________________________ 224
Multiple Pedit ____________________________________________________________________________ 225
Overkill _________________________________________________________________________________ 226
Statistics Summation _______________________________________________________________________ 227
Draw Tools ______________________________________________________________________________ 228
Table Tools ______________________________________________________________________________ 229
Pline Boolean _____________________________________________________________________________ 232
Spline to Line _____________________________________________________________________________ 233
Cloud Line _______________________________________________________________________________ 235
System Variable Editor______________________________________________________________________ 238
Make Line Type ___________________________________________________________________________ 239
List Object Xdata __________________________________________________________________________ 239
Coordinate Tools __________________________________________________________________________ 240
Drawing Tools ____________________________________________________________________________ 241
Draw Table _______________________________________________________________________________ 241
Split Cells ________________________________________________________________________________ 242
Add Row/ Column _________________________________________________________________________ 245
AutoXLS Table Tools ______________________________________________________________________ 247
Coordinate Tools __________________________________________________________________________ 248
Drawing Tools____________________________________________________________________________ 249
Drawing Compare _________________________________________________________________________ 250
Batch Purge ______________________________________________________________________________ 251
AutoXLS Table Tools ______________________________________________________________________ 252
Edit Table ________________________________________________________________________________ 253
Update All the Table _______________________________________________________________________ 254
Path setting _______________________________________________________________________________ 255
GstarCAD Tools __________________________________________________________________________ 258
Print Tools _______________________________________________________________________________ 257
Visual Extension __________________________________________________________________________ 259
Super Fillet ______________________________________________________________________________ 260
Control Break Width _______________________________________________________________________ 262
Batch Print _______________________________________________________________________________ 264
Arrange Frame Automatically ________________________________________________________________ 265

บทที 15: What new GstarCAD 202B ______________________________________________________________ 267


New user Interface ________________________________________________________________________ 267
Save your time with faster running speed _______________________________________________________ 268
New 3D Feature ___________________________________________________________________________ 259
Import/Export/Migrate______________________________________________________________________ 275
Rapid Dist ______________________________________________________________________________ 279
Tool Palate _______________________________________________________________________________ 279
MText Editor _____________________________________________________________________________ 280
Use the license anywhere by VPN ________________________________________________________ 282
1
Chapter 1
GstarCAD 2021 Introduction

GstarCAD 2021 ได้พฒั นา ให้ตอบสนองต่อความต้องการของผูใ้ ช้งานมากยิ(งขึ*น ซึ( งทําให้การประมวลผล


กราฟิ ค เร็ วขึ* น เพิ(มศักยภาพการทํางาน และ ใช้งานพื*นที( หน่วยความจําน้อยลง กว่า GstarCAD รุ่ นก่อนหน้านี* ไม่ใช่แค่
ความเร็ ว และ ประสิ ทธิ ภาพที(เพิ(มขึ*นเท่านั*น แต่ยงั รวมไปถึงมีความสเถียรภาพของ โปรแกรมที( มากกว่าเดิม ในบทนี* จะช่วย
ให้คุณเริ( มต้นใช้งาน GstarCAD โดยอธิ บายถึงความต้องการของโปรแกรม และ การติดตั*งให้ขอ้ มูลเบื* องต้น สําหรับการใช้
งาน
System requirement
2
GstarCAD 2021 Installation
ติดตั*งโปรแกรม GstarCAD เวอร์ชนั( ที(ตอ้ งการจากแผ่น USB หรื อสามารถเข้าไป Download ที(
Link Download >> http://www.applicadthai.com/gstarcad/download/

ขั*นตอนการติดตั*งโปรแกรม GstarCAD2021 ดังนี*


1. ดับเบิ*ลคลิกที(ตวั ติดตั*ง จะมีหน้าต่าง GstarCAD Installation  คลิกที(ปุ่ม Yes

2. ทําเครื( องหมายถูกที(หน้าข้อความ Agree to User License Agreement  คลิกที(ปุ่ม Install


3
3. เลือกรู ปแบบเมนูที(ตอ้ งการใช้งานเมื(อเข้าโปรแกรม ในส่วนนี*สามารถเข้าไปเปลี(ยนที( หน้าโปรแกรมได้
 คลิกที(ปุ่ม Finish

4. เลือก Version ที(ทางลูกค้าสั(งซื* อให้ถูกต้องค่ะ  คลิกปุ่ ม Activate


4
5. หน้าต่าง GstarCAD License Activation
5.1 เลือกที(หวั ข้อ License Key (L)
5.2  Online Activation(O) จะมีช่องให้กรอก Serial Number
5.3  กรอก Serial Number
5.4  ตรวจสอบว่าเลือกเวอร์ชนั( ถูกต้องหรื อไม่
5.5  คลิกที(ปุ่ม Activate
5.6  เมื(อสําเร็ จจะมีหน้าต่าง “Activation Success”  คลิก OK

6. หน้าต่าง GstarCAD-DWG Association ให้เลือกหัวข้อแรก “Always reassociate DWG file with GstarCAD
(Recommended) ” ซึ( งเป็ นการเลือกเปิ ดไฟล์ดว้ ยโปรแกรม GstarCAD ทุกครั*งค่ะ
6
Chapter 2
Starting up GstarCAD 2021

The User Interface


ผูใ้ ช้งานสามารถจัดเรี ยง User Interface หรื อเครื" องมือในการทํางานได้ดว้ ยตัวเอง เพื"อสะดวกในการใช้งาน เช่ น
สามารถสลับไปมาระหว่าง Toolbar, เปลี"ยนธี ม สี ของโปรแกรม ทั8งนี8 ยงั สามารถเปลี"ยนรู ปแบบ Ribbon menu หรื อรู ปแบบ
Classic menuได้อย่างง่าย สามารถ เปิ ดและปิ ด Status bar การตั8งค่าแถบเมนูต่างๆ โดยจะอธิ บายเป็ นลําดับดังนี8
7
. Quick Access Toolbar:
ในส่ วนนี8 จะเป็ นส่ วนที" แสดงเครื" องมือที"ใช้งานบ่ อยเช่ น New, Open, Save, Undo,
Redo, Save As, Plot, Plot Preview และ Help นอกจากนี8ยงั สามารถปรับแต่งแถบ
Quick Access Toolbar โดยการคลิกที"ปุ่ม drop-down ทางด้านขวามือของแถบ Quick
Access Toolbar

2. Workspace Switching:
สามารถสลับหน้าต่างการทํางานได้ 2 รู ปแบบ (2D Drafting และ GstarCAD Classic)

3. Menu Bar:
ผูใ้ ช้งานสามารถเลือกคําสั"งโดยการเข้าไปในเมนู ต่างๆ เช่น File, Edit, View, Insert, Format, Tools, Draw, Dimension,
Modify, Window, Help และ Express.
8
Menus และ Shortcut Menus
ผู ใ้ ช้ง านสามารถใช้ค ํา สั" ง โดยเลื อ กจากเมนู ห ลัก และ และเลื อ กคํา สั" ง ที"
ต้องการใช้งานและถ้าหากผูใ้ ช้งานต้องการเลือกเมนู ใช้งาน เพียงแค่กดปุ่ ม Alt ค้าง
แล้วตามด้วยตัวอักษรที" ขีดเส้นใต้ในเมนู น8 นั ๆเช่นต้องการเปิ ดเมนู Edit ให้กดปุ่ ม
Alt+E ก็จะเป็ นการเลือกใช้คาํ สั"งในเมนู Edit

Shortcut menus ช่วยให้การเข้าถึงคําสั"งที"ตอ้ งการใช้งานทําได้ง่ายและรวดเร็ วมาก


ขึ8นเพียงแค่ผใู ้ ช้งานทําการคลิกขวาที"วตั ถุ หรื อ พื8นที"วา่ งบนหน้าต่างเขียนแบบก็จะมี
หน้าต่าง Shortcut menus ขึ8นมาให้เลือกใช้งาน

Shortcuts Customize
การ Customize คําสั"งจะช่วยให้การทํางานเร็ วขึ8น Shortcut คือ CUSTACC
ข้อดี ของการ Customize ก็คือจะช่วยสร้างคําสั"งใหม่ ลบคําสั"งที" ไม่ใช้ และแก้ไข
คําสั"งเดิมที"มีอยู่ ถ้าผูใ้ ช้งานต้องการสร้างคําสั"งใหม่เพียงแค่กดที"ปุ่ม”New” ก็จะมี
หน้าต่ างการ Customize แสดงขึ8นมาแล้วหลังจากนั8นก็คน้ หาคําสั"งจากรายการ
คําสั"งที"มีอยู่ในโปรแกรมพร้อมทั8งยังสามารถกําหนด Command Line ที"จะแสดง
โต้ตอบกับ ผูใ้ ช้งานได้อีกด้วย
9
ถ้าผูใ้ ช้งานต้องการแก้ไขคําสั"งเดิ มที" มีอยู่ก็ส ามารถทําได้โดยการคลิ กที" Modify เพื" อเข้าสู ้ ข8 นั ตอนการแก้ไข จะมี
หน้าต่างการแก้ไขแสดงขึ8นมา โดยผูใ้ ช้งานสามารถตั8งค่าได้หลายส่ วน
ผูใ้ ช้งานสามารถกําหนดค่าต่างๆได้ เช่น ผูใ้ ช้งานป้ อนเลข 1 เข้าไปเพื"อสร้างเป็ น Shortcut หลังจากนั8นก็สามารถเข้าไป
ที"เดิมเพื"อทําการแก้ไขคําสัง" หรื อ ลบทิ8งก็ได้

4. The Ribbon:
เมนูรูปแบบ ริ บบ้อน เป็ นรู ปแบบที"มีการจัดแบ่งคําสั"งต่างๆออกตามแต่ละหมวดหมู่ เพื"อสะดวกต่อการเรี ยกใช้ นอกจากนี8 ยงั
สามารถเรี ยก Toolbars ออกมาใช้งานควบคู่ได้อีกด้วย

Tab: เมนู แ บบ Ribbon จะเริ" ม ต้น ทํา งานโดยการเลื อ ก


หมวดหมู่ในส่ วนของ Tab ทุกๆ Tab ในหน้าจอ จะมีการแสดง
คําสัง" ย่อยภายใน โดยจะมีรูปไอคอน และ ชื"อคําสัง" นั8นๆ

Panel: เป็ นส่ วนที"แสดงคําสั"งที"มีการใช้งานเป็ นประจํา ไอคอน


บางประเภทจะมีแค่คาํ สั"งหลัก เช่น Move, Copy และบางคําสั"ง
ก็จะมี คาํ สั"งย่อ ย โดยคําสั"งที" มีคาํ สั"งย่อยจะดูไ ด้จ ากปุ่ ม drop-
down
10
Expandable panel: ส่ วนนี8จะอยู่บริ เวณด้านล่างแทบคําสั"งเมื"อทําการคลิกก็จะ
แสดงในส่ วนของคําสัง" อื"นๆที" เกี"ยวข้อง

Expandable tools button: ในบางคําสั"งจะมีคาํ สั"งย่อยโดยดู ที"ไอคอนของคําสั"งไหนถ้ามี


เครื" องหมาย drop-down อยู่แสดงว่าจะมี คาํ สั"งย่อยภายใน เมื"อทําการคลิ กที" drop-down จะมี
ไอคอนคําสั"งย่อยและชื"อคําสั"งนั8นๆแสดงผลอยู่

5. Appearance:
ผูใ้ ช้งานสามารถจัดการ Interface การทํางานได้ดว้ ยตัวเอง ไม่ว่าจะเป็ น Theme ของหน้าจอที"ใช้งาน หรื อ ต้องการจะเปิ ด
Toolbars ที"ตอ้ งการจะแสดงผลก็ได้เช่นกัน
11
6. Drawing Area:
เป็ นส่ วนที"ผใู ้ ช้งานสามารถวาดแบบลงในส่ วนหน้าต่างนี8

7. Toolbars:
เป็ นรู ป แบบการใช้งานคําสั"งแบบ คลาสสิ ค เพี ย งแค่ ผูใ้ ช้งานทําการลากเม้าส์ ไปวางไว้บ นคําสั"งที" ตอ้ งการใช้งาน ก็จะมี
ToolTipบอกชื"อคําสั"งนั8น และถ้าต้องการเริ" มใช้งานก็เพียงแค่คลิกที"คาํ สั"งที"ตอ้ งการก็สามารถเริ" มใช้คาํ สัง" ได้
12
Toolbar ที"อยู่ดา้ นบนบริ เวณหน้าต่างเขียนแบบมีคาํ สั"งที"ใช้งานกันทัว" ไปไม่ว่าจะเป็ นคําสั"ง Copy Pan และ Zoom เหมือนกับ
โปรแกรม Microsoft Office และคําสั"งพื8นฐานเช่น New, Open และ Save หน้าต่างการทํางานของ GstarCAD ในรู ปแบบ
Classic เริ" มต้นจะมีการเปิ ด Toolbar ขึ8นมาให้เลือกใช้งาน หลากหลายเป็ นแถบเครื" องมือเริ" มต้น เช่น

Displaying and Hiding Toolbars


GstarCAD 2021 มี Toolbar ให้เลือกใช้มากมาย ผูใ้ ช้งานสามารถเปิ ดหรื อปิ ด Toolbar ทั8งในหน้าต่างแบบ Ribbon และ
คลาสสิ ค ผูใ้ ช้งานสามารถที"จะย้าย Toolbar ไปตําแหน่งต่างๆเพื"อความสะดวกในการใช้งาน
1. เมื"อผูใ้ ช้งานต้องการเรี ยก Toolbar ขึ8นมาให้ทาํ การคลิกเลือกคําสั"งที"มุมขวาบนชื"อคําสั"ง Appearance จะมีลิสรายการคําสั"ง
ให้เลือกคําสั"ง Toolbars… โปรแกรมจะทําการเปิ ด dialog box ขึ8นมา
2. การเลือก Toolbar ผูใ้ ช้งานสามารถเปิ ดหรื อปิ ดได้โดยโปรแกรมจะมีหน้าต่างแสดงรายการของ Toolbar เพียงแค่ผใู ้ ช้งาน
ติlกเลือก Toolbar ที"ตอ้ งการใช้งานครั8งละหลายๆรายการก็ได้ แล้วคลิก OK ก็จะทําการเปิ ด Toolbar ขึ8นมาให้
13
การจัดวาง Toolbar แบบแนวนอน
ผู ้ใ ช้ ง านสามารถเคลื" อ นย้า ยได้เ พี ย งแค่ ค ลิ ก ซ้ า ยค้ า งที"
ด้านหน้า Toolbar นั8นๆแล้ว ลากเม้าส์ ไ ปตามตํา แหน่ งที"
ต้องการแล้วปล่อยเม้าส์
การจัดวาง Toolbar แบบแนวตัCง
เพียงแค่คลิกซ้ายค้างที" ดา้ นหน้า Toolbar นั8นๆแล้วลากเม้าส์ไปทางซ้ายหรื อขวาของหน้าจอ ตามตําแหน่ งที"
ต้องการแล้วปล่อยเม้าส์

Starting Commands Using Toolbars


การเริ" มต้นใช้คาํ สัง" ด้วย Toolbar เพียงแค่คลิกคําสัง" นั8นๆก็เป็ นการเริ" มใช้งานคําสั"ง

8. User Coordinate System (UCS):


เป็ นไอคอนที"แจ้งสถานะการทํางานว่าทํางานอยู่บน แกน อะไร
14
9. Model Space and Layout Space tabs:
ผูใ้ ช้งานสามารถคลิกที"แท็บทางด้านซ้ายล่างเพื"อสลับหน้าจอระหว่างหน้า Model กับหน้า Layout

10. Command Window:


ในส่ วนของหน้าต่าง Command หรื อที"เรี ยกอีกอย่างว่า Command bar ผูใ้ ช้งานสามารถพิมพ์คาํ สั"งต่างๆเพื"อเริ" มต้นใช้งาน อีก
ทั8งยังแสดงสถานะปั จจุบนั ของโปรแกรมว่าทํางานอยู่ที"ข8 นั ตอนไหน ผูใ้ ช้งานสามารถ ย้ายตําแหน่ งได้เช่นกัน โดยการคลิก
ซ้ายค้างบริ เวณทางซ้ายมือของ Command bar ลากเม้าส์ไปยังตําแหน่งที"ตอ้ งการแล้วปล่อยเม้าส์
เมื"อ Command bar ถูกดึงออกมาจากตําแหน่งเดิม ผูใ้ ช้งานสามารถลากแท็บ Command bar ไปชิดขอบด้านใดด้านหนึ" ง
ของหน้าต่างเขียนแบบได้

Enter Commands on the Command Line


การเริ" มต้นคําสั"งทําได้โดยการพิมพ์คาํ สั"งในช่อง Command Line แล้วกดปุ่ ม
Enter หรื อ Spacebar หรื อ คลิกขวา เพื"อเริ" มต้นใช้งานคําสั"งนั8นๆ บางคําสั"ง ยัง
ใช้ Short Key (คําสัง" ย่อ) ได้ดว้ ย
15
Specify Command Options
เมื"อทําการป้ อนคําสั"ง ใน Command Line จะมีตวั เลือกเสริ ม ให้เลือกตั8งค่า
ให้เลือกตัวเลือกเสริ มที"ตอ้ งการใช้งาน เช่น ใน Command Line มีตวั เลือก
เสริ มเขี ย นว่ า [Object]: ให้พิ ม พ์ตัว อักษรที" เ ป็ นตัว อักษรใหญ่ ล งใน
Command Line แล้วกด Enter หรื อ Spacebar

Execute, Repeat and Cancel Commands


เมื"อทําการเริ" มต้นใช้งานคําสัง" ทัว" ไป จนจบคําสั"งนั8นๆ ถ้าผูใ้ ช้งานต้องการใช้คาํ สั"งเดิมอีกครั8ง สามารถทําได้โดยการกด Enter
หรื อ Spacebar หรื อ คลิกขวา เพื"อเริ" มต้นใช้งานคําสั"งเดิมอีกครั8ง และถ้าต้องการยกเลิกคําสั"งที" ใช้งานอยู่ให้กดปุ่ ม ESC

Nesting a Command
เมื"อผูใ้ ช้งานกําลังใช้งานคําสั"งใดๆก็ตามอยู่ แล้ว ต้อ งการตั8งค่ าในส่ วนอื"น
เพิ"มเติ ม สามารถทําได้ เช่ น ผูใ้ ช้งานต้องการตั8งค่า Object Snap ในขณะที"
กําลังใช้คาํ สั"งวาด วงกลม ผูใ้ ช้งานก็สามารถทําได้โดยการพิมพ์เครื" องหมาย
วรรคตอน แล้วตามด้วยคําสั"งนั8นๆ

ตัวอย่ าง:
Command: circle > Specify center point for circle or [3P/2P/Ttr (tan tan radius)]: 'osnap
(จากนั8นให้ต8 งั ค่า Object Snap ตามต้องการแล้วปิ ดหน้าต่าง Object Snap ไป จะกลับเข้าสู่คาํ สัง" วาด วงกลม)

Enter System Variables on the Command Line


ในส่ วนนี8 จะเกี"ยวกับ ตัวแปรระบบ สําหรับควบคุมวิธีการทํางานของคําสั"งบางคําสั"ง ตัวอย่างเช่น GRIDMODE จะช่วยใน
การควบคุมสถานะของ จุด Grid ให้เปิ ดหรื อปิ ดการทํางาน
16
Using the Prompt History Window
ถ้าผูใ้ ช้งานต้องการเปิ ดหน้าต่างแสดงประวัติการใช้คาํ สั"ง
ของโปรแกรม GstarCAD สามาถทําได้โดยการกดปุ่ ม F2
เพื" อ เปิ ดและปิ ด หน้ า ต่ า งประวัติ ก ารทํา งาน และ ถ้า
ต้อ งการเลื" อ นดู รายละเอี ย ดในการทํา งาน สามารถคลิก
ลูกศรขึ8นลง หรื อกดปุ่ ม Up (↑) and Down (↓) ได้

Switch Dialog Boxes and Command Line


ถ้าผูใ้ ช้งานกรอกคําสั"ง LINETYPE ลงใน Command Line โปรแกรมจะเปิ ดหน้าต่าง Linetype Manager ขึ8 นมา แต่ถา้
ผูใ้ ช้งานกรอกคําสั"ง –LINETYPE ลงใน Command Line โปรแกรมจะมีการแจ้งรายละเอียดที"หน้าต่าง Command Line และ
จะมีตวั เลือกเสริ ม เพื"อกําหนดค่า ดังนี8
-ATTDIA ใช้สาํ หรับควบคุมการ INSERT ของผูใ้ ช้งาน โดยการกําหนดค่า
-EXPERT ใช้สาํ หรับควบคุม หน้าต่างการแจ้งเตือนที"แสดงบนหน้าจอ
-FILEDIA ใช้สําหรับควบคุม หน้าต่างโต้ตอบ สําหรับคําสัง" ที"เกี"ยวกับการ อ่านและเขียนไฟล์
ตัวอย่ าง
ถ้า FILEDIA ถูกตั8งค่าไว้ที" 1 เมื"อใช้คาํ สั"ง Open File จะมีหน้าต่างโต้ตอบ แต่ถา้ ตั8งค่าเป็ น 0 เมื"อใช้คาํ สั"ง Open File จะเป็ น
การใช้งานที" Command Line

Dynamic Input
เป็ นหน้าต่ างการแจ้งสถานะต่ างๆที" ลอยอยู่ใกล้ๆกับ เคอร์ เซอร์ เม้าส์
ส่ วนนี8จะช่วยให้ผใู ้ ช้งานสะดวกในการป้อนคําสัง" และแสดงข้อมูล เพียง
แค่คลิกปุ่ ม DYN ที" Status Bar เพื"อเปิ ดหรื อปิ ดคําสัง" ในส่ วนนี8

11. Status Bar:


ในส่ วนนี8 จะเป็ นการแสดงสถานะต่างๆของการทํางานไม่ว่าจะเป็ น Snap, Grid, Ortho, Polar, Osnap, Otrack และการตั8งค่า
อื"นๆ ในส่ วนนี8 จะช่ วยให้การเข้าถึงการตั8งค่าต่างๆทําได้เร็ วมากยิ"งขึ8น เพียงแค่ผูใ้ ช้งาน ทําการคลิกขวา แล้วเลือกรายการที"
ต้องการจะแสดงเป็ นทางลัดไว้ที" Status Bar
17

ผูใ้ ช้งานสามารถคลิกเม้าส์ขวาที" Status Bar แล้วเลือกคําสัง" Use Icon เพื"อเปิ ดหรื อปิ ด Icon ที" Status Bar

12. Properties Palette:


ผูใ้ ช้งานสามารถปรับเปลี"ยนค่าต่างๆหรื อคุณสมบัติของวัตถุ ที"คุณต้องการในแต่ละส่ วนได้ ในส่ วนของ Properties Palette
จะแสดงรายละเอียดของวัตถุที" เราทําการเลือกไว้ ถ้าไม่มีวตั ถุที"ถูกเลือก จะแสดงสถานะทัว" ไปและถ้าโปรแกรมไม่มีการ
แสดงหน้าต่ าง Properties Palette ให้ดบั เบิ8ลคลิ กที" วตั ถุที"ตอ้ งการดูรายละเอี ยด โปรแกรมก็จะแสดงหน้าต่าง Properties
Palette แต่วิธีการนี8 จะไม่สามารถใช้ได้กบั วัตถุที"เป็ น Block, Hatch Pattern, Text, Multiline, External Reference หรื อ
Gradient fill
18

Quick Properties
เครื" องมือ Quick properties ช่วยในการแสดงผลในหน้าต่างคุณสมบัติ เมื"อเลือกที" วตั ถุ จะมีแถบ เครื" องมือ
Quick properties ขึ8นมาแสดงทันที ทําให้ช่วยประหยัดเวลา และลดพื8นที"การแสดงผลของแถบ properties
สามารถ ตั8งค่าที" CUI ได้
Customize the Drawing Environment
ใน GstarCAD ผูใ้ ช้งานสามารถปรับเปลี"ยน สิ" งต่างๆให้เหมาะสมและตรงกับความต้องการของผูใ้ ช้งาน
Set Interface Options
ในการตั8งค่า Option ผูใ้ ช้งานสามารถตั8งค่าส่ วนต่างๆเกี"ยวกับ Interface ซึ" งมีผลกับ หน้าต่างการวาดแบบและสภาพแวดล้อม
ของหน้าต่างวาดแบบ
19
Settings of Modifying Interface
Automatic Save (Open and Save tab) : ผูใ้ ช้งานสามารถตั8งค่า เกี"ยวกับ Open และ Save ได้โดยเลือกเปิ ดการ Save แบบ
Automatic และกําหนดระยะเวลาในการ Save เป็ นนาที

Color (Display tab):


สามารถกําหนด สี ของพื8นหลังทั8งหน้าต่าง Model และ Layout รวมถึงเส้นCrosshair ด้วย
Font (Display tab):
สามารถเปลี"ยน รู ปแบบตัวอักษรที"ใช้ในหน้าต่างโปรแกรมแต่การตั8งค่าในนี8 จะไม่ส่งผลกระทบต่อ Text ในหน้าต่างวาด
แบบ
20
Search Path (Files tab):
สามารถกําหนดการค้นหาไฟล์ต่างๆได้จากในส่ วนนี8 ไม่วา่ จะเป็ น Text, Drawings, Linetypes และ Hatch Patterns

Save and Restore Profiles


ผูใ้ ช้งานสามารถสร้ าง Profiles ที"แตกต่างกันสําหรับ ผูใ้ ช้งานแต่ ละคนได้ เหมาะสําหรั บเครื" องคอมพิ วเตอร์ ที"มีผูใ้ ช้งาน
มากกว่าหนึ" งคน สามารถนําเข้าและส่ งออก Profiles ได้ดว้ ย
21
GstarCAD จะมีการเก็บรายละเอียดของระบบไว้ดว้ ย เมื"อต้องการคืนค่าต่างๆ สามารถแก้ไขใน Registry ได้ดว้ ย และ ถ้า
ต้องการแก้ไขระบบ แนะนําให้ทาํ การ Export Profiles ออกมาก่อนเพื"อป้ องกันการเปลี"ยนแปลงของ ข้อมูล

Tool Palettes
Tool Palettes เป็ นส่ วนที" ช่วยให้การทํางานง่ายมากยิ"งขึ8น เมื"อผูใ้ ช้งานมีวตั ถุที"สร้างเป็ น Block หรื อ External References
(xrefs) ผูใ้ ช้งานสามารถ คลิกซ้ายค้างแล้วลากไปวางใน Tool Palettes ได้ดว้ ย ผูใ้ ช้งานสามารถแก้ไขรายละเอียดต่างๆของ
Tool Palettes ได้ดว้ ยไม่วา่ จะเป็ น การสร้างPaletteใหม่ การลบทิ8ง การเปลี"ยนชื" อ การปรับแต่ง สามารถกดปุ่ ม CTRL+3 เพื"อ
เปิ ดหรื อปิ ด หรื อพิมพ์ TOOLPALETTES ใน Command bar

Design Center
ด้วยคําสั"ง Design Center จะช่วยให้ผูใ้ ช้งานสามารถเข้าถึงข้อมูลของ File นั8นๆด้วยโดยแบ่งเป็ นสัดส่ วนมีท8 งั Block, Text
style และ ส่ วนอื"นๆใน File นั8นๆ เช่น
- ค้นหา File ที"อยู่ในเครื" อง หรื อ ในระบบ Network ได้
- สร้างทางลัดไปยัง File หรื อ Folder ที"เข้าถึงบ่อยๆ
- เพิ"มวัตถุเกี"ยวกับ Xref, Block ได้
- คลิกซ้ายค้างและลาก Block ไปวางไว้ใน Tool Palettes ได้
Folders Tab: เป็ นส่ วนที" ช่วยให้ผูใ้ ช้งานเข้าถึง File ที"อยู่ในเครื" องคอมพิวเตอร์ และในระบบ Network ได้โดยง่ายและยัง
รองรับ File ที"มีการใช้งาน Xref ด้วย และในส่ วนนี8 จะเป็ นส่ วนที"คดั กรอง File แบ่งแยกออกเป็ นส่ วนๆไม่ว่าจะเป็ น Block,
Layer, Linetype, Text Style และ Dimension Style
22
Open Drawings: เป็ นส่ วนที"แสดงว่า ปัจจุบนั เปิ ดไฟล์อะไรอยู่รวมถึงสามารถเข้าถึงส่ วนต่างๆได้ดว้ ย
History: ในส่ วนนี8จะมีการแสดงรายการที" เคยเปิ ด File มาใช้งาน เพียงแค่ Double-Click รายการนั8นๆ ก็จะเป็ นการเข้าถึง
ไฟล์น8 นั ๆอีกครั8ง
Favorites: ถ้าผูใ้ ช้งานต้องการเข้าถึง File อย่างรวดเร็ ว สามารถเลือก File นั8นๆและเลือก Add to Favorites ได้

คําสัง" Workspace
Workspace คือการเปลี"ยนพื8นที"ทาํ งานและตําแหน่งของเครื" องมือ ที"หน้าต่าง interface ตามความต้องการของผูใ้ ช้งาน
นอกจากนั8นผูใ้ ช้งานสามารถดึงเครื" องมือ Toolbar ต่างๆ และบันทึกเป็ น interface ของผูใ้ ช้งานเก็บไว้ใช้งานได้
~.~ พิมพ์คาํ สัง" Workspace ที" Command
~.• จากนั8นเลือกรู ปแบบ setCurrent , SAveas , Edit , Rename , Delete
setCurrent - ใช้เปลี"ยนหน้า interface
SAveas - save interface ที"เราดึง toolbar ออกมา และตั8งเป็ น interface ของตัวเอง
Edit - แก้ไข interface
Rename - เปลี"ยนชื"อ interface
Delete - ลบ interface
23
คําสัง" MOVEBAK.
Movebak เป็ นคําสัง" ที"ช่วยจัดเก็บไฟล์ bak. ( ไฟล์ backup ) ให้จดั อยูใ่ นโฟลเดอร์ที"เราต้องการ
€.~ ให้เราพิมพ์คาํ สั"ง MOVEBAK.

€.• จากนั8น copy ที"อยูข่ องไฟล์ทเี" ราต้องการจัดเก็บในโฟลเดอร์น8 นั นํามาวางไว้ จากนั8นไฟล์งาน BAK.


จะจัดเก็บไว้ในโฟลเดอร์ที"เราต้องการ
24
Chapter 3
Create, Open, Save and Recover a Drawing

Create a Drawing
Create a New Drawing Using Default Settings
เมือเริ มต้นโปรแกรมจะมีการตังค่าเริ มต้นไว้ให้โดยจะมี หน้าต่างโต้ตอบสําหรับผูใ้ ช้งานในการตังค่าเริ มต้นการ

สร้าง File ใหม่


ผูใ้ ช้งานสามารถเลือกหน่วยทีใช้ในการวาดแบบได้มีให้เลือกทังแบบ Imperial และ Metric
- รู ปแบบ Imperial กําหนดค่าเริ มต้นโดยมีขอบเขตเป็ น 12 x 9 นิว
- รู ปแบบ Metric กําหนดค่าเริ มต้นโดยมีขอบเขตเป็ น 429 x 297 มิลลิเมตร

Create a New Drawing Using a Setup Wizard


การสร้าง File ในส่ วนนีจะเป็ น หน้าต่างโต้ตอบชือว่า Use a Wizard และจะมี Wizard Options ช่วยในการสร้าง
25
Advanced Setup Wizard:
ในส่ วนนี ผูใ้ ช้งานสามารถตังค่า Units of Measurement, Precision of Displayed units และ Grid Limits นอกจากนี ยัง
สามารถตังค่าอืนๆได้อีกเช่น Measurement Style, Precision, Direction รวมถึงการกําหนด Template ด้วย

Quick Setup Wizard:


ผูใ้ ช้งานสามารถกําหนด Units of measurement, precision of displayed units, and grid limits รวมถึงการกําหนด Template
ด้วย
Create a New Drawing Using Template
เมือผูใ้ ช้งานต้องการสร้าง File ใหม่ขึนมาใช้งานสามารถสร้างใหม่ได้โดยการเลือกในส่ วนของ Drawing Template
เพือประหยัดเวลาในการกําหนดรายละเอียดใหม่ โดยผูใ้ ช้งานสามารถตังค่ารายละเอียดต่างๆได้หลายส่ วนไม่ว่าจะเป็ น Unit
type and precision, Title blocks, Borders และ Logos, Layer names, Snap, Grid และ Ortho settings, Grid limits,
Dimension styles, Text styles และ Linetype
26
ถ้าผูใ้ ช้งานต้องการเปิ ด File Drawing Template
เมือใช้คาํ สัง New จะมี หน้าต่ างโต้ตอบแสดงขึ นมาให้
เลื อ ก ในส่ ว นของ Use Template และทํา การเลื อ ก
Drawing Template ทีต้องการ

Open a Drawing
Open a Drawing
ผูใ้ ช้งานสามารถเปิ ด File มาตรฐานทีใช้งานได้ไม่ว่าจะเป็ น File Drawing (.dwg), Drawing Exchange Format (.dxf) และ
Drawing Template (.dwt) นอกจากนีผูใ้ ช้งานยังสามารถตรวจสอบไฟล์ทีสงสัยว่าจะเสี ยหายได้ดว้ ย

คําสั&ง Open Drawing:


File > Open
Command line > OPEN Using shortcut > CTRL + O
- ในหน้าต่างโต้ตอบ ให้ผชู ้ ง้ านเลือก File ทีต้องการเปิ ด
- เลือก Folder ทีมี File ทีต้องการเปิ ด
- เลือก File .Dwg ทีต้องการเปิ ด หรื อ Double Click ที File เพือ
ทําการเปิ ด

หมายเหตุ:
ถ้าผูใ้ ช้งานต้องการใช้รหัสผ่าน เพือเปิ ด File ให้ทาํ การใส่ รหัส
แล้วกดปุ่ ม OK ยืนยันรหัสผ่านแล้วเปิ ด File อีกครัง
Multiple Open Drawings
ผูใ้ ช้งานสามารถเปิ ด File ได้ทีละหลายๆ File พร้อมกันและยังสลับไปมาระหว่าง File ได้ดว้ ย
27
- เมือต้องการสลับ File สามารถคลิกทีแถบของ File นันๆ หรื อใช้ Shortcut keys (Ctrl + Tab) ก็ได้
- ผูใ้ ช้งานสามารถเปลียนรู ปแบบหน้าต่าง Display ได้ทงแบบ ั แนวตัง และ แนวนอน โดยตังค่าได้ในส่ วนของเมนู Window
และยังจัดการหน้าต่างเขียนแบบทีหละหลายๆหน้าได้โดยการใช้คาํ สัง Arrange Icons
หมายเหตุ:
การใช้คาํ สัง สลับเปลียนมุมมอง จะทําได้กต็ ่อเมือผูใ้ ช้งานเปิ ดมุมมองตังแต่ 3 มุมมองขึนไป

Save a Drawing
Save a Drawing
ผูใ้ ช้งานสามารถ Save File เผือใช้งานในครังต่อไปได้ ผูใ้ ช้งานยังสามารถตังค่าการ Save แบบอัตโนมัติและตังค่าการ
Save แบบมี Backup File ได้ดว้ ย นอกจากนี ผูใ้ ช้งาน Save เป็ น File Drawing Exchange Format (.dxf) หรื อ File Drawing
Template (.dwt) สําหรับผูใ้ ช้งานทีต้องการสร้างรู ปแบบมาตรฐานไว้ใช้งาน
28
คําสัง Save a Drawing:
File > Save
Command line > SAVE Using Shortcut > CTRL+S
หมายเหตุ:
เมือผูใ้ ช้งานทําการ Save ไฟล์ครังแรกโปรแกรมจะทําการแสดหน้าต่างโต้ตอบเพือให้ผูใ้ ช้งานกําหนดรายละเอียดต่างๆ เช่น
ชือ, Versions

Save Your Drawing Automatically


ผูใ้ ช้งานสามารถ กําหนดการ Save File แบบอัตโนมัติ เผือลดปั ญหาการ Save
ให้เหลือน้อยทีสุ ด
ถ้าผูใ้ ช้งาน เริ มการใช้งานคําสัง Save แบบอัตโนมัติ File จะถูก Save ตามเวลาที
กําหนดโดยไฟล์ที Save จะถูกตังชือให้เป็ น (ชื อFile.ac$) สําหรับการ Save แบบชัวคราว
ส่ วนชือFile จะตรงตามต้นฉบับ

Save Part of a Drawing File


ผูใ้ ช้งานสามารถเลือกรู ปแบบไฟล์ทีจะทําการ Save ได้ในหน้าต่าง
โต้ตอบ และยังสามารถเลือกการ Save เป็ น Version เก่ าก็ได้ หรื อ
ผูใ้ ช้งานจะ Save เป็ น File .DXF หรื อ .DWT ก็ได้เช่นกัน
29
Save to a Different Type of Drawing File
ผูใ้ ช้งานสามารถเลือก format จากการกด Drop Down List ใน Save as Type ตามรู ป คุณสามารถ Save ไฟล์ version ต่างๆ
ของ DWG หรื อ DXF หรื อ DWT ได้

คําสั&ง Save a Different Format:


File > Save As
Command line > SAVE AS Using shortcut > SHIFT+CTRL+S

Use Backup Files


GstarCAD สามารถสร้าง Backup File ได้โดยชื อ File จะเป็ นชื อเดียวกับต้นฉบับและนามสกุลจะเป็ น “.bak”
ผูใ้ ช้งานสามารถเริ มใช้คาํ สังนีได้โดยคลิกทีช่อง “Create backup copy with each save” ในส่วนของ Option

Reduce the Time Required to Save a Drawing File


เพือลดระยะเวลาในการ Save File ผูใ้ ช้งานสามารถกําหนดค่าใน
ส่ ว นของ “Incremental save percentage” หรื อจะใช้ ค ํา สั ง
“ISAVEPERCENT” ใน Command line ก็ได้เช่นกัน
30
เมือมีการตังค่าการ Save File ที มี ขนาดเล็กก็จะมี การแสดงผลการเปลี ยนแปลงแค่ บางส่ วนเท่านันและเมื อเพิ ม
เปอร์เซ็นต์มากขึนไปเรื อยๆ จนถึงค่าสู งสุ ดก็จะเพิมสัดส่ วนในการเปลียนแปลงไปเรื อยๆ
Recover a Drawing
Recover a Damaged File
ผูใ้ ช้งานสามารถกู้ File ทีมีปัญหาได้อาจจะแค่บางส่ วนหรื อทังหมดของ File โดยการ
ใช้ File Backup ไม่ว่า File ต้นฉบับจะเสี ยหายจากอะไรก็ตาม เช่ น การเสี ยหายทีเกิดจาก
Hardware, ไฟฟ้าดับ หรื อ ระบบล่ม การสร้าง File Backup ไว้ จะเป็ นตัวช่วยทีสําคัญมาก

ผูใ้ ช้งานสามารถเปิ ดใช้งานในส่ วนของการ Save แบบอัตโนมัติ และการสร้าง File


Backup ได้ โดยการเข้าไปในส่ วนของ Open and Save ในหน้าต่าง Options ในหัวข้อ File
Safety Precautions จะมีในส่ วนของ Automatic save และสามารถกําหนดเวลาในการ Save
แบบอัตโนมัติ ในช่อง “Minutes between saves” แล้วการสร้าง Backup File ให้คลิกในช่อง
Crate backup copy with each save เป็ นการเริ มใช้คาํ สังสร้างไฟล์ Backup
ผูใ้ ช้งานสามารถใช้คาํ สัง RECOVER เพือกูค้ ืน File ทีมีปัญหา และใช้คาํ สัง AUDIT เพือค้นหาและแก้ไขข้อผิดพลาด
คําสัง Open a Damaged File:
File > Drawing Utilities > Recover
Command line > RECOVER

- ในหน้าต่างโต้ตอบให้เลือกรู ปแบบ File ทีต้องการ กูค้ ืน


- เลือก ไดเรกทอรี ทีมี File ทีเสี ยหายอยู่
- เลือก File ทีเสี ยหายและคลิกปุ่ ม Open หรื อ Double Click
ที File ทีผูใ้ ช้งานต้องการเปิ ด
31
คําสัง Check Errors for a Drawing file:
File > Drawing Utilities > Audit
Command line > Audit

1. เปิ ด File ทีต้องการตรวจสอบ, คลิกเมนู File > Drawing Utilities > Audit
2. ป้อนค่า Y หรื อ N เพือกําหนดว่าต้องการตรวจสอบแบบอัตโนมัติหรื อไม่แล้วกดปุ่ ม Enter

Drawing Recovery Manager


ปัญหาจะสิ นสุ ดลง ไม่ว่าจะเป็ นปั ญหาจะเกิดมาจาก Hardware, ไฟฟ้ าขัดข้อง หรื อ
ปั ญหา Software ที ไม่สามารถสํารองข้อมูลได้ ในส่ วนนี โปรแกรมมีตวั ช่ว ยตัดการชื อว่า
“Drawing Recovery Manager” ซึ งจะช่ วยสํารองข้อมูลที ได้รับ การปิ ดโดยไม่ได้ตงใจ ั
ผูใ้ ช้งานสามารถ Double Click ทีรายชือในส่ วนของ “Backup Files” และถ้าไฟล์ตน้ ฉบับมี
ปัญหา โปรแกรมจะทําการดึงไฟล์ Backup มาให้

เมือโปรแกรม หยุดการทํางานเพราะมีปัญหา File จะถูกกูค้ ื นและจัดเรี ยงออกเป็ น


ประเภทดังต่อไปนี
- การกูค้ ืน File Drawing เมือโปรแกรมเกิดความผิดพลาด (DWG)
- การ Save แบบอัตโนมัติ เรี ยกว่า “Auto-save” (ac$)
- File Backup (BAK)
32
- ตามแหล่งทีมาของ Drawing File (DWG)

DWG Convert
ช่วยแปลงไฟล์ DWG ได้ทีละหลายไฟล์ๆ ในครังเดียว โดยแปลงจาก version ปั จจุบนั ให้เป็ น version ที ต้องการได้ ซึ ง
โปรแกรม สามารถแปลงไฟล์ได้หลายเวอร์ชนั เช่น 2000,2004,2007,2010,2013
4.1 ให้พิมพ์คาํ สัง Command > dwgconvert
4.2 เลือก Add ไฟล์ทีต้องการ Convert เข้ามา จากนันเลือกเวอร์ชนที
ั ต้องการแปลง
4.3 กดปุ่ ม Convert
32
Chapter 4
Control the Drawing Views
Redraw and Regenerate a Drawing
เมือผูใ้ ช้งานวาดแบบไปเรื อยๆ การแสดงผลอาจจะยังมีส่วนทีแสดงผลไม่สมบูรณ์อยู่ ผูใ้ ช้งานสามารถใช้คาํ สังช่วยให้
การแสดงผลสมบูรณ์ได้ เช่น Redraw หรื อ Regen
คําสัง Redraw:
View > Redraw
Command line > REDRAW
คําสัง Regen:
View > Regen
Command line > REGEN

วัตถุบางประเภท จะยังมีผลกับ File อยู่เนื องจากบางครัAงผูใ้ ช้งานได้มีการลบวัตถุออกไปแล้ว แต่โปรแกรมยังจําค่า


ต่างๆอยู่ โปรแกรมจะบันทึกข้อมูลนีAในส่ วนของ Database

Magnify a View (Zoom)


33
ผูใ้ ช้งานสามารถใช้คาํ สัง Zoom เพือปรับเปลียนมุมมองตามที ต้องการได้ ผูใ้ ช้งานสามารถปรั บเปลี ยนมุมมองได้
ตลอดเวลา เมือใช้คาํ สัง Zoom เคอร์ เซอร์จะเปลียนเป็ นรู ปแว่นขยาย คุณสามารถดูรายละเอียดไม่ว่าจะเป็ นการ Zoom Out
เพือดูรายละเอียดโดยรวม และ Zoom In เพือขยายดูเฉพาะส่ วนทีต้องการ
หมายเหตุ:
ถ้าผูใ้ ช้งานทํางานในหน้าต่าง Layout บางครัAงจะถูกล๊อคไว้ไม่ให้ Zoom ได้ เพราะในหน้าต่าง Layout สามารถล๊อคไว้เพือ
จํากัดขอบเขตตามต้องการได้

Zooming Methods
สําหรับคําสัง Zoom ผูใ้ ช้งานสามารถใช้งานได้ดงั ต่อไปนีA
- เมือต้องการ Zoom เฉพาะส่ วนสามาถใช้คาํ สัง Zoom และวาดเป็ นรู ป สี เหลียม
- เมือต้องการ Zoom แบบ Real Time ก็ใช้คาํ สัง Zoom Real Time ทีอยู่ใน Standard Toolbar
- ผูใ้ ช้งานสามารถใช้ลูกกลิAงเม้าส์เพือ Zoom In และ Zoom Out ได้

Zoom To Magnify a Specified Rectangular Area


ผูใ้ ช้งานสามารถใช้คาํ สัง Zoom แล้ววาดเป็ นรู ป สี เหลียม บริ เวณทีต้องการจะ Zoom บริ เวณทางด้านซ้ายล่างของกรอบ
สี เหลียมจะเป็ นมุมซ้ายล่างของคําสัง Zoom
34
คําสัง Zoom แบบ Window:
View > Zoom > Window
Command line > ZOOM
- เลือกเมนู View > Zoom > Window
- คลิกตําแหน่งมุมใดมุมหนึ งและลากเม้าส์ครอบบริ เวณทีต้องการ Zoom
- คลิกตําแหน่งตรงข้ามมุมแรกเผือทําการ Zoom In บริ เวณทีต้องการ

Zoom in Real Time


ตัวเลือกสําหรับการ Zoom มีรูปแบบ Real Time ให้ใช้งานด้วยเพือช่วยให้การซู มง่ายขึAนโดยทําการคลิกเม้าส์ขวาและเลือก
คําสัง Zoom เมือต้องการ Zoom In หรื อ Zoom Out เพียงแค่คลิกเม้าส์คา้ ง และ ขยับเม้าส์ขA ึนและลงก็สามารถทําการ Zoom
ได้ตามทีต้องการ

คําสัง Zoom แบบ Real Time:


View > Zoom > Realtime
Command line > RTZOOM
-เลือกเมนู View > Zoom > Realtime
-คลิกเม้าส์ซ้ายค้าง และลากไปด้านบนหรื อล่างเพื อทําการ Zoom In หรื อ
Zoom Out
Displaying the Previous View of a Drawing
35
หลังจากที ผูใ้ ช้งาน Zoom In เข้าไปใน Drawing เพือช่วยให้การทํางานสามารถลงรายละเอียดได้มากขึAนแล้วและถ้า
ผูใ้ ช้งานต้องการ Zoom กลับมาดูภาพรวม ก็สามารถทําได้ช่นกันโดยเลือกทีเมนู View > Zoom และเลือกคําสัง Previous จะ
ช่วยให้ยอ้ นกลับมาทีมุมมองก่อนหน้านีA อีกทัAงยังสามารถย้อนกลับมาได้สูงสุ ด 25 ครัAงก่อนหน้านีAได้ดว้ ย

Zooming to a Specific Scale


ผูใ้ ช้งานสามารถปรับเปลียนมุมมองได้โดยการใช้คาํ สัง Zoom และถ้ามีการกําหนดจุดที แน่นอนอยู่แล้วก็สามารถใช้
คําสัง Zoom Scale เพือกําหนดตําแหน่ง และ ระยะการซูมได้ทีสําคัญ จุดศูนย์กลางก็ยงั คงอยูก่ ึงกลางหน้าจออีกด้วย
คําสัง Zoom Scale:
View > Zoom > Scale
Command line > ZOOM
- เลือกเมนู View > Zoom > Scale
- บน Toolbar Zoom คลิกคําสัง Zoom Scale
- พิมพ์ ZOOM ใน Command line และเลือกตัวเลือกเป็ น Scale แล้วกด Enter
- พิมพ์ขนาด Scale ตามทีผูใ้ ช้งานต้องการ
- กด Enter

Displaying the Entire Drawing


ตัวเลือก ZOOM Extents:
จะเป็ นคําสังทีช่วยให้เห็นวัตถุทA งั หมดใน Drawing และขอบเขตกว้างทีสุ ดมีผลกับ Layer ทีปิ ดอยู่แต่จะไม่มีผลกับ Layer ทีมี
การFreeze
36
ตัวเลือก ZOOM All:
เป็ นการ Zoom วัตถุทA งั หมดทีอยูใ่ นระยะทีผูใ้ ช้งานได้กาํ หนดไว้ก่อนแล้ว
ผูใ้ ช้งานสามารถใช้คาํ สัง Zoom All และ Zoom Extents ใน Toolbar เพือช่วยให้สามารถกําหนดมุมมองได้ง่ายมากยิงขึAน

Pan and View


ผูใ้ ช้งานสามารถใช้คาํ สัง Pan เพื อช่ วยในการ เคลื อนย้ายมุมมองไปยังตําแหน่ งที ต้อ งการ ไม่ว่าจะเป็ นด้านบน
ด้านล่าง ด้านซ้าย ด้านขวา หรื อมุมทแยง สําหรับ Drawing ที มีขนาดใหญ่ และมีขอบเขตที กว้างจะช่วยให้ผูใ้ ช้งานเข้าถึง
ตําแหน่งทีต้องการได้โดยง่าย
- สําหรั บการ Pan จะให้กาํ หนดตําแหน่งทัAงหมด สองตําแหน่ ง ตําแหน่งที หนึ งคือตําแหน่ งเริ มต้นสําหรับคําสัง Pan และ
ตําแหน่งทีสองเป็ นตําแหน่ งขอบเขตทีต้องการแสดงผลทีหน้าจอ
- สําหรับคําสัง Pan Real Time ก็มีคาํ สังทีรองรับเหมือนกันคือคําสัง Pan Realtime ทีอยู่ใน Toolbar Standard
- ถ้าผูใ้ ช้งานต้องการใช้ ลูกกลิAงเม้าส์ในการ Pan ให้คลิกค้างแล้วทําการลากเม้าส์ไปยังตําแหน่งที ต้องการ

คําสัง Pan Real Time:


View > Pan > Realtime
Command line > PAN
- เลือกเมนู View > Zoom > Realtime
- คลิกเม้าส์ซา้ ยแล้วลากไปยังตําแหน่ งทีต้องการ
- เมือต้องการหยุดคําสังให้กด Enter, ECS หรื อเลือก
คําสัง Exit ใน Shortcut เมนู

คําสัง Pan ด้วย ลูกกลิงA เม้าส์:


- กดลูกกลิAงเม้าส์คา้ งและลากเม้าส์ไปตามตําแหน่ งที
ผูใ้ ช้งานต้องการ

Display Multiple Views on Model Space


เมือผูใ้ ช้งานทําการสร้างไฟล์ Drawing ขึAนมาใหม่ หน้าต่างจะมีการแสดงผลออกมา หนึ งหน้าจอ ผูใ้ ช้งานสามารถเพิม
หน้าจอเองได้ เพือทีจะช่วยในการวาดแบบ หลากหลาย มุมมอง
37
Set Model Space Viewports
หน้าต่าง Viewport จะถูกสร้างขึAนมาบน Model Tab หน้าต่างที ถูกสร้างเพิมเติมขึAนมา จะไม่ถูกทับซ้อนกัน ผูใ้ ช้งาน
สามารเปลียนมุมมองในแต่ละ Viewport ได้โดยการดําเนิ นการดังต่อไปนีA
- ตัAงค่า Snap, Grid และ รู ปแบบ UCS Icon ทัAง Pan Zoom และเปลียนชือมุมมอง
- เมือใช้คาํ สังผูใ้ ช้งานสามารถกําหนดขอบเขตจากมุมหนึงไปยังอีกมุมหนึ ง
- ชือของ Viewport ผูใ้ ช้งานสามารถนําไปแสดงผลที Model Tab หรื อ แทรกเข้าไปใน Layout Tab ก็ได้
- เมือมีการทํางานบน 3D Model ก็สามารถตัAงค่ามุมมองเฉพาะผูใ้ ช้งานได้

Working with Multiple Views of a Single Drawing


ผูใ้ ช้งานสามารถเปิ ดการทํางานหลายมุมมองใน Drawing เดี ยวกันได้ หลังจากที ผูใ้ ช้งานทําการแบ่ งมุมมองใน
Drawing แล้ว ผูใ้ ช้งานสามารถควบคุม แต่ละมุมมองได้อย่างอิสระ ตัวอย่างเช่น ถ้ามีการใช้คาํ สัง Zoom หรื อ Pan ในมุมมอง
ใดมุมมองหนึ งก็จะมีผลแค่มุมมองนัAนมุมมองเดียว ในขณะเดียวกัน ถ้ามีการวาดแบบ ทีมุมมองใดก็แล้วแต่ มุมมองอืนจะมี
การเปลียนแปลงด้วยเช่นกัน และผูใ้ ช้งานก็สามารถสลับการทํางานแต่ละมุมมองได้ตลอดเวลา
คําสัง Create Multiple Views:
View > Viewports
Command line > VPORTS
- เลือกเมนู View > Viewports
- ในเมนู Viewports ให้เลือก มุมมองที การ 1,2,3 หรื อ 4
- พิมพ์ H ถ้าผูใ้ ช้งานต้องการแบ่งมุมมองเป็ น แนวนอน และพิมพ์ V ถ้าต้องการแบ่งมุมมองเป็ น แนวตัAง
คําสัง Join Two Views:
38
View > Viewports > Join
Command line > VPORTS
- เลือกเมนู View > Viewports > Join
- คลิกเลือกมุมมองทีต้องการสร้างเก็บไว้
- คลิกมุมมองที ต้องการจะนํามารวมกันกับมุมมองแรกทีเลือกไว้
คําสัง Restore a Named Window Configuration:
- พิมพ์ –VPORTS ใน Command line และ กด Enter
- แล้วพิมพ์ Restore
- แล้วพิมพ์ชือ มุมมองทีต้องการจะ คืนค่า

Working with Multiple Drawings


ด้วยหน้าต่างอินเตอร์ เฟซของโปรแกรม ช่วยให้ผใู ้ ช้งานเปิ ด File และทํางานได้หลายๆ Drawing ในเวลาเดียวกัน
ผูใ้ ช้งานสามารถใช้คาํ สังไม่ว่าจะเป็ น Copy, Cut หรื อ Paste กับวัตถุต่างๆจาก Drawing หนึ งไปยัง Drawing อืนๆ ด้วย
39
โปรแกรมทําให้ผูใ้ ช้งานสามารถจัดแบ่งหน้าต่างการทํางานโดยการจัดเรี ยง Drawing ไว้ต่างส่ วนต่างๆของหน้าจอ อีกทัAง
โปรแกรมก็ยงั มีรูปแบบการจัดตําแหน่ งหน้าจอให้เลือก หลายรู ปแบบ ดังนีA
- Cascade
- Tile Horizontally
- Tile Vertically

View Manager
ผูใ้ ช้งานสามารถสร้างมุมมองของตัวเองได้โดย ใช้คาํ สัง View โปรแกรมจะทําการเปิ ดหน้าต่าง View Manager สามารถ
แก้ไขรายละเอียดต่างๆได้ เช่น สร้างมุมมอง, ตัAงค่าปัจจุบนั , ปรับปรุ ง, เปลียนชือ หรื อ ลบมุมมอง

Specify a 3D View
ผูใ้ ช้งานสามารถตัAงค่า มุมมองแบบ 3D เพือความสะดวกในการ
ทํางานกับวัตถุทีเป็ น 3D ผูใ้ ช้งานสามารถกําหนดมุมมองใหม่เพื อ สร้ าง
วัตถุ หรื อ แก้ไขวัตถุ ทีเป็ น 3D
40
Set the Viewing Direction
เมือมีการตัAงค่ามุมมอง ผูใ้ ช้งานสามารถเปลียนทิ ศทางมุมมองได้ เพือจะช่วยให้เห็นมุมมองทัAง 3แกน และสามารถ
ปรับเปลียนมุมมองใหม่ได้โดยการกําหนดค่าให้แสดงผลเป็ น 3D ไม่วา่ จะเป็ นการใช้มุมมองมาตรฐาน หรื อการตัAงค่ามุมมอง
ใหม่ (โปรแกรมจะแสดงหน้าต่างโต้ตอบ)
คําสังการตัAงค่า New Viewing Direction:
View > 3D Views > Viewpoint Presets
Command line > DDVPOINT
- เลือกเมนู View > 3D Views > Viewpoint Presets
- ตัAงค่า มุมของมุมมอง โดยเลือกหัวข้อหลักคือ “Absolute to WCS” และ “Relative to UCS”หลังจากกําหนดค่าเสร็ จให้คลิก
ปุ่ ม OK

คําสั,ง Display a Plan View of the Current Drawing:


View > 3D Views > Plan View
Command line > PLAN
- เลือกเมนู View > 3D Views > Plan View from the main menu
- จะให้เลือกทีผูใ้ ช้งานต้องการทัAงหมด สามรู ปแบบ: Current UCS, World UCS and Named UCS
41

Isometric View
ผูใ้ ช้งานสามารถเปลียนมุมมองเป็ นค่า
มาตรฐานสําหรับใช้งานหลากหลายรู ปแบบ
ดังนีA Top, Bottom, Front, Left, Right และ
Back และผูใ้ ช้งานสามารถเปลียนมุมมองเป็ น
แบบ Isometric ไม่ว่าจะเป็ น SW (southwest)
42
Isometric, SE (southeast) Isometric, NE (northeast) Isometric และ NW (northwest)

Draw 2D Isometric Views


ด้วยการ Snap แบบ Isometric ผูใ้ ช้งานสามารถสร้ างวัตถุทีเป็ น 2D แต่ให้มุมมองที เป็ น 3D ได้ โดยการตัAงค่า
Isometric Snap บน Drafting Setting จะแสดงหน้าต่างโต้ตอบ ให้เลือก Tab เป็ น Snap and Grid แล้วทําการตัAงค่าในส่ วน
ต่างๆ และคลิกเลือกในส่ วนของ Snap type ให้เป็ นรู ปแบบ Isometric snap แล้วคลิก OK

Set Isometric Grid and Snap


การตัAงค่าจะถูกกําหนดจาก แกนหลักทัAงสาม มุมมองแบบ Isometric จะเป็ นการจําลองการทํางานแบบ 3D จากมุมมอง
ทีกําหนดขึAนมา เมือมีการเปิ ด Snap Angle จุดเริ มต้นจะถือว่าเป็ นตําแหน่งที 0องศา การวาดแบบก็จะถูก Snap Angle ไว้ที
ตําแหน่ง 30องศา, 90องศา และ 150องศา เมือมีการเปิ ด Snap ผูใ้ ช้งานสามารถทํางานบนแกนทัAงสามได้อย่างอิสระ
- Left: รู ปแบบ Left Isometric จะมีแกนทีจะแสดงผล, การ Snap และการแสดงจุด Grid คือ 90 และ 150 องศา
- Top: รู ปแบบ Top Isometric จะมีแกนทีจะแสดงผล, การ Snap และการแสดงจุด Grid คือ 30 และ 150 องศา
- Right: รู ปแบบ Right Isometric จะมีแกนทีจะแสดงผล, การ Snap และการแสดงจุด Grid คือ 90 และ 30 องศา
43

นอกเหนื อจากการใช้คาํ สัง ISOPLANE เพือสลับไปมาระหว่างแนวระนาบทีทํางานผูใ้ ช้งานยังสามารถใช้ Short key


“F5” หรื อ CTRL+E ก็สามารถกําหนดแนวระนาบได้และ เส้น Crosshairs จะสลับตามแนวระนาบด้วยเช่นกัน

ตัวอย่าง
เมือมีการเปิ ด คําสัง Ortho ผูใ้ ช้งานจะถูกจํากัดการทํางานอยู่เฉพาะบนแกนทีล๊อคไว้สาํ หรับ Isometric แต่ผูใ้ ช้งานสามารถ
ทํางานสลับไปมาระหว่าง แนวระนาบได้

Change a 3D View Dynamically


ผูใ้ ช้งานสามารถดูวตั ถุในมุมต่างๆได้โดยการเลือกไปที มุมมองแบบต่างๆทีตัวโปรแกรมมีไว้เป็ นมาตรฐานให้อยู่แล้ว
(เมนู View > 3D Views) หรื อถ้าผูใ้ ช้งานต้องการจะดูวตั ถุโดยรอบ ก็สามารถทําได้เช่นกัน โดยการใช้คาํ สัง Constrained
Orbit (เมนู View > Orbit) เมือดูวตั ถุโดยรอบแล้ว จะไม่สามารถแก้ไขวัตถุ ณ ตอนนัAนได้ จะต้องจบคําสังก่อนจึงจะแก้ไข
วัตถุได้
44

Hide Lines or Shade 3D Objects


Hide หรื อ Shade จะช่วยปิ ดหรื อซ้อน วัตถุบางส่ วนหรื อทัAงหมดทีมีการตัAงอยู่ทางด้านหลังวัตถุอืนๆ ผูใ้ ช้งานสามารถ
ใช้คาํ สัง HIDE เพือซ้อนวัตถุทีอยู่ดา้ นหลัง การซ้อนวัตถุทีอยู่ดา้ นหลัง จะช่วยให้เห็นรายละเอีย ดของวัตถุได้ชดั เจนมาก
ยิงขึAนแต่ ผูใ้ ช้งานจะไม่สามารถแก้ไขวัตถุทีถูกซ้อนไว้ได้

Add Simple Shading to 3D Objects


45
ในส่ ว นของวัตถุ ทีทํา การซ้อ นไว้จะยังมี ผลกับชิA นงานปรกติ เมือผูใ้ ช้งานมี การใช้คาํ สังที ช่ ว ยในการให้พAื นผิว ก็
สามารถแสดงผลเสมือนจริ งได้เหมือนกัน และเมือมีการใช้คาํ สัง Shade จะมีแค่การแสดงวัตถุทีอยูด่ า้ นหน้าเท่านัAน

Render
การ Render เป็ นการสร้างภาพ 2D บนพืAนฐานของวัตถุทีเป็ น 3D การ Render ทีเสมือนจริ งจะได้มาจากการตัAงค่าแสง
สว่างของผูใ้ ช้งานและการตัAงค่าสภาวะแวดล้อมเช่น พืAนหลัง เบืAองต้นผูใ้ ช้งานสามารถ Render โดยที ไม่ตอ้ งตัAงค่า Material
เมือ Render เสร็ จแล้วผูใ้ ช้งานจะไม่สามารถปรับรายละเอียดต่างๆได้อีกไม่วา่ จะเป็ การ Move หรื อ แก้ไขแสงสว่าง

Render Environment
ผูใ้ ช้งานสามารถใช้การตัAงค่าสภาวะแวดล้อมเข้ามาช่วยได้ และผูใ้ ช้งานสามารถดึงรายละเอียดต่างๆเข้ามาช่วยเผือเพิม
ความเสมื อ นจริ งได้ เช่ น หมอก หมอกก็ส ามารถกํา หนดได้อีกว่า ต้อ งการให้หนามากน้อ ยแค่ ไ หน และสี ข องหมอกก็
สามารถเปลียนได้เช่นกัน
46

Light
เป็ นการให้แสงสว่าง โดยการเลือกชนิ ดของ จุดกําเนิ ดแสงไม่ว่าจะเป็ น Point Light, Spotlight และ Distant Light
หลังจากนัAนก็กาํ หนดตําแหน่งของจุดกําเนิ ดแสงต่อไป
Point Light: เป็ นจุดกําเนิดแสงสว่างทีกระจ่ายไปทุกทิศทาง และไม่ได้กาํ หนดเป้าหมาย
Spotlight: เป็ นจุดกําเนิดแสงทีวิงตรงไปทีวัตถุ
Distant Light: เป็ นการจําลองแสงสว่างทีเปรี ยบเสมือนแสงแดดและสามารถนําไปใช้เพือแสดงเงาตกกระทบได้ดว้ ย
Light List: เป็ นส่ วนทีแสดงรายการเกียวกับ ชือและชนิดแสงทีใช้ใน File แสงสว่างแบบ Distant Light และ Sun จะไม่แสดง
ในรายการ

Materials
ผูใ้ ช้งานสามารถเพิ ม Materials เข้าไปในวัตถุ และ
Drawing ได้เ พื อช่ ว ยให้มี ค วามเสมื อ นจริ งมากยิ งขึA น
Materials บางประเภท จะมี Effect เพือช่วยเพิมความเสมือน
47
จริ ง เช่น Textures, Bump Effects, Reflections หรื อ Refractions

MxLVPORT
คําสังช่วยสร้าง View-Port ด้วยการเลือกครอบพืAนที ที ต้องการ บน Drawing จากนัAน ส่ งไปที Layout จะได้ View-Port
พร้อม Scale ตามทีกําหนด แบบอัตโนมัติทนั ที
- ใช้คาํ สัง MxLVIEWPORT
- จากนัAนเลือก Scale ทีแสดงในตหน้าต่าง ทีต้องการ
- เลือกรู ปแบบการแสดงผล Display, Extent, Windows
- กําหนด หน้า Layout ทีต้อวการนําไปวาง
- ทําการวางวัตถุลงบน Layout
48
คําสั,ง Hidden Message Settings
การใช้คาํ สัง"Hidden Message Settings" เป็ นการควบคุมการแสดงข้อความทีซ่ อนก่อนหน้านีA
หลังจากทีมีขอ้ ความถูกซ่ อนไว้กส็ ามารถดูและเปิ ดใช้งานได้อีกครัAงอีกครัAง
z.| ให้คลิกที Option > User Preferences > Hidden Messages Setting > แล้วคลิกถูกตรง GstarCAD

คําสัง Import layout as sheet


เป็ นคําสังทีช่วยให้สามารถเพิมหน้า Layout ภายใน Sheet Set file
}.| เลือกคําสัง Sheet set manager > xD Drafting > View > Sheet set manager
49
}.x New Sheet Set จากนัAนให้เลือก An example Sheet Set > next
> Select a Sheet set to use as an example
> Architectural Imperial Sheet set
- จากนัAนเลือกตัAงชื อ Name of new sheet set และกด Next > Finish
- เลือก ทีหัวข้อ Sheet Set จากนัAน คลิกขวา เลือก Import Layouts an Sheets.
}.~ เลือก ทีหัวข้อ Sheet Set จากนัAน คลิกขวา เลือก Import Layouts an Sheets.

}.• คลิก Browse for Drawings จากนัAนให้เลือกไฟล์ทีมี Layouts และจัดเรี ยงตามทีเราต้องการ


50
Chapter 5
Precision Tools and the Properties of Drawings

Specify Units, Angles and Scale


เป็ นคําสังทีช่วยระบุรายละเอียดต่างๆทีผูใ้ ช้งานต้องการใช้งาน

Set the Units Format


ผูใ้ ช้งานสามารถตั#งค่าหน่อยทีใช้งานได้ไม่ว่าจะเป็ น Scientific, Decimal, Engineering, Architectural และ Fractional
ในการกําหนดค่าเป็ นแบบ Architectural หน่ วยทีใช้งานจะเป็ นแบบ Feet และ Inches ผูใ้ ช้งานสามารถใช้สัญลักษณ์ (') ได้
ตัวอย่างเช่น 72'3 ผูใ้ ช้งานไม่จาํ เป็ นต้องระบุเป็ น Inches โดยการใส่ เครื องหมายคําพูด (") ผูใ้ ช้งานสามารถกําหนดหน่วยทีใช้
งานในส่ วนของ Quick Setup ได้เลย ในการตั#งค่าระดับสู ง จะมีหน้าต่ างโต้ตอบเพือช่ วยให้การตั#งค่าและควบคุมทําได้
โดยง่ายเช่น Coordinate, Offset และ Distance
คําสัง Drawing Units Dialog:
Format > Units
Command line > UNITS

Set Angle Conventions


ผูใ้ ช้งานสามารถกําหนดตําแหน่งของมุมว่าต้องการให้เริ มต้น ณ ตําแหน่งใด และกําหนดได้อีกว่า ต้องการให้นบั ตาม
เข็มนาฬิกา หรื อ ทวนเข็มนาฬิกา ทั#งผูใ้ ช้งานยังสามารถกําหนดรู ปแบบ จํานวนทศนิ ยมและเศษส่ วน
51
- Specify the measurement unit and precision: หน่วยทีใช้วดั มี grad, radian, surveyor's unit and degree, minute and second
- Specify where the angle measurement starts from: East, West, South, North และ อืนๆ
- Specify the positive direction: Counterclockwise หรื อ Clockwise กําหนดมุมเริ มต้นเป็ น 0 ได้ทุกตําแหน่ ง

Setting Scale Factors


การแทนค่าต่างๆด้วย Scale สําหรับทุกๆอย่างที ผูใ้ ช้งานได้วาด
แบบใน Drawing เมือผูใ้ ช้งานทําการ Print ออกมา Scale ต่างๆอาจจะมี
เปลียนแปลงตามลักษณะการ Print เช่น เมือผูใ้ ช้งานทําการเขียน Text,
Arrows หรื อ Linetypes ในแบบแล้วทําการ Print คุณอาจจะต้องการ
หนด สัดส่ วนสําหรับขนาดตัวอักษร
หลังจากที ผูใ้ ช้งานกําหนด Scale สําหรั บ Drawing ที เสร็ จ
สมบู ร ณ์ แ ล้ว ผูใ้ ช้งานสามารถคํา นวน Scale เป็ นอัต ราส่ ว นเพื อ
เปรี ยบเทียบกับขนาดจริ งได้
จากรู ปตาราง จะแสดงรายละเอียดเกียวกับ Scale มาตรฐานของ
Architectural และ Engineering ในตารางจะมี รายละเอียดทั#ง Scale,
Scale factor, Text height
ผูใ้ ช้งานสามารถกําหนดค่าเหล่านี# ได้ล่วงหน้า เพื อให้แน่ ใจว่าพอดีกบั ขนาดกระดาษ เพือต้องการ Print ผูใ้ ช้งาน
สามารถควบคุมขนาดของ Drawing ได้โดยการจํากัดการวาด เพียงแค่ให้ผูใ้ ช้งานกําหนดขนาดกระดาษก่อนแล้วค่อยวาด
แบบให้เหมาะสมกับ ขนาดกระดาษ

Drawing Limits
52
ผูใ้ ช้งานสามารถกําหนด ขอบเขตสําหรับวาดแบบได้ แต่จะไม่แสดงทีหน้าจอเขียนแบบ ผูใ้ ช้งานสามารถใช้คาํ สังนี#
เพือช่วยกําหนดขอบเขต ไม่ให้มีการวาดแบบทีมีขนาดใหญ่จนเกินขอบเขตทีกําหนด
คําสัง Drawing Limits:
Format > Drawing Limits
Command line > LIMITS
- เลือกเมนู Format > Drawing Limits
- กําหนดขอบเขต โดยการกําหนดจุดเริ มต้นทีมุม ซ้ายล่าง โดยการป้อนค่าทั#งแกน X และแกน Y กําหนดขอบเขตอีกด้าน
โดยการลากไปทางด้านขวาบน

Grid and Grid Snap


Grid ใน GstarCAD8 จะมีลกั ษณะเป็ นรู ป
สี เหลียม และเมือทําการ Zoom In หรื อ Zoom Out
ก็จะมีสีเหลียมเล็กๆแสดงเพือให้ง่ายต่อการเขียน
แบบ Grid จะมีการแสดงผลทัวพื#นทีทีวาดแบบ และ
เมือผูใ้ ช้งานเปิ ดการใช้งาน Snap ก็จะมีการกระโดด
เข้าหาจุดในตาราง Grid ด้วย
Change Grid and Snap Spacing
ผูใ้ ช้งานสามาถเปิ ดหรื อปิ ดการทํางานของ Grid และ Snap และระบุระยะห่างของ Grid และ Snap โดยเข้าไปในส่ วน
ของ Drafting Settings ในส่ วของ Grid และ Snap ไม่ได้ถูกตั#งค่าให้ตรงกันเสมอไป ผูใ้ ช้งานสามรถเปลียนค่าใดค่าหนึ ง
แยกกันได้เพียงแต่ ระยะห่ างของ Grid จะช่วยให้ผุใ้ ช้งาน ระบุ ตําแหน่งทีถูกต้องได้
53
Use Object Snaps
การใช้คาํ สัง Object Snaps จะช่วยให้การทํางานง่ายมากยิงขึ#นเพียงเลือกตําแหน่งที
จะใช้ง านและหลังจากนั#น ถ้า ผู ้ใ ช้งานใช้ค ํา สังใดก็ ต ามที ต้อ งกํา หนดตํา แหน่ ง ก็ จ ะ
สัญลักษณ์ของ Object Snaps แสดงขึ# นมา ช่ วยให้ผูใ้ ช้งานลดขั#นตอนในการกําหนด
ตําแหน่ง โดยผูใ้ ช้งานสามารถกําหนดได้ว่าต้องการจะใช้ Object Snaps กับส่ วนไหนบ้าง

Setting Object Snaps


ผูใ้ ช้งานสามารถตั#งค่า Object Snaps ทีต้องการใช้งานได้โดยใช้คาํ สัง
ดังต่อไปนี#
- เลือกเมนู Tools > Drafting Setting > Object Snap แล้วคลิกเลือกตัวเลือก
ทีต้องการ
- บน Toolbar Object Snap คลิกเลือกตัวเลือกทีต้องการ
- บน Status bar ให้คลิกขวาตรงตําแหน่งแสดง Object Snaps แล้วเลือก
Settings
- กดปุ่ ม Shift ค้า ง แล้ว คลิ กขวาบนหน้า ต่ า งวาดแบบบริ เ วณใดก็ไ ด้
โปรแกรมจะแสดงหน้า ต่ า งทางลัด คํา สั งขึ# น มาให้ ท ํา การเลื อ ก Object
Snaps ทีต้องการใช้งาน

AutoSnap Tools
AutoSnap Tool เป็ นเครื องมือช่ วยเกี ยวกับการตั#งค่า Snap แบบ อัตโนมัติ จะช่ วยให้การใช้งานคําสัง Snap มี
ประสิ ทธิ ภาพมากยิงขึ#น ผูใ้ ช้งานสามารถเปิ ดการทํางานได้ท# งั ในส่ วนของ Marker, Magnet, Display AutoSnap tooltip และ
Display AutoSnap
- Marker: เป็ นการตั#งค่าการแสดงผลของสัญลักษณ์ Object Snaps เมือผูใ้ ช้งานขยับเม้าส์ผ่านตําแหน่งต่างๆของวัตถุ จะมี
สัญลักษณ์ Object Snaps แสดงขึ#นมา
- Tooltip: เมือผูใ้ ช้งานขยับเม้าส์ไปค้างไว้นะตําแหน่ ง Object Snaps จะมีหน้าต่างแสดงรายละเอียดขึ# นมาแจ้งว่า อยู่ใน
ตําแหน่ง Object Snaps ใด
- Magnet: เป็ นส่ วนช่วยให้เมือขยับเม้าส์เข้าใกล้ตาํ แหน่ง Object Snaps แล้วจะมีการดึงดูดเข้าไปใกล้ตาํ แหน่ง Snap
54
- Aperture box: ส่ วนนี#จะช่วยปรับเปลียนขนาดของ Object Snaps ให้มีขนาดใหญ่หรื อเล็กตามแต่ผใู ้ ช้งานกําหนด

Use Polar Tracking and Object Snap Tracking


Polar Tracking และ Object Snap Tracking เป็ นคําสังอัตโนมัติทีช่วยให้การ กระโดดเข้าหาตําแหน่งบนวัตถุ ทําได้
โดยง่ายและผูใ้ ช้งานสามารถเปิ ดและปิ ดการทํางานได้โดยคลิกที POLAR และ OTRACK บน Status Bar เมือทําการเปิ ด
Polar tracking จะมีการแสดงเส้น Guide Line ในรัศมีทีกาํ หนด และ Object Snap Tracking จะช่วยในการแสดงเส้น Guide
Line จากการ สัมผัสกับ Snap บนวัตถุ
Polar Tracking
เมือทําการเปิ ด Polar Tracking จะมีการแสดงเส้น Guide Line บนหน้าจอช่ วยให้ผูใ้ ช้งานสะดวกในการกําหนดมุม
องศาได้แบบ อัตโนมัติ ตัวอย่างเช่น ถ้าผูใ้ ช้งานกําหนด องศาในการวาดแบบไว้ที 65 องศา เมือทําการวาดแบบแล้วขยับเม้าส์
ไปตําแหน่งใกล้เคียงกับ 65 องศา ก็จะมีการแสดงเส้น Guide Line เพือช่วยให้งานต่อการกําหนดองศา
คําสัง Polar Tracking:
1. เลือกคําสังจาก ขั#นตอนใดขั#นตอนหนึ ง
- เลือกเมนู Tools > Drafting Setting
- Status Bar คลิกขวาบริ เวณ OSNAP เลือก Settings
- พิมพ์ DSETTINGS ใน Command line
2. เปลียนไปที Tab Polar Tracking
55
3. คลิกช่อง Polar Tracking On
4. กําหนดในส่วนของ องศา ทีต้องการ
- เลือกองศาในส่ วนของ Increment angle จะมี Drop-Down list ให้เลือก
- กําหนดองศาทีต้องการใช้งานเองได้ หากไม่มีให้ใน List
5. คลิก OK

หมายเหตุ:
การเปิ ดและปิ ดการใช้งานของ Polar Tracking ทําได้ตลอดเวลาโดยกดปุ่ ม F10
การใช้ Polar Tracking ในการวาดแบบ:
- เมือเปิ ด Polar Tracking และเริ มใช้คาํ สังในการวาดแบบไม่ว่าจะเป็ นคําสังใดทีมี
การกําหนดระยะ
- หลังจากนั#นผูใ้ ช้งานขยับเม้าส์ไปบริ เวณตําแหน่งใกล้เคียงกับองศาทีเลือกไว้จะมี
การแสดงเส้น Guide Line บริ เวณตําแหน่งเดียวกับองศาทีเลือกไว้

Object Snap Tracking


Object Snap Tracking เป็ นคําสังทีช่วยแสดงเส้น Guide Line เมือผูใ้ ช้งานขยับเม้าส์ ไปค้างไว้บริ เวณ Object Snap
แล้วเมือผูใ้ ช้งานขยับเม้าส์ไปในแนวตั#งหรื อแนวนอน จะมีเส้น Guide Line แสดงขึ#นมา เพือแสดงว่า ตําแหน่งนั#นๆขนานอยู่
กับ Object Snap ตัวอย่างเช่นการเคลือนย้ายวัตถุ คําสังนี#จะช่วยให้เคลือนย้ายได้โดยง่าย
ผูใ้ ช้งานยังสามาราถใช้คาํ สัง TRACKPATH เพือช่วยควบคุมตําแหน่งบนหน้าจอ
56
Use Orthogonal (Ortho Mode)
ผูใ้ ช้งานสามารถจํากัด การทํางานของ Cursor เม้า ส์ ให้ท ํางานเพิ งแนวตั#งและแนวนอนของหน้า ต่ า งวาดแบบ
ตัวอย่างเช่น เมือมีการเปิ ดคําสัง Ortho Mode ผูใ้ ช้งานจะสามารถทํางานนับจากจุดเริ มต้นไปในทิ ศทาง 0 องศา, 90 องศา,
180 องศา และ 270 องศา เท่านั#น จะมีผลกับทุกๆคําสัง และเมือผูใ้ ช้งานเปิ ด Isometric Snap and Grid ก็จะมีผลด้วยเช่นกัน
โดย Cursor จะเปลียนไปตามแกน X และ Y สําหรับวาดแบบบน มุมมอง Isometric เท่านั#น

การเปิ ดใช้ Orthogonal อย่างรวดเร็ ว:


- กดปุ่ ม F8 หรื อ คลิกที ORTHO Mode ที Status Bar
Working with Layers
Layers จะช่วยให้ผูใ้ ช้งานสามารถจัดสรร วัตถุต่างๆ เป็ นชั#นๆ
เพื อช่ วยให้การทํางานง่ ายมากยิงขึ# นเมือมี การแบ่งวัตถุเ ป็ นชั#นต่างๆ และมีการเปิ ดหรื อปิ ด Layer นั#นๆ ก็จะช่ วยให้การ
แสดงผล มีความชัดเจนมากยิงขึ#น

Crate and Name Layers


ผูใ้ ช้งานสามารถสร้าง Layers ได้ทุกๆ File และยังสร้างได้ไม่จาํ กัดจํานวนอีกด้วย และเมือผูใ้ ช้งานสร้าง Layer ขึ#นมา
ใหม่ สี ทีถูกกําหนดจะเป็ น สี ขาว หรื อสี ดาํ ขึ#นอยู่กบั การตั#งค่า และ Line type จะเป็ นแบบ CONTINUOUS แต่ผูใ้ ช้งาน
สามารถเปลียนค่าต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ น ชือ สี หรื อ Line type และอืนๆได้ ภายหลัง
คําสัง สร้าง Layer:
Format > Layer
Command line > LAYER
- เลือกเมนู Format > Layer
- คลิกปุ่ ม New Layer
- พิมพ์ชือของ Layer แล้วคลิก OK
คําสัง เปลียนชือ Layer
- เลือกเมนู Format > Layer
- ในหน้าต่าง Layer Properties Manager ให้คลิกเลือก Layer ทีต้องการเปลียนชือ
- พิมพ์ชือใหม่ แล้วคลิกปุ่ ม OK
57
Setting the Current Layer
เมือคุณเริ มวาดแบบ วัตถุจะถูกสร้าง
บน Layer ปัจจุบนั โดยปรกติจะถูกสร้างไว้
บน Layer ที ชื อว่า “0” แต่ผูใ้ ช้งานสามารถ
เปลียน Layer ปัจจุบนั ได้
คําสัง เลือก Layer ปัจจุบนั :
- เลือกเมนู Format > Layer
- ในหน้าต่าง Layer Properties Manager ให้คลิกเลือก Layer ทีต้องการจะตั#งเป็ น Layer ปัจจุบนั
- คลิก OK

Removing Layers
ผูใ้ ช้งานสามารถ Remove Layer ทีไม่ได้ใช้งานแล้วได้ โดยเข้าไป Delete ในหน้าต่าง Layer Properties Manager

Controlling Layer Visibility


Layer สามารถความคุมการมองเห็นได้โดยการเลือกให้มองเห็น หรื อมองไม่เห็น Layer ทีเลือกให้มองไม่เห็น จะไม่
แสดงทีหน้าจอและจะไม่มีผลต่อการ Print ด้วย
คําสังเปิ ดและปิ ด Layer:
Format > Layer
Command line > LAYER
- เลือกเมนู Format > Layer
- คลิก ไอคอน ภายใต้ Tab “On” ใน Layer list
- คลิกปุ่ ม OK
58

Locking and Unlocking Layer


การล็อค Layer ช่วยปกป้ อง Layer นั#นๆ เมือมีการล็อค Layer จะยังมองเห็นวัตถุแต่จะแก้ไขไม่ได้และหากล็อค Layer
ปัจจุบนั ไว้ผใู ้ ช้งานยังสามารถเพิมวัตถุใหม่เข้าไปได้อีกทั#งยังสามารถเปลียน สี และ Line type ได้อีกด้วย
คําสัง Lock และ Unlock Layer:
Format > Layer
Command line > LAYER
- เลือกเมนู Format > Layer
- คลิก ไอคอน ภายใต้ Tab “Lock” ใน Layer list
- คลิกปุ่ ม OK

Controlling Layer Printing


การควบคุม การ Print ของ Layer ผูใ้ ช้งานสามารถกําหนดได้ว่าต้องการให้ Layer ใดบ้างทีต้องการ Print ผูใ้ ช้งาน
สามารถเปิ ดและปิ ดคําสังนี# ได้
คําสัง เปิ ดและปิ ดการ Print โดยการกําหนดด้วย Layer:
Format > Layer
Command line > LAYER
- เลือกเมนู Format > Layer
- คลิก ไอคอน ภายใต้ Tab “Lock” ใน Layer list
- คลิกปุ่ ม OK
59

Setting a Layer’s Print Style


ถ้า ผูใ้ ช้งานมีการตั#งค่าเกียวกับ Plot Style Table ก็สามารถนํามาระบุใน Layer ได้ดว้ ย มันช่วยการควบคุมวัตถุทีคุณ
จะ Print โดยการกําหนดจากสี ถ้าผูใ้ ช้งานมีการกําหนดสี แล้วใน Plot Style Table ในส่ วนของ Layer จะมีการกําหนดให้โดย
อัตโนมัติ โดยจะ Print ตามการตั#งค่าสี ต่างๆที กําหนดไว้แล้วบน Layer

คําสัง เปลียน Print Style Assigned:


Format > Layer
Command line > LAYER
- เลือกเมนู Format > Layer
- คลิกทีชือของ Plot Style ใน Layer ในรายการจะมีหน้าต่างโต้ตอบให้เลือกรายการทีต้องการเปลียนแปลง
-คลิกปุ่ ม OK

Freeze or Thaw Layers


ผูใ้ ช้งานสามารถ Freeze หรื อ Thaw Layer ได้ คําสังนี# จะช่วยให้เพิมความสามารถในการแก้ไขวัตถุ เมือมีการ Freeze
Layer วัตถุภายในจะไม่สามารถมองเห็นได้
คําสัง Freeze หรื อ Thaw Layer:
Format > Layer
Command line > LAYER
- เลือกเมนู Format > Layer
- คลิก ไอคอน ภายใต้ Tab “Lock” ใน Layer list
- คลิกปุ่ ม OK
60
Setting the Layer Color
ผูใ้ ช้งานสามารถเปลียนสี สําหรับ Layer นั#นๆได้ โดยสามารถตั#งค่าวัตถุ Color Control เป็ น BYLAYER และเมือทํา
การสร้างวัตถุใน Layer นั#นๆ วัตถุ ก็จะมีสีเหมือนกับ Layer ทีตั#งค่าไว้
คําสัง เปลียนสี Layer:
Format > Layer
Command line > LAYER
- เลือกเมนู Format > Layer
- คลิก ไอคอน ภายใต้ Tab “Color” ใน Layer list จะมีหน้าต่างโต้ตอบให้ทาํ การเลือกสี ทีต้องการ โดยสามารถเปลียน Tab
ได้
- คลิกปุ่ ม OK

Setting a Layer’s Linetype


โดยปกติ Linetype ใน Layer จะถูกตั#งค่ามาตรฐานเป็ น Continuous ผูใ้ ช้งานสามารถเปลียนได้ หรื อจะกําหนดโดย
Line Type Control ให้เป็ นรู ปแบบ ByLayer แล้วตั#งค่าในส่วนของ Layer Properties Manager

คําสัง เปลียน Linetype:


Format > Layer
Command line > LAYER
- เลือกเมนู Format > Layer
- คลิกที Linetype ทีต้องการจะเปลียนจะมีหน้าต่างโต้ตอบขึ#นมาให้เลือก Linetype ทีต้องการ
- คลิกปุ่ ม OK
61
Setting a Layer’s Lineweight
โดยปกติ Lineweight จะถูกตั#งค่าไว้เป็ น Default ผูใ้ ช้งานสามารถเปลียนได้ หรื อ จะกําหนดโดย Line Weight
Control ให้เป็ นรู ปแบบ ByLayer แล้วตั#งค่าในส่ วนของ Layer Properties Manager

คําสัง เปลียน Lineweight:


Format > Layer
Command line > LAYER
- เลือกเมนู Format > Layer
- คลิกที Lineweight ทีต้องการจะเปลียนจะมีหน้าต่างโต้ตอบขึ#นมาให้เลือก Lineweight ทีต้องการ
- คลิกปุ่ ม OK
Filter List of Layers
ผูใ้ ช้งานสามารถกรอง Layer ได้โดยการกําหนดในส่ วนของ Layer Filter เพียงแค่กาํ หนดในส่ วนของรายละเอียดที
ต้องการแสดงผล ก็จะสามารถค้นหา Layer ทีมีส่วนเกียวข้องได้แล้ว ตัวอย่างเช่น กําหนดค่าในการกรองคือ สี , Linetypes,
Lineweights โปรแกรมก็จะทําการ เลือก Layer ทีต้องกับส่ วนทีกําหนดไว้ให้มาแสดง เพือช่วยในการค้นหา Layer เมือมีการ
สร้าง Layer ไว้เป็ นจํานวนมาก
คําสัง Filter List of Layers:
- เลือกเมนู Format > Layer
- คลิกปุ่ ม New Property Filter
- ในหน้าต่างโต้ตอบให้ทาํ กําเลือกรายละเอียดทีต้องการและคลิกปุ่ ม OK

Displaying Lineweights
การแสดง Lineweights บนหน้าจอสามารถทําได้ เมือผูใ้ ช้งานต้องการแสดงผลให้เห็นบนหน้าจอ ในส่ วนนี# จะมี
ประโยชน์ สําหรับ รายละเอียดทีต้องการเน้นความหนักเบาของ Lineweights เพือแสดงความแตกต่าง

Display Lineweights in Model Space


ใน Model Space การแสดงผลของ Lineweights จะแสดงเป็ น Pixel ไม่วา่ ผูใ้ ช้งานจะ Zoom , Lineweights ก็จะไม่มี
การเปลียนแปลง เนื องจากการแสดงผล มาจากค่าจริ งทีตั#งค่าไว้ วิธีการใช้ให้ทาํ การคลิกที LWT บน Status Bar เพือเปิ ดหรื อ
ปิ ด
62

Display Lineweights in Layouts


ในหน้าต่าง Layout การแสดงของ Lineweights จะเที ยบกับปั จจัยต่างๆและจะเที ยบกับ หน่ วยของจริ งโดยการ
แสดงผลจะเปลียนไปเหมือนกับ Plot Scale ด้วย โดยใน Tab Layout นี# เมือมีการเปิ ดและปิ ด Lineweights จะไม่มีผลต่อการ
แสดงผลทีพื#นทีวาดแบบ
63
Auto Layer
คําสังช่วยในการสร้างชือของ Layer ให้อตั โนมัติ หลังจากเขียนวัตถุลงไปที Drawing เช่น เมือใช้คาํ สัง Line โปรแกรมจะ
สร้าง Layer Line ทีตั#งค่าไว้ให้ทนั ที
- พิมพ์คาํ สัง Command > Autolayer
- จากนั#นจะมีหน้าต่าง แสดงขึ#นมาซึ งเราต้องกไหนดค่าไว้ให้ก่อน เช่น Hatch ให้อยู่ Layer ชือ Hatch
และแสดงผลเป็ นสี มว่ ง เป็ นต้น
- เมือเราสร้างวัตถุ Hatch บนพื#นที โปรแกรมจะกําหนดให้อยูบ่ น Layer Hatch และเป็ นสี ม่วงทันที
64
Chapter 6
Create Objects

โดยทัวไป เมือมีการสร้างวัตถุ GstarCAD จะให้กาํ หนดตําแหน่ง ไม่ว่าจะเป็ นการคลิกเพือระบุพิกดั หรื อ การพิมพ์ค่า


พิกดั ลงในช่อง Command line
Draw Linear Objects
Lines:
ประกอบด้วยตําแหน่งสองตําแหน่งโดยมี จุดเริ มต้นกับจุดสิ8 นสุ ด ผูใ้ ช้งานสามารถเชื อมต่อเส้นแต่ละเส้นได้ดว้ ยการ
วาดต่อเนือง แต่เส้นก็จะยังแยกเป็ นคนละวัตถุอยู่ดี
คําสัง Line:
Draw > Line
Command line > LINE
1. เลือกเมนู Draw > Line
2. กําหนดจุดเริ มต้น
3. กําหนดจุดสิ8 นสุด
4. กดปุ่ ม Enter เพือจบคําสัง
การเริ มต้นวาดเส้นใหม่จะสามารถทําได้โดยเมือกําหนดจุดสิ8 นสุ ดของเส้นแรกจะถือว่าเป็ นการกําหนดจุดเริ มต้นของ
เส้นต่อไปด้วยและจะเป็ นอย่างนี8 ไปตลอด

Multilines:
เป็ นคําสังทีใช้สําหรับสร้างเส้นแต่จะมีเส้นมากกว่าสองเส้นขนานกันไป ผูใ้ ช้งานสามารถสร้างกําหนดตําแหน่ งของ
การวาดเส้น Multiline ได้ โดยปรกติ แล้วจะถูก ตั8งค่าไว้ให้แสดงเส้นเป็ นสองเส้นขนานกัน แต่ ผูใ้ ช้งานสามารถสร้ าง
Multiline Style ด้วยตัวเองได้
คําสัง Multi-line:
Draw > Multiline
Command line > MLINE
1. เลือกเมนู Draw > Multiline
2. กําหนดจุด เริ มต้น
3. กําหนดจุด สิ8 นสุ ด
65
4. กดปุ่ ม Enter เพือจบคําสัง

Ray:
เป็ นคําสังในการวาดเส้นแบบ ไม่มีทีสิ8 นสุ ด โดยกําหนดจุดเริ มต้นหลังจากนั8นกําหนดทิ ศทางของเส้นและกําหนด
จุดสิ8 นสุ ดเส้น คําสังนี8จะเป็ นการทํางานแบบต่อเนื อง
คําสัง Ray:
Draw > Ray
Command line > RAY
1. เลือกเมนู Draw > Ray
2. กําหนดจุดเริ มต้น, กําหนดทิศทางและกําหนดจุดสิ8นสุ ด
3. กดปุ่ ม Enter เพือจบคําสัง
66
Construction Lines:
เป็ นการวาดเส้นแบบ กําหนดตําแหน่งสองตําแหน่งเพือลากเส้นผ่านตําแหน่งทั8งสองอีกทั8งเส้นที วาดออกมาก็ยงั เป็ น
แบบ ไม่มีทีสิ8นสุ ด อีกด้วย เพียงแค่กาํ หนดตําแหน่งทีหนึงและสอง ก็จะได้เส้น Construction Line แล้ว
คําสัง Construction Line:
Draw > Construction Line
Command line > XLINE
1. เลือกเมนู Draw > Construction Line
2. กําหนดตําแหน่งทีหนึ ง
3. กําหนดตําแหน่งทีสอง
4. กดปุ่ ม Enter เพือจบคําสัง

Polylines:
วัตถุทีถูกสร้างจากคําสังนี8 จะถือว่าเป็ นหนึ งชิ8 นโดยแต่ละส่ วนจะเชื อมโยงกันไม่ว่าจะเป็ น เส้นตรงต่อเนื องเป็ นเส้น
โค้ง และเมือผูใ้ ช้งานวาดวัตถุมากกว่าหนึ งชิ8นสามารถใช้คาํ สังเพือ Close, Undo หรื อ Finish ได้
คําสัง Polyline แบบเส้นตรง:
Draw > Polyline
Command line > PLINE
1. เลือกเมนู Draw > Polyline
2. กําหนดจุดเริ มต้น
3. กําหนดจุดสิ8 นสุด
4. กดปุ่ ม Enter เพือจบคําสัง หรื อ พิมพ์ C แล้วกดปุ่ ม Enter เพือปิ ดขอบเขตวัตถุ
67

คําสัง Polyline แบบเส้นโค้ง:


Draw > Polyline
Command line > PLINE
1. เลือกเมนู Draw > Polyline
2. กําหนดจุดเริ มต้น
3. กําหนดจุดสิ8 นสุด
4. เลือกตัวเลือก Arcในช่อง Command line
5. กําหนดจุดสิ8 นสุดของเส้นโค้ง
6. กดปุ่ ม Enter เพือจบคําสัง
หมายเหตุ:
สามารถปิ ดขอบเขตวัตถุได้ต่อเมือสร้างวัตถุต8 งั แต่สองชิ8นขึ8นไป และสามารถเปลียนขนาดของเส้นได้โดยใช้ตวั เลือก Width
ใน Command line ระหว่างใช้คาํ สัง Polyline

คําสัง Boundary:
Draw > Boundary
Command line > Boundary
1. เลือกเมนู Draw > Boundary
2. เลือกคําสังในส่วนของ Boundary set
- Current viewport
เป็ นการกําหนดขอบเขตบนมุมมองปัจจุบนั ถ้าเลือกตัวเลือกนี8แล้วคลิกเลือกขอบเขตจะเป็ นการสร้างขอบเขตใหม่ข8 ึนมา
- Existing set
จะเลือกคําสังนี8 ได้ตอ้ งคลิก Next จะกลับมาทีหน้าจอวาดแบบเพือให้ผใู ้ ช้งานเลือกวัตถุสาํ หรับกําหนดขอบเขต เมือเลือกวัตถุ
เสร็ จแล้วให้กดปุ่ ม Enter จะกลับมาทีหน้าต่างโต้ตอบแล้วคลิก OK จะกลับมาทีหน้าจอวาดแบบให้ทาํ การเลือกขอบเขตเพือ
สร้างขอบเขตใหม่
68
3. เลือกตัวเลือก Island detection
4. คลิกคําสัง Pick Points
5. ในหน้าต่างวาดแบบให้คลิกพื8นทีทีต้องการสร้างขอบเขตใหม่ สามารถคลิกได้หลายขอบเขต
6. เมือเลือกเสร็ จให้กดปุ่ ม Enter
7. ใน Dialog Box ให้ Click OK

Polygons:
คําสังนี8 ใช้สําหรับสร้างวัตถุทีเป็ นรู ปหลายเหลียมและแต่ละด้านจะต้องเท่ากันสามารถกําหนดด้านได้ต8 งั แต่ 3 จนถึง
1,024
คําสัง Polygon:
Draw > Polygon
Command line > POLYGON
1. เลือกเมนู Draw > Polygon
2. พิมพ์ 6 เพือสร้างวัตถุ 6มุม
3. กําหนดจุด กึงกลาง ของวัตถุ
4. กําหนดจุด มุม ของวัตถุ

Rectangles:
คําสังสร้างรู ปสี เหลียม เป็ นการสร้างเส้นตรงปิ ดมุมทั8งสี ด้านเริ มต้นด้วยการกําหนดมุมด้านใดด้านหนึ งและกําหนด
มุมตรงกันข้ามโดยสามารถเลือกตัวเลือกได้เช่น Rotation และ Area
คําสัง Rectangle:
Draw > Rectangle
Command line > RECTANG
69
1. เลือกเมนู Draw > Rectangle
2. ระบุมมุ หนึ งของรู ปสี เหลียม
3. ระบุมมุ อีกมุมหนึ งของรู ปสี เหลียม หรื อเลือกตัวเลือกใน Command Line
Points:
ผูใ้ ช้งานสามารถวาด จุด สามารถวาดทีละจุด หรื อจะว่าแบบ ต่อเนืองก็ได้
คําสัง Single Point:
Draw > Point
Command line >POINT
1. เลือกเมนู Draw > Point > Single Point
2. กําหนดตําแหน่งทีต้องการวาด จุด
คําสัง Multiple Point:
1. เลือกเมนู Draw > Point > Multiple Point
2. กําหนดตําแหน่งทีต้องการวาด จุด แบบต่อเนือง
คําสัง เปลียนรู ปแบบ Point:
Format > Point Style
Command line > DDPTYPE
1. เลือกเมนู Format > Point Style
2. ในหน้าต่างโต้ตอบให้เลือกรู ปแบบทีต้องการ
3. กําหนด Pint Size หรื อเลือกตัวเลือกอืนแล้วคลิกปุ่ ม OK
เมือผูใ้ ช้งานมีการปรับเปลียนแล้ว จุด ในหน้าต่างเขียนแบบจะเปลียนตามทีตั8งค่าไว้

Freehand Sketches:
ผูใ้ ช้งานสามารถวาดแบบด้วยการคลิกเม้าส์แล้วลาก เหมือนการวาดแบบด้วยมือ ทุ กๆส่ วนของเส้นจะเป็ นเส้นตรง
ก่อนจะเริ มวาดจะต้องกําหนดความยาวของเส้นก่อนแต่ส่วนทีมีขนาดเล็กเกินไปจะมีการเพิมขนาดให้
คําสัง Freehand Sketch:
1. บน Command line พิมพ์ SKETCH กดปุ่ ม Enter
2. ระหว่างคําสัง “Record increment” ให้กาํ หนดค่าตําสุ ดของความยาว
3. ขยับเม้าส์บนหน้าต่างเขียนแบบแล้วคลิกหรื อพิมพ์ P เพือเริ มวาดแบบ
4. คลิกหรื อพิมพ์ P อีกครั8ง เพือหยุดวาดแบบ
70
5. พิมพ์ R เพือหยุดการเขียนแบบ ชัวคราว
6. กด Enter เพือจบคําสัง

คําสัง ลบ Freehand Sketch:


1. ระหว่างใช้คาํ สัง SKETCH ให้พิมพ์ E เพือใช้คาํ สัง
2. ขยับเม้าส์ยอ้ นกลับไปตําแหน่งทีเขียนมาก่อนหน้านี8
3. ถ้ามีการเขียนแบบอยูแ่ ล้วพิมพ์ E จะทําการหยุดเส้นอัตโนมัติและเริ มใช้คาํ สังลบ Freehand Sketch

Draw Curved Objects


Arcs:
เส้นโค้งเป็ นส่ วนหนึ งของวงกลมและการวาดเส้นโค้งก็มีหลายวิธีไม่ว่าจะเป็ น
การเริ มต้นแบบทัวไปคือ กําหนดสามจุด จุดทีหนึ งคือจุดเริ มต้น จุดที สองคือจุดกึงกลาง
จุดทีสามคือจุดสิ8 นสุ ด และรู ปแบบการวาดประเภทอืน
-3 points -Start, Center, End -Start, Center, Angle
-Start, Center, Length -Start, End, Angle -Start, End, Direction
-Start, End, Radius -Center, Start, End -Center, Start, Angle
-Center, Start, Length -Continue

คําสัง Arc 3 points:


Draw > Arc > 3 points
1. เลือกเมนู Draw > Arc > 3 Points
2. กําหนดจุดเริ มต้น, กําหนดจุดกึงกลาง
3. กําหนดสิ8 นสุด
71

Circles:
การวาดวงกลมเริ มต้นโดยการกําหนดจุดดกึงกลางและกําหนดรัศมี ผูใ้ ช้งานสามารถเลือก
รู ปแบบในการวาดได้
-Center, Radius -Center, Diameter
-m points -n points
-Tangent, Tangent, Radius
-Tangent, Tangent, Tangent
คําสัง Circle แบบ Center และ Radius:
Draw > Circle > Center, Radius
Command line >CIRCLE
1. เลือกเมนู Draw > Circle > Center, Radius
2. กําหนดจุดกึงกลาง
3. กําหนดรัศมี

คําสัง Circle แบบ Tangent:


Draw > Circle > Tan, Tan, Radius
Command line >CIRCLE
1. เลือกเมนู Draw > Circle > Tan, Tan, Radius
2. กําหนดจุดสัมผัสแรกบนวัตถุทีจะสัมผัสกับวงกลม
3. กําหนดจุดสัมผัสทีสองบนวัตถุทีจะสัมผัสกับวงกลม
4. กําหนดรัศมีของวงกลม

Ellipses:
วิธีการวาดวงรี คือการกําหนดเส้นผ่านศูนย์กลาง และกําหนดรัศมีอีกครั8งหรื อจะใช้ตวั เลือกอืนก็ได้เช่นกัน -
Center
-Axis, End -Ellipse, Arc
72
คําสัง Ellipse แบบ Axis และ Endpoints:
Draw > Ellipse > Axis
Command line > ELLIPSE
1. เลือกเมนู Draw > Ellipse > Axis, End
2. กําหนดจุดเริ มต้นของเส้นผ่านศูนย์กลาง และ จุดสิ8 นสุ ด
3. กําหนดรัศมีของวงรี บนแกนตรงกันข้ามทีกําหนดเส้นผ่านศูนย์กลาง
คําสัง Ellipse arc:
Draw > Ellipse > Arc
Command line > ELLIPSE
1. เลือกเมนู Draw > Ellipse > Arc
2. กําหนดจุดเริ มต้นของเส้นผ่านศูนย์กลาง และ จุดสิ8 นสุ ด
3. กําหนดรัศมีของวงรี บนแกนตรงกันข้ามทีกําหนดเส้นผ่านศูนย์กลาง
4. กําหนดจุดเริ มต้นของเส้นโค้งวงรี และกําหนดจุดสิ8 นสุ ดของเส้นโค้งวงรี

Splines:
เป็ นคําสังที ใช้สําหรั บสร้ างเส้ นโค้งต่ อเนื องและสามารถใช้คาํ สังปิ ด เพื อสร้ างเป็ นขอบเขต การใช้คาํ สัง Splines
สามารถเลือกใช้งานคําสังได้ สองรู ปแบบ
- สร้างเส้นโค้งทีดัดแปลงมาจากเส้น Spline แล้วใช้ตวั เลือกของคําสัง PEDIT
- สร้าง spline โดยการใช้คาํ สัง SPLINE

คําสัง Spline:
Draw > Spline
Command line > SPLINE
1. เลือกคําสัง Draw > Spline
2. กําหนดจุดเริ มต้นของ Spline
3. กําหนดจุดทีสองของ Spline
4. กําหนดตําแหน่งอืนต่อเนื องไปเรื อยๆ
5. เมือต้องการจบคําสังกด Enter
คําสัง Spline แบบ ปิ ดขอบเขต:
73
Draw > Spline
Command line > SPLINE
1.เลือกคําสัง Draw > Spline
2. กําหนดจุดเริ มต้นของ Spline
3. กําหนดจุดทีสองของ Spline
4. กําหนดตําแหน่งอืนต่อเนื องไปเรื อยๆ
5. เมือต้องการปิ ดขอบเขตให้พิมพ์ C แล้วคลิก Enter
6. กําหนดจุดสัมผัสระหว่างจุดเริ มต้นกับจุดสุ ดท้าย

Helix:
ใช้สาํ หรับสร้างเกลียว 2D หรื อ 3D สปริ ง ในค่าเริ มต้นจะถูกตั8งค่าเป็ น 1 ในการวาดแบบจะมีการกําหนดจุดกึงกลาง,
รัศมี และ ความสูง ส่ วนค่ารัศมี จะไม่สามารถกําหนดเป็ นค่า 0 ได้
คําสัง Helix:
Draw > Helix
Command line > HELIX
ค่าเริ มต้นจะถูกตั8งค่าไว้ดงั นี8 จํานวนรอบ
=3
รู ปแบบการหมุ น = ทวนเข็ ม นาฬิ ก า
(CCW)
1. กําหนดจุดกึงกลาง
2. กําหนดรัศมีดา้ นในของ เกลียว
74
3. กําหนดรัศมีดา้ นนอกของ เกลียว
4. กําหนดความสู งของ เกลียว ได้ถา้ ผูใ้ ช้งานต้องการให้สูงขึ8นไปในแกน Z
Donut:
การสร้างโดนัทตัววัตถุจะเป็ นแบบ Solid แบบปิ ด และตัววัตถุจะเป็ น Polyline ผูใ้ ช้งานสามารถควบคุมการทํางานได้
ด้วยคําสัง FILLMODE และถ้าตั8งค่าใน FILLMODE ให้เป็ น 1 จะสร้างพื8นผิวจนเต็ม แต่ถา้ ตั8งค่าเป็ น 0 จะสร้างพื8นผิวแต่ไม่
เต็ม
การสร้ าง โดนัท เพียงแค่ผูใ้ ช้งานระบุ เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน และ ภายนอก และผูใ้ ช้งานสามารถวางวัตถุแบบ
ต่อเนื อง ได้ดว้ ย
คําสัง Donut:
Draw > Donut
Command line > DONUT
1. เลือกเมนู Draw > Donut
2. กําหนดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน
3. กําหนดเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก
4. กําหนดตําแหน่งในการวางโดยวัตถุจะติดอยูท่ ีเม้าส์
5. สามารถวางแบบ ต่อเนืองหรื อกด Enter เพือจบคําสัง

Create 3D Objects
ด้วยการวาดแบบ 3D ผูใ้ ช้งานสามารถวาดแบบพร้ อมกับเปลียนมุมมองเพือดูท8 ัง 3แกน และตรวจสอบว่าชิ8 นงาน
ถูกต้องหรื อไม่ รวมถึงการแสดงผลสําหรับวัตถุ 3D ก็มีเช่นกัน
3D Thickness and Elevation:
การเริ มสร้างวัตถุจะเริ มจากการสร้างวัตถุ 2D แล้วกําหนดความหนาของวัตถุ วิธีน8 ี เป็ นวิธีทีง่ายทีสุ ดในการสร้างวัตถุ
3D คําสั งนี8 เรี ย กว่า Extrude เป็ นคํา สังที สามารถใช้ไ ด้กับ วัตถุ หลาย
รู ปแบบ ไม่ว่าจะเป็ น Circle, Rectangle, Polyline ตัวอย่างเช่ น อยากจะ
เปลียนวงกลมเป็ น ทรงกระบอกก็ใช้คาํ สังนี8มาช่วย
คําสัง Elevation:
Command line > CHANGE
1. พิมพ์ CHANGE ที Command line แล้วกด Enter
2. พิมพ์ P (Properties) แล้วกด Enter
75
3. พิมพ์ E (Elev) แล้วกด Enter
4. กดหนดตําแหน่งใหม่ แล้วกด Enter
คําสัง การตั8งค่าความหนา:
Command line > CHANGE
1. พิมพ์ CHANGE ที Command line แล้วกด Enter
2. พิมพ์ P (Properties) แล้วกด Enter
3. พิมพ์ T (Thickness) แล้วกด Enter
4. กดหนดความสู งของ Thickness แล้วกด Enter

3D Faces:
ผูใ้ ช้งานสามารถสร้างพื8นผิวแบบ 3D ได้ซึงประกอบด้วยส่ วนของมุมของพื8นผิว เพียงแค่กาํ หนดมุมของพื8นผิวตั8งแต่สามมุม
และสี มุม

คําสัง 3D Face:
Draw > Modeling > Meshes > 3D Face
Command line > 3DFACE
1. พิมพ์ 3DFACE บน Command line
2. กําหนด จุดแรก สําหรับสร้าง 3D Face
3. กําหนด จุดทีสอง, สาม และ สี
4. จบคําสังโดยการกด Enter

Ruled Surfaces:
เป็ นคําสังทีใช้สาํ หรับสร้างพื8นผิวขึ8นมาภายในวัตถุทีทําการเลือก และพื8นผิวทีสร้างขึ8นมาจะอยู่ระหว่าง วัตถุท8 งั สอง
ชิ8น สามารถใช้ได้กบั วัตถุทีเป็ น Arcs, Circles, Lines, Points หรื อ Polylines
คําสัง Ruled Surface:
Draw > Modeling > Meshes > Ruled Mesh
Command line > RULESURF
1. พิมพ์ RULESURF บน Command line
2. เลือกวัตถุชิ8นทีหนึง
76
3. เลือกวัตถุชิ8นทีสอง

Tabulated Surface:
คําสังนี8 ช่วยในการสร้ างพื8นผิวตามขอบเขตของวัตถุตน้ ฉบับพร้มทั8งกําหนดความสู งโดยการสร้างเส้นนําทางให้กบั
วัตถุตน้ ฉบับบและมีรูปทรงด้วย สามารถใช้ได้กบั วัตถุทีเป็ น Line, Arc, Circle, Ellipse หรื อ 2D, 3D Polyline
คําสัง Tabulated Surface:
Draw > Modeling > Meshes > Tabulated Mesh
Command line > TABSURF
1. พิมพ์ TABSURF บน Command line
2. เลือกวัตถุทีจะทําการสร้างพื8นผิว
3. เลือกเส้นนําทางสําหรับการสร้างพื8นผิว

Revolved Surface:
เป็ นคําสังที ใช้สําหรับสร้ างพื8 นผิวขึ8 นมาจาก โครงร่ าง ใช้คาํ สัง Revolved Mesh หลังจากนั8นให้ทาํ การกําหนด
ตําแหน่งและทิศทางทีต้องการ ใช้ได้กบั วัตถุทีเป็ น Line, Arc, Circle, Ellipse, Elliptical arc, Closed polyline, Polygon,
Closed spline หรื อ Torus
คําสัง Revolved Mesh:
Draw > Modeling > Meshes >Revolved Mesh
Command line > REVSURF
1. พิมพ์ REVSURF บน Command line
2. เลือกวัตถุทีจะใช้คาํ สัง Revolve
3. เลือกวัตถุทีจะใช้เป็ นแกนสําหรับ Revolve
4. กําหนดมุมทีจะใช้คาํ สัง Revolve
5. กําหนดรัศมีทีจะใช้คาํ สัง Revolve
77

Solid Box:
เป็ นการสร้างวัตถุทรงสี เหลียมถือว่าเป็ นวัตถุทีมีมวลอยู่ภายใน เริ มด้วยการสร้างสี เหลีมผืนผ้าเป็ นฐานของวัตถุทรง
สี เหลียมซึ งจะอยู่บนแกน XY เสมอโดยเทียบกับ UCS (ปัจจุบนั ) แล้วหลังจากนั8นจึงกําหนดความสู งของทรงสี เหลียมไปบน
แกน Z หรื อผูใ้ ช้งานสามารถสร้างสี เหลียมแล้วกําหนดความสู งโดยใช้คาํ สัง EXTRUDE ก็ได้เช่นกัน
คําสัง สร้าง Box:
Draw > Modeling > Box
Command line > BOX
1. เลือกเมนู Draw > Modeling > Box
2. กําหนดมุมทีหนึงสําหรับฐานของวัตถุ
3. กําหนดมุมตรงกันข้ามสําหรับฐานของวัตถุ
4. กําหนดความสู ง

Solid Cone:
เริ มโดยการกําหนดพื8นผิวด้านล่างบนแกน XY ของ UCS (ปั จจุบนั ) และกําหนดความสู งของกรวยโดยขนานกับแกน
Z ผูใ้ ช้งานสามารถวาดวงกลม แล้วใช้คาํ สัง EXTRUDE เพือกําหนดความสู งและกําหนดมุมเพือให้เป็ นรู ปทรงกรวย ก็ได้
เช่นกัน
คําสัง สร้าง Cone:
Draw > Modeling > Cone
Command line > CONE
1. เลือกเมนู Draw > Modeling > Cone
2. กําหนดจุด กึงกลางของวัตถุ
3. กําหนดรัศมี หรื อ เส้นผ่านศูนย์กลาง
4. กําหนดความสู ง
78

Solid Cylinder:
ผูใ้ ช้งานสามารถสร้างวัตถุทรงกระบอกได้โดยใช้คาํ สังนี8 เพียงวาดฐานวงกลมบนแกน XY ของ UCS (ปั จจุบนั ) และ
กําหนดความสู งบนแกน Z สามารถใช้คาํ สัง EXTRUDE เพือกําหนดความสู งได้เช่นกัน
สัง Cylinder:
Draw > Modeling > Cylinder
Command line > CYLINDER
1. เลือกเมนู Draw > Modeling > Cylinder
2. กําหนดจุดกึงกลางของ ทรงกระบอก
3. กําหนดรัศมี หรื อ เส้นผ่านศูนย์กลาง
4. กําหนดความสู ง

Sphere:
เป็ นคําสังทีใช้สาํ หรับสร้างวัตถุทรงกลม โดยการทํางานเพียงแค่ผูใ้ ช้งานกําหนดจุดกึงกลางของ Sphere จุดกึงกลางนี8
จะอยูบ่ นแกน XY ของ UCS (ปั จจุบนั ) และกําหนดรัศมีหรื อเส้นผ่านศูนย์กลาง
คําสัง Sphere:
Draw > Modeling > Sphere
Command line > SPHERE
1. เลือกเมนู Draw > Modeling > Sphere
2. กําหนดจุดกึงกลางของ ทรงกลม
3. กําหนดรัศมี หรื อ เส้นผ่านศูนย์กลาง

Torus:
79
คําสังนี8 จะช่วยให้ผูใ้ ช้งานสร้างวัตถุวงกลมเหมือน 2D แต่จะมีการกําหนดความหนาของวัตถุดว้ ย แค่เริ มด้วยการวาด
วงกลม และกําหนดความหนาของวัตถุ
คําสัง Torus:
Draw > Modeling > Torus
Command line > TORUS
1. เลือกเมนู Draw > Modeling > Torus
2. กําหนดจุดกึงกลางของ Torus
3. กําหนดรัศมี หรื อ เส้นผ่านศูนย์กลาง
4. กําหนดรัศมี หรื อ เส้นผ่านศูนย์กลางของพื8นผิววัตถุ

Pyramid:
ผูใ้ ช้งานสามารถสร้างวัต ถุรูปทรง ปิ รามิ ดสามด้าน หรื อ สี ด้านก็ได้ฐานของปิ รามิ ดจะอยู่บนแกน XY ของ UCS
(ปั จจุบนั ) วิธีการสร้างเพียงแค่กาํ หนดมุมของปิ รามิดและกําหนดจุดสู งสุ ด
คําสัง Pyramid:
Draw > Modeling > Pyramid
Command line > PYRAMID
1. เลือกเมนู Draw > Modeling > Pyramid
2. กําหนดมุมทีหนึงเพือเป็ นฐานของ ปิ รามิด
3. กําหนดมุมทีสอง, มุมทีสาม และมุมทีสี
4. กําหนดความสู งของ ปิ รามิด

Wedge:
เป็ นคําสังที ใช้สร้างวัตถุ 3D โดยจะเป็ นการสร้างวัตถุสามมุมทีมีพ8ืนผิวเป็ นมุมทะแยงโดยการทํางานเพียงแค่กาํ หนด
ขอบเขตเป็ นรู ปสี เหลียม และกําหนดความสูง ของวัตถุ
คําสัง Wedge:
Draw > Modeling > Wedge
Command line > WEDGE
1. เลือกเมนู Draw > Modeling > Wedge
2. กําหนดมุมทีหนึง
80
3. กําหนดมุมตรงกันข้าม
4. กําหนดความสู ง

Solids Extrude:
EXTRUDE เป็ นคําสังทีช่วยใจการดึงวัตถุข8 ึน โดยการช้งานเพียงแค่ผูใ้ ช้งานออกแบบ 2D และใช้คาํ สังนี8 แล้วทําการ
เลือกวัตถุทีต้องการ กําหนดความสูง
คําสัง Extrude:
Draw > Modeling > Extrude
Command line > EXTRUDE
1. เลือกเมนู Draw > Modeling > Extrude
2. เลือกวัตถุเพือใช้คาํ สัง Extrude
3. สามารถเลือกหลายๆชิ8นงานก็ได้แล้วกําหนดความสู ง

Solids Revolve:
เป็ นคําสังทีช่วยในการเปลียนแบบทีเป็ น 2D ให้เป็ น 3D โดยการหมุนวัตถุตามแกน XY ของ UCS (ปั จจุบนั ) วัตถุที
สามารถใช้งานได้เช่น Polylines, Polygons, Rectangles, Circles, Ellipses, Regions และอืนๆ
คําสัง Solid Revolve:
Draw > Modeling > Revolve
Command line > REVOLVE
1. เลือกเมนู Draw > Modeling > Revolve
2. เลือกวัตถุทีจะทําการ Revolve
3. เลือกแกนสําหรับใช้คาํ สัง
- กําหนดจุดเริ มต้นและจุดสิ8 นสุด
- พิมพ์ O กด Enter สําหรับการเลือกวัตถุ
81
- พิมพ์ X กด Enter สําหรับการเลือกแกน X
- พิมพ์ Y กด Enter สําหรับการเลือกแกน Y
4. กําหนด องศา สําหรับ Revolve

Creating Composite Solids:


เป็ นคําสังทีช่วยทําให้วตั ถุทีเป็ น Solid สองชิ8นรวมกันลบกันและตัดกัน ด้วยคําสัง Union, Subtract และ Intersect
คําสัง Union:
Modify > Solid Editing > Union
Command line > UNION
1. เลือกเมนู Modify > Solid Editing > Union
2. เลือกวัตถุทีจะรวมกัน
คําสัง Subtract:
Modify > Solid Editing > Subtract
Command line > SUBTRACT
1. เลือกเมนู Modify > Solid Editing > Subtract
2. เลือกวัตถุหลักทีทําการ Subtract
3. เลือกวัตถุรองทีจะนํามา Subtract
คําสัง Intersect:
Modify > Solid Editing > Intersect
Command line > INTERSECT
1. เลือกเมนู Modify > Solid Editing > Intersect
2. เลือกวัตถุทีจะทําการ Intersect

Create Regions:
82
ผูใ้ ช้งานสามารถ เปลียนแปลงวัตถุที ทีทําการออกแบบไว้แต่ไม่ได้รวมเป็ นชิ8 นเดียว(วัตถุขอบเขตปิ ดเท่านั8น) ให้ทาํ
การรวมกันเป็ นวัตถุชิ8 นเดี ย วได้โดยการเขี ยนต่ อเนื องสามารถนําวัต ถุ หลากหลายประเภทมารวมกันได้ เช่ น Polylines,
Polygons, Circles, Ellipses, Donuts, Splines แบบปิ ด
คําสัง Region:
Draw > Region
Command line > REGION
1. เลือกเมนู Draw > Region
2. เลือกวัตถุทีมีขอบเขตปิ ดทีต้องการสร้างเป็ น Region และกด Enter

Create Revision Cloud:


เป็ นคําสังทีสร้างวัตถุเป็ นรู ปทรงเมฆ ผูใ้ ช้งานสามารถแปลงวัตถุ เช่น Circle, Ellipse, Polyline หรื อ Spline ให้เป็ น Revision
Cloud ได้ และผูใ้ ช้งานสามารถตั8งค่าความกว้างและความสู ง ได้เช่นกัน
คําสัง Revision Cloud:
Command line > REVCLOUD
1. หลังจากทีพิมพ์ REVCLOUD ให้กาํ หนดตําแหน่งเริ มต้น
2. ลากเม้าส์บริ เวณตําแหน่งทีต้องการ
3. จบคําสังโดยการลากเม้าส์เข้ามาใกล้กบั จุดเริ มต้น

Create Break Line:


เป็ นคําสังทีใช้สาํ หรับสร้าง เส้นตรงโดยมีการแทรกสัญญลักษณ์ Break Line โดยวัตถุจะถูกสร้างเป็ น Polyline
คําสัง Break Line:
Command line > BREAKLINE
1. พิมพ์ BREAKLINE บน Command line
2. กําหนดจุดเริ มต้นและจุดทีสองสําหรับ Break line
3. กําหนดตําแหน่งสําหรับสัญญลักษณ์ Break line

Create Wipeout:
เป็ นคําสังสร้ างรู ปหลายเหลี ยม เป็ นแบบ ขอบเขตปิ ดและทึ บ เพี ยงแค่ กาํ หนด มุมแต่ ละมุ มต่ อเนื องกันไป ตามที
ต้องการ
83
คําสัง Wipeout:
Draw > Wipeout
Command line > WIPEOUT
1. เลือกเมนู Draw > Wipeout
2. กําหนดจุดเริ มต้นและจุดสิ8 นสุ ดของด้านนั8นๆ
3. หลังจากกําหนดขอบเขตตามทีต้องแล้วให้กด Enter เพือจบคําสัง

New and Enhanced Functionalities Table


ฟั งก์ชนั Table มีการพัฒนามาพักใหญ่ และในทีสุ ดสามารถใช้ในเวอร์ ชนั 2017 ได้อย่างสมบูรณ์ แม้ว่า GstarCAD
ในเวอร์ ชนก่
ั อนมีคาํ สัง table ที เมนู express และมีคาํ สังช่ วยการทํางานร่ วมกับ excel อย่าง AutoXLS Table แต่ถึง
กระนั8น ยังไม่สามารถทําได้เหมือนคําสัง Table ทีใช้งานจริ ง
GstarCAD พร้ อมแล้วในการนําเข้า แก้ไข, ส่ งออก (TABLEDIT\TABLESTYLE\TABLEEXPORT) เมือนําเข้า
ตาราง Table สามารถแก้ไขแต่ละบรรทัด ปรับแก้ความถี ช่องไฟและสุ ดท้าย ส่ งอออกไปเป็ น CSV ไฟล์ เปิ ดกับ
Microsoft Excel ได้อย่างสมบูรณ์

Flatshot
สําหรับคําสัง FLATSHOT ผูใ้ ช้สามารถสร้างมุมมอง mD ได้จากวัตถุ nD ในมุมมองปั จจุบนั ซึ งโปรแกรมจะสร้าง
วัตถุในมุมมองนั8นๆออกมาเป็ น Block ทําให้ผูใ้ ช้งานได้งานทีเป็ นมุมมอง 2D ทีต้องการ ไม่ว่าจะเป็ น Top, Front, Side,
ISO ได้ตามทีต้องการ
84

Section Plane
คําสังช่วยตัดชิ8 นงาน nมิติ ด้วยการผ่าชิ8 นงาน ตามระนาบที ต้องการ และ สามารถบันทึกเป็ นวัตถุ m มิติ (Block) หรื อ
วัตถุ n มิติ ได้ มีข8 นั ตอนการใช้งานดังนี8
•.• เมือมีวตั ถุทีเป็ น n มิติ ให้ใช้คาํ สัง Section plane
- Menu Ribbon เข้าไปที หมวด nD > Section
- Menu Classic เข้าไปที หมวด Draw > Modeling > Section plane
•.m จะมีคาํ สังขึ8นมาให้เลือก Orthographic
•.n เลือก มุมมองทีต้องการเช่น Top ,Front ,Right, Back, Bottom
•.‚ จากนั8นกําหนด พื8นทีในการตัด Section ด้วยลูกศร กําหนดทิศทางทีต้องการแสดงผลหรื อ ไม่แสดงผล
85
85
Chapter 7
Modify Objects

ผูใ้ ช้งานสามารถปรับเปลียนขนาดรู ปร่ างและตําแหน่งของวัตถุ ลําดับแรกเลือกคําสังที ต้องการใช้งานและทําการเลือก


วัตถุทีต้องการแก้ไข หรื อจะเลือกวัตถุก่อนแล้วค่อยใช้คาํ สังก็ได้เช่นกัน

Remove Objects:
ผูใ้ ช้งานสามารถใช้คาํ สัง ERASE เพือลบวัตถุอะไรก็ได้เพียงแค่ใช้คาํ สังนี- และเลือกวัตถุทีต้องการลบ แล้วกด Enter
หากผูใ้ ช้งานอยากจะคื นค่าวัตถุทีถูกลบไปแล้วให้ใช้คาํ สัง Undo อีกหนึ งวิธีทีผูใ้ ช้งานจะลบวัตถุได้ เพี ยงแค่เลือกวัตถุที
ต้องการแล้วกดปุ่ ม Delete ทีคียบ์ อร์ด ก็ลบวัตถุได้เช่นกัน

Copy Objects:
ใช้สําหรับการคัดลอก หรื อ ทําสําเนาวัตถุในหน้าต่างเขี ยนแบบปั จจุ บนั โดยไม่ตอ้ งวาดแบบใหม่เพียงแค่ใช้คาํ สัง
เลือกวัตถุ กําหนดจุดอ้างอิง และ ระยะทางเพือทําการวางวัตถุ
คําสัง Copy:
1. เลือกเมนู Modify > Copy
2. เลือกวัตถุและกดปุ่ ม Enter
3. กําหนดจุดอ้างอิงซึ งเป็ นจุดเริ มต้น
4. กําหนดจุดสิ- นสุดเพือวางวัตถุ (สามารถทําการ Copy แบบต่อเนื องได้)
5. กด Enter เพือจบคําสัง

Mirror Objects:
คําสังนี-เปรี ยบเสมือนการส่องกระจก และวัตถุทีได้มาจะเหมือนภาพสะท้อนภายในกระจก ซึ งวัตถุทีได้มาจะกลับด้าน
ทั-งหมด เพือการสร้างวัตถุทีสมมาตรกันเพียงวาดแบบแค่ครึ งเดียวแล้วใช้คาํ สังนี-
คําสัง Mirror:
1. เลือกเมนู Modify > Mirror
2. เลือกวัตถุและกดปุ่ ม Enter
3. กําหนดจุดทีหนึงและจุดทีสองเพือสร้างเส้น Mirror
4. ใน Command line สามารถเลือก Option ว่าจะเก็บวัตถุตน้ ฉบับไว้ หรื อลบทิ-ง
86
Offset an Object:
เป็ นคําสังทีใช้บ่อยครั-งเพือทําการสร้างเส้น หรื อส่ วนโค้งใหม่ ให้ขนานกับแนวเส้นเดิมตามระยะห่ างทีกําหนดใช้ได้
กับวัตถุทีเป็ น Lines, Arcs, Circle, Ellipses, 2D Polylines, Rays และ Infinite lines
คําสัง Offset:
1. เลือกเมนู Modify > Offset
2. กําหนดระยะห่าง (โดยการคลิกหรื อพิมพ์ระยะก็ได้)
3. เลือกวัตถุ
4. เลือกด้านในด้านหนึ งสําหรับการ Offset (เป็ นการทํางานแบบต่อเนื อง)
5. กดปุ่ ม Enter เพือจบคําสัง

Create an Array Classic


คําสังนี-จะช่วยให้ผใู ้ ช้งานทําการคัดลอกและทําเป็ นสําเนาครั-งระหลายๆชุดตามที ผูใ้ ช้งานกําหนดได้ในคราวเดียว ทั-งแนวตั-ง
และแนวนอนมีท- งั ทีเป็ นรู ปแบบ สี เหลียม และวงกลม
คําสัง Array แบบสี เหลียม:
1. เลือกเมนู Modify > Array
2. ในหน้าต่างโต้ตอบให้เลือก Rectangle
3. คลิกปุ่ ม Select Objects เพื อทําการเลื อกวัตถุในหน้าต่าง
เขียนแบบ
4. ในหน้าต่ างโต้ตอบให้กาํ หนด จํานวนแนวตั-ง แนวนอน
และระยะห่าง
5. คลิกปุ่ ม OK
คําสัง Array แบบวงกลม:
1.เลือกเมนู Modify > Array
2.ในหน้าต่างโต้ตอบให้เลือก Polar
3.คลิกปุ่ ม Select Objects เพือทําการเลือกวัตถุในหน้าต่างเขียน
แบบ
4.ในหน้าต่างโต้ตอบให้กาํ หนด องศา จํานวน และจุดกึ งกลาง
ของการทํา Array
87
Create an Array
คํา สั ง Array แบบใ หม่ จะช่ ว ยใ ห้ คุณ สามารถกํา หนดรู ป แบบการคัดลอกวัตถุ ไ ด้ง่า ยขึ( น ซื งมี ห ลายรู ป แบบ
เช่น RECTANGULAR, POLAR, or PATH pattern ทําให้สะดวกต่อการปรับค่าทีหน้าต่าง Ribbon ตัวอย่างเช่น จํานวนของ
วัตถุ ระยะห่ างของวัตถุแต่ละอัน

Move Objects:
คําสังนี- ใช้ในการย้ายตําแหน่งของวัตถุ จากตําแหน่ งหนึ งไปอี กตําแหน่ งหนึ ง โดยขั-นตอนจะเหมือนกับการ Copy
เพียงแค่ เลือกวัตถุใช้คาํ สัง Move กําหนดจุดอ้างอิง และกําหนดตําแหน่งใหม่
88
คําสัง Move:
1. เลือกเมนู Modify > Move
2. เลือกวัตถุ
3. กําหนดจุดอ้างอิงและกําหนดตําแหน่ งใหม่

Rotate Objects:
ผูใ้ ช้งานสามารถใช้คาํ สังนี- ในการหมุนวัตถุไปตามองศาทีต้องการโดยกําหนดจุดศูนย์กลางและกําหนดองศาโดยการ
พิมพ์ หรื อ ขยับเม้าส์ตามเข็มนาฬิกา ทวนเข็มนาฬิกาก็ได้เช่นกัน
คําสัง Rotate:
1. เลือกเมนู Modify > Rotate
2. เลือกวัตถุ
3. กําหนดจุดกึงกลางสําหรับการหมุนวัตถุ
4. กําหนดองศาโดยการพิมพ์ใน Command line และกดปุ่ ม Enter เพือจบคําสัง

Align Objects:
เป็ นคําสังทีช่วยในการเคลือนย้ายวัตถุ โดยการกําหนดค่าทีแน่นอน
คําสัง Align:
1. เลือกเมนู Modify > Align
2. เลือกวัตถุและกด Enter
3. เลือกตัวเลือกในการเคลือนย้ายวัตถุท- งั แกน X และแกน Y
4. กําหนดระยะห่างทีต้องกดและคลิก OK

Scale Objects:
ผูใ้ ช้งานสามารถใช้คาํ สังนี- เพือช่วยในการเปลียนสัดส่ วนของวัตถุไม่ว่าจะเป็ นการย่อหรื อขยาย โดยการเลือกวัตถุและ
กําหนดตําแหน่ง แล้วกําหนดขนาดโดยการพิมพ์ทีต้องการอีกครั-ง
คําสัง Scale:
1. เลือกเมนู Modify > Scale
2. เลือกวัตถุและกดปุ่ ม Enter
3. กําหนดจุดอ้างอิง
89
4. พิมพ์ค่าทีต้องการ เช่น 2.0 หรื อ 0.5
Lengthen Objects:
คําสังนี-มีความสามารถคือการเปลียนแปลงความยาวของวัตถุเช่น Lines หรื อ Arcs แต่คาํ สังนี- จะไม่มีผลกับวัตถุปิด
คําสัง Lengthen:
1. เลือกเมนู Modify > Lengthen
2. เลือกตัวเลือกใน Command line เช่น DY (DYnamic)
3. เลือกวัตถุทีต้องการแก้ไข
4. กําหนุดจุดสิ- นสุดเส้นใหม่

Stretch Objects:
เป็ นคําสังทีช่ วยในการยืดวัตถุให้ยาวออกหรื อหดให้ส- ันลง โดยที รายละเอี ยดอื นๆที ไม่ได้ทาํ การเลื อกไว้จะไม่เสี ย
สัดส่ วนไป
คําสัง Stretch:
1. เลือกเมนู Modify > Stretch
2. เลือกกลุ่มวัตถุทีต้องการใช้คาํ สัง Stretch
3. กําหนดจุดเริ มต้น
4. กําหนดจุดสิ- นสุด
การยืด Object โดยใช้ Grip
1. เลือก Object และ Click ที Grip ในจุดทีต้องการยืด
2. ลาก Grip ไปวางในจุดทีต้องการ

Trim Objects:
คําสังนี- ใช้สําหรับการตัดวัตถุทีเกินจากเส้นที มีการตัดผ่านกันทิ-งไปสามารถตัดทีละเส้นหรื อจะลากครอบเพือตัววัตถุ
ทีทําการเลือกเป็ นชุดก็ได้ ใช้ได้กบั วัตถุหลายประเภท เช่น Lines, Arcs, Circles
คําสัง Trim:
1. เลือกเมนู Modify > Trim
2. เลือกวัตถุทุกชิ-นทีมีการตัดผ่านกันและกดปุ่ ม Enter
3. เลือกส่ วนทีเกินจากจุดตัด ทีต้องการตัดทิ-ง (สามารถเลือกแบบต่อเนื องได้)
90
4. กดปุ่ ม Enter เพือจบคําสัง
หมายเหตุ:
สามารถเลือกตัวเลือกแบบอืนได้เพือปรับเปลียนรู ปแบบการเลือกวัตถุสาํ หรับใช้คาํ สัง Trim

Extend Objects:
เป็ นคําสังทีใช้สาํ หรับยืดเส้นเพือให้ยาวออกไปจนถึงตําแหน่งทีเรากําหนดไว้โดยมีวตั ถุอีกชิ-นเป็ นตัวกําหนดใช้ได้กบั
วัตถุหลายประเภท เช่น Lines, Arcs, Splines, Polylines
คําสัง Extend:
1. เลือกเมนู Modify > Extend
2. เลือกวัตถุทีเป็ นตัวกําหนดให้เส้นยืดมาสัมผัส
3. เลือกวัตถุทีต้องการจะยืด และกดปุ่ ม Enter เพือจบคําสัง
หมายเหตุ:
สามารถเลือกตัวเลือกแบบอืนได้เพือปรับเปลียนรู ปแบบการเลือกวัตถุสาํ หรับใช้คาํ สัง Extend

Create Breaks:
คําสังนี- ใช้สําหรับการตัดเส้นบนวัตถุโดยการกําหนดจุดสองจุด จุดที หนึ งจะเป็ นการกําหนดพร้อมกับการเลือกวัตถุ
หรื อจะกําหนดจุดทีหนึ งโดยการเลือกตัวเลือกก็ได้
คําสัง Break:
1. เลือกเมนู Modify > Break
2. เลือกวัตถุ (ขั-นตอนนี- จะถือว่าเป็ นกําหนดจุดทีหนึ งด้วย)
3. กําหนดจุดทีสอง

คําสัง Break แบบเลือกทั-งสองตําแหน่ง:


1. เลือกเมนู Modify > Break
2. เลือกวัตถุ
3. พิมพ์ F (First point) บน Command line
4. เลือกจุดทีหนึงและจุดทีสอง

Create Chamfers:
91
เป็ นคําสังที ใช้ในการตัดมุมของเส้นสองเส้นที ทํามุมกัน(เป็ นเส้นตรง) หรื อ มุมของวัตถุทีเป็ นสี เหลียมโดยสามารถ
กําหนดระยะห่างจากมุมและความลาดเอียงของมุมทีตัดได้
คําสัง Chamfer แบบเลือกวัตถุสองชิ-น:
1. เลือกเมนู Modify > Chamfer
2. บน Command line ให้พิมพ์ D (Distance)
3. กําหนดระยะห่างของวัตถุชิ-นทีหนึ ง
4. กําหนดระยะห่างของวัตถุชิ-นทีสอง
5. เลือกวัตถุชิ-นทีหนึง
6. เลือกวัตถุชิ-นทีสอง
คําสัง Chamfer แบบกําหนดองศา:
1. เลือกเมนู Modify > Chamfer
2. บน Command line ให้พิมพ์ A(Angle)
3. กําหนดความยาวของเส้นทีหนึง
4. กําหนดองศาของเส้นทีหนึ ง
5. เลือกวัตถุชิ-นทีหนึง
6. เลือกวัตถุชิ-นทีสอง
หมายเหตุ:
สามารถเลือกตัวเลือกแบบอืนได้เพือปรับเปลียนรู ปแบบการใช้งานสําหรับใช้คาํ สัง Chamfer

Create Fillets:
เป็ นคําสังทีใช้ในการตัดมุมของวัตถุสองชิ-น(เป็ นเส้นโค้ง) หรื อ มุมของวัตถุทีเป็ นสี เหลียมโดยสจะกําหนดการตัดมุม
รู ปแบบนี- ดว้ ยการกําหนดรัศมี สามารถใช้งานได้กบั วัตถุหลากหลายประเภท
คําสัง Fillet แบบเลือกวัตถุสองชิ-น:
1. เลือกเมนู Modify > Fillet
2. บน Command line ให้พิมพ์ R (Radius)
3. กําหนดรัศมีของการตัดมุม
4. เลือกวัตถุชิ-นทีหนึง
5. เลือกวัตถุชิ-นทีสอง
คําสัง Fillet แบบตัดมุมทั-งชิ-น (Polyline):
92
1. เลือกเมนู Modify > Fillet
2. บน Command line ให้พิมพ์ P(Polyline)
3. เลือกวัตถุทีเป็ น Polyline
หมายเหตุ:
สามารถเลือกตัวเลือกแบบอืนได้เพือปรับเปลียนรู ปแบบการใช้งานสําหรับใช้คาํ สัง Fillet

Trim and Extend Filleted Objects:


สําหรับคําสัง Trim และ Fillet ผูใ้ ช้งานสามารถตั-งค่าการแสดงผลได้เกียวกับวัตถุทีทําการตัดมุมไปแล้วผูใ้ ช้งาน
สามารถตั-งค่าให้ยงั คงแสดงมุมทีตัดไปแล้วหรื อจะให้ลบมุมนั-นทิ-งไปเลยก็ได้แต่จะไม่มีผลกับวัตถุทีเป็ น Circles, Ellipses,
Polylines แบบปิ ด และ Splines

Fillet Line and Polyline Combinations:


คําสัง Fillet ที ใช้กบั วัตถุทีเป็ น Line และ Polyline ต่ างกันตรงที ถ้าเป็ น
Line ปรกติเมื อมีการใช้คาํ สัง Fillet วัตถุจะแยกกันคนละส่ วน แต่ ถา้ ใช้คาํ สัง
Fillet กับ Polyline วัตถุน- นั จะถือว่าเป็ นส่ วนหนึ งของ Polyline
Fillet Parallel Lines:
เมือมีการใช้งานคําสัง Fillet กับวัตถุทีมีความห่างกันไม่ว่าจะห่างกันแบบที เส้นทั-งสองขนานกัน หรื อ อยู่คนละแกน
แต่ไม่เชื อมต่อกัน ก็ยงั สามารถใช้คาํ สัง Fillet ได้เพียงแต่รัศมีทีกําหนดจะต้องเท่ ากับระยะห่ างนั-นๆแต่ถา้ มีการกําหนดที
มากกว่า หรื อน้อยกว่า ระยะห่าง โปรแกรมจะทําการกําหนดระยะให้พอดีโดย อัตโนมัติ

Disassociate Compound Objects:


93
ผูใ้ ช้งานสามารถเปลียนแปลงวัตถุไม่วา่ จะเป็ น Block หรื อ Polyline ให้แยกออกจากกันเป็ นส่ วนๆได้โดยการใช้คาํ สัง
Explode คําสังนี- ใช้ได้กบั วัตถุทีเป็ น Polyline, Rectangle, Donut, Polygon, Dimension หรื อ Leader คําสังนี- จะช่วยให้การ
แก้ไขทําได้ง่ายขึ-น แต่วตั ถุกจ็ ะไม่เชือมโยงความสามารถ เหมือนเดิมอีกต่อไป

สิ งทีควรคํานึ งถึงเกียวกับการ Explode


- ถ้ามีการกําหนดนํ-าหนักเส้นบน Polyline ข้อมูลในส่ วนนี- จะหายไป
- ถ้ามีการใส่ Attributes ใน Block คุณสมบัติในส่วนนี-จะหายไป
- สี , รู ปแบบเส้น, นํ-าหนักเส้น และ Print Style ทีมีการตั-งค่าไว้เป็ น BYBLOCK อาจจะเปลียนไปหลังจากที Explode แล้ว
เพราะวัตถุน- นั ๆจะถูกคืนค่าไปใช้ค่าเริ มต้น
Modify Polylines:
วัตถุต่างๆเช่น Rectangles, Polygons และ Donuts ส่ วนวัตถุทีเป็ นแบบ 3D ก็มี Pyramids, Cylinders และ Spheres
สามารถแก้ไขได้ดว้ ยการใช้คาํ สัง PEDIT ตัวเลือกจะมีความแตกต่างกันไปขึ-นอยู่กบั ว่าวัตถุเป็ นแบบ 2D หรื อ 3D
94

Modify Multiline:
ผูใ้ ช้งานสามารถใช้วิธีการเช่นการแก้ไขวัตถุทีเป็ น Multiline ในหน้าต่างโต้ตอบจะมีรูปแบบให้เลือกในการแก้ไข
โดยใช้คาํ สัง MLEDIT เพือเพิมหรื อลดเส้นสําหรับ Multiline

Array Options
New Array ช่วยจัดเรี ยง และ เพิมจํานวนวัตถุให้อตั โนมัติ เพียงเปลียน Pattern, แก้ไขจํานวน หรื อ แก้ไขระยะห่าง ในทิ ศทาง
ทีต้องการ รวมถึงจัดเรี ยงวัตถุไปตาม Path ทีกําหนด ช่วยให้สะดวก และ รวดเร็ วขึ-น
- พิมพ์คาํ สัง Array ที Command หรื อ ไปทีเมนู Modify > Array
- จากนั-นเลือก รู ปแบบ Rectangle, path, Polar
- เลือกรู ปแบบจากนั-นกด Enter เพือกําหนดระยะและจํานวน ทีต้องการ
95

Clip
ช่วยในการตัดพื-นที บางส่ วนของ Block, Xref, รู ปภาพ และ ในหน้า Viewport เพือใช้กาํ หนดขอบเขตของพื-นที ทีต้องการ
แสดงผล
- ใช้คาํ สังเมนู Modify > Clip
- จากนั-น เลือกขอบเขตพื-นทีต้องการตัด (แสดงผลได้) ได้อิสระ
- จากนั-นกด Enter เพือตกลง

Add Selected
ช่วยในการสร้างวัตถุ โดยไม่ตอ้ งเรี ยกใช้คาํ สังใหม่ สามารถคลิกเลือกวัตถุทีมีอยู่แล้ว ไปเขียนต่อได้ทนั ที โดยคุณสมบัติจะ
เหมือนวัตถุทีเป็ นต้นฉบับ เช่น Layer, Style, Color หรื อ Hatch Pattern
- ใช้คาํ สัง Command > addseleced
- จากนั-นคลิกเลือกวัตถุทีต้องการคัดลอก (ในทีนี- คือ Hatch)
- คลิกวางบนพื-นที ทีจะวางลงไป แล้วกด Enter
96

Change to ByLayer
คําสังช่วยเปลียนคุณสมบัติของ Layer ให้มีลกั ษณะเหมือนต้นฉบับ ByLayer ซึ งประกอบด้วย Color, Line type, Line weight
และ Material
- ใช้คาํ สัง Bylayer
- เลือกวัตถุทีต้องการเปลียนเป็ น layer (ByLayer)

คําสั-ง Viewport Scale


Viewport Scale สามารถบอกสเกลจริ งในขณะนั-นในช่อง viewport layout space
1. พิมพ์คาํ สัง VPSCALE ที Command
s. จากนั-นให้ คลิก ที viewport layout scale โดยตัวเลขของ scale จะแสดงใน command
97
คําสั-ง Right-Click + Drag Method
เป็ นคําสังทีช่วยในการ move, copy, paste as block ให้รวดเร็ วยิงขึ-น
1. คลิกเลือกวัตถุทีต้องการจากนั-นคลิกขวาค้างตรงวัตถุทีเลือกแล้วลากมายังตําแหน่ งทีต้องการ แล้วเลือก
ประเภททีจะวาง
Move - เคลือนย้ายวัตถุ
Copy - คัดลอก เพิมวัตถุ
Past as Block -วางวัตถุให้เป็ นคุณสมบัติ Block

คําสั-ง Selection Cycling


เป็ นคําสังทีสามารถเลือกวัตถุทีทับซ้อน หรื อคาบเกียวกันหรื อเหมือนกันใน Drawing ทําให้เราจัดการวัตถุที
ซ้อนกันได้สะดวกขึ-น โดยโปรแกรมจะแสดงรายการขึ-นมาให้เลือกดังภาพด้านล่าง
7.1 ให้คลิกที Drawing หรื อวัตถุทีเราต้องการ จากนั-นคําสัง Selection Cycling ก็จะปรากฏขึ-นมาให้เราเลือกใช้
งานตาม Layer ต่างๆดังนี-
98
98
Chapter 8
Notes and Labels

Create Text สร้ างชุดอักษร


สร้างชุดอักษร, คําสัง multiline text (mtext) และชุดอักษรทีใช้งานร่ วมกับคําสัง Leader
Single-Line Text:
ผูใ้ ช้งานสามารถสร้างชุดอักษร ด้วยคําสัง Single-Line Text. โดยแต่ละชุดอักษร สามารถแก้ไขหรื อปรับย้ายได้อย่างอิสระ
แต่ก่อนใช้คาํ สังเหล่านั=น ผูใ้ ช้อาจกําหนดรู ปแบบของอักษร รวมถึงทิศทางของข้อความ เมือพิมพ์ขอ้ ความครบแถว สามารถ
เลือก Enter เพือสร้างข้อความบรรทัดถัดไป, ระหว่างพิมพ์ขอ้ ความ ผูใ้ ช้สามารถขยายหรื อลดพื=นทีสร้างข้อความได้ เพือให้
ได้ระยะตามทีต้องการ หรื อ เลือกที Fit Option จาก Command Line Prompt.
ขั=นตอนสร้าง Single-Line Text
1. เลือกหมวด Draw > Text > Single Line Text จาก Main Menu
2. คลิก= เพือกําหนดขอบเขตข้อความ
3. กําหนดความสู งของข้อความ.
4. กําหนดองศาในการวางชุดข้อความ
5. จากนั=นพิมพ์ขอ้ ความจนเสร็ จ เลือก Enter
6. เลือก Enter อีกครั=งเพือจบคําสัง

ขั=นตอนกําหนดจุดอ้างอิงข้อความ (Grip)
1.เลือกหมวด Draw > Text > Single Line Text จาก Main Menu
2. ที Command Line พิมพ์ J (Justify) จากนั=น เลือก Enter
3. กําหนดแนวจุดอ้างอิง (Grip) โดยให้สังเกตที Command Line ตัวอย่าง พิมพ์ BR
เพือเลือกจุดอ้างอิงด้านขวาล่าง (Bottom Right) จากนั=น Enter
4. จากนั=นพิมพ์ขอ้ ความจนเสร็ จ เลือก Enter
5. เลือก Enter อีกครั=งเพือจบคําสัง
99
Multiline Text:
คําสัง Multiline text เพือสร้างข้อความหลายบรรทัดโดยอยู่ภายในพื=นทีที ผูใ้ ช้กาํ หนดไว้ครั=งแรก. เมือใส่ คาํ สังให้กาํ หนด
ขอบเขตของชุดข้อความโดยเลือกเป็ นลักษณะกรอบสี เหลียมผืนผ้า. พื= นที ข้อความจะวางอัตโนมัติอยู่ภายในพื=นที จากนั=น
โปรแกรมจะให้พิมพ์ขอ้ ความที ต้องการ โดยสามารถตั=งค่าข้อความหรื อตั=งค่าตัวอักษรที Text Formatting Toolbar
ขั=นตอนสร้าง multiline text :
1.เลือกหมวด Draw > Text > Multiline Line Text จาก Main Menu
2. กําหนดพื=นทีข้อความโดยคลิกมุมเป็ นลักษณะสี เหลียมผืนผ้า
3. จากนั=นพิมพ์ขอ้ ความทีต้องการ
4. เลือก Enter หากต้องการขึ=นบรรทัดใหม่

ตั=งค่าตัวอักษรที Text Formatting Toolbar .


1. หากต้องการเปลียน Font ผูใ้ ช้สามารถเลือกจาก Font Style List
2. สามารถปรับความสู งของอักษร ได้จากแถบความสูงของอักษร
3. สามารถกําหนดสี ของอักษรทีเลือกทีแถบ Color
4. เมือเสร็ จสิ=น เลือก OK หรื อ <Ctrl + Enter>

Justify Multiline Text:


ปรั บตําแหน่ งข้อความ ผูใ้ ช้สามารถปรับตําแหน่ งชุ ดอักษรโดยเลือกตําแหน่ง the top
left, top center, top right, middle left, middle center, middle right, bottom left, bottom
center, หรื อ bottom right. สามารถกําหนดข้อความให้เริ มต้นจากซ้ายไปขวาหรื อขวาไป
ซ้าย หรื อจากด้านบนมาด้านล่างหรื อกลับกันครับ

Format Characters within Multiline Text:


ตั=งค่ารู ปแบบข้อความ : ระหว่างการสร้างข้อความบนคําสัง Multiline Text ผูใ้ ช้สามารถ
เปลียนรู ปแบบข้อความโดยเลือกทีข้อความ จากนั=นปรับค่าได้ตามต้องการ เช่น สร้างเส้น
ใต้ขอ้ ความ, ข้อความหนา, สี หรื อฟ้อนท์รวมถึงความสู งได้
100
Indent Multiline Text and Use Tabs:
สร้างย่อหน้าโดยใช้ Tabs: ผูใ้ ช้สามารถจัดเรี ยงข้อความโดยกําหนดย่อหน้า
โดยใช้ Tabs สําหรั บลูกศรที บริ เวณมุมของ Multiline Textสามารถปรับ
ขยายได้ตามต้องการ

Specify the Line Spacing:


กําหนดระยะบรรทัดของข้อความ : ที Multiline Text จะมี Line Spacing ซึ ง
หมายถึง ระยะห่างระหว่างจุดอ้างอิงของอักษรชุดหนึ งกับจุดอ้างอิงของอักษรชุด
ถัดไป ทั=งนี= ผูใ้ ช้สามารถคลิ ก ขวาและเลือกคําสัง Paragraph เข้ากําหนดระยะ
ถัดไป ของ Cursor ดังกล่าวได้

Create Stacked Characters:


สร้างข้อความซ้อน : ข้อความซ้อน ตัวอย่างเช่น เลขเศษส่ วนหรื อข้อความทีบอกถึงระยะคลาดเคลือนรวมไปถึงหน่ วยการวัด
ต่างๆ. ก่อนสร้างข้อความหรื อตัวเลขซ้อน ผูใ้ ช้ตอ้ งเลือกหมวด Special Character เพือเลือกสัญลักษณ์และตําแหน่ งที
ต้องการ หรื อในขั=นตอนพิมพ์ขอ้ ความ มีสัญลักษณ์ทีใช้เพือแสดงข้อความซ้อนดังนี=
- Slash (/): เลขหรื อข้อความเศษส่ วน ให้พิมพ์ตวั เลขทีต้องการ คันด้วยเครื องหมาย (/)
จากนั=นคลิกขวาเลือก Stack
- Pound sign (#): เลขหรื อข้อความเศษส่ วน ให้พิมพ์ตวั เลขที ต้องการ คันด้วย
เครื องหมาย (#) จากนั=นคลิกขวาเลือก Stack
- Carat (^): เลขหรื อข้อความซ้อน ให้พิมพ์ตวั เลขทีต้องการ คันด้วยเครื องหมาย (^)
จากนั=นคลิกขวาเลือก Stack
101
Work with Text Styles:
การทํางานของ Text Style:
เพือกําหนดรู ปแบบของอักษร เราใช้ Text Style เพือเลือกชนิดของฟ้ อนท์, ความสู ง, ขนาดรวมถึงระนาบของตัวอักษร โดย
ค่าของ Text Style เริ มต้นจะตั=งอยู่ที Standard และเมือเราต้องการใช้ ให้เลือก Text Style ที ต้องการเป็ น Current และค่า
เริ มต้นของ Standard เป็ นคุณสมบัติดงั นี=

To create a text style:


การสร้าง Text Style
1. เลือก Format > Text Style จาก Main Menu
2. เลือก New จากนั=นพิมพ์ ชือ Text Style ทีต้องการ เลือก OK
3. ด้านล่างหมวด Measurements สามารถตั=งค่าความสู ง, ความหนา และระนาบ ของตัวอักษร
4. ทีหมวด Font เลือกชนิดของ Font ทีต้องการ
5. จากนั=น Apply และ Ok
102
Create Leader
Leaders:
Leader ประกอบด้วยเส้น Line หรื อ Spline มีหวั ลูกศรทีด้านใดด้านหนึง และตัวเลขหรื อข้อความแสดงรายละเอียด (อาจเป็ น
Mtext, Block หรื อ Tolerance) อาจวางอยูบ่ นหรื อส่ วนปลายของ Leader โดยทัวไป เรามักสร้างหัวลูกศรทีตําแหน่งแรก และ
ตามด้วยข้อความบอกรายละเอียด ระยะหรื ออืนๆ
ขั=นตอนสร้าง Leader และรายละเอียด
1.เลือก Dimension > Leader จาก Main Menu
2. กําหนดจุดเริ มต้นของ Leader
3. คลิกเพือกําหนดจุด Endpoint เส้น Leader ส่ วนแรก
4. Specify additional leader line segment endpoints. คลิกเพือ
สร้าง Line เพิมเติมจากข้อ 3
5. หลังจากนั=น Enter
6. Type the annotation, and press Enter to enter the next line of
annotation text. พิมพ์รายละเอียด ค่าระยะทีต้องการจากนั=น Enter
ใส่ค่าเพิมเติม
7. เลือก Enter อีกครั=ง เพือจบคําสัง

Modify Text การปรับแต่ งชุดอักษร


Change Text:
วัตถุ Text ทั=งหมดสามารถย้าย, หมุน, ลบ หรื อ คัดลอก เช่นเดียวกับวัตถุทวไป ั สามารถเปลียนคุณสมบัติของ Text ได้ที
Properties panel สําหรับ Single-Line Text ผูใ้ ช้มีสองวิธีในการปรับแก้ ดังนี=
- หากต้องการแก้ไขข้อความ พิมพ์คาํ สัง DDEDIT เพือแก้ไข
- หากต้องการเปลียนรู ปแบบ Text Style, ขนาดและเนื= อหา สามารถใช้ Properties Palette เพือปรับแก้ส่วนต่างๆได้
103
ปรับแก้ขอ้ ความจากคําสัง single or multiline text:
1. พิมพ์คาํ สัง DDEDIT > Enter
2.เลือกข้อความทีต้องการ
3. หากเป็ นข้อ ความที สร้ า งมาจาก Single-Line
Text จะสามารถ Edit ได้ทนั ที เลือก Enter เมือ
เสร็ จสิ=น
4. หากเป็ นข้อความทีสร้างจาก Multiline text เมือคลิก จะเปิ ดให้แก้ไขข้อความตามทีต้องการ

แก้ไขคุณสมบัติ Single or Multiline text:


1. เลือกข้อความทีสร้างจาก Single Line หรื อ Multiline Text
2. คลิกขวาเพือเปิ ดเมนู เลือก Properties
3. ทีหมวด Properties สามารถแก้ไขข้อความทีแถบ Content และสามารถเปลียนคุณสมบัติ
อืนๆตามทีต้องการได้
4. ผูใ้ ช้สามารถดับเบิ=ล คลิกทีข้อความ Multiline Text เพือเปลียนคุณสมบัติได้เช่นกัน
104
Attribute Increment
คําสังช่วย เรี ยงลําดับตัวเลข หรื อ ตัวอักษร เช่น 1 2 3 ฯ หรื อ A B C บนวัตถุ ที เป็ น Block และ Block Attribute สามารถ
กําหนดให้เรี ยงลําดับตัวเลข และ ตัวอักษรบน Drawing ได้
- ใช้คาํ สัง ในหมวด Express > Attribute Increment
- คลิกเลือกตัวเลข หรื อ ตัวหนังสื อทีต้องการ เลียงลําดับ
- จากนั=นคลิกวาง ตัวเลข หรื อ ตัวหนังสื อ ตามต้องการ

คําสัง CHECK SPELLING


CHECK SPELLING ถ้ามีการเขียนคําผิด จะมีจุดสี แดงเพือตรวจคําทีสะกดผิด อยูด่ า้ นล่างของคําสังอักษร Text
u.v พิมพ์คาํ สัง Mtext จากนั=นไป setting เลือก Editor Settings > Check Spelling เพือเปิ ดคําสังตรวจสอบคําผิด
u.w จากนั=นพิมพ์ประโยคหรื อข้อความ ลงในคําสัง text เมือเราพิมพ์ผิดจะมี จุดไข่ปลาด้านล่างตัวอักษรเป็ น
สี แดงเราสามารถคลิกขวาเพือเลือกคําทีถูกต้องได้
105
Chapter 9
Dimensions and Tolerances

Dimension หรื อ เส้นบอกขนาดของวัตถุ (เช่น ความยาว, ความกว้าง) บอกระยะทางหรื อมุมต่างๆ รวมถึงระยะห่ างระหว่าง
จุดเริ* มต้น และ จุดสิ- นสุ ด Dimension แบ่งออกเป็ น 5 ประเภท ดังนี-
Linear (เส้นบอกขนาดเชิงเส้น)
Angular (บอกค่ามุม)
Radial (บอกค่ารัศมี)
Diametral (เส้นผ่าศูนย์กลาง)
Ordinate (บอกตําแหน่งพิกดั )

Dimension มีองค์ประกอบดังนี-
1. Dimension text: ตัวเลขหรื อข้อความที* บอกค่าการวัดได้ อาจ
ประกอบด้วยค่าการเผื*อหรื อ ส่ วนเติมหน้า-หลังของระยะและอื*นๆ
2. Dimension line: เส้นระยะบอกถึงทิ ศทางของระยะ หากเป็ น
ระนาบเชิงเส้น เส้นระยะเป็ นเส้นตรง หากบอกค่ามุม เส้นระยะเป็ น
เส้นโค้งระหว่างมุม เป็ นต้น
3. Arrowhead: โดยปรกติหัวลูกศรจะชี- ท- งั สองด้านของระยะ ผูใ้ ช้
สามารถเข้าตั-งขนาดและรู ปร่ างได้
4. Extension lines: เส้นที* ช- ี จากจุ ดของวัตถุข- ึนไปต่อเนื* องกับเส้น
ระยะ เพื*อบอกถึงช่วงที*วดั ระยะ

Create Dimensions การสร้ างเส้ นบอกระยะ


ผูใ้ ช้ส ามารถสร้ างเส้นบอกระยะโดยเลือ กวัตถุที* ต ้องการแล้ว กํา หนดตําแหน่ ง หรื อ สร้ างเส้นบอกระยะโดยกําหนดจุ ด
ตําแหน่งที*ตอ้ งการ สองจุด
106
Horizontal and Vertical Dimensions:
เมื*อผูใ้ ช้เลือก Linear dimensions, โปรแกรมจะดึงเส้นบอกระยะในแกน X ,Y หรื อ
แนวตั-ง,แนวนอน ทั-งนี- ขึ- นอยู่กบั วัตถุหรื อตําแหน่ งที* เลือก อย่างไรก็ตาม ผูใ้ ช้ส ามารถ
กําหนดการวางเส้นบอกระยะได้ท-งั แนวตั-ง,แนวนอน
การให้เส้นระยะแนวตั-งและแนวนอน
1. Main Menu เลือก Dimension > Linear
2. จากนั-น Enter และเลือกวัตถุที*ตอ้ งการ หรื อระบุตาํ แหน่งทั-งสองจุด จากนั-น
3. วางตําแหน่งเส้นบอกระยะตามเหมาะสม

Create Aligned Dimensions (การบอกระยะระนาบเอียง)


ในการให้เส้นบอกระยะระนาบเอียงนั-น เส้นบอกระยะจะขนานกันไปเช่ นเดี ยวกับ
Linear dimension และ extension line ชี- ตาํ แหน่งเริ* มต้นและสิ- นสุ ด เส้นบอกระยะ
ระนาบเอียง เมื*อวางในลักษณะขนานไปกับวัตถุ โปรแกรมจะสร้าง extension line
ในระนาบเดียวกันอัตโนมัติ
การให้เส้นบอกระยะระนาบเอียง
1. Main menu เลือก Dimension > Aligened
2. จากนั-นเลือกวัตถุที*ตอ้ งการ หรื อกําหนดตําแหน่งทั-งสองจุดจากนั-น
3. วางตําแหน่งเส้นบอกระยะตามเหมาะสม

Create Baseline and Continued Dimensions:


ทั-ง Baseline and continued dimensions คือ ประเภทหนึ* งของ linear dimensions. Baseline dimensions คือ การให้ระยะจาก
จุดเริ* มต้นเดียวกัน continued dimensions คือการให้ระยะต่อจากจุดสุ ดท้ายของการบอกระยะนั-นๆ ซึ* งการให้เส้นบอกระยะ
ทั-งสองแบบนั-น ผูใ้ ช้ตอ้ งมี linear, aligned, หรื อ angular dimension.
การให้เส้นบอกระยะจากจุดเริ* มต้นเดียวกัน
1. ที* Main menu เลือก Dimension > Baseline
2. โปรแกรมจะดึงเส้นบอกระยะอัตโนมัติจากจุดเริ* มต้น
3. จากนั-นเลือกตําแหน่ งหรื อวัตถุที*ตอ้ งการ ทําการวางเส้นบอกระยะ
4. สามารถใช้คาํ สัง* ได้ต่อเนื*อง ตามต้องการ
5. เมื*อเสร็ จสิ-น ให้ Enter 2 ครั-ง เพื*อจบคําสั*ง
107
การให้เส้นบอกระยะต่อเนื* อง
1. ที* Main menu เลือก Dimension > Continue
2. เลือก Enter เพื*อเลือกเส้นบอกระยะที*ตอ้ งการ
3.เลือกเส้นระยะที*ตอ้ งการโปรแกรมจะให้เลือกตําแหน่งที*ตอ้ งวางเส้นบอกระยะ
4.สามารถให้เส้นบอกระยะต่อเนื* องได้ตามต้องการ
5. เลือก Enter 2 ครั-ง เพื*อจบคําสั*ง

Create Rotated Dimensions:


ผูใ้ ช้สามารถปรั บหมุนเส้นบอกระยะโดย ใช้ฟังก์ชนั* ในคําสั*ง DIMLINEAR ยกตัวอย่างภาพ
ด้า นขวา เส้ น บอกระยะถู ก ปรั บ ให้ร ะนาบองศาเดี ย วกัน กับ วัต ถุ โ ดยใช้ฟั ง ก์ ชั*น ในคํา สั* ง
DIMLINEAR

Create Angular Dimensions


Angular dimensions ใช้วดั มุมที*เกิดจาก Line หรื อจุดตําแหน่ ง 3 จุดเชื*อมกัน สามารถบอกระยะค่ามุมเป็ นลักษณะ วงกลม,
เส้นโค้งหรื อเส้นตรง (Line) เป็ นลักษณะมุมปิ ด เราสามารถปรับแก้ตวั เลขหรื อระนาบ ก่อนที*จะวางเส้นบอกระยะได้
การให้ระยะมุมระหว่างเส้นตรงสองเส้น
1. ที* Main menu เลือก Dimension > Angular
2. เลือก Line หรื อ ฝั*งแรก
3. เลือก Line ที* 2 หรื อ ฝั*งที* 2
4. จากนั-นทําการวางเส้นบอกระยะ ตามความเหมาะสม

การให้ระยะมุมกับวัตถุส่วนโค้ง
1.ที* Main menu เลือก Dimension > Angular
2.เลือกวัตถุส่วนโค้ง
3.จากนั-นทําการวางเส้นบอกระยะ ตามความเหมาะสม
108
Create Radial Dimensions:
ผู ้ใ ช้ส ามารถให้ เ ส้ น บอกระยะรั ศ มี กับ วงกลมหรื อส่ ว นโค้ง โดย เส้ น บอกระยะ
ประกอบด้วยเส้น, ค่ารัศมีและหัวลูกศรชี-ตาํ แหน่ง
การให้ค่ารัศมี
1. ที* Main Menu เลือก Dimension > Radius
2. เลือกวัตถุส่วนโค้งหรื อ วงกลม
3. จากนั-นทําการวางเส้นบอกระยะ ตามความเหมาะสม

Jogged Dimension:
Jogged dimension ชื* อเต็ม คือ jogged radius dimension หรื อที*เรี ยกว่า scaled radius dimension" ผูใ้ ช้กาํ หนดจุดศูนย์กลาง
เพื*อวางตําแหน่ งอ้างอิ งของเส้นบอกระยะของวงกลมหรื อส่ วนโค้งเพื* อใช้เป็ นจุดอ้างอิงและจะมีเส้นบอกรั ศมีที*ส่วนโค้ง
คําสัง* DIMJOGGED นั-นมีประโยชน์สาํ หรับกรณี ที*จุดศูนย์กลางหรื อจุดอ้างอิง ไม่อยูใ่ นตําแหน่งที*แสดงได้
การสร้างเส้นบอกระยะ Jogged Dimension
1.ที* Main Menu เลือก Dimension > Jogged
2.เลือกวัตถุส่วนโค้งหรื อ วงกลมที*ตอ้ งการ
3.เลือกจุดศูนย์กลาง
4.เลือกตําแหน่งวางเส้นบอกระยะ

Create Diameter Dimensions:


ผูใ้ ช้ส ามารถสร้ า งเส้นบอกระยะผ่า นศู น ย์กลางกับ วัต ถุ ว งกลมหรื อวัต ถุส่ ว นโค้ง ซึ* งการทํา งานคล้ายคลึ งกับ Radial
Dimension และ แน่นอนว่าสามารถเข้าแก้ไขปรับค่าส่ วนต่างๆได้ที* Dimension Style
การให้เส้นบอกระยะผ่านศูนย์กลาง
1. Diameter from the main menu. ที* Main Menu เลือก Dimension > Diameter
2.เลือกวัตถุส่วนโค้งหรื อ วงกลมที*ตอ้ งการ
3.จากนั-นทําการวางเส้นบอกระยะ ตามความเหมาะสม
109
Create Ordinate Dimensions:
มักใช้บอกพิกดั ในแนวตั-งฉากซึ* งส่ วนใหญ่อา้ งอิงจากจุด
ที*เรี ยกว่า Datum ตัวอย่างเช่น รู เจาะบนชิ-นงาน เส้นบอก
ระยะพิกดั ประกอบด้วย เส้นลูกศรพร้อมด้วย ค่าตําแหน่ ง
X,Y และ ทิศทางที*วดั จะมีทิศทางตาม current UCS
การให้เส้นบอกระยะพิกดั
1. Choose ที* Main Menu เลือก Dimension > ordinate
2. เลือกตําแหน่งพิกดั ที*ตอ้ งการ
3. จากนั-นทํา การวางเส้นบอกระยะ ตําแหน่ งตามความ
เหมาะสม

Create Quick Dimension:


สร้างหรื อแก้ไขเส้นบอกระยะด่วนด้วย คําสั*ง QDIM
การให้เส้นบอกระยะด่วน
1. เลือก Dimension > Quick Dimension
2. เลือกวัตถุ (พื-นที*ปิดหรื อเป็ นทรงเรขาคณิ ต)
3. ที* command line โปรแกรม ขึ-นว่า
Specify dimension line position, or[Continuous/Staggered/Baseline/Ordinate/Radius/Diameter/datumPoint/Edit/seTtings]
<Continuous>:" ผูใ้ ช้สามารถเลือกฟั งก์ชน*ั ที*ตอ้ งการ เช่น หากต้องการวัด เส้นผ่านศูนย์กลาง พิมพ์ d เป็ นต้น

Create Arc Length Dimension:


คําสั*งนี- ใช้ได้กบั เส้นส่ วนโค้งหรื อ เส้นต่อเนื* องส่ วนโค้ง GstarCAD สร้างเส้นบอกระยะส่ วนโค้ง โดยมีเส้นบอกระยะตรง
ตําแหน่ งของจุ ดสิ- นสุ ดนั-นๆ และ ที* ค่าตัวเลขจะมีสัญลักษณ์ ส่วนโค้งอยู่เหนื อหัว ซึ* งแตกต่ างกับ linear dimension and
angular dimension
การให้เส้นบอกระยะส่ วนโค้ง
1. ที* Main Menu เลือก Dimension > Arc Length
2. เลือกเส้นหรื อส่ วนโค้ง
3. จากนั-นทําการวางเส้นบอกระยะ ตามความเหมาะสม
110
Use Dimension Styles การใช้ Dimension Styles
ผูใ้ ช้สามารถควบคุมลักษณะต่างๆของ Dimension ได้โดยเข้าที*ส่วนปรับแต่ง โดย Format เริ* มต้น จะชื* อ Standards
ส่ วนการปรับแต่งอยูท่ ี*โหมด Dimension Styles
Dimension Styles:
ผูใ้ ช้สามารถสร้าง, บันทึ ก, แก้ไข, ล้างค่าปรับแต่ง หรื อ ลบชื* อต่างๆ Dimension styles ได้ให้โอกาสผูใ้ ช้งานปรั บแต่งค่า
ต่างๆได้อย่างอิสระ สามารถตั-งค่า Dimension ได้ดงั นี-
- ปรับค่าเส้นชี-ตาํ แหน่ง, เส้นบอกระยะ, หัวลูกศร, เส้นหรื อจุดศูนย์กลาง โดยทั-งหมดสามารถจัด ย้ายได้อย่างอิสระ
- ปรับค่าส่ วนต่างๆของ Dimensions ในกรณี ที*วตั ถุมีความต่อเนื*องกัน และ การปรับองศา ของข้อคงาม ตัวเลข
- ปรับค่าข้อความหรื อตัวเลข รวมถึงหน่วยการใช้งาน

การสร้าง Dimension Style


1. ที* Main Menu เลือก Dimension > Dimension Style
2. ที* Dimension Style Manager เลือกที* New
3. ทําการตั-งชื*อ จากนั-นเลือก Style ที*ตอ้ งการ เลือก Continue
4. สําหรับ New Dimension Style ปรับแต่งค่าตามต้องการ
ทุก Tab ตั-งค่า
5. เมื*อเสร็ จสิ-น เลือก OK.
111
การเปลี*ยนชื*อ Dimension Style
1. ที* Main Menu เลือก Dimension > Dimension Style
2. เมื*อเปิ ดตั-งค่า เลือกได้ 2 วิธี
- ดับเบิ-ลคลิกที*ชื*อที*ตอ้ งการ
- คลิกขวาที*ชื*อที*ตอ้ งการจากนั-นเลือก Rename
3. สร้างชื*อใหม่
4. เลือก Close เพื*อออกจากคําสัง*

การลบชื*อของ Dimension Style


1. ที* Main Menu เลือก Dimension > Dimension Style
2. ที*หมวด Style list คลิกขวาชื*อที*ตอ้ งการ จากนั-น Delete
3. Close เพื*อจบการทํางาน

การแสดงผลรายละเอียดเกี*ยวกับ Dimension Style ปัจจุบนั


1.ที* Main Menu เลือก Dimension > Dimension Style
2.ทางด้านขวา เลือก Compare
3. โปรแกรมจะเปิ ดฟั งก์ชน*ั Compare ผูใ้ ช้สามารถเลือก Dimension Style
อื*นๆ มาเปรี ยบเทียบได้ โดยเลือกจากเมนูรายชื*อ
4. หากผุใ้ ช้ตอ้ งการทราบความแตกต่างระหว่าง Style ของเส้นบอกระยะ
ให้เลือก Style หนึ* งที* Compare Box และอีก 1 Style ที* ช่ อง WITH
โปรแกรมจะแสดงข้อมูล
5. Close เพื*อจบการทํางาน
112
Modify Dimension Lines:
ปรับแต่งเส้นระยะ เมื*อเข้ามาในส่ วนปรับแต่ง สั งเกตที* Line
Tab ผูใ้ ช้สามารถปรับสี , นํ-าหนักเส้น, ของเส้นระยะ รวมถึง Extension
Line, ระยะห่างเส้นอ้างอิงต่างๆของ Dimension
Modify Extension Lines:
ปรับแต่ง Extension lines สามารถปรับค่าได้ดงั นี- สี , นํ-าหนักเส้น,
ระยะห่ างระหว่างเส้นกับวัตถุ (ตําแหน่ งชี- จุด) ,ความยาวของ Extension
Line และการเปิ ดหรื อซ่ อนเส้น ผูใ้ ช้สามารถปรับค่าเหล่านี-ที* Line Tab
ของ Dimension Style
- ความยาวของ Extension Line หมายถึง ความยาวของเส้น Extension Line ถึงจุดเส้นบอกระยะ
- Start offset หมายถึงระยะห่างระหว่างวัตถุ (ชี-จุด) กับ extension line เรี ยกว่า extension origin offset.

Choose Dimension Arrowheads:


เลือกใช้หัวลูกศร ผูใ้ ช้สามารถปรั บแต่ งขนาดและรู ปลักษณ์ ของ
หัวลูกศรหรื อจุด Mark ต่างๆที*เส้นบอกระยะ หัวลูกศรบนเส้นบอกระยะ
เดียวกันผูใ้ ช้สามารถเลือกให้เหมือนหรื อไม่ได้ หัวลูกศรแรกจะพุ่งเข้าหา
Extension Line ที* 1 หัวลูกศรที* 2 จะพุ่งเข้าหา Extension Line ที* 2
การเลือกหัวลูกศร
1. ที* Main Menu เลือก Dimension > Dimension Style
2. ที*ปรับค่า Dimension Style เลือก Style ที*ตอ้ งการ เลือก Modify
3. เลือกที*แถบ Symbols and Arrows
4. เลือกหัวลูกศรที*ตอ้ งการ ที*หมวด Arrowheads
5. เลือก Ok และ Close เมื*อเสร็ จสิ- น คําสัง*
113
Fit Dimension Text within Extension Lines:
ตั-งค่าข้อความหรื อเลขบอกระยะภายในเส้นบอกระยะ เมื*อผูใ้ ช้วาง
เส้นบอกระยะแล้วพบว่าไม่สามารถวางข้อความ,ตัวอักษรหรื อหัวลูกศรได้
อาจต้องเข้าปรับ ขนาดของวัตถุดงั กล่าว โดยค่ าเริ* มต้น โปรแกรมจะให้
ตําแหน่ ง การวางตามความเหมาะสมกับ พื- นที* หากเกิดกรณี ดงั กล่าว ให้
เลือก ที* Tab Adjust
To format dimensions:
1. ที* Main Menu เลือก Dimension > Dimension Style
2. ที*ปรับค่า Dimension Style เลือก Style ที*ตอ้ งการ เลือก Modify
3. ที*หมวด Modify เลือก แถบ Adjust
4. สังเกตที*หมวด Fit และ Text Placement เลือก Option
5. เมื*อเสร็ จสิ-น เลือก OK

Fit Diameter Dimension Text:


ตั-งค่าข้อความหรื อค่าเส้นผ่านศูนย์กลาง ผูใ้ ช้สามารถสร้าง Diameter dimensions โดยมีขอ้ ความอยู่ดา้ นบนหรื อท้าย
เลือกที* fit options และเลือกหมวด "Always keep text between ext lines" ที*แถบ Adjust tab.
114
Align Dimension Text:
ปรั บแนวข้อความ.ไม่ว่าข้อความจะอยู่ดา้ นในหรื อด้านนอก
ของเส้นบอกระยะ จะไม่มีผลต่อตําแหน่ งอ้างอิง ผูใ้ ช้สามารถเลือก
การวางข้อความเป็ นลักษณะแนวเดียวกับ Dimension หรื อแสดงเป็ น
แนวเดิม
ขั-นตอนเข้าปรับแนวข้อความบนเส้นบอกระยะ
1.ที* Main Menu เลือก Dimension > Style
2. ที*ปรับค่า Dimension Style เลือก Style ที*ตอ้ งการ เลือก Modify
3. เลือกที*แถบ Text tab.
4. ตั-งค่าตามต้องการ
5.เมื*อเสร็ จสิ- น เลือก OK

Position Dimension Text Vertically:


ตําแหน่งข้อความในแนวตั-ง การวางข้อความในลักษณะนี-
สัมพันธ์กบั เส้นบอกระยะ เราสามารถวาง
ด้า นบน, ล่ า งหรื อตรงกลาง ติ ด กับ เส้ น บอกระยะ หรื อ ใช้ JIS
Dimensions
Position Dimension Text Horizontally:
ตํา แหน่ ง ข้อ ความในแนวนอน การวางข้อ ความในลัก ษณะนี-
สัมพันธ์กบั เส้นบอกระยะเช่นกัน สําหรับแนวนอนนั-น เราสามารถ
ตาม Setting นี- At Ext Line 1, At Ext Line 2, Over Ext Line1, and
Over Ext Line2.

Dimension Units:
การตั-งค่ าหน่ ว ย ผูใ้ ช้สามารถกํา หนดรู ป แบบ หน่ ว ยใช้งานทั-ง
แบบธรรมดาหรื อปรับหน่ วยเพิ*มเติ ม ดังนี- หน่ วยสําหรั บ Linear and
angular dimensions, รวมถึ ง รู ปแบบของหน่ วยใช้งาน, รู ปแบบชุ ด
ตัวเลข, เครื* องหมายเชื*อม และอื*นๆ การตั-งค่าเหล่านี- จะควบคุมค่าต่างๆ
ที*ปรากฎ
115
การปัดจํานวนเต็ม
1. ที* Main Menu เลือก Dimension > Style
2. ที*ปรับค่า Dimension Style เลือก Style ที*ตอ้ งการ เลือก Modify
3. เลือกที*แถบ Text tab.
4. ที*หมวด Linear Dimensions and Angular Dimensions, เลือกค่าที*ไกล้เคียงกับจํานวนเต็มที*ตอ้ งการ
5. เมื*อเสร็ จสิ-น เลือก OK

Alternate Units:
ผูใ้ ช้สามารถสร้ าง Dimension จากหน่วยใช้งานพร้อม
กัน ได้ 2 ประเภทของการวัด ในบางครั- งเราอาจต้อ งวาง
Dimension 2 รู ปแบบ เช่ น หน่ วยนิ- วหรื อฟุตกับหน่ วยเมตร
หรื อ มิลลิเมตร ในไฟล์งานเดียวกัน ซึ* งหน่ วยที* 2 จะแสดงอยู่
ในช่ องคล้ายวงเล็บ บนเส้นบอกระยะ. Alternative units นี-
ใช้ได้เฉพาะ linear dimensions เท่ านั-น. และหน่ ว ยของ
alternate units กําหนดเป็ นเลขฐาน 10 เท่านั-น
การสร้างหน่วยใช้งานพร้อมกัน
1. ที* Main Menu เลือก Dimension > Style
2. ที*ปรับค่า Dimension Style เลือก Style ที*ตอ้ งการ
3. เลือกที*แถบ Alternate Units tab.
4. เลือกที* Display Alternate Units
5. เลือกตั-งค่าตามต้องการ
6. เมื*อเสร็ จสิ-น เลือก OK

Display Lateral Tolerances:


แสดงค่าเผื*อทางด้านข้าง ค่าเผื*อแสดงค่าที* อาจเปลี*ยนแปลงของระยะทางที* เราวัดไว้ ควบคุมความแม่นยําที* ตอ้ งการ
โดยเข้ากําหนดค่าเผื*อในงานของท่านเอง โดยค่าเผื*อเหล่านี- อาจมากหรื อน้อยขึ-นอยู่กบั งานที*ทาํ นอกจากนี- เรายังสามารถใช้
ความคลาดเคลื*อนเหล่านี-บอกระยะค่าเบี*ยงเบนต่างๆที*ใช้กบั ชิ-นงานหรื อรู ปแบบหรื อสถานที*ได้
116
ค่าเบี* ยงเบนที*เป็ นค่าเผื*อแสดงผลเป็ นสัญลักษณ์ ค่าบวกและ ค่าลบ ขึ-นอยู่กบั รู ปแบบของเส้นบอกระยะนั-นๆ ถ้าค่า
เบี*ยงเบนมีความเท่ากัน สัญลักษณ์ ± จะอยูก่ ่อนข้อความ เป็ นที*รู้ว่ามีค่าเท่ากัน ในอีกแง่หนึ*ง ค่าบวกมักอยูเ่ หนือค่าลบ
ตําแหน่งของค่าเผื*อนั-นสัมพันธ์กบั เส้นบอกระยะ นั-นๆ ตัวอย่างเช่น เราสามารถปรับค่าเผื*อตามทิศทางของเส้นบอก
ระยะ และกําหนดตําแหน่งด้าน บน กลาง ล่าง บน Dimension ได้

Set the Scale for Dimensions:


ตั-งค่า Scale สําหรับ Dimension นั-นขึ-นอยู่กบั การพล็อตงานบน Layout หรื อ Drawing Dimension scale มีผลกับวัตถุ
ชิ-นงานบน Drawing เช่น ความสู งของตัวอักษร, หัวลูกศร และมีผลกับระยะห่างของเส้นบอกระยะนั-นๆด้วย ยกตัวอย่าง เส้น
ชี- ตาํ แหน่งระยะ เมื*อเราสร้ าง Dimension ใหม่ข- ึนมา แนะนําให้ต- งั ค่าส่ วนประกอบต่างๆ ให้มีหน่ วยสัมพันธ์กบั Drawing
อย่างไรก็ตามค่าเผื*อ ระยะที*วดั ได้ พิกดั ของวัตถุหรื อมุมที* วดั ได้ ไม่สามารถเปลี*ยนตาม Scale ขั-นตอนการสร้าง Dimension
บนหน้าพิมพ์ Layout มีดงั นี-
- Dimension in model space for plotting in model space. Dimension
เมื*อพิมพ์โดย Model space หากผูใ้ ช้ตอ้ งการ สร้าง Dimension ให้มีขนาดตรงกับ Scale ที*พิมพ์งาน เราต้องตั-งค่าด้วยคําสั*ง
DIMSCALE เพื*อตั-งค่าให้สมั พันธ์กบั Plot Scale ตัวอย่างเช่น หากเราพล็อตบน Scale ¼ เราต้องตั-ง DIMSCALE เป็ น 4
- Dimension in model space for plotting in paper space.
หากผูใ้ ช้ต้อ งการ สร้ า ง Dimension ที* ป รั บ Scale ได้เ อง อัตโนมัติ บ นหน้า พิ มพ์งาน Layout เราต้องตั-งค่ าที*
DIMSCALE ไว้ที*0 ขั-นตอนนี-มีประโยชน์ เมื*อหากเจอสถานการณ์ดงั นี-
เมื*อ Dimension ถูกนําไปใช้บน XREF เมื*อเรา สร้าง เส้นบอกระยะสําหรับวัตถุ Isometric 3D เพื*อป้ องกัน Dimension
ไม่ให้ ไปแสดงบนหน้า Viewport แนะนําให้ให้ต- งั ค่า Layer แต่ละประเภท ของ Dimension และบนแต่ละหน้า Viewports
- Dimension in layouts
ผูใ้ ช้สามารถสร้าง Dimension บนหน้า Layout โดย คลิกเลือกวัตถุที*ตอ้ งการบนหน้า Model Space หรื อ ให้ตามจุด
Snap ของวัตถุน- นั ๆ สําหรับ dimensions ที*สร้างบน paper space ไม่จาํ เป็ นต้องตั-ง Scale ใหม่ใช้Scale ที*ต- งั ไว้ได้ทนั ที
117
Modify Existing Dimensions การปรับแต่ งเส้ นบอกระยะทีCมอี ยู่
ผูใ้ ช้สามารถปรับแต่งเส้นบอกระยะหรื อ Dimension ที*มีอยู่ได้ ไม่ว่าจะเลือกปรับจาก ตัว Dimension เลยหรื อ ตั-ง
ค่าที* Dimension Styles.
Modify Dimension Style:
ปรั บแต่ง Dimension Style เราสามารถ
ปรับแต่งคุณสมบัติท- งั หมดของ Dimension ที*
มีอยู่แล้ว และยังสามารถสร้าง Style อื*น ทับ
ตัวเดิมที* มีอยู่ได้ และหากเราแก้ไข Dimension
อันใดอันหนึ* งแล้ว Dimension ตัวเดี ยวกันจะ
เปลี*ยนตามทั-งหมด

Make Dimensions Oblique:


สร้ า ง Dimension ในแนวเฉี ย ง โดยปกติ เส้นชี- ร ะยะจะถูกสร้ างในมุ ม
อัตโนมัติ เป็ น 90 องศา เราสามารถเปลี*ยนทิศทางของ เส้น Extension lines ได้
โดยยังสัมพันธ์ กับเส้นบอกระยะ เช่นเดิม.
ขั-นตอนสร้างเส้นบอกระยะแนวเฉียง
1. ที* Main Menu เลือก Dimension > Oblique
2. เลือกที* linear dimension จากนั-น Enter
3. ใส่ ค่าองศาตามต้องการ > Enter
หมายเหตุ;
หากต้องการปรับแนวเอียงและผูใ้ ช้ไม่ทราบค่าที* แน่นอน ให้ใช้ Snap และ เลือก
ตําแหน่งอ้างอิง สองจุดเพื*อหาค่า
118
Dimension Jogged Linear:
คําสั*ง DIMJOGLINE นําไปใช้เมื*อต้องการเพิ*มสัญลักษณ์ jog บน linear
dimensions. สัญลักษณ์ Jog เมื*อใช้ จะถูกวางที*ตาํ แหน่งระหว่างข้อความและ เส้น
ชี- ระยะ หากต้องการเลื*อนสัญลักษณ์ Jog เราสามารถเลือก ข้อความหรื อตัวเลข
ปรั บไป มา เพื* อเลื* อน jog หรื อ ปรั บที* คุณสมบัติข อง Dimension เพื* อเลื*อ น
ตําแหน่ง.
ขั-นตอนเพิ*ม Jog บน linear dimension
1. ที* Main Menu เลือก Dimension > Jogged Linear from the main menu
2. เลือกที* linear dimension จากนั-น Enter
3. กําหนดตําแหน่งที*ตอ้ งการแทรกสัญลักษณ์หรื อ Enter เพื*อวางในตําแหน่งที*โปรแกรมตั-งให้

Dimension Inspection:
ถูกสร้างเพื*อส่ งเป็ นค่าความถี*ในการทํางานส่ วนต่างๆของ ค่าบน Dimension รวมถึงค่าเผื*อ นั-นสามารถทําให้มน*ั ใจได้
ว่าค่าไม่ผิดจากที*ต- งั Dimension inspection ประกอบด้วย กรอบที* บรรจุขอ้ ความมากที* สุด 3 หมวดดังนี- inspection tag,
dimension value and inspection rate.
Inspection tag: ใช้สาํ หรับกําหนดจุดข้อความ ตรวจสอบได้จาก ข้อความทางด้านซ้าย
Dimension value: คือค่าเดิมก่อนจะใช้ dimension inspection, ซึ* งกําหนดจุอยู่ตรงกลางของ Dimension ประกอบด้วย ค่าเผื*อ,
ข้อความและค่าที*วดั ได้
Inspection rate: คือ ค่าตรวจสอบเป็ น (%) ซึ* ง ถูกวางทางด้านขวาภายใน กําหนดความต้องการตามวัตถุที*ถูกสร้าง
To create an inspection dimension:
1. ที* Main Menu เลือก Dimension > Inspect from the main menu.
2. บน Inspection Dimension dialog box, เลือกที*แถบ Select Dimensions
3. เลือก dimensions ที* ตอ้ งการ จากนั-นเพิ* มเข้า ที* dimension inspection, จากนั-น
ENTER เพื*อเสร็ จคําสัง* และกลับไปที* dialog box
4. เลือกรู ปทรงจาก shape option
5. เลือก Label option เพื*อเพิ*มเข้าไปที* text box
6. เลือก Inspection Rate เพื*อเพิ*มค่า บน text box
7. เลือก OK
119
To remove an inspection dimension:
1. ที* Main Menu เลือก Dimension > Inspect from the main menu.
2. บน Inspection Dimension dialog box, เลือกที*แถบ Select Dimensions
3. เลือก dimensions ที*ตอ้ งการลบ inspection,จากนั-น Enter โปรแกรมจะกลับไปที* dialog box
4. เลือกที* Remove Inspection
5. เลือก OK เพื*อจบคําสัง*

Adjust Dimension Space:


เมื*อผูใ้ ช้สร้ าง Dimension หลายอัน โดยมีระนาบ ขนานกัน หรื อ เป็ นมุมองศา เราสามารถปรั บ ระยะระหว่าง
Dimension เหล่านั-นให้มีระยะเท่ากันได้ โดยใช้คาํ สั*ง DIMSPACE เพื*อเข้าปรับ ระยะขนานของเส้นบอกระยะที* ตอ้ งการ
หรื อ มุมองศา รวมถึงเส้นบอกระยะที*ทบั ซ้อนกัน โดยโปรแกรมจะทํางานอัตโนมัติหาก Dimension ดังกล่าวมีค่าไม่เท่ากัน
ถ้าผูใ้ ช้ต- งั ค่าระยะห่ างไว้ที* 0 เมื*อต้องการจะปรับระยะห่ างของ Dimension สามารถปรับทิศทางของ Dimension ได้อย่าง
อิสระ

Add Geometric Tolerances เพิมC ค่ าพิกดั ความเผืCอสํ าหรับรู ปร่ าง


ค่าพิกดั ความเผื*อสําหรับรู ปร่ างแสดงถึง ค่าเบี*ยงเบนที*ยอมรับได้ของรู ปร่ าง, รู ปแบบ, เป้ าหมาย, ตําแหน่งและค่าอื*นๆ
ผูใ้ ช้ใส่ ค่าพิกดั ความเผื*อนี- ได้ที* Control frames โดย control frames นี- ประกอบไปด้วยค่าพิ กดั ทั-งหลายโดยอยู่ใน1 ชุ ด
Dimension. ค่าพิกดั ความเผื*อสําหรับรู ปร่ าง อาจไม่จาํ เป็ นต้อง
มี Leader เราสามารถสร้างรู ปแบบต่ างๆที* คาํ สั*ง Tolerance
หรื อ Leader
120
ที*แผงควบคุมค่าพิกดั ความเผื*อสําหรับรู ปร่ าง ประกอบไปด้วย 2 รู ปแบบหรื อมากกว่า รู ปแบบแรกที* แผงควบคุมมี
สัญลักษณ์ที*แสดงถึงค่าพิกดั ความเผื*อต่างๆ เช่น รู ปร่ าง, รู ปแบบ, เป้ าหมาย, ตําแหน่ งและค่าอื*นๆ โดยตารางจะเข้ากําหนด
แนวเส้นตรง รู ปทรงโค้ง รู ปทรงกระบอก สามารถควบคุมได้ท-งั เส้นและพื-นผิว โดยสามารถวางเป็ นลักษณะพิเศษ

Geometric Tolerance Dialog Box:


1. Geometric Characteristics symbol (menu)
2. Tolerance Zone form (toggle)
3. Tolerance zone value
4. Material condition symbol (menu)
5. Datum reference 1 of 3
6. Datum reference 2 of 3
7. Projected tolerance zone symbol (toogle)
8. Projected tolerance zone value
9. Datum identifier

Geometric Tolerance Symbols:


1. Position (Location)
2. Concentricity or Coaxiality (Location)
3. Symmetry (Location)
4. Parallelism (Orientation)
5. Perpendicularity (Orientation)
6. Angularity (Orientation)
7. Cylindricity (Orientation)
8. Flatness (Orientation)
9. Circularity or roundness (Form)
10. Straightness (Form)
11. Profile of a surface (Profile)
12. Profile of a line (Profile)
13. Circular runout (Runout)
121
14. Total runout (Runout)
Material Conditions:
เงื*อนไขที*เหมาะสม ขึ-นอยู่กบั ประเภทของแผงควบคุม ผูใ้ ช้สามารถเพิ*มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางวางก่อนค่าที*ใส่ และ
สามารถกําหนดค่าดังกล่าวได้ในภายหลัง อีกทั-งสามารถใช้เงื*อนไขนี- กับวัตถุทุกขนาด
Datum Reference Frames:
แผงควบคุมข้อมูลอ้างอิง ประกอบไปด้วยสัญลักษณ์ที*ได้รับการปรับแต่งแล้ว Datum หรื อ ข้อมูลคือค่าพิกดั ที*อา้ งอิง
ตามทฤษฎีอย่างถูกต้อง โดยมีค่าวัดพิกดั ต่างๆ ที*ยืนยันอย่างถูกต้องตามตําแหน่ง, แกนและด้าน โดยโปรแกรมจะให้ datum 3
ประเภท และมีความสัมพันธ์อย่างต่อเนื*องกับสัญลักษณ์
Projected Tolerance Zones:
กําหนดความสู งของส่ วนตั-งฉากของพื-นที* ที*ทาํ การยืดออกไป (tolerance) อีกทั-งควบคุมค่าพิกดั โดยเฉลี*ยจากตําแหน่ ง
นั-นๆ ก่อนที*จะกําหนดสัญลักษณ์ของ Projected tolerance zones, อาจต้องตั-งค่าความสู งให้มีค่าน้อยที*สุดก่อน
Composite Tolerances:
ค่าพิกดั ความเผื*อประเภทหลายส่ วนประกอบ นั-นแบ่งเป็ น 2 ประเภทใหญ่คือ ค่าพิกดั ที* ใช้รูปทรงเดียวกันและค่าพิกดั
ที*มีขอ้ มูลความต้องการแตกต่างกัน ก่อนที*ผใู ้ ช้จะสร้าง Dimension และเพิ*มค่าพิกดั ความเผื*อประเภทหลายส่ วนนั-น อันดับ
แรกต้องกําหนดเส้นแรกที* เป็ นหมวดของแผงควบคุม จากนั-นเลื อกสัญลักษณ์ ที* เป็ นรู ป ทรงประเภทเดี ยวกัน สัญลักษณ์
รู ปทรงที* เลือกเฉพาะไปแล้วจะถูกยืดออกไปทั-งสองเส้น จากนั-นผูใ้ ช้สามารถสร้างเส้นหรื อส่ วนที* 2 ของสัญลักษณ์ของค่า
พิกดั เผื*อ
ขั-นตอนใส่ ค่าพิกดั ความเผือ* สําหรับรู ปร่ างต่างๆ
1. ที* Main Dimension เลือก Dimension > Tolerance
2. ที*หมวด Geometric Tolerance คลิกที*ช่องแรก ด้านล่างของ Sym แล้วเลือกสัญลักษณ์ที*ตอ้ งการ
3. เลือกที* ช่องแรกเพื*อใส่ สญ ั ลักษณ์ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
4. ที*ช่องกรอกข้อความ ใส่ ค่าพิกดั เผื*อชุดแรก
5. ในการเพิ*มเงื*อนไขของวัตถุ เลือกที*ช่องสี ดาํ บนลําดับที* 2 จากนั-นเลือกสัญลักษณ์ที*ตอ้ งการ
6. ที*ดา้ นล่าง Tolerance 2 ทําตามขั-นตอน 3-5 เพื*อเพิ*มค่าพิกดั ความเผื*อ
7. ที* Datum 1, Datum 2, Datum 3 เลือกที* datum reference letter
8. เลือกที*ช่องสี ดาํ เพื*อสร้างเงื*อนไขของวัตถุของแต่ละข้อมูล
9. ที*ช่อง Height ใส่ ค่าข้อมูล projected tolerance หากต้องการ
10. สําหรับการใส่สญ ั ลักษณ์ projected tolerance คลิกเลือกที*แถบ Projected Tolerance
11. ที*ช่อง Datum Identifier สามารถทําการเพิ*มเติมค่าข้อมูล จากนั-น OK
122
12. จากนั-นกําหนดจุดวาง Tolerance ตามต้องการ
123
Chapter 10
Blocks, Attribute and Xrefs

Create and Insert Blocks ขันตอนสร้ างและนําเข้ า Block


โดยปกติ Block คือการนําวัตถุต่างๆ มารวมเข้าเป็ นชิ"นเดี ยว ซึ& งผูใ้ ช้สามารถนําเข้ามายังพื"นที& ทาํ งาน มีคุณสมบัติ
เช่นเดียวกับวัตถุชิ"นเดียว วัตถุ Block ช่วยในการทํางานให้เร็ วขึ"น สร้างหรื อแก้ไขได้อย่างรวดเร็ ว นอกจากนี" ยงั ช่วยลดขนาด
ไฟล์งานได้
Create Blocks:
การสร้าง Block คื อการนําวัตถุต่างๆ มารวมเข้าเป็ นชิ"นเดี ยว ซึ& ง
ผูใ้ ช้สามารถนําเข้ามายังพื"นที&ทาํ งาน มีคุณสมบัติเช่นเดียวกับวัตถุชิ"นเดียว
วัตถุ Block อาจประกอบไปด้วย เส้นตรง (Lines) เส้นโค้ง (Arcs) หรื อ
วงกลม (Circles) รวมถึงวัตถุ attributes (ข้อมูล ที& รวมเป็ น Block) วัตถุ
Blocks สามารถจัด เก็ บ เป็ นส่ ว นหนึ& งของไฟล์ ในการสร้ า ง Blocks
สามารถใช้ได้หลายวิธี ดังนี" :
- เลือกวัตถุเพื&อทําเป็ น Block บน Drawing ที&ทาํ งาน
- เลือกวัตถุเพื&อทําเป็ น Block จากนั"น ไปนําเข้าที&ไฟล์งานที&ตอ้ งการ

การสร้าง Block บน Drawing ที&ทาํ งาน


1. เลือกคําสัง& Draw> Block จาก main menu
2. ที&เมนู Block Definition ทําการตั"งชื&อ
3. เลือกที&แถบ Pick point เพื&อ/ทําการกําหนดจุดอ้างอิงในการนําเข้าบน Drawing
4. เลือกที&แถบ Select objects เพื&อทําการเลือกวัตถุที&ตอ้ งการทําเป็ น Block จากนั"นเลือก Enter และ OK เพื&อออกจากคําสัง&
124
Create Nested Blocks:
การสร้ าง Nested Blocks คื อคําสั&งช่ วย Block ที& มีความซับซ้อน ผูใ้ ช้สามารถสร้ าง Block แยกออกมาจาก
ส่ วนประกอบอื&นๆ แต่มีขอ้ ยกเว้นในการนํา Block ดังกล่าวไม่สามารถนําเข้าที&ส่วนประกอบของตัวเอง

Create Drawing Files for Use as Blocks:


ผูใ้ ช้สามารถเลื อกวัตถุเพื& อทําเป็ น Block จากนั"น ไปนําเข้าที&ไฟล์งานที&
ต้องการ
ขั"นตอนบันทึก Block เป็ นไฟล์งาน
1.พิมพ์คาํ สัง& WBLOCK
2.ที&แถบ Source เลือกดังนี"
-Block: เลือก Block ที&มีบนั ทึกเป็ นไฟล์
-Entire drawing: เลือกวัตถุท" งั หมดบันทึกเป็ น Block
-Objects: เลือกวัตถุที&ตอ้ งการ บันทึกเป็ น Block และ Save เป็ น
ไฟล์
3.ที&แถบ Destination ตั"งชื&อและตําแหน่งบันทึ ก ตามต้องการ จากนั"น Save

Change the Base Point of Drawings to Be Used as Blocks:


การเปลี&ยนตําแหน่ งอ้างอิงในการนําเข้า Block (สําหรับ WBLOCK) เมื&อเรานําเข้าไฟล์งาน(ที& สร้ างเป็ น Block)
โปรแกรมจะกําหนดให้วางวัตถุ Block ที&พิกดั 0,0,0 หากต้องการกําหนดตําแหน่งในการนําเข้า Block นั"น สามารถใช้คาํ สั&ง
BASE จากนั"นเลือกตําแหน่งที&ตอ้ งการ โปรแกรมจะทําการวาง Block ที&ตาํ แหน่งใหม่ตามที&ตอ้ งการ
Update Changes in the Original Drawing:
อัพเดตการแก้ไข เมื&อเรานําเข้าไฟล์งาน (เป็ น วัตถุ Block) หากเราทําการแก้ไขไฟล์งานต้นฉบับ โปรแกรมจะไม่
อัพเดต หากต้องการให้มีการอัพเดตข้อมูลนั"น แนะนําให้นาํ เข้าแบบ external reference หรื อ XREF
125
Use Paper Space Objects in Blocks:
การใช้วตั ถุบน Paper Space เพื&อนําเข้าเป็ น Block. วัตถุที&สร้างบน Paper Space จะไม่ถูกรวมเข้าเป็ น Block หาก
ต้องการ Save ไฟล์งานนั"นเป็ นวัตถุ Block แต่ผูใ้ ช้สามารถบันทึกวัตถุที&ตอ้ งการ Save เป็ น Block หรื อ Drawing ใหม่โดย
แยกกันกับไฟล์ปัจจุบนั
Insert Blocks:
ผูใ้ ช้สามารถนําเข้า Block หรื อไฟล์ Drawing ที&มีคุณสมบัติเดียวกัน เมื&อนําเข้าเป็ นวัตถุ Block โปรแกรมจะให้
สถานะเป็ น วัตถุชิ"นเดียว หรื อ เมื&อนําเข้า Drawing โปรแกรมจะให้สถานะเป็ น Block เราสามารถนําเข้า Block หลายชุดโดย
ไม่ ต้อ งเปิ ดไฟล์ต ้นฉบับ หากมี การแก้ไ ขที& ไฟล์ต้นฉบับ โปรแกรมจะไม่ ท ําการอัพ เดตให้กับ ไฟล์ที& นําเข้า มาทั"งหลาย
นอกจากเราต้องนําเข้ามาใหม่หรื อแก้ไขที&ไฟล์โดยตรง
ขั"นตอนแทรก Block
1. เลือกคําสัง& Insert > Block จาก main menu
2. ที&เมนู Insert สังเกตที&แถบแรก Name
3. เลือก Block ที&ตอ้ งการโดยรายชื&อ
4. หากต้องการกํา หนด ตําแหน่ ง , สเกลหรื อ องศา
สามารถเลือกบน Drawing ได้หรื อใส่ ค่าพิกดั ที&ตอ้ งการ
5. เลือก OK เพื&อนําเข้า

ขั"นตอนการนํา Drawing เข้ามาใช้งานบน Drawing ปัจจุบนั


1. เลือกคําสัง& Insert > Block จาก main menu
2. คลิกที& Browse เพื&อเลือกไฟล์ที&ตอ้ งการ
3. ใส่ ค่าตําแหน่ง, สเกลและองศาที&ตอ้ งการ หรื อเลือกกําหนด
บนพื"นที& Drawing
4. หากต้องการเฉพาะวัตถุที&อยูภ่ ายใน Block ให้ Explode
5. เลือก OK เพื&อนําเข้า
126
Modify a Block Definition:
การปรับแก้ไขคุณสมบัติ Block ทั"งหมดบนไฟล์งานที&ทาํ ให้สร้าง Block ชุดใหม่โดยใช้ชื&อเดิม จากนั"น Block จะถูก
อัพเดต หาก Block ถูกนําเข้ามาจาก ไฟล์อื&น และมีการแก้ไขเปลี&ยนแปลง ให้นาํ เข้ามาอีกครั"ง เพื&อทําการอัพเดต
ขั"นตอนปรับคุณสมบัติของ Block ใน Drawing ปัจจุบนั
1.เลือกคําสัง& Insert > Block จาก main menu
2.ที&เมนู Block Definition พิมพ์ชื&อ Block ที&ตอ้ งการที&ช่อง Name
3.เลือกที& Pick Point เพื&อกําหนดตําแหน่งที&ตอ้ งการวางบน drawing
4.เลือกแถบ Select object เพื&อทําการเลือกวัตถุ เมื&อเลือกแล้วให้ Enter
5. เลือก OK
6.เลือก YES หากมีเมนูเตือนให้ปรับคุณสมบัติ

Remove Block Definitions:


ลบวัตถุ Block ที&ไม่ตอ้ งการ หากไฟล์ที&เราทํางานมี
วัตถุ Block มากไป ทําให้ไฟล์งานอาจมีขนาดใหญ่ข" ึน ใน
การลดขนาด Drawing เราสามารถลบวัตถุ Block ที&เราไม่ได้
ใช้งานได้ เมื&อลบวัตถุ Block ออกจาก Drawing แต่เรายัง
สามารถเห็น Block ดังกล่าวที&ตารางแสดงวัตถุ Block คําสั&ง
ลบวัตถุ Block ที&ไม่ได้ใช้คือ PURGE จะช่วยลบ Block ที&เรา
ไม่ได้ใช้งาน ออกจาก Drawing เพื&อลดขนาดไฟล์งานแต่
ก่อนจะ PURGE แนะนําให้ลบคุณสมบัติต่างๆของ Block
ออกก่อน
127
Define and Use Block Attributes:
คุณสมบัติและการใช้ Block Attributes สําหรับ attribute คือ วัตถุเฉพาะที& บนั ทึ กเป็ น Block โดยประกอบไปด้วย
ฐานข้อมูลรายละเอี ยดต่างๆ สามารถใช้ Attribute เพื& อแสดงรายละเอียดพาร์ ทหรื อค่าจํานวนต่างๆ สามารถปรั บ ค่ า ได้
หลากหลาย
การสร้าง Attribute
1.เลือกคําสัง& Draw > Block > Define Attribute จาก Main Menu
2.ที&หมวด Attribute ใส่ ค่า Tag, Prompt, Default
3.ที&หมวด Insertion Point ใส่ พิกดั ที&ตอ้ งการวางหรื อเลือกที& Specify
on-screen เพื&อนําไปวางตามตําแหน่งที&ตอ้ งการ
4.ที&หมวด Mode เลือกคุณสมบัติตามต้องการ
5.ที&หมวด Text Setting กําหนดรู ปแบบของตัวอักษร
6. ในการเพิ&ม Attribute เข้าใน Drawing ทําได้ดงั นี"
- เลือก Define เพื&อเพิ&ม Attribute พร้อมทั"งอัพเดตข้อมูลอัตโนมัติ
เพื&อให้เราทํางานกับ Attribute ชุดอื&นๆได้
- Click Define and Exit to add the attribute and end the command. เลือก Define และ Exit เพื&อเพิ&มและจบคําสัง&

ขั"นตอนแก้ไข Attribute
1.ที& Command Line พิมพ์คาํ สัง& DDEDIT
2. เลือก Attribute ที&ตอ้ งการ
3.ปรับแก้ Tag, Promptและ Default ที&เมนู
4. เลือก OK
128
Modify Block Attributes:
การปรับแต่ง Attribute สามารถใช้คาํ สั&ง Block Attribute
Manager เพื&อปรับแต่ง ตัวอย่างดังรู ปภาพนี"
- Attributes สามารถแสดงผลหลังการปรับแก้
- Text properties แ ส ด ง ตั ว อ ย่ า ง ข อ ง Attribute ว า ง บ น
Drawing
- คุณสมบัติต่างๆของ Attribute เป็ นไปตาม Layer ที&มาํ งานอยู่
เช่น สี , นํ"าหนักเส้น และ รู ปแบบ
ขั"นตอนแก้ไข Attribute ที&นาํ เข้ามากับ Block
1. ที& Command line พิมพ์คาํ สัง& DDATTE
2. เลือก Block ที&ตอ้ งการ Edit จากนั"นโปรแกรมจะเปิ ดเมนู
แก้ไข
3. แก้ไขตามที&ตอ้ งการ จากนั"น OK

Extract Block Attribute Data:


การถอดข้อมูลจาก Block Attribute ใช้คาํ สั&ง EATTEXT ถ้าหากมี
Block Attribute อยูบ่ น Drawing ที&ทาํ งานเราสามารถถอดข้อมูลโดยใช้ wizard
prompt และ generate list ผูใ้ ช้สามารถจัดวางข้อมูลจาก wizard prompt ต่างๆ
ตามต้องการจนเสร็ จ เช่น Drawing, Blocks และ Block attribute.เมื&อถอด
ข้อมูล ออกมาแล้ว เราสามารถสร้างรายการ Drawing และยังส่ งออกเป็ นไฟล์
อื&นได้

Reference Other Drawing Files (XRefs)


XRefs หรื อ External references คือคําสั&งที& ให้ความสามารถที&มากกว่าเมื&อท่านต้องการนําเข้า Drawing เป็ น วัตถุ
Block เช่นเมื&อเรานําเข้า external reference แล้ว หากมีการแก้ไขไฟล์งานต้นฉบับไม่ว่าจะอย่างไร โปแกรมจะทําการอัพเดต
ให้โดยอัตโนมัติ External references มีประโยชน์ ในการนําเข้ามาทํางานร่ วมกัน ใช้ external references ในการประสานงาน
ของเรากับผูร้ ่ วมงานอื&นในกลุ่ม External references ช่วยลดขนาดไฟล์งานอีกทั"งมัน& ใจได้ว่า การแก้ไขต่างๆมีการอัพเดตอยู่
เสมอ เมื&อมีการแก้ไข
129
Attach External References:
เมื&อ Drawing ถูกนําเข้า ที&ไฟล์งานโดยใช้ external reference, drawing จะเชื& อมถึงกัน หากมีการเปลี&ยนแปลงแก้ไข
ใดๆ ไฟล์จะทําการอัพเดต External references ขณะนําเข้ามีข" นั ตอนคล้ายกับ วัตถุ Block เป็ นวัตถุชิ"นเดียว แนะนําให้ผูใ้ ช้
แยกแยะระหว่างการนําเข้า Block กับ XREF
ขั"นตอนนําเข้า External reference
1.เลือก Insert > External Reference จาก main menu
2. เลือกที&ไอคอน DWG ที&ดา้ นซ้ายบน
3. สังเกตที&แถบ Select Reference File เลือก drawing file ที&ตอ้ งการนําเข้า จากนั"นเลือก Open
4. ที&เมนู External Reference ด้านล่าง Reference Type, เลือกวิธีนาํ เข้า
-Attachment: นําเข้าสําเนาของ drawing รวมทั"งวัตถุที&เกี&ยวข้อง
-Overlay: วางสําเนาของ drawing บน drawing ต้นฉบับ
5. จากนั"นเลือกตั"งค่าอื&น เมื&อเสร็ จสิ" นเลือก OK
6. หากเราเลือก Specify On-screen ของหมวดใหนก็ตาม ตั"งค่าตามรู ป
130
Control the Properties of Referenced Layers:
ควบคุมคุณสมบัติเลเยอร์ ของ Reference ผูใ้ ช้สามารถควบคุมการแสดงผล, สี , ประเภทของเส้นหรื ออื&นๆของ
XREF สามารถกําหนดให้การเปลี&ยนแปลงดังกล่าวเป็ นถาวรหรื อชัว& คราว โดยใช้คาํ สั&ง VISRETAIN และตั"งค่า variable
เป็ น0 เป็ นต้น, การตั"งค่ านี" ใช้กบั Drawing ปั จจุ บ ันเท่ านั"น นอกจากนี" ผูใ้ ช้ส ามารถกําหนดความคมชัด โดยใช้คาํ สั&ง
XDWGFADECTL เพิ&มเติม การกําหนดเลเยอร์ของ XREF นั"น สามารถปรับแต่งโดยตรงที& Layer Manager Properties

Xref Clipping Boundaries:


การตัด XREF เราสามารถตัดพื" นที& หรื อวัตถุของ XREF ที& นําเข้ามาโดยใช้คาํ สั&ง XCLIPFRAME หรื อ เลือ กได้ที& คาํ สั&ง
Modify>Clip>Xref ที& main menu
131
Nest and Overlay External References:
Xrefs สามารถวางอยู่ใน XREF ชิ"นอื&นได้ และสามารถนําเข้าที& Drawing ได้เช่นเดียวกัน ที& ข" นั ตอนดังกล่าวเลือก
ตําแหน่ง, ค่าสเกลและองศาของ XREF ตามต้องการ
Binding an Xref to a Drawing:
ในการจะส่ งสําเนาของ Drawing โดยใช้ external references ให้ท่านอื&นทํางานต่อ เราต้องไม่ลืม external reference
ไฟล์ท" งั หมด การใช้ Binding กับ external references จะช่วยให้วตั ถุต่างๆบน drawing ไม่เคลื&อนหรื อหายไป เช่นเดียวกับ
การนําเข้า Block which หรื อใช้วิธี bind external references โดยคลิกขวาที& XREF ที&ตอ้ งการ
Refresh Xrefs:
สามารถ refresh XREF โดยเลือกที&แถบ Refresh ที&ตาํ แหน่ง ด้านบนของ เมนู External Reference
132
คําสัง& Redefine Block
การใช้คาํ สั&ง Redefine Block เป็ นการเรี ยกใช้งานเพื&อแก้ไข Block ตัวเดิมที& อยู่ใน Drawing ให้กลับมาเป็ น
Block ต้นฉบับ อีกครั"ง
1. ให้เปิ ด Design Center > แล้วหาตําแหน่งของไฟล์งานที&เราต้องการ จากนั"นไปที& Block ที&เราต้องการแก้ไข
ให้กลับมาเป็ นต้มฉบับ > คลิกขวาที& Block > เลือก Redefine only
133
Chapter 11
Hatches and Raster Images

Hatches
Define Hatch Boundary:
การกําหนดพืนที วางลวดลาย ในการสร้ าง Hatch อันดับแรกผูใ้ ช้ตอ้ งกําหนดพืนทีในการลงลวดลาย โดยแบ่ ง
ออกเป็ น 2 ประเภทคือ เลือกพืนที ทีต้องการ (Boundaries) หรื อ เลือกตําแหน่ งภายในพืนที ที ต้องการ ทัง 2 ประเภทอาจเป็ น
พืนทีทีมาจาก รู ปใดๆ เช่น วงกลม สี เหลียมหรื อเส้นต่อเนืองทีมีพืนทีปิ ด

Control the Hatching in Islands:


การกําหนดบริ เวณกลุ่มวางลวดลาย เราสามารถเลือกกลุ่มบริ เวณวางลวดลาย ภายนอกบริ เวณพืนที ซึ งปกติ เรามัก
วางลวดลายภายในพืนที ดูหมวดตัวอย่างได้จากแถบ Islands บน Hatch และ Gradient dialog box ดังนี
Normal:
แบบธรรมดา ลวดลาย Hatch จะถูกวางจากด้านนอกสู่ ดา้ นใน คือ เมือวางลวดลายพืนทีด้านนอก เมือโปรแกรมพบ
เส้นขอบเขตด้านในจะเว้นพืนทีดังกล่าวไว้ จากนันจะวางลวดลายอีกครังเมือพบเส้นขอบเขตด้านในอีกชัน
Outer:
วางลวดลายจากด้านนอกทังหมด จะเว้นเฉพาะขอบเขตด้านใน
Ignore:
วางลวดลายทังหมดของพืนที
134
ขันตอนเลือกวัตถุเพือใส่ ลวดลาย Hatch
1. เลือกคําสัง Hatch จาก Main Menu > Draw
2. ที Dialog Box ของคําสัง สังเกตแถบ Islands เลือกการกําหนดกลุ่มวางลวดลายทีต้องการ Normal, Outer, Ignore

3. หากมีวตั ถุทีสร้างขึนเพือเป็ นขอบเขตของ Hatch และต้องการเก็บไว้ ให้เลือก Retain Boundaries ทีตําแหน่ งใต้ Islands
โปรแกรมจะจดจําวัตถุดงั กล่าว
4. ทีแถบ Boundaries เลือก Select Objects button.
5. จากนันเลือกวัตถุทีต้องการวางลวดลาย มักเป็ นวัตถุพืนทีปิ ด จากนัน Enter
6. จากนัน เลือก OK เป็ นอัน จบคําสัง

ขันตอนเลือกพืนทีเพือใส่ ลวดลาย Hatch


1. เลือกคําสัง Hatch จาก Main Menu > Draw
2. ที Dialog Box ของคําสัง สังเกตแถบ Islands เลือกการกําหนดกลุ่มวางลวดลายทีต้องการ Normal, Outer, Ignore

3. หากมีวตั ถุทีสร้างขึนเพือเป็ นขอบเขตของ Hatch และต้องการเก็บไว้ ให้เลือก Retain Boundaries ทีตําแหน่ งใต้ Islands
โปรแกรมจะจดจําวัตถุด ั งกล่าว
4. ทีแถบ Boundaries เลือก Pick Point
5. จากนันคลิกทีตําแหน่ งภายในของพืนที โดยต้องเป็ นพืนทีปิ ด
6. คลิก OK เมือเสร็ จสิ น
135
Choose and Define Hatch Patterns:
การเลือกลวดลายและคุณสมบัติ ลวดลาย Hatch ประกอบไปด้วยเส้น, จุดหรื อเส้นประ วางซําๆกัน ผูใ้ ช้สามารถ
เลือกลวดลายได้จากชุดของ predefined patterns, หรื อสามารถสร้างลวดลายได้เอง โดยเมือเราใส่ ลวดลายไปแล้ว 1 ครัง ใน
ครั งต่ อไปโปรแกรมจะจํา ลวดลาย ดังกล่ าวไว้ ลวดลายต่ า งๆที โปรแกรมมี ให้ ถู กเก็บ เป็ น นามสกุล ICAD.pat และ
ICADISO.pat

การเลือกลวดลาย
1. เลือกคําสัง Hatch จาก Main Menu > Draw
2. ที Hatch dialog เลือก Hatch
3. ทีหมวด Type เลือก Predefined เพือเลือกค่าสเกลในการกําหนด
ความกว้างหรื อแคบของลวดลาย
4. ใส่ ค่าสเกลเป็ นจํานวนเปอร์เซ็นต์ ตามต้องการ
5. ใส่ ค่าองศาของลวดลายตามต้องการ ตังแต่ 1-360 องศา โดยค่า
เริ มต้น องศาจะกําหนด ตามเข็มนาฬิกา สามารถเปลียนแปลงได้
ภายหลัง
6. เลือก ISO pen width โดยฟั งก์ชนนี
ั เราต้องเลือก ลวดลาย เป็ น ISO
เท่านัน
7. หากต้องการคัด ลอกลวดลายที มี ก ารวางอยู่แ ล้ว เลื อ ก Inherit
Properties
8. การรวม hatch ในพืนที ทีวัตถุติดกัน สามารถเลือกได้ที หมวด boundaries ด้านล่างจะมี Option เลือกที Associate เมือ
เลือกแล้วโปรแกรมจะอัพเดตอัตโนมัติ
9. หากต้องการวางลวดลายต่อไป เลือกลวดลายหรื อกําหนดตําแหน่งถัดไป
136
การใช้หมวด User-defined hatch
1. เลือกคําสัง Hatch จาก Main Menu > Draw.
2. ที Hatch dialog เลือก Hatch
3. ทีหมวด Type เลือก User Defined.
4. กําหนดระยะความห่าง เลือกที line spacing
5. หากต้องการคัดลอกลวดลายที มีการวางอยู่แล้ว เลือกคําสัง Inherit
Properties จากนันเลือกลวดลายทีต้องการ
6. การรวม hatch ในพืนที ที วัตถุติด กัน สามารถเลื อกได้ที หมวด
boundaries ด้านล่างจะมี Option เลือกที Associate เมือเลือกแล้ว
โปรแกรมจะอัพเดตอัตโนมัติ
7. หากต้องการวางลวดลายต่อไป เลือกลวดลายหรื อกําหนดตําแหน่ ง
ถัดไป

การเลือกลวดลายบน Library
1. เลือกคําสัง Hatch จาก Main Menu > Draw.
2. ที Hatch dialog เลือก Hatch
3. เลือก Predefined type.
4. การเลือกลวดลาย ทําได้ดงั นี
- ตาราง เลือกรู ปแบบทีต้องการ
- เลือกทีภาพของลวดลาย
5. หากต้องการวางลวดลายต่อไป เลือกลวดลายหรื อกําหนดตําแหน่ ง
ถัดไป
137
Solid:
ลวดลายทึบ ด้วยเครื องมือ Plane tool, ผูใ้ ช้สามารถวาดวัตถุสีเหลียม สามเหลียมหรื อหลายมุมพร้อมลงลวดลายสี ทึบ
ขันตอนเริ มแรกการกําหนดมุมของ
Plane นัน หลังจากที เรากําหนด 2
มุ ม โปรแกรมจะทํา การสร้ า งวัต ถุ
ดังกล่า วหรื อหากต้อ งการเพิ มเติ ม
วัตถุ สามารถทําได้เช่นกันThe
ขันตอนสร้าง Quadrilateral plane
1. ที Main Menu เลือก Draw >
Modeling > Meshes> 2D Solid
2. กําหนดมุมที 1, 2, 3 และ 4
3. Enter เมือจบคําสัง

Work with Raster Images การทํางานร่ วมกับ ไฟล์ ภาพ


ผูใ้ ช้สามารถดูไฟล์ภาพและนําเข้ามาใช้
Attach, Scale, and Detach Raster Images:
Raster images หรื อไฟล์ภาพประกอบด้วยจุดสี เหลียมเล็กๆ รวมกันจนเกิดเป็ น ไฟล์ Pixel โดยเมือนําเข้ามาทีไฟล์
แล้ว สามารถทํางานเสมื อนเป็ นวัตถุ อี กทังปรั บ ความคมชัดและคุ ณภาพ เมื อต้องการนําเข้า สามารถตรวจสอบไฟล์ที
โปรแกรมรองรับ ดังตาราง
138
Attach Raster Images:
การนําเข้าไฟล์รูปภาพ ใช้คาํ สัง IMAGEATTACH จากนันเลือกไฟล์ภาพหรื อไฟล์ bitonal, 8-bit gray, 8-bit color,
or 24-bit color image เข้ามาที drawing ภาพที นําเข้ามาจะมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับ Block.และสามารถตัด (Clip) ได้ตาม
ต้องการ
ขันตอนนําเข้าไฟล์ภาพ
1. เลือก Raster Image จาก Main menu > insert
2. เลือกภาพทีต้องการ จากนั OK
3. สังเกตุ Image dialog box, เลือกกําหนดตําแหน่ ง
การวางภาพ, ขนาดสเกลและองศาทีต้องการ จากนัน
OK
4. จากนันวางภาพตามตําแหน่งทีต้องการ
5. กําหนด Scale ในภายหลังได้

Scale Raster Images:


สเกลของไฟล์ภาพ ผูใ้ ช้สามารถกําหนดได้ที Image dialog box, หรื ออีกแง่
หนึ งใช้วิธี นําเข้าแบบขนาดดังเดิม จะได้ภาพขนาดจริ ง

Detach Raster Images:


การถอดไฟล์ภาพออกจาก Drawing ไฟล์ภาพทีนําเข้ามานันสามารถลบออก หากเราไม่มีความจําเป็ นต้องใช้ โดยเมือลบแล้ว
ลิงค์ต่างๆ จะถูกลบเช่นกัน
Modify and Manage Raster Images:
การปรับแก้และตังค่าของไฟล์ภาพ การควบคุมดังกล่าว เช่นการตัดภาพหรื อแสดงค่า สามารถทําได้ที Image Manager. อีก
ทังสามารถปิ ด เปิ ดเส้นขอบเขตของภาพได้โดยใช้คาํ สัง IMAGEFRAME จากนันเลือกค่า 0 (ปิ ด) 1(เปิ ด)
ขันตอนปิ ด เปิ ด ไฟล์ภาพทีนําเข้า
1. เลือกคําสัง Modify>Object> Image> Frame
2. เลือกตามขันตอนด้านล่าง
- พิมพ์ค่า 1 เพือแสดง Frame ของทุกภาพ
- พิมพ์ 0 หากต้องการปิ ดไฟล์ภาพทังหมด
139
ขันตอนตัดภาพในลักษณะสี เหลียมหรื อหลายเหลียม
1. เลือกคําสัง Modify>Object> Image
2. เลือกภาพทีต้องการ
3. พิมพ์ N เพือกําหนดพืนทีต้องการตัด
4. หากเลือกเป็ น สี เหลียม
- กําหนดมุมแรก
- จากนันเลือกมุมที 2 โดยลากเป็ นลักษณะ สี เหลียม
5. หากเลือกทรงหลายเหลียม
-.กําหนดมุมต่างๆตามต้องการ จากนัน Enter

Change Raster Image Brightness, Contrast, and Fade:


ปรับความสว่าง ความคมชัดและเงา โดยใช้คาํ สัง IMAGEADJUST เพือปรับค่าดังกล่าว ซึ งการปรับนี จะส่ งผลเมือ
เราพิมพ์งานด้วยเช่นกัน การใช้ IMAGEADJUST ไม่ส่งผลต่อไฟล์ภาพจริ ง

Improve the Display Speed of Raster Images:


ปรั บค่ าการแสดงอย่างรวดเร็ วเมือมีการนําไฟล์ภาพเข้ามา สามารถแปรผันกับคุณภาพหากต้องการความรวดเร็ ว
คุณภาพจะค่อนข้างหยาบ ซึ งตรงกันข้ามภาพจะคมชัดแต่ความเร็วในการใช้งาน จะช้าลง
140
Transparency
คุณลักษณะใหม่ของความโปร่ งแสงใน GstarCAD ช่วยให้คุณสามารถปรับค่าลดความโปร่ งแสงได้ทงลาย ั hatch
และ Gradient ของวัตถุโดยมีวตั ถุประสงค์เพือใช้อา้ งอิงและเป็ นประโยชน์สาํ หรับการออกแบบ เช่น งานเขียนแบบ
งานโยธา , การวางแผนทีดิน

Area Table
คําสังนีจะช่วยให้คาํ นวนหาพืนทีได้แบบอัตโนมัติ และ ยังสามารถหาค่าพืนทีรวมได้ เพิมความสะดวก รวดเร็ วในการ
หาพืนที ให้ สะดวกและรวดเร็ วขึน
- โดยเริ มจากการใช้คาํ สัง AREATABLE
- จะมีหน้าต่างขึนมา เพือให้กาํ หนดค่า ขนาดความสุ งตัวอักษร และให้เขียนเป็ นตารางหรื อไม่
- เมือตังค่าแล้วให้คลิกวางตาราง ก่อน จากนันคลิกบริ เวณพืนทีต้องการหา
AREA สังเกตุว่าจะมีตวั เลขขึนมาแสดงให้
141
Chapter 12
Layout, Plot and Publish Drawings

Create Multiple-View Drawing Layouts การสร้ างหลายมุมมองบน Layout


Overview of Layout:
Layout คื อ ระบบการพิ มพ์งานมากกว่า 1 มุมมอง สําหรับหนึ งหน้าการ
พิมพ์ GstarCAD โปรแกรมมีความสามารถทํางานได้ท/ ัง Model หรื อ Layouts
สามารถเลือกใช้หรื อสลับการทํางานไป มาได้ โดยวัตถุต่างๆบน Model สามารถจัด
ค่าต่างๆได้บน Layout โดยการจัดเตรี ยม Drawing สามารถทําได้ดงั นี/
1. ที Model ทําการสร้าง Drawing
2. สร้าง Layout ผูใ้ ช้สามารถเลือก Layout1 หรื อ Layout2 หรื อสร้างใหม่
3.จากนั/นสร้าง Viewport อย่างน้อย 1 มุมมอง โดยแต่ละมุมมองแบ่งพื/นที รวมถึง
Scale ได้
4. กําหนดค่าอืนๆเพิมเติม เช่น พื/นทีพิมพ์งาน, print style table หรื อ อืนๆ
5. จากนั/นทําการพิ มพ์งาน ผูใ้ ช้สามารถคลิกขวาที Layout tab เลือก “new layout” เพือสร้ างใหม่ และยังสามารถนําเข้า
template ได้ การตั/งค่าอืนๆดูได้จากเมนูลดั ทีเปิ ด

Work with Model Space and Paper Space:


เรามักใช้ Model space เพือสร้างหรื อแก้ไขวัตถุ ในการจัดเตรี ยมก่อนพิมพ์งานเรามักทําที Paper Space ซึ งจะไม่มี
ผลกระทบเมือเราทํางานบน layout
142
สําหรั บ Model Space เราสร้างวัตถุ 2 หรื อ 3 มิติ โดยอ้างอิงจาก แกน Coordinate System (WCS) หรื อ user
coordinate system (UCS). วัตถุทีแสดงบนPaper space นั/นคือ
พื/นทีแสดง Drawing บน layout พื/นที ตรงนี/ เราสามารถสร้ าง
หรื อจัดวางมุมมองที แตกต่างได้ โดยขั/นตอนเช่นเดียวกับการจัด
รายละเอียดบน Drawing
ที Layout tab สามารถตั/งค่าการพิมพ์ได้ Paper space
คือส่ วนทีแสดงผลของแต่ละ layout ผูใ้ ช้สามารถสร้าง viewport
กําหนดขนาดกระดาษ, ทิ ศทางหรื อตําแหน่ งที saved ร่ วมกับ
layout
ผู ้ใ ช้ ส ามารถบัน ทึ ก และเปลี ยนชื อ ในภายหลัง กั บ
Layout อืนๆ หรื อคัดลอกคุณสมบัติทีมีอยู่แล้ว ไปสร้าง layout
ต้นแบบ (DWT or DWG)
เลือกที Model tab, จะสามารถกลับไปแก้ไข งานทีหน้า Model

Specify Layout Settings:


การตั/งค่า Layout เมือเราสร้างชิ/นงานบน Model จากนั/น
สามารถสลับมาที Layout และทําการตั/งค่ าเพื อพิ มพ์งาน เช่ น
ขนาดกระดาษหรื อทิ ศทาง เป็ นต้น คลิกขวาที Layout tab เพือ
สร้ าง layout ใหม่ หรื อนําเข้าไฟล์ตน้ ฉบับที สร้าง จากนั/นเลือก
Modify ที Page Setup Manager เพือตั/งค่า

Select a Paper Size for a Layout:


การเลื อกขนาดกระดาษ สํา หรั บ Layout นั/นเป็ นผล
โดยตรงกับขนาดของ Drawing เมือเราเลือกที Plot dialog บน
layout tab ทําการเลือกประเภทกระดาษโดยเลือกรายการจากเมนู
Paper Size พื/นที กระดาษนี/ จะแสดงภาพ Drawing โดยตรงด้วยขนาดและหน่ วยตามที เราตั/งค่าไว้ สามารถเลือกขนาด
กระดาษที เมนู และหากต้องการพิมพ์เป็ นไฟล์ภาพ เลือกแบบ Raster Image จากนั/นกําหนดความละเอียดของภาพตาม
ต้องการที Plotter Configuration
143
Determine the Drawing Orientation of a Layout:
การกําหนดทิ ศทาง Drawing บน Layout แบ่งออกเป็ นสองประเภทคื อแนวตั/ง และ แนวนอน (Landscape and
Portrait) ซึ งจะกําหนดทิศทางแสดงบน paper ทั/งนี/เมือเรากําหนดทิศทางแล้ว ยังสามารถควบคุมด้านที ต้องการ เช่น ด้านบน,
ด้านล่างที Plot Upsize-down. เมือตั/งค่าบน Page Setup แล้ว ค่าจะถูกบันทึกบน layout ซึ งจะถูกแทนค่าเดิมหรื ออืนๆ แต่ให้
สังเกตว่าค่าทีตั/งไว้จะยังไม่ถูกบันทึกจนกว่าเลือก Apply ที Layout option

Adjust the Plot Offset of a Layout:


เราสามารถตั/งค่าระยะ Offset บน Paper โดยกรอกค่าพิกดั X,Y ค่าบวกหรื อลบ ต่างๆ การเปลียนจุด Origin นี/เปลียน
ตําแหน่ง Drawing บน Papers ซึ งเดิม Drawing จะอยู่บริ เวณซ้ายล่าง โดยอยู่ทีตําแหน่ง 0,0 ของ X,Y หากเราเลือกกําหนด
จุดกึงกลาง ( Select Center on Paper ) สังเกตหากพื/นทีพิมพ์งานทีแสดงป็ นส่ วนหนึ งของแบบแทนทีจะแสดงทั/งหมด แสดง
ว่า จุด Origin อยู่ที 0,0
144
Set the Plot Area of a Layout:
ตั/งค่ า พื/ น ที การพิมพ์บ น Layout เราสามารถตั/งค่ า
พื/นทีต้องการพิมพ์ ที Plot dialog เมือเราสร้าง layout ขึ/นใหม่
ค่าเริ มต้นจะกําหนดให้วตั ถทั/งหมดอยู่ใน Drawing จุด Origin
คือ 0,0 การเลือกขอบเขตการพิมพ์มีดงั นี/
- Layout: พิมพ์งานพร้อมแสดงวัตถุท/ งั หมด บน Drawing
- Window: สามารถตั/งค่า Scale สําหรั บ layout เลือกพิ มพ์
ส่ วนใดๆโดย
ครอบเป็ นลัก ษณะตารางสี เหลี ยม เลื อ กที คํา สั ง Window
จากนั/นกําหนดจุดมุมเริ มต้น ครอบไปยังทิ ศทางตรงข้ามเป็ น
ลักษณะสี เหลียม
- Extents: พิมพ์งานส่ วนทีแสดงผล ทีมีวตั ถุ
- Display: พิมพ์งานตามทีแสดงผลอยู่ ณ ขณะนั/น
Set the Plot and Line weight Scale for a Layout:
ตั/งค่า Scale และนํ/าหนักปากกาสําหรับ Layout เมือเราได้กาํ หนด Scale ทีทํางานนั/นๆแล้ว เราสามารถเลือกฟังก์ชนั
Fit to Paper เพือให้วตั ถุ แสดงเฉพาะใน บริ เวณพื/นทีพิมพ์งาน โดยทัวไปวัตถุทีบน Model จะแสดงตามขนาด Scale ทีได้ต/ งั
ค่าไว้ สําหรับการพิมพ์งานจาก Model Space บน Layout นั/นควรตั/งค่าเป็ น 1:1 และเมือเราตั/งค่า Scale บน layout ไปแล้ว
นั/น เรายังกําหนดนํ/าหนัก เลเยอร์ ได้เช่นเดิม การกําหนด Scale ตรงนี/ ไม่เกียวข้องกับ การตั/ง Plot Style
Move and Copy Layouts:
ย้ายและคัดลอก Layout เราสามารถคลิกขวา เลือก Copy หรื อ Move โปรแกรมจะเปิ ดแถบให้เลือก layout ที
ต้องการ Copy ในการ Copy layout ปั จจุบนั ทีใช้ ให้เลือก layout ทีต้องการเลือกที Create a Copy, layout ที Copy จะถูก
นําไปวาง ถัดไป สังเกตุได้วา่ แถบ Model และ Layout 1,2 สามารถย้ายหรื อ Copy ได้
145
Create Layout from Template:
การสร้ าง Layout จาก Template
ให้คลิกขวาที Layout tab จากนั/นเลื อก
template option ทํา การ import ไฟล์
นามสกุล DWG หรื อ DWT ใช้รายละเอียด
ที มี อ ยู่ ข อง Template นั/น ๆ เพื อสร้ า ง
Layout ใหม่ ระบบจะกําหนด template file
และแสดงชือ ไฟล์และนามสกุล .dwt โดย
Layout templates ไม่ ว่า จะนํา มาจาก
drawing ใดๆ สามารถนํา เข้ามาใช้ได้ย งั
ไฟล์งานปัจจุบนั
ขั/นตอนการสร้าง Layout ใหม่ จากไฟล์เดิม
1. เลือก Insert>Layout>Layout จาก template
2.ที Dialog box เลือก template ตามทีต้องการ จากนั/น Open
3. ทีแถบเมนู Layout เลือก layout ทีต้องการ insert จากนั/น OK. ผูใ้ ช้สามารถเลือก Layout ได้มากกว่า 1 โดยคลิกที Ctrl ค้าง
ไว้ และทําการเลือก

Create and Modify Layout Viewports:


การสร้างและปรับแต่ง Viewport บน Layout ทีแถบ
Layout เราต้องสร้าง อย่างน้อย 1 viewport เพือแสดงตถุที
ต้องการ ซึ งแต่ละ viewport บน Layout ทีสร้างขึ/นมานั/น
สามารถย้าย, คัดลอกหรื อ ลบได้ และ หากมีการปรั บ แต่ ง
แก้ไขใดๆที layout viewport หนึ ง จะมีผลกระทบทันที กบั
Viewport อืนๆ ด้วย (ถ้า layout viewports อืนๆแสดงร่ วม
เป็ นส่ ว นหนึ ง) การ Zoom หรื อ Pan จะทํางานเฉพาะ
viewport นั/น ๆ
ขั/นตอนการสร้าง Viewport
1. ที command line, พิมพ์คาํ สัง MVIEW.
2. เลือกคําสังทีต้องการ F (Fit), or create 2, 3 or 4 viewports
146
โดยพิมพ์ 2,3 หรื อ 4 หรื อกําหนดมุมสองมุมเพือสร้าง Viewport
3. ทําการเลือกรู ปแบบ โดยพิมพ์ H (Horizontal) or V (Vertical).
4. เลือกทําตามขั/นตอนนี/
- หากต้องการจัดรู ปแบบให้เต็ม พื/นที พิมพ์ F (Fit)
- หากต้องการให้ Viewport แสดงเต็มพื/นทีสี เหลียม ให้กาํ หนดมุมสี เหลียมตามต้องการ
เราสามารถสร้าง Layout viewport เดียวๆหรื อแบ่งพื/นทีเป็ นหลาย Viewport [Horizontal/Vertical/Above/Below/Left/Right]

ขั/นตอนปรับแต่งคุณสมบัติ Viewport
1. คลิกทีบริ เวณขอบ ของ Layout Viewport ทีต้องการ
ปรับแต่งคุณสมบัติ
2. เปิ ด Properties palette ที
"Tools >Palettes>Properties"
3.ที Properties palette เลือก Standard Scale ที กล่อง
Properties เลือก Standard Scale จากนั/น ปรับ Scale
ตารางได้ทนั ที

การเปิ ด ปิ ด Viewports
1. เลือก Layout Tab ทีต้องการ
2. พิมพ์ MVIEW จากนั/น Enter
3. เลือก On หรื อ Off
4. เลือกทีขอบของ layout viewport ทีต้องการ เปิ ด ปิ ด

การสร้าง Viewport ทีไม่ใช่ รู ปทรงสี เหลียม


ใช้ Object and Polygonal ของคําสัง MVIEW เพื อสร้าง viewport ทรงลักษณะอืน
จากนั/นเลือกวัตถุทีต้องการเปลียนเป็ น Viewport หรื อสามารถกําหนดทรงอืน นอกเหนื อ ทรง
เหลี ยม เช่ น ทรงกลมหรื อ เส้ น ทรงอื นๆ เมื อเป็ น พิ/ น ที ปิ ด โปรแกรม จะเชื อมเส้น เป็ น
Polyline อัตโนมัติ
147
Plot Drawings การพิมพ์งาน
เมือเราทํางานเสร็ จสิ/ น หากต้องการส่ งไฟล์งานนั/นต่อไป สามารถทําได้หลายวิธี เช่น การพิมพ์งาน หรื อบันทึ กเป็ น
ไฟล์หรื อฟอร์แมทอืน
Plot Settings:
ขณะเมือเราสร้าง Drawing บน Model ไม่ว่าจะอยู่ทีขั/นตอน
ใหน เราสามารถทําการพิ มพ์งานได้ตามต้องการ โดยขั/นตอนง่ายๆ
เมือเริ มพิมพ์งาน จากนั/นสร้าง layout และตั/งค่าเพิมเติมดังนี/
เริ มพิมพ์งาน
1.ที Main Menu เลือก File > Plot
2. ตั/งค่าตามสําคัญ จากนั/น OK

Set Paper Size:


ผูใ้ ช้ส ามารถกําหนดกระดาษจาก เมนู ที Paper Size หากต้องการตั/งค่าของกระดาษเพิมเติ ม เลือกที Configure
plotters โปรแกรมจะแสดงเครื องพิมพ์ท/ งั หมดที Windows
แสดง
การเลือกเครื องพิมพ์
1. ที Main Menu เลือก File > Plot
2.จากชือเครื องพิมพ์ท/ งั หมด เลือกตามทีต้องการจากนั/น OK

Position the Drawing on the Paper:


ผูใ้ ช้สามารถปรับตําแหน่งการพิมพ์งานก่อน ส่ งพิมพ์ได้
ปรับตําแหน่งการพิมพ์งาน
1. ผูใ้ ช้ตอ้ งเลือกระหว่างพิมพ์บน layout หรื อ model
2. ที Main Menu เลือก File > Plot
3. ทีพื/นทีพิมพ์งานเลือกได้ตามนี/
- หากต้องการให้ชิ/นงานอยู่ตาํ แหน่ งกึงกลางของ
กระดาษ เลือกที Center the Plot
- หากต้องการกําหนดการวางแบบพิกดั ให้ใส่ค่า X, Y
4. จากนั/น OK และ Apply
148
Set Drawing Orientation:
การจัดทิศทางของ Drawing นั/นมี 2 แบบ คือ portrait หรื อ landscape หาก
เลือก Landscape กระดาษจะถูกจัดในแนวนอน ด้านยาวจะมีค่ามากกว่าด้านกว้าง หาก
เลือก Portrait กระดาษจะถูกจัดในแนวตั/ง ด้านยาวจะมีค่าน้อยกว่าด้านตั/ง การตั/งค่า
ทิศทางนี/ มีลกั ษณะเดียวกับ การหมุนวัตถุต่างๆ บน Drawing สําหรับการพิมพ์ลกั ษณะ
กลับหัวหรื อด้าน เลือกที plot upsize-down

Set Plot Scale:


การกําหนด Scale สําหรับการพิมพ์งานสามารถเลือกได้จากเมนู Plot Scale โดยตรง สามารถเลือก Scale ตามที เรา
ทํางานได้หรื อเลือก Fit to Paper scale เพือให้ Drawing จัดวางตําแหน่งพอดีกบั หน้ากระดาษ ซึ งการกําหนดค่า Scale นี/
จําเป็ นต้องทําการเลือกก่อนทีจะพิมพ์งาน ตัวอย่างเช่น หากเราเลือกขนาดกระดาษเป็ น มิลลิเมตร ใส่ ค่า 1 ใต้ mm และเลือก
10 ใต้ Units blank ,Units blank นี/ จะกําหนดการพิมพ์ Drawing ด้วยค่า
แต่ละ 1 หน่วยเท่ากับ 10 หน่วย มิลลิเมตร.
ขั/นตอนการกําหนด Scale แบบอัตโนมัติ
1. ผูใ้ ช้ตอ้ งเลือกระหว่างพิมพ์บน layout หรื อ model
2.ที Main Menu เลือก File > Plot
3. เพือให้ Drawing อยูใ่ นตําแหน่งพอดีกบั กระดาษ เลือก Fit to paper
4. เลือก Apply to Layout จากนั/น OK.

Set Plot Options:


แสดงรู ปแบบการพิมพ์และวิธีพิมพ์งาน จากการปรับแต่งดังต่อไปนี/
-Plot in Background. กําหนดให้การพิมพ์งานเป็ นลักษณะพื/นหลัง
-Plot Object Lineweights. กําหนดนํ/าหนักของเลเยอร์ (line weight) ให้ใช้
บน Drawing ทีพิมพ์
-Plot with Plot Styles. พิมพ์งานโดยกําหนด Plot Style โดยค่าเริ มต้น
โปรแกรมจะเลือก Plot Style อัตโนมัติ และ ผูใ้ ช้สามารถกําหนดได้ภายหลัง
และ หากผูใ้ ช้ไม่เลือกรู ปแบบ Plot Style ก่อนพิมพ์ วัตถุต่างๆ จะแสดง
เป็ นเลเยอร์ตาม Drawing และ ไม่แสดงนํ/าหนักใดๆ
149
-Plot Paper space Last. พิมพ์งานที Model ก่อน, ซึ งโดยปกติ โปรแกรมจะพิมพ์งานที Paper Space ก่อนเสมอ
-Hide Paper space Objects. ซ่ อนวัตถุบน Paper space หมวดนี/ จะช่วยซ่ อนวัตถุทีแสดงอยู่ดา้ นหลังของ Drawing และมีใช้
บนการพิมพ์แบบ Layout เท่านั/น
-Plot Stamp on. คือ การแสดงทีอยู่ของไฟล์งาน อาจจะวางตามตําแหน่งแนวตั/งและแนวนอน ตามขอบของกรอบ
-Save Changes to Layout. ค่าทีเราตั/งไว้ หากมีการเปลียนแปลงใดๆ ค่านั/นจะถูกบันทึกที Layout ด้วย คลิก OK เพือยืนยัน

Specify the Area to Plot:


การเลือกพื/นที ในการพิมพ์ เพือกําหนดขอบเขต Drawing ที จะทําการพิมพ์ จากนั/นเลื อกระหว่างพิ มพ์บน layout
หรื อ model
1. ที Main Menu เลือก File > Plot
2. ทีหมวด Print Area เลือกพื/นทีการพิมพ์ได้ดงั นี/
-Display –พิมพ์งานทีแสดงอยู่ ณ ขณะนั/น
-Extents – พิมพ์งานเฉพาะขอบเขตวัตถุ
-Limits/Layout – พิมพ์งานเฉพาะที ขอบเขต Drawing ทีกําหนด
ไว้
-Window –พิ มพ์งานเฉพาะส่ วนที เราได้ ครอบพื/ นที เลื อ ก ให้
เลือกที Window จากนั/นกําหนดมุมแรก และมุมแทยง ตรงข้าม
จากนั/น Enter

Preview a Plot:
ภาพตัวอย่างก่ อนพิ มพ์ สามารถตรวจสอบภาพก่ อนพิมพ์งาน
ได้ โดยภาพตัวอย่างแสดงถึง Drawing ทีทําการพิมพ์
ขั/นตอนการแสดงภาพตัวอย่างก่อนพิมพ์
1. ผูใ้ ช้ตอ้ งเลือกระหว่างพิมพ์บน layout หรื อ model
2. เลือก File > Plot Preview จาก main menu
3. เลือกขั/นตอนดังนี/
- เมือเห็นภาพตัวอย่างแล้ว หากต้องการพิมพ์งานเลือก
ที Plot ด้านบน ซ้าย
- หากต้องการยกเลิก ภาพตัวอย่าง คลิก ESC
150
Use Plot Styles:
การใช้งาน Plot Style: Plot styles จะช่วยแสดง Drawing ในลักษณะที ต้องการ เมือพิมพ์, และเนื องจากตัว plot
styles นั/นถูกเก็บอยู่ใน Computer เราสามารถนํามาใช้เมือเรา ต้องการให้ Drawing มีความชัดเจนหรื อแตกต่างเมือเราพิมพ์
งาน ผูใ้ ช้เลือก Plot Style ได้ 1 ประเภทต่อการพล็อต 1 ครั/ง โดย Plot Style แบ่งเป็ น 2 ประเภท
- Color-dependent plot style tables (CTB) ประกอบไปด้วย plot style ทีแบ่งออกเป็ นสี 255 สี (ตามเลเยอร์)
- Named plot style tables (STB) ประกอบด้วยรู ปแบบ plot style ทีเราได้ต/ งั ค่าไว้ อาจเป็ นสี ใดๆก็ได้
การใช้งาน Plot Style
1. ผูใ้ ช้ตอ้ งเลือกระหว่างพิมพ์บน layout หรื อmodel .
2. ที Main Menu เลือก File > Plot
3. หมวด Plot Style Table เลือกรู ปแบบทีต้องการ ดังนี/
- None: ไม่ใช้ Plot Style โดยวัตถุต่างๆจะแสดงตามทีเป็ น
- Monochrome: Drawing ทีพิมพ์จะแสดงเป็ น ขาว-ดํา
- New: สร้าง Plot Style เพือใช้เอง
4. ทําการบันทึก จากนั/นเลือก Apply

การปรับแต่ง Plot style


1. ที Main Menu เลือก File > Plot.
2. ที หมวด Plot Style Table (pen assignments) เลือก plot style ที
ต้องการปรับแต่งจากนั/น คลิก “Plot Style Table Editor”
3. เลือกที General บนเมนู Plot Style Table Editor จากนั/นเลือกทําตาม
ขั/นตอน:
- ใส่ Plot Style ใหม่ ตามต้องการ
- เลือก Apply global scale factor to non-ISO เพือใช้งาน
- ใส่ ค่า scale factor to apply to non-ISO linetypes เพื อใช้
ร่ วมกับ Plot Style ปัจจุบนั
4.จากนั/นเลือกที View tab จากนั/นเลือกทําตามนี/
- ตั/งค่าสี ทีต้องการ แต่ละสี แยกกัน โดยเลือกที Plot List จากนั/น
เลือก Color, linetype และ lineweight ปรับ ค่าตามที ต้องการโดย ค่าที
ปรับ จะอัตโนมัติทนั ที
151
- เปลียนชือของ Plot Style โดยเลือกที Plot List จากนั/นเลือก
Color, linetype และ lineweight สามารถเปลียน Plot Style Area ที
Properties area ค่าทีเปลียนจะถูกบันทึกอัตโนมัติ

- เพิม Plot Style ชุ ดใหม่โดยเลือก Add Style ทําการตั/งชื อ


จากนั/น OK สามารถเลือก Options สําหรับ Plot Style ทีต้องการ (เฉพาะ
การตั/งชือ)
- การลบ Plot Style ทําได้โดยเลือกรายการที Plot List จากนั/น
เลือก Delete Style
5. จากนั/น OK

Plot Files to Other Formats:


พิมพ์งานเป็ นไฟล์อืน สามารถพล็อตออกไปได้หลายนามสกุล ผูใ้ ช้สามารถเลือกได้อย่างไม่มีขอ้ จํากัด
152
Publish Drawings:
สามารถกําหนด Drawing ที เราต้องการ นําไปรวม, เปลียนชื อ, คัดลอกหรื อบันทึก เพือจัดพิ มพ์เป็ น multi-sheet
drawing เราสามารถจัดพิมพ์เป็ นไฟล์ DWF, DWFx, หรื อ PDF หรื อ อีกทางหนึงเราสามารถส่ งไปทีเครื องพล็อตทีตั/งไว้เพือ
เป็ น Hardcopy โดยเลือกเป็ น plot to file ซึ งหมวดต่างๆด้านล่าง จะแสดงที Publish Dialog Box
1. Load Sheet List Button: แสดงรายการจัดพิมพ์ ซึ งสามารถเลือก DSD ไฟล์หรื อ BP3 (Batch Plot)ได้
2. Save Sheet List Button: แสดงรายการพิมพ์ทีได้บนั ทึกไว้ซึงผูใ้ ช้สามารถบันทึกเป็ นไฟล์นามสกุล DSD ได้
3. Sheet List: แสดงรายการพิมพ์ทีใช้ปัจจุบนั (DSD) หรื อ batch plot (BP3) file.
4. Publish to: เลือกวิธีรายการพิมพ์ สามารถเลือกเป็ น multi-sheet DWF, DWF, หรื อ PDF file
5. Automatically load all open drawings: เมือเลือกแล้วโปรแกรมจะโหลดเข้ามาทีรายการพิมพ์อตั โนมัติ
6. Add Sheets Button: แสดง Drawing ทีเมนูซึงเราสามารถเพิมเติมเข้าทีรายการพิมพ์
7. Remove Sheets Button: ลบ Drawing จากรายการพิมพ์
8. Move Sheet Up Button: ย้าย Drawing ขึ/น 1 ลําดับ
9. Move Sheet Down Button: ย้าย Drawing ลง 1 ลําดับ
10. Preview Button: แสดง Drawing ตัวอย่าง
11. Sheet Name: รวม ชือ Drawing และ ชือ Layout ด้วยสัญลักษณ์ Dash
12. Page Setup/3D DWF: แสดงรายการ ชือของ Page Setup โดยคลิกทีชือของ Page Setup จากรายการ
13. Status: แสดงสถานะของรายการพิมพ์ เมือถูกนํามาใช้งาน
14/15. Show and select sheet details: แสดงหรื อซ่ อนข้อมูลรายการพิมพ์ทีเลือกไว้และเลือก Page Setup ข้อมูล
16. Publish Options: เปิ ดหมวดแก้ไขรายการพิมพ์ เพือการแก้ไข เฉพาะ
17. Number of Copies: กําหนดจํานวนของรายการพิมพ์
18. Precision: กําหนดความเหมาะสมของไฟล์ DWF, DWFx และ PDF ให้เหมาะกับสายงานต่ างๆ manufacturing,
architecture or civil engineering.
19. Include Plot Stamp: ใส่ Plot stamp ทีกระดาษ
20. Plot Stamp Settings: แสดงเมนู Plot Stamp ซึ งสามารถใส่ ค่าหรื อข้อกําหนดเพิมเติม
21. Publish in Background: เลือกเปิ ด ปิ ดแสดงรายการพิมพ์
22. Send the Sheets to the Plotter in Reverse Order: เมือเลือกแล้ว รายการพิมพ์จะถูกส่ งย้อนกลับไปค่าเริ มต้น มีเฉพาะเมือ
เราเลือกหมวด Page Setup
23. Open in Viewer when Done: เมือเราจัดรายการพิมพ์เสร็ จสิ/ น ไฟล์ DWF, DWFx และ PDF สามารถเปิ ดดูได้ดว้ ย
โปรแกรม Viewer
153
154
Chapter 13
Create and Edit Dynamic Blocks

สําหรับ GstarCAD Professional ผูใ้ ช้สามารถสร้างและแก้ไขวัตถุ Dynamic block ซึ' ง Dynamic Blocks สามารถ
เปลี'ยนมุมมอง (อยู่บน Block ชิ3นเดียว) โดยเลือกที'จุด Grip หลังจากที'นาํ เข้า Block แล้ว นิยามของ Dynamic blocks คื อ
Block ที' นาํ เข้ามา 1 ชิ3น สามารถปรับเปลี'ยนมุมมอง, รู ปร่ าง หรื อ โครงร่ างภายนอกได้ ช่วยประหยัดขั3นตอนหากเราต้อง
นําเข้า Block ที'มากชิ3น
ในบางครั3ง Dynamic blocks ประกอบด้วยรู ปทรงที'กาํ หนดหรื อสร้างไว้แล้วที'หมวดแก้ไข Block (block definition) เมื'อเรา
เลือก Grip เพื'อทําการแก้ไข Block Reference จุด tick marks จะแสดงผลบนตําแหน่งที' เหมาะสม หากเราทําการเปลี'ยน
คุณสมบัติค่าของ Block ไปยังค่าอื'นแล้ว parameter จะปรับไปตําแหน่งที'ไกล้เคียงกัน
Dynamic Block Editor:
ผูใ้ ช้สามารถเข้าสู่ การแก้ไข Block โดย พิมพ์คาํ สั'งหรื อดับเบิ3ลคลิกที' วตั ถุ Block นั3นโดยตรง (Block ที' ไม่มี
Attribute) จากนั3นเมนู Block Editor จะแสดงตามภาพด้านล่าง (Ribbon menu) สําหรั บลูกศรสี ดาํ แทนค่า parameters สี
เหลืองรู ปฟ้าผ่านั3นแทน symbol action และหากใช้ classic interface โปรแกรมจะเปิ ด pop-up ในส่ วนนี3
155
Dynamic Block Editor Tool Panels:
ใช้คาํ สัง' ในส่ วน Tool Panel เพื'อกําหนดค่าปรับแต่งแก้ไข dynamic blocks อย่างง่ายดายและรวดเร็ ว
Manage
บันทึกหรื อเลือกบันทึกเป็ น Block สร้างหรื อปรับแก้ Block อื'นๆ
Tool
กําหนด, แก้ไขหรื ออัพเดท Block attribute

Parameter
เพิ'ม parameters สําหรับ Dynamic Blocks

Visibility
แผงควบคุมการแสดงผล ซ่ อนหรื อแสดงผล

Action
สามารถเพิ'ม Actions สําหรับ Dynamic Blocks

Close
เพื'อออกจากการแก้ไข Block ในบางครั3งก่อนออก คําสั'ง save หรื อ Open อาจถูกใช้
156
Parameter Sets
คุณสามารถเพิ'ม การตั3งค่า Parameter set ได้ที'นี'

Parameters:
เพื' อกําหนดค่ าหรื อรายละเอี ยดของ dynamic block เช่ น ตําแหน่ ง,ระยะทางหรื อมุมของวัตถุ เมื'อเรากําหนดค่ า
dynamic block ที'หมวด Block Editor แล้วนั3น ค่า parameters จะแสดงผลคล้ายกับ Dimensions ค่า Parameters จะกําหนด
คุณสมบัติสาํ หรับ Block นั3นๆ ค่า Parameters ยังหมายถึง ตําแหน่ง,ระยะทางและมุมองศาของวัตถุ เมื'อเราเพิ'มค่า parameter
เป็ น dynamic block แล้ว สามารถกําหนดค่าเพิ'มเติมเป็ น วัตถุ Block ได้ Dynamic block กําหนดให้สร้างข้อมูลอย่างน้อย 1
parameter ขึ3นไป เมื'อเราเพิ'ม Parameter เข้าที' dynamic block โปรแกรมจะแสดงจุด Grip เข้าให้โดยอัตโนมัติ เราต้องสร้าง
Action ให้กบั Block นั3นๆโดยผูกกับ Action parameter. ค่า parameter ยังกําหนดพฤติกรรมหรื อผลกระทบของ dynamic
block บน Drawing สําหรั บบางค่า parameter สามารถกําหนดช่วงของค่า ให้มากสุ ดหรื อน้อยสุ ดหรื อเพิ'มค่าตามต้องการ
ตัวอย่างเช่น ค่า parameter ของเส้นๆหนึ' ง ในแนวนอนที' สร้างบน Window Block มีค่าที' ต3 งั ไว้ที' 10,20,30 และ 40 เมื'อนําเข้า
block reference ที' Drawing แล้วนั3น เราสามารถเปลี'ยนค่าได้ตามที' ต3 งั ไว้ การตั3งเพื'อเพิ'ม parameter นั3นช่วยให้ผูใ้ ช้สามารถ
จํากัดการนําเข้า Block ที' Drawing

Point Parameter
ไอคอน :
Command: BParameter→O
กําหนดตําแหน่ง X และ Y บน Drawing โดยตําแหน่งนี3สามารถทํางานร่ วมกับ move หรื อ stretch action
Linear Parameter
ไอคอน:
Command: BParameter→L
แสดงระยะทางระหว่างสองตําแหน่ง ประกอบด้วยจุด Grip วางตามค่ามุมที'ต3 งั ไว้ โดยค่า parameter ในแนวนอนนี3 สามารถ
ทํางานร่ วมกับ Move, scale, stretch หรื อ Array action
Polar Parameter
ไอคอน:
Command: BParameter→P
157
แสดงระยะทางระหว่างสองตําแหน่งที'เป็ นลักษณะมุมองศา สามารถใช้ท3 งั Grip หรื อ กล่องคุณสมบัติ properties เพื'อแก้ไข
ค่าระยะและมุมดังกล่าว โดยค่า polar นี3 สามารถทํางานร่ วมกับ Move, scale, stretch หรื อ Array action.
XY Parameter
ไอคอน:
Command: BParameter→X
แสดงระยะทางระหว่าง X และ Y จากจุดอ้างอิงของค่า สามารถทํางานร่ วมกับ Move, scale, stretch หรื อ Array action.
Rotation Parameter
ไอคอน:
Command: BParameter→R
กําหนดมุม องศามุมที'ตอ้ งการ สามารถกําหนดได้อิสระหรื อกําหนดช่วงเฉพาะที'ตอ้ งการ
Alignment Parameter
ไอคอน:
Command: BParameter→A
กําหนดตําแหน่ง X,Y และมุมองศา โดยค่าการจัดวางแนวจะถูกนํามาใช้และไม่สามารถปรับเปลี'ยน Action. การจัดวางแนว
อนุญาตให้ block reference ปรับหมุนระหว่างวัตถุบน Drawing และค่าการวางแนวนี3 มีผลต่อคุณสมบัติของ block
Flip Parameter
ไอคอน:
Command: BParameter→F
การสลับค่าของวัตถุ เราสามารถสลับค่าด้วยคําสั'ง flip action
Visibility Parameter
ไอคอน:
Command: BParameter→V
การแสดงผลของวัตถุภายใน block การกําหนดการแสดงผล สามารถเลือกได้ทนั ที ไม่ตอ้ งใช้คาํ สั'งอื'นร่ วม ที' Drawing เลือก
ที' Grip เพื'อแสดงวัตถุ ของ Dynamic block
Lookup Parameter
ไอคอน:
Command: BParameter→K
กําหนดคุณสมบัติเพิ'มเติมหรื อประเมินผลค่าจากรายการที'มี สามารถทํางานร่ วมกับ single lookup grip.
158
Base Point Parameter
ไอคอน:
Command: BParameter→B
กําหนดจุดอ้างอิงสําหรับ dynamic block reference โดยสัมพันธ์กบั รู ปทรง ไม่สามารถใช้ร่วมกับคําสั'ง Action แต่นาํ ไปวาง
ร่ วมกับ Action Set อื'นได้

Actions:
Action คือ วิธีกาํ หนด dynamic block ให้เปลี'ยนหรื อย้ายตําแหน่ง เมื'อเรามีการจัดการ block reference ที' Drawing
Move
Command: BActionTool→M
ใช้ Action Move เมื'อต้องการเคลื'อนย้ายวัตถุเป็ นระยะทางและมุมเช่ นย้ายเป็ นตําแหน่ ง, ระนาบ X,Y ระนาบ ISO หรื อ
ตําแหน่งที'ใส่ ค่า XY เป็ นต้นสามารถเคลื'อนย้ายวัตถุท3 งั หมดได้ตามที'เลือก นําไปวางตามทิศทางใดก็ได้.
Scale
Command: BActionTool→S
ใช้ Action scale สําหรับ ตําแหน่ง, ระนาบ X,Y ระนาบ ISO นอกจากนั3นใช้ scale วัตถุในทิศทางตามค่าที'ใส่ ผูใ้ ช้สามารถ
ปรับแต่งจุด Grips ในทิศทางที'ต่างกันโดยเปลี'ยนคุณสมบัติและค่า บนกล่อง Properties
Stretch
Command: BActionTool→T
ใช้ Action stretch เพื'อเคลื'อนย้ายหรื อยืดขยายวัตถุ ตามระยะหรื อตําแหน่งที'ตอ้ งการ stretch action สามารถทํางานร่ วมกับ
ตําแหน่ง, ระนาบ X,Y ระนาบ ISO
Polar Stretch
Command: BParameter→PIn
ใช้ Action polar stretch กับวัตถุเพื'อหมุน, ย้ายและยืดหดบนระยะหรื อมุมที'กาํ หนด เมื'อ key point มีการเปลี'ยนแปลงมีผลต่อ
วัตถุที'ทาํ งานรวมถึง จุด grip บนกล่อง Properties สําหรับ action polar stretch สามารถใช้กบั ค่า polar เท่านั3น
Rotate
Command: BActionTool→P
สําหรับ action rotate มักทํางานคู่กบั rotate parameter เมื'อเลือกวัตถุแล้ว จะสามารถหมุนได้อิสระหรื อหมุนได้มากกว่า จุด
grips ที'ตอ้ งตั3งค่าตามกล่อง properties
159
Flip
Command: BActionTool→F
สําหรับ Action flip มักทํางานคุ่กบั flip parameter.
Array
Command: BActionTool→A
สําหรับ Action array ทํางานควบคู่กบั ตําแหน่ง, ระนาบ X,Y, ระนาบ ISO สําหรับ copies และ arrays ในทิศทางอื'นๆที'
ต้องการ
Lookup
Command: BActionTool→L
Action lookup สามารถทํางานร่ วมกับ lookup parameter

ขั,นตอนเบื,องต้ นสําหรับการสร้ าง Dynamic Block:


สําหรับนิยามเพื'อจะสร้าง Dynamic Block นั3นคือ เมื'อเราต้องการสร้าง Block บนรู ปแบบต่างๆ โดยหลีกเลี'ยงการปรับแต่ง
ซํ3าไปมา ขั3นตอนมีดงั นี3
Step1: Planning
ก่อนจะสร้าง Dynamic Block เราต้องวางแผนสําหรับ การจัดเรี ยง, การแสดงผล สําหรั บขั3นตอนเหล่านั3น ต้องใส่ ค่า
Parameter(s) และ Action(s) ซึ' งต้องการข้อมูลในแต่ละฟั งก์ชนั'
Step2: Draw geometric figure
แน่นอนว่าผูใ้ ช้สามารถสร้างวัตถุ ภายในหมวด Block Editor
Step3: Add Parameter and Action
ขั3นตอนที'สาํ คัญที'สุดสําหรับการสร้าง Dynamic Block เมื'อเราเข้ากําหนดค่าและกําหนด action ไม่เพียงแค่ใส่ ค่าดังกล่าว เรา
ยังสามารถกําหนดการแสดงผลและการปรับแต่งต่างๆได้ โดยวาง action ตรงตําแหน่ งที' สอดคล้องกับชิ3 นงาน และให้วาง
action ตรงตําแหน่งไกล้วตั ถุ หากมีค่าและ action ที'เพิ'มเติม อาจต้องเข้าแก้ไขชื'อเพื'อความเข้าใจ ตั3งค่าและปรับแต่ง
Step4: Test Dynamic Block
ทดลองบันทึกและออกจากหมวด Block Editor จากนั3นทดสอบ
160
Dynamic Blocks Creation Samples ตัวอย่ างการสร้ าง Dynamic Blocks
รายละเอียดการแก้ไขและขอบเขตที'สามารถทําได้บน Dynamic Blocks มีข3 นั ตอนดังนี3
Base Point Parameter:
แม้ว่าการใส่ ค่า (Parameter) โดยหลักแล้ว จะสอดคล้องไปกับ Action ต่างๆ แต่มีขอ้ ยกเว้นทัว' ๆไป จุดค่าอ้างอิงเป็ นหนึ'งใน
นั3น
1. Define blocks: เข้าสร้าง block และ สร้างวงกลม (Circle) ตามรู ป

2. Add base point: คลิกใส่ ค่า “base point” บนแผง parameter ทําการใส่ ค่าตรงจุดศูนย์กลางของวงกลมตามที' กล่องเมนู
ตามรู ปภาพ

3. Insert block: ทําการบันทึกและออกจากเมนู จากนั3นนําเข้า Block ดังกล่าวที'หน้า Model เราจะทราบได้ว่า base point
หรื อจุดอ้างอิงนั3นจะเป็ นจุด insert point (จุดนําเข้า) หลังจากที' เรานําเข้ามาแล้ว จงจําไว้ว่า การกําหนดจุด base point นั3นคือ
จุด insert point นั3นเอง
161
Visibility:
ใช้ Visibility เพื'อควบคุมการแสดงผลหรื อซ่อนวัตถุบนมุมมองที'ตอ้ งการ
1. Prepare view: เตรี ยมวัตถุรูปรถ ทําการรวม 3 คัน เท่ากับ 1 block

2. Add Parameter of Visibility: ใส่ ค่าการแสดงผล (parameter of visibility) เข้าสู่ โหมด block editor โดยดับเบิ3ลคลิกที'
block หรื อคลิกขวาที'วตั ถุเลือกที'เมนู เมื'อเข้ามาแล้วเลือกที' Visibility of Parameter บนโหมดคําสั'ง Parameter จากนั3นทําการ
กําหนดตําแหน่งตามรู ปด้านล่าง

3. Edit the states of Visibility: ดับเบิ3ลคลิกที' Visibility เมนู ต3 งั ค่า


การแสดงผลจะแสดง ที'กล่องเมนูสามารถเปลี'ยนชื'อสร้างใหม่หรื อ
ย้าย หากเราต้องการเลือกการแสดงผลของ รถ สามคันดังกล่าว ให้
เลือก new และทําการเลือกรถดังรู ป
162
เลือกคําสัง' ตามรู ปด้านล่าง เลือก Roadster

เลือกคําสั'ง “Invisibility” ที'หมวด Visibility จากนั3น เลือก Truck และ Car เพื'อซ่อน(invisible) แต่สาํ หรับรถ “roadster” ให้
แสดงตามปกติ ตามภาพด้านล่าง เมื'อเลือกแล้วให้ Enter เพื'อยืนยัน สําหรับ car และ truck ตั3งค่าตามเดิม.

4. Move and Adjust: ปรับและย้าย: หลังจากปรับค่า Visibility เสร็ จแล้ว ย้าย รถทั3ง 3 คันโดยให้แสดงซ้อนกัน ตามภาพ

5. ทดสอบ Dynamic Block: นําเข้า


Dynamic Block ดังกล่าว คลิกเพื'อ
เลือกจากนั3นจะสังเกตเห็นจุด Grip
ของ Visibility Parameter ทําการ
เ ลื อ ก เ ม นู ที' เ ลื' อ น ล ง Dynamic
Block จะเปลี'ยนวัตถุตามที'เราตั3งค่า
ไว้ ตามภาพด้านล่าง
163
Alignment:
การตั3งค่าปรับแนวอนุญาตให้ Dynamic block ปรับอัตโนมัติ โดยสามารถบันทึกขั3นตอนแต่ละ แนวของ block ได้
1. Add an alignment parameter for a roughness symbol: ทําการวาด roughness symbol ภายในหมวด block editor เลือก
ไอคอนคําสั'ง alignment parameter จากนั3นกําหนดตําแหน่งและแนวหมุนวัตถุ ตามที' โปรแกรมต้องการตามรู ปภาพด้านล่าง
เส้นจุดคือแนวหมุนวัตถุ

2. Test the dynamic block: ทดสอบ dynamic block ทําการใส่ the roughness dynamic blocks ดังกล่าว ลองย้ายจุด grip
ตามแนว สัญลักษณ์จะหมุนตามเส้นบอกระยะ ตามที'รูปภาพด้านล่าง

Flip:
เมื'อเราใช้คาํ สั'ง "Roughness symbol block" วางลงบนส่ วนต่างๆ สัญลักษณ์บางครั3งจะวางบนด้านขวา อย่างไรก็ตาม หาก
ทิศทางของรู ปแบบดังกล่าว ไม่ถูกต้อง เราสามารถเพิ'ม "character flip" เพื'อปรับค่าที'ถูกต้อง
1. Add flip parameter: เลือกคําสัง' “Flip” ทําการเพิ'มค่าตามที'โปรแกรมต้องการ ดังรู ปด้านล่าง

2. Add flip action: เพิ'ม Flip action เลือกที' คาํ สั'ง flip บนเมนู action ทํา
การเทียบ parameter วัตถุสาํ หรับ action นัน' คือ เลือก "roughness" เป็ น
วัตถุ และที'คาํ สัง' action ตามรู ป
164
ใช้ข3 นั ตอนเดียวกันเพื'อเพิ'ม Pair หรื อ Flip และ action ตามทิศทางแนวดิ'ง ตามรู ป

Point Movement:
1. Draw a drawing: สร้างวัตถุจากนั3นทําเป็ น Block

2. Add point parameter: เพิ'มค่าตําแหน่ง เลือกที' point parameter บนทูลบาร์ กําหนดค่าตําแหน่ งตามที'โปรแกรมต้องการ
ดังรู ป

3. Add move action: เลือกที' move action บนเมนู ใส่ ค่า


เที ย บกับ วัต ถุ สํ า หรั บ action และกํา หนดตํา แหน่ ง
ตํา แหน่ ง ดังกล่ า วไม่ มี ผ ลกระทบต่ อ dynamic block
อย่างไรก็ตาม เพื' องานที' เรี ยบร้ อ ยแนะนําให้วางสัมพันธ์
กับค่าที'ใส่
165
4. ทดสอบ dynamic block: โดยนําเข้า จากนั3นลากจุด grip สี น3 าํ เงิน ไปยังทิ ศทางที'ตอ้ งการดังภาพด้านล่าง สังเกตได้ว่าการ
ใช้ dynamic block นั3นเข้าถึงงานได้รวดเร็ วกว่า และขั3นตอนที' สําคัญหากไม่ได้วางตามระนาบดังกล่าว ตําแหน่งอ้างอิงอาจ
เลื'อนไปด้านหน้า เพราะทิศทางของค่าตําแหน่งจะถูกสุ่ มตําแหน่ง ดังนั3นค่าตําแหน่งจะถูกกําหนดจาก action

Linear Movement:
โดยทัว' ไป การกําหนดคําสั'งหรื อเครื' องหมายต่างๆ สําหรับงาน Mechanics มักอนุ ญาตให้วางได้เฉพาะเส้น Center ดังนั3น
หากเรามีระยะในแนวนอนที' มากพอจะสามารถวางได้อิสระ ในขณะที' ในแนวตั3งไม่มีผลกับจุดนี3 ขั3นตอนต่อไปเรามาดูใน
ส่ วนการใส่ ค่าในแนวตรงที'จะช่วยปรับย้ายทิศทางของเส้น Center ดังนี3
1. Draw: ทดลองเขียนวัตถุ จากนั3นบันทึกเป็ น Block ดังรู ป

2. Add linear parameter: ใส่ ค่าในแนวเส้นตรง การที'จะเพิ'มค่าในแนวนี3 คือวิธีเดียวกับการให้ Dimension ซึ' งทั3ง 2 วิธี จะ
พยายามรวมจุดค่าระยะเพื'อวางค่าให้ตรงกลาง

3. Add Move Action: ขั3นตอนนี3 แตกต่างจากการย้าย point หลังจากที' เรา


ใส่ค่าแล้ว โปรแกรมจะแสดงเมนู ขั3นตอนคือการใส่ ค่านั3นจะสัมพันธ์ต่อ
การเคลื'อนย้าย ทําการเลือกจุด Grip ทางด้านขวาของค่าจะขึ3น “Related
parameter point” ตามรู ปที'แสดง
166
โดยหลังจากตั3งค่า ค่าจะอ้างอิงต่อการใช้ Move หรื อเคลื'อนย้าย เมื'อเราออกจากคําสั'ง Block Editor จะสามารถลาก
จุด Grip นี3เพื'อเปลี'ยนแปลง dynamic block อย่างอัตโนมัติ โดยขั3นตอนหลังจากทําการเลือกค่าตําแหน่งหรื อกําหนดตําแหน่ง
เป็ น Action แล้ว ดังรู ปภาพ จากนั3นใส้ป้าย action บันทึกและออกจากเมนู

4. Testing Dynamic Block: เลือก dynamic block ดังกล่าว ลากจุด grip ทางด้านขวาของเส้นระยะ ตรงนี3 คือไม่ว่าลูกศรจะ
ถูกย้าย โปรแกรมจะจํากัดเส้น center ก่อนจะถึงเส้นหรื อวัตถุชิ3นต่อไป บอกได้ว่าไม่ว่าขอบเขตของเส้นค่าระยะในแนวนั3น
จะถูกจํากัดอย่างไร คําสัง' dynamic block กําหนดได้ตามทิศทางที'เราได้สร้างไว้ในแนวนั3นๆ

Number of Grips:
ที'หมวด Block Editor เลือกที' linear parameters เปลี'ยนค่า เลขของชุด grips เป็ น 1 ที'กล่อง Properties
167
Save และออกจากคําสั'ง Block Editor ผูใ้ ช้จะเห็นว่าจุด grip นั3นจะหายไป
ความจริ งแล้วเมื'อเราเปลี'ยนค่าเลขของ grip จาก 2 เป็ น 1 สิ' งแรกที' หายไปคือ
ค่าระยะทั'วไปที' วาง ให้ท าํ การสร้ างใหม่โดยการเลื อกเปลี' ยนชื' อเมื'อใส่ ค่า
เส้นระยะใหม่

Angle Offset:
เปิ ดคําสั'ง Block Editor เลือกที' Angle offset จาก 0 เป็ น 30 องศา ที'หมวด action จากนั3นบันทึกและออกจากคําสั'ง

เลือก Dynamic block จากนั3นเลือกที'จุด grip ด้านขวา จะพบว่าสามารถเคลื'อนย้ายไปในทิ ศทาง 30 องศา ตามรู ปที'แสดง
ทิศทางดังกล่าวสามารถตั3งค่าได้ที' Angle Offset

Linear Stretch:
ระหว่างการสร้างวัตถุงานเครื' องกล (Mechanical) เรามักเปลี'ยนตําแหน่งวัตถุ เช่นเดียวกันกับเส้นบอกระยะ สามารถเพิ'มเส้น
บอกระยะยืดได้ ตามระยะก่อนจะถึงวัตถุหรื อขอบเขตถัดไป
1. Add linear parameter:
168
2. Add stretch action: เลือกที' stretch action บนเมนู action กําหนดค่าตามที'เมนูตอ้ งการและเลือกจุด grip ด้านขวา ตามรู ป
วัตถุสีดาํ จะสามารถนําไปใช้งานหมวด actionได้ เส้นประแสดงขอบเขตที' สามารถยืด วัตถุที'อยู่ภายในขอบเขตจะถูกยืดออก
และเคลื'อนย้ายตาม

3. Test dynamic block: ออกจากหมวด block editor ทําการลากจุด grip ตามทิศทางที'ตอ้ งการ ตามรู ป

Parameter Value Set:


ตั3 ง ค่ า ชุ ด บ อ ก ร ะ ย ะ สํ า ห รั บ ง า น
ออกแบบเครื' องกล เรามักยืดค่าระยะตามทิศทาง
ที'ตอ้ งการบนความยาวที'ทาํ ได้ แต่จะแม่นยํากว่า
หาก เลือกที' คาํ สั'ง Linear parameter ที' หมวด
block editor จากนั3นเลือกที' ขอบเขตเส้นประที'
ฝั'งขวา จากนั3นเลือกที' "distance type" บนกล่อง
properties โปรแกรมจะแสดงเมนู
ที'เมนูดงั กล่าว จะไม่มีค่าเบื3 องต้น หมายความว่า เราสามารถกําหนดได้สองฟั งก์ชนั' คือการกําหนดค่ามากหรื อน้อย
สุ ด
การเพิ' ม ค่ า ที' น3 ี หมายถึ งการเพิ' ม จํา นวนอย่ า ง
สมํ'าเสมอ โดยค่าชุดตามที'แสดงด้านล่างนั3น เกิดขึ3นจาก
การเลือกจํานวนให้เพิ' มขึ3 น หากเราเลื อก “list” ค่ าจะ
แสดงตามรู ปด้านล่าง หมวด dynamic block จะสามารถ
ยืดค่าระยะตามชุดตัวเลขที'อยู่ ใน list
169
คลิกที' ขอบเขตเส้นประที'อยู่ดา้ นขวาของหมวด "distance value list" จะแสดงพร้อมเครื' องหมายละ เมื'อเลือกคําสั'ง "Add
distance" แล้ว โปรแกรมจะแสดงให้ใส่ ค่าชุดตัวเลข “1”.“1.5”.“2” ตามรู ปด้านล่าง

ออกจากคําสั'ง Block editor จากนั3นยืดที'จุด grip จะเห็นว่ามีเส้นมีเทาเกิดขึ3นทางด้านขวา จากนั3นเราสามารถยืดวัตถุไปยัง


ตําแหน่งของเส้นสี เทา ตามรู ป สังเกตได้ว่า ที' value list เราสามารถกําหนดค่ายืดดังกล่าวได้แม่นยํามากขึ3น

Symmetrical Stretch:
มีวิธีที'ง่ายสําหรับการยืดหดสองฝั'ง โดยเมื'อเราเพิ'ม action ทั3งสองฝั'ง เราทราบกันว่าสามารถยืด หดได้ท3 งั สองฝั'งแต่
action สําหรับ ยืดหดนี3มีขอ้ จํากัด ค่าระยะอาจต้องมีการตั3งค่าเพื'อให้
การยืดทั3ง สองฝั'งนั3นสมมาตร
อันดับแรก เพิ'ม Action ของค่าระยะทั3งสองฝั' ง จากนั3นทํา
การเลือกจุด grip ของทั3งสองฝั'งโดยมี ความสัมพันธ์กนั ถัดมา ที'
หมวด misc ทําการปรับแต่งที' base location จาก "Start Point" ไปยัง
"Mid Point", ตามที'รูปแสดง จากนั3นบันทึกและออกจากคําสั'ง
เพื'อความสะดวกในการตรวจสอบระหว่างขั3นตอน ให้เขียน
เส้น Center แนวดิ'งตรงกลาง จากนั3นทําการยืด จุด gripจากฝั' งซ้าย
ไปฝั'งขวา ตามที' รูปแสดง ขณะที'จุด grip ขยายไป เราจะเห็นการยืด
นั3น สมมาตรกันทันที
170
Distance Multiplier:
สังเกตดูข3นั ตอนดังรู ป หากเราทําการยืดชิ3นงานในส่ วนซ้ายและค่าระยะยังคงอยู่บนตําแหน่ง center แต่เส้นผ่านศูนย์กลางยัง
เล็กกว่าเมื'อยืด ใช้คาํ สัง' “Distance Multiplier” เพื'อสร้างระยะที'มากกว่า

1. Add linear parameter and stretch action for step shaft: การเพิ'มค่าระยะตามแนวและใส่ action สําหรับขอบเขต นั3น
ให้ซ่อนจุด grip ทางด้านขวา จะมี action ยืด หดตามรู ปตัวอย่าง วัตถุเส้นหนาคือ action ที'ใช้

2. Add Move Action for keyway: เพิ'ม action เคลื'อนย้าย สําหรับวัตถุ เลือกจุด grip ที'ดา้ นซ้าย ของค่าระยะเมื'อ เคลื'อนย้าย
ทําการยืดจุดค่าระยะ โดยเลือกค่าระยที'สัมพันธ์กนั จากนั3นย้ายวัตถุที'อยู่ภายใน action และทําการเลือกวัตถุท3 งั หมด ตามรู ป
ตัวอย่าง

3. Modify distance multiplier of action: ปรับคูณค่า


ระยะสําหรับ action เลือกที' move action จากนั3นปรับ
ค่าจาก 1 เป็ น 0.5 ที' property ของ distance multiplier
จากนั3น บันทึกและออกจากคําสัง'
171
4. Test Dynamic Block: ยืดจุด grip ฝั'งซ้ายเมื'อย้าย เส้นผ่านที'เล็กกว่าจะแสดง
ขึ3 นมาจากคําสั'งยื ด ค่ าระยะจะถูกย้ายไปสู่ ดา้ นนั3นอย่างรวดเร็ ว ค่า ระยะที' อ ยู่
center จะถูกวางให้อยู่ภายในขอบเขตตลอดไป แม้ว่าคําสั'งยืด และย้ายอาจมี
พื3 น ฐานค่ าระยที' เ หมื อ นกัน เมื' อ เราเพิ' ม ค่ า ระยะหรื อ ปรั บ ค่ า (move and
modified) เป็ น 0.5 ค่าการเคลื'อนย้ายจะสามารถ ยืดได้ 0.5 ครั3งต่อการเคลื'อน

Chain Action:
หากผูใ้ ช้ตอ้ งการทราบตําแหน่งยืดแบบสมมาตร โดยไม่เปลี'ยนค่าระยะของ Center อีกทั3งความยาวของเส้นผ่าน
ระยะที'เล็กกว่านั3นถูกยืดในเวลาเดียวกันนั3น เราจะทําได้อย่างไร?
1. Add stretch for Step Shaft: เพิ'มค่าระยะยืดและกําหนด action สําหรับขอบเขต ตามภาพด้านล่าง ดังนี3 วัตถุที'เส้นหนาจะ
ถูกกําหนดให้เป็ นวัตถุ action เพราะขั3นตอนที'ตามมานั3นวัตถุเส้นหนานั3นจะไม่ถูกยืดบนค่าระยะโดยจุด grips ของแนวระยะ
นี3 โดยชุดเลขของ grip นี3 อาจต้องปรับค่า เป็ น “0”

2. Add linear parameter for keyways: ตั3งค่าจุดอ้างอิงของค่าระยะเป็ น Center เพื'อเข้าสู่ การหาค่ายืดที'สมมาตร


172
3. Add the stretch rightwards action for the keyway and realize chain action: เลือกที' หมวด “Distance” ที'ค่าระยะ
จากนั3นปรับแต่ง chain action ที' property จาก “NO” เป็ น “Yes” ตามรู ปตัวอย่าง

เพิ'มคําสั'งยืดด้านซ้ายตามรู ปด้านล่าง โดยจําไว้ว่า ให้เลือก “Distance” สําหรับค่าระยะตามแนวเพื'อยืดวัตถุตลอดทั3งชิ3น ตรง


นี3เป็ นขั3นตอนสําคัญ

4. Test Dynamic Block: เมื'อเราลากจุ ด grip ที'ดา้ นซ้ายแล้ว ไม่เฉพาะค่า


ระยะที'ถูกยืดออก รวมถึงเส้นผ่านระยะที'เล็กสุ ดภายในขอบเขตวัตถุ จะถูกยื
อหด ตามด้วย นี' คือหมวด chain action โดย chain action ต้องมีขอ้ คํานึ งถึง 2
ข้อใหญ่ดว้ ยกันคือ ต้องปรับค่าที' property โดยตั3งค่าให้ ลิ3งค์ถึงกัน โดยเลือก
ที'หมวด chain action จาก “NO” เป็ น “YES” ข้อที' สองคือ เลือกค่าระยะของ
วัตถุที'ถูกเลือกเชื'อมต่อกัน เป็ น action set

Scale Action:
Scale Action สามารถเทียบได้กบั ค่าระยะในระนาบที'ตอ้ งการ เส้น polar หรื อพิกดั XY เพื'อเข้าการใช้งานที'หลากหลายของ
Dynamic effect
Linear Scale
1. Draw: สร้างวัตถุโดยมีรู ดังรู ปตัวอย่าง จากนั3นทําเป็ นวัตถุ Block
173
2. Add Linear Parameter: จากนั3นเข้าสู่ หมวด Block Editor ทําการเพิ'มระนาบค่าระยะ โดยจุดเริ' มต้นของค่าดังกล่าวคือ
ตําแหน่ง center ของวงกลม จากนั3นเลือก ชุดตัวเลขของจุด grip เป็ น “1” ตามรู ปตัวอย่าง

3. Add Action: เลือกที' ไอคอน Scale ที'เมนู Action ทําการใส่ ค่าระยะสําหรับ action เลือกวัตถุรวมถึงรู ตรงกลาง เลือกเป็ น
Action Object ตามที'รูปตัวอย่าง

4. Test Dynamic Block: ออกจาก หมวด Block Editor จากนั3นนําเข้า dynamic block ดังกล่าว เมื'อนําเข้ามาแล้ว ลากที' จุด
grip สามเหลี'ยม วัตถุจะทําการ Scale

Polar Scale
เมื'อเราย้าย Scale ของ grip ที' ตาํ แหน่ งรู เจาะที' มุมซ้าย ของ center ของวงกลม
จากนั3นย้ายจุดอ้างอิงของระยะระนาบมาไว้ที'มุมซ้ายของcenter วงกลม จะพบว่า block วัตถุ
ดังกล่าวมีขนาด scale ที'ไม่ถูกต้อง ดังรู ปตัวอย่าง
174
เหตุ ผลที' จุด Endpoint ของค่ าระยะไม่สามารถวางอยู่บนจุ ดอ้างอิงได้เพราะ เราได้เปลี' ยนจากค่าระยะ (Linear
Parameter) เป็ น ระยะระนาบ เชิงขั3ว (Polar Parameter) จากตรงนี3 เราไม่สามารถเปลี'ยนค่าใดๆได้ ตามรู ป

ออกจาก Block Editor ทําการลาก grip ที' block ทั3งหมด


อีกครั3ง จะเห็นได้ว่า หลังจากที' เปลี'ยนรู ปแบบ ค่าระยะจาก linear
parameter เป็ น polar parameter แล้ว จะสามารถดึงจุด grip เพื'อย่อ
ขยายได้ในทุกทิศทาง

Scale Character:
สําหรับหัวข้อนี3 จะอธิ บายถึงการย่อขยายวัตถุ โดยใช้ค่าระยะ XY และใช้ Scale action ตามตัวอย่าง
1. Drawing graphics: วาดวัตถุดงั รู ปจากนั3นสร้างเป็ นวัตถุ Block

2. Add XY Parameter: จากนั3นเข้าที' Block Editor ใส่ ค่าพิกดั XY โดยเพิ'มวิธีเดียวกับใส่ ค่าระยะ ทําการเลือกที' จุดแรกของ
ระยะที' มุมซ้ายของสามเหลี'ยม เป็ นจุ ดอ้างอิง (Base Point) ถัดมาเลือกจุดที' สองทางด้านมุมขวาบนเปลี'ยนชุดเลขของ grip
เป็ น 1 จากนั3นใส่ ค่า Scale ตามรู ป
175
3. Test the Dynamic Block: เมื'อออกจากหมวด Block Editor ลาก grip ที'มุมขวาของสามเหลี'ยม จะเห็นได้ว่า dynamic
block ทั3งรู ปจะถูกย่อขยายตาม เป็ นวิธีที'ง่ายเมื'อเราต้องการให้วตั ถุวงกลมและสามเหลี'ยม ย่อขยายโดยมีจุดอ้างอิงที' ใช้ค่า
ระยะ XY

4. Modify Action Base: ปรับแก้ค่าจุดอ้างอิง กลับไปที' Block Editor เลือกคําสั'ง Scale Action จากนั3นเปลี'ยนค่าเริ' มต้นจาก
“Dependent” เป็ น “Independent”

กําหนดอ้างอิงใหม่ : คลิกหนึ' งครั3งที' ดา้ นขวา ตรง “Base-X” และ “Base-Y” ผูใ้ ช้สามารถเลือกใส่ ค่าพิกดั หรื อเลือก
คลิกที'คาํ สัง' เล็กๆพร้อมกับวางจุดด้านขวาของกล่องเมนูที'จุดอ้างอิง ตามรู ป:

กําหนดจุ ดอ้างอิ งที' จุด Crosshair และที' center ของรู ป วงกลมเป็ น


จุดอ้างอิง หลังจากออกจากหมวด Block Editor ทําการย่อ ขยาย dynamic block
หลังจากที' เราปรับแต่งจุดอ้างอิงและตําแหน่ งแล้ว ตําแหน่ง Scale จุดศูนย์กลาง
จะถูกย้ายจากพิกดั XY อ้างอิงไปยังจุดอ้างอิงใหม่ (center ของวงกลม)
176
5. ประเภทของ Scale: ที' properties หมวด scale action ค่าเริ' มต้นคือ “XY Scale” เมื'อเลือก “XY Scale” dynamic block จะ
ถูกย่อ ขยายได้ทุกเมื'อ โดยจะถูกย้ายเข้าสู่ แกน X หรื อ แกน Y และเมื'อเลือก “X Scale” จะย่อขยายวัตถุไปยังแกน X เท่านั3น
เช่นเดียวกับ “Y Scale” จะย่อขยายไปยัง แกน Y

Rotation:
ที'คาํ สัง' นี3 เราจะใส่ ค่าระยะ การหมุน (Rotation) และใส่ ค่า rotate action เพื'อจัดเก็บระบบ dynamic rotate เพื'อใช้กบั
ระบบสัญลักษณ์ (English System) ซึ' งมักใช้บ่อยในงานสถาปัตยกรรม
1. Draw a drawing: ทําการสร้างสัญลักษณ์ดงั รู ป จัดเก็บเป็ นวัตถุ Block แนะนําให้จดั เก็บข้อความเป็ น Attribute Block
เพื'อการปรับแต่งในภายหลัง

2. Add rotation parameter: เลือก center ของวงกลมดังกล่าวเพื'อเป็ นจุดอ้างอิงแรก โปรแกรมจะตั3งค่าเริ' มต้นเป็ นมุมมอง
ดังกล่าว ตั3งค่าองศาที'ตอ้ งการที' "increment" จากนั3นทดอลงให้องศา เท่ากับ 15 ตามรู ปตัวอย่าง
177
3. Add rotate action: เลือกที' rotation action, match parameter, object และ position บนเมนู action จากนั3นเลือกสัญลักษณ์
ทั3งหมดเป็ นวัตถุ สําหรับ action

4. Test dynamic block: ออกจาก หมวด Block Editor จากนั3นนําเข้า Block ดังกล่าว หมุนที' grip เพื'อแสดงวัตถุขณะ
เปลี'ยนแปลง ตามรู ปตัวอย่าง

Polar Stretch:
เราใช้ Polar Stretch บนหมวด dynamic block เพื'อะสร้างสัญลักษณ์รูปตัดดังนี3
1. Draw, Mirror and Define as a Block: วัตถุตามรู ปภาพประกอบไปด้วย attribute text ซึ' งสามารถปรับแต่งตามต้องการ
จากนั3นทําการ mirror วัตถุดงั กล่าว สร้างเป็ น Block อีก 1 ชิ3น

2. Add action and parameter for the attribute text: ใส่ ค่าระยะตําแหน่งจากนั3นย้าย action เฉพาะ ตัวอักษร และ เปลี'ยน
chain action เป็ น “Yes” จากนั3นเราพร้องที'จะเข้าสู่ โหมด chain action สําหรับ polar stretch action
178
3. Add Polar Parameter and Action: ใส่ ค่าระยะ Polar โดยค่าเริ' มต้นควร
จะอยู่บน center ที' สั ญ ลักษณ์ รู ป ตัด ตํา แหน่ งนี3 จะเป็ นจุ ดหมุ นของ Polar
Parameter ขั3นตอนมีดงั นี3
1. เลือก grip ด้านขวา ของค่าระยะ Polar โดยค่าระยะดังกล่าวจะสัมพันธ์และ
เข้าเลือกปรับแต่งที' Stretch box (Fig. 3.1)
2. เลือกวัตถุเพื'อทําการยืด และ “ตําแหน่ง” รวมเข้าด้วยกัน ซึ'งทั3งชุดอักษรและศัญลักษณ์จะถูกรวมเข้าด้วยกัน (Fig. 3.2).
3. กําหนดวัตถุให้หมุน (rotate) เฉพาะ Polar Stretch Action (Fig 3.3).
4. กําหนดสัญลักษณ์ Action และตําแหน่ง (Fig 3.4)
5. จากนั3นทําซํ3าขั3นตอนทั3งหมด สําหรับด้านซ้าย

และ จะดีกว่า หากเราทําการซ่อน Grips ซึ' งไม่เกี'ยวข้องกันกับค่าระยะ the Polar Stretch ดังนี3
179
4. Test Dynamic Block:
เปิ ดชิ3นงาน ซึ' งจะทําการใส่ Dimension จากนั3นนําเข้า dynamic block (Fig 4.1) ทําการลาก grip ของ dynamic block โดย
สัญลักษณ์จะถูกยืดและหมุนไปยังทิศทาง โดยยึด center ไว้ เป็ นอันเสร็ จสิ3 น (Fig 4.2)

Polar Stretch Action Characteristics:


ปรับแต่งชุดตัวเลข grip บนค่าระยะของ Polar ที' dynamic block สัญลักษณ์
รู ปตัด ตามตัวอย่าง ข้อก่อนหน้า จุด grip ทั3งสองชุด ตามภาพตัวอย่างจะเห็นได้ว่าจุด
ศูนย์กลางของ grip นั3นชัดเจนและแตกต่างระหว่างก่อนและหลังปรับแต่ง ก่อนที' จะ
ปรั บแต่ง จุดศูนย์กลางนั3นมักเป็ นจุดอ้างอิงของ Block อีกทั3งใช้เป็ นจุ ดนําเข้า (Insert
Point) แต่ หลังจากปรั บ แต่ งแล้ว จุ ดศูนย์กลางดังกล่าว จะเป็ นจุ ดอ้า งอิ ง ของ polar
parameter
เลือกที' จุดศูนย์กลาง จะสามารถเปลี'ยน grip ไปยังทิ ศทางอิสระ อีกแง่หนึ' ง
คื อ จุ ดสี น3 ํา เงิ นเข้มที' เป็ น จุ ดนําเข้า ของ Block จะแสดงอี กครั3 ง ตามรู ป ตัว อย่า ง
ด้านล่าง สังเกตว่าจุดนําเข้านั3นคลอบคลุมเฉพาะจุดอ้างอิงของ polar parameter เท่านั3น จุดอ้างอิงของ polar parameter นั3น
สามารถย้ายได้อย่างอิสระ แต่สาํ หรับ block นั3นดูเหมือนไม่มีสิ'งใดเปลี'ยนแปลง
ในการยืนยันการเปลี'ยนแปลงของ Block นั3น ให้ยา้ ย grips ทั3ง 2 ฝั'ง เมื'อเราเปลี'ยนแปลงจะพบว่าสัญลักษณ์รูปตัด
ดังกล่าวจะไม่ได้อยูต่ รง center ของจุดสี น3 าํ เงิน แต่มีผลกับจุดอ้างอิง ของ polar parameter เช่น rotate center ตามรู ป
180
เข้าสู่ โหมด Block Editor ย้ายค่าระยะแต่การตั3งค่าส่ วนอื'นไม่เปลี'ยนแปลง

จากนั3นออกจากหมวด Block Editor ย้าย grip ด้านขวา แล้ว


จะเห็นว่าจุด center เคลื'อนไปตามกับค่าระยะ จากตัวอย่าง ด้านบน
อาจจัดการได้ยากสําหรับ polar parameter ว่าไม่สามารถเคลื'อนย้าย
ได้อ ย่างอิ ส ระ เช่ น ตํา แหน่ งค่ า ระยะ และ ระยะระนาบ เหตุ ผลคื อ
จุดอ้างอิงของ polar parameter จะกําหนดค่าหมุน ตาม center ของวัตถุ ดังนั3นเมื'อค่าระยะมีการเคลื'อนที' จุดหมุน center จะ
เคลื'อนตามทันที และนัน' คืออีกเหตุผลที'การหมุน ค่าระยะไม่สามารถเคลื'อนย้ายได้

Array:
สําหรับคําสั'ง Array บนหมวด Dynamic Block เราต้องใช้ Array Action เพื'อใช้เทียบกับระยะระนาบ (Linear Parameter)
รวมถึง Polar Parameter, XY Parameter เพื'อรองรับคําสัง' Array
Linear Array
1. Draw: ทําการสร้าง รายการตามรู ปตัวอย่าง จากนั3นบันทึกเป็ น Block

2. Add Linear Parameter: เมื'อเราสร้าง action สําหรับ array แล้วจะสามารถลาก grip ได้ท3 งั 2 ชุดของค่าระยะที'จะทําเป็ น
รายการ แต่สังเกตว่า เราต้องการเพียงคัดลอกแถบช่องว่างนั3นขึ3นไป ไม่ได้ดึงลงมา เพื'อเลี'ยงข้อผิดพลาดนี3 แนะนําให้ ซ่อน
grip หลัง ค่าระยะ ตามรู ปตัวอย่าง
181
3. Add Array Action: ระหว่างการใส่ Array Action โปรแกรมต้องการช่องว่างระหว่างแถว ช่องว่างนี3 คือระยะระหว่างวัตถุ
ที'คาํ สั'ง array สร้างขึ3น ดังนั3น ตัวอย่าง มีเส้นหนา 7 มมสําหรับเส้นถัดไป เราสามารถเลือกได้ แต่ให้เส้นระหว่างแถวเป็ น 7
มม

4. Test Dynamic Block: นําเข้า Dynamic Block ลาก grip ที'มุมขวาไปด้านบน ช่องว่างหรื อตารางจะถูกเพิ'มอัตโนมัติ ตาม
รู ปภาพ

XY Array
เปรี ยบเทียบกับ Linear Array, XY Array นั3นมีทิศทางในแนวดิ'ง

Polar Array
เราได้เห็ น การทํางานของ Dynamic Block ดังตัว อย่าง และ
หลังจากที' ลาก grip แล้วจะมี ผลกระทบดังรู ป จะเห็ นได้ว่าไม่
เฉพาะการยืดขอบเขตที' เราทําได้ แต่ยงั สามารถหมุนตามทิ ศทาง
ได้อย่างง่าย ตรงนี3คือผลจากการใช้ Polar Stretch และ Polar Array
182
เข้าสู่ หมวด Block Editor ทําการยืดตามทิ ศทาง โดยสร้าง Array Action ตามรู ปตัวอย่าง วัตถุที'เป็ นเส้นหนาจะ
สัมพันธ์กบั action ที'เรากําหนด โดย Polar Parameter จะถูกกําหนดตามทิศทางของ Array โดย Polar Array จะไม่คาํ นึ งถึง
ทิศทางเดิม สามารถสร้างทิศทางใหม่ได้ตามต้องการ
183
Chapter 14
Express Tools

GstarCAD Express Tools ประกอบด้วย เครื องมือ ที ช่วยออกแบบ เพือง่ายในการใช้ โดยถูกเพิมเข้ามาในเมนู และ
เครื องมือ Tools bars และ รวมถึง คําสังอืนๆ Dimensioning, Drawing, and Selectionและ Modifying objects ทัCงหมดรวมอยู่
ใน GstarCAD Express Tools

Block Tools
Replace Block:
ใช้คาํ สังนีCสาํ หรับแทนที บล๊อคชิCนหนึ งด้วย บล๊อคอีกชิCนหนึ ง ซึ ง
อยูใ่ นแบบแปลนเดียวกัน บล๊อค ทุกชิCนที มีชือเหมือนกันจะถูกแทนที ด้วย
บล็อคชิCนใหม่
Menu: Express>Blocks>Replace Block
Command: BLOCKREPLACE
ทําการเลือก Block: Double bed. จากนัCนเลือก OK
เลือก block ทีต้องการนํามาแทนที: Sofa จากนัCนเลือก OK
Purge unreferenced items when finished? Yes/No ให้กด Yes
184
Copy Nested Objects: คําสังทีใช้คดั ลองวัตถุ ทีอยูใ่ น Xref หรื อ Block
Menu: Express>Blocks>Copy Nested Objects
Command: NCOPY
เลือกวัตถุทีต้องการคัดลอก: กําหนดจุด Base point หรื อ พิมพ์ M (Multi) เพือคัดลอกทีละหลายๆชิCน

Explode Attribute to Text: คําสังทีใช้ระเบิด บล็อค เพือแปลงAttributes ให้เป็ น text


Menu: Express>Blocks>Explode Attributes to Text
Command: BURST
ตัวอย่าง: การทําExplode attributes และแปลงเป็ น text.
1. เลือก attribute และ Text สองชุด.

2. ทําการระเบิด Block และ attribute โดยแปลงเป็ น text.


185
Export Attribute Information:
คําสัง Export block attribute ไปยังภายนอก ASCII format คําสังนีCจะทําการส่ งข้อมูลของแอททริ บิวต์ ทัCงหมด
ออกไปซึ งจะบันทึกข้อมูลเป็ นรู ปแบบ ASCII Text file.
Menu: Express>Blocks>Export Attribute Information
Command Entry: ATTOUT
Select object: กด All เพือเลือกวัตถุทC งั หมด จากนัCนกด Enter

Import Attribute Information:


สําหรับนําเข้าฐานข้อมูลซึ งถูกบันทึ กในรู ป ASCII text file จากคําสัง Export Attribute informationค่าต่างๆที อยู่ใน
แอททริ บิว ต์ จะถูกแทนด้วยค่าที อยู่ในไฟล์ทC ังหมด, เราสามารถใช้ Note pad เปิ ดไฟล์ แอททริ บิวต์ต่างๆ แล้วแก้ไข
ฐานข้อมูลได้ตามต้องการ หลังจากทีได้แก้ไขเรี ยบร้อยแล้ว สามารถใช้คาํ สังนีC เพือเรี ยกค่าต่างๆกลับไปแทนทีใน ไฟล์ แบบ
แปลน
Menu: Express>Blocks>Import Attribute Information
Command Entry: ATTIN
ทัCงคําสัง ATTIN and ATTOUT จะใช้งานร่ วมกัน ซึงจะทําให้การทําเปลียนแปลงข้อมูลได้เร็ วเร็ วมากขึCน
186
Statistics Blocks Number:
คําสังนีC สามารถนับจํานวนสัญญาลักณ์ หรื อ Block ได้ เมือเราใช้คาํ สังนีC จะมีหน้าต่างแสดงขึC นมาให้ใส่ ชือของ Block ที
ต้องการจะนับ หรื อหาจาก layer โดยไม่คาํ นึงถึง ขนาดวัตถุ
Menu: Express>Blocks>Statistics Blocks Number
Command Entry: TJNUM

Count Blocks: คําสังใช้นบั จํานวน Block


Menu: Express>Blocks>Count Blocks
Command Entry: BCOUNT
1. ทําการเลือกคลุมไปที Block ทีต้องการนับ
2. จากนัCนกด “Enter” ระบบจะทําการนับจํานวน
อุปกรณ์และแสดงออกมาให้ ทีแทป command

Change Block Color: คําสังเปลียนสี ของBlock


Menu:Express>Blocks>Change Block Color
Command Entry: bChgCol
1. พิมพ์คาํ สัง bChgCol ที command
2. ใส่ หมายเลขขอบสี ทีต้องการ มีทC งั หมด 30 สี ให้เลือก.
3. ทําการเลือกวัตถุทีต้องการเปลียนแปลงสี กด Enter
.
187
Change Block Linewidth: คําสังนีCช่วยแก้ไขนํCาหนักเส้นของ Block ได้รวดเร็ ว
Menu: Express>Blocks>Change Block Linewidth
Command Entry: bChgWid
1. พิมพ์คาํ สัง bChgWid ที Command
2. ใส่ ความหนาของเส้น
3. เลือกวัตถุทีต้องการปรับความหนา แล้วกด Enter
4. เสร็จขัCนตอนการเปลียนํCาหนักเส้น

Change Block Text Angle:


คําสังนีCสามารถปรับมุมองศาของตัว Textหรื อตัวหนังสื อได้ ยกเว้น text Attributeไม่สามารถทําได้
Menu: Express>Blocks>Change Block Text Angle
Command Entry: bChgAng
1. พิมพ์คาํ สังbChgAng ที Command
2. ใส่ มุมองศาทีต้องการค่า defale =0
3. เลือกวัตถุทีต้องการจะหมุน กด Enter
4. เสร็จขัCนตอนหมุนตัวอักษร (Text)

Change Block Text High: คําสังเปลียนความสุ งของ Text ยกเว้น text Attributeไม่สามารถทําได้
Menu:Express>Blocks>Change Block Text High
Command: Entry:bChgHei
1. พิมพ์คาํ สังbChgHei ที Command
2. ใส่ ค่าความสุ งทีต้องการ
3. เลือกวัตถุทีต้องการเปลียนความสุ ง
4. กดปุ่ ม Enter เมือเสร็ จขัCนตอนปรับความสุ งของ Text
188
Change Block Layer: คําสังเปลียนเลเยอร์ ของ block
Menu: Express>Blocks>Change Block Layer
Command: bChgLay
1. ใส่ ชือ Layer ทีต้องการ
2. เลือกวัตถุหริ อ Block
3. จากนัCน ถ้าเราต้องการเปลีน Layerของ Block วัตถุทีเราเลือกนัCนจะถูกย้ายไปยัง layerทีเรากําหนด ถ้า Layer ทีเรากําหนด
ไม่มี โปรแกรมจะทําการสร้าง layer ให้อตั โนมัติ และย้ายไปที layer ใหม่

Convert BLOCK to XREF: คําสังนีCใช้สาํ หรับแทนที Block ด้วย Xraf จากไฟล์แบบแปลน dwg
Menu: Express>Blocks>Convert Block to Xref
Command Entry: BLOCKTOXREF
เมือใช้คาํ สังนีC จะปรากฏไดอะล็อค ตามรู ปขึC นมา เราสามารถคลิCกเลือก
ชื อทีขึCนมา หรื อ คลิCกบนปุ่ ม Pick แล้วคลิCก เพือเลือก Block จากนัCนจะมี
ให้เราเลือกไฟล์ Xref ทีเราต้องการแทนที Block
189
List Xref/Block Properties: คําสังนีCจะแสดง รายการและ ชือ Block, ชือ Layer และ Linetype ของวัตถุทีเป็ น Block
Menu: Express>Blocks>List Xref/Block Properties
Command Entry: XLIST
1. พิมพ์คาํ สัง XLIST
2. เลือกวัตถุทีต้องการเปลียนแปลง
3. โปรแกรมจะมีหน้าต่างแสดงขึCนมาซึ งจะแสดงรายละเอียดของ Block ชือ layer สี หรื อ Line type

Trim to Nested Objects: คําสังนีCเป็ นคําสังสําหรับtrim วัตถุกบั Block


Menu: Express>Blocks>Trim to Nested Objects
Command Entry: BTRIM
1. ใช้คาํ สัง BTRIM
2. ทําการเลือกวัตถุทC งั หมด ด้วยการกดEnter
3. จากนัCนจากนัCนทําการเลือกเส้นไม่ตอ้ งการออก
190
Extend to Nested Objects: คําสังนีCเป็ นคําสังที EXTEND เส้นให้พุ่งชนกับเส้นถัดไป
Menu: Express>Blocks>Extend to Nested Objects
Command Entry: BEXTEND
1. พิมพ์คาํ สัง BEXTEND ลงไปที Command
2. เลือกวัตถุ และ Block ทีต้องการ EXTEND
3. คลิCกเลือกทีต้องการให้ EXTEND แล้วกด Enter

External Reference Relocate:


คําสังนีCเป็ นคําสังแสดงตําแหน่งที อยู่ ของไฟล์ เอกซ์เรฟโดยสามารถกําหนดให้เป็ น Relative Path
Menu: Express>Blocks>External Reference Relocate
Command Entry: CHGXREFPATHa
1. พิมพ์คาํ สังCHGXREFPATHa แล้วกด Enter
2. เลือกทีรายชือทีต้องการ แล้วกด Relatiove
3. ถ้าคุณคลิCกทีปุ่ ม “Relative Path”, คุณจะเซตเป็ น relative
4. ถ้าคลิCกปุ่ ม “Relocate” button, ระบบจะตัCงค่า relocate กับ external reference.
191
Text Tools
Text Match: คําสังนีCเป็ นคําสัง ทีใช้กาํ หนดคุณสมบัติทีต้องการคัดลอก โดยสามารถเลือกคุณสมบัติต่างๆได้
Menu: Text >Text Match
Command Entry: Textmatch
หลังจากที กรอกคําสังลงไป จะมีกล่องข้อความขึCนมาแสดงโดยมีรายละเอียดดังนีC Text content, Color, Height,
Angle, Align, Layer, Width factor and Style และ ยังสามารถเลือกได้มากกว่า 1 รู ปแบบ
Content: ทําการ Match ให้ตรงกับContent ต้นฉบับ
Color: ทําการ Matchg เฉพาะวัตถุทีมีสีทีเป็ นวัตถุตน้ แบบ
Height: ทําการMatch ให้ตรงกับ ความสุงของต้นฉบับ
Angle: ทําการ Matchg เฉพาะวัตถุทีมุมองศาทีเหมือนวัตถุตน้ แบบ
Align: ทําการ Matchg เฉพาะวัตถุทีมุมองศาหรื อระนาบให้เหมือน
วัตถุตน้ แบบ
Layer: ทําการ Matchg เฉพาะวัตถุทีมี Layer ทีเป็ นวัตถุตน้ แบบ
Width factor: ทําการ Matchg เฉพาะวัตถุทีมีความกว้างเหมือนวัตถุ
ต้นแบบ
Style: ทําการ Matchg เฉพาะวัตถุทีมี Stype เหมือนวัตถุตน้ แบบ

Change Text: คําสังนีC จะแก้ไขให้ให้อกั ษรตัวใหญ่เป็ นอักษรตัวเล็ก หรื อจากตัวใหญ่ให้เล็กลง โดยตัวหนังสื อทีสามารถ
แก้ไขได้คือ Text และ MText แอททริ บิวต์ และเส้นบอกขนาด
Menu: Text >Change Text
Command Entry: Changetext
ยกตัวอย่างเช่ น ในตาราง Part list ซึ งเราสามารถ
เปลี ยน TEXT โดยเมื อพิ ม พ์ ค ํ า สั งลงไป และ มี
ข้อความขึCนมาดังนีC
Please select object: ให้ทาํ การเลือกวัตถุทีต้องการ
แก้ไข และ จะมีขอ้ ความขึCนมาดังภาพ
Height (H) / Justify (J) / Location (L) / Rotation (R)
/ Style (S) / Text (T) / Undo (U) / Width (W)
192
Height: เปลียนสู งของตัวอักษร ภายใต้ตวั เลือก ดังนีC
Single: เป็ นการแก้ไขความสุงของ Text แบบตัวต่อตัว
List: แสดงรายละเอียดของ Text เช่น ความสู งของตัวอักษร สู งสุ ด และ ตําสุ ด
New Height for all objects: ใช้ในการเปลียนความสู งของตัวอักษรทีเลือกทัCงหมด
Justify: การปรับเปลียนตําแหน่งของตัวอักษร. โดยจะมีตวั เลือกดังนีC
Align: วางวัตถุตามตําแหน่งทีกําหนด
Fit: ปรับความยามตัวหนังสื อโดยกําหนดสองจุด
Center: จัดกึงกลาง
Left: จัดตัวอักษรทีด้านซ้าย.
Middle: จัดตัวอักษรทีกึงกลาง
Right: จัดตัวอักษรไปทางขวา
TL: จัดตัวอักษรทีด้านบนและชิดซ้าย
TC: จัดตัวอักษรทีด้านบนและกึงกลาง
ML: จัดตัวอักษรทีด้านกลางและซ้าย
MC: จัดตัวอักษรทีกึงกลาง และ Center
MR: จัดตัวหนังสื อไปทีตําแหน่ งกลางขวา
BL: จัดตัวอักษรทีด้านล่างและชิดซ้าย
BC: จัดตัวอักษรทีด้านล่างและกึงกลาง
BR: จัดตัวอักษรทีด้านกลางและขวา
193
Text Align: คําสังนีCจะทําหน้าทีปรับตําแหน่งของตัวอักษรตามระยะทีกําหนดโดยสามารถกําหนดพิกดั X,Y ได้
Menu: Text >Text Align
Command Entry: Textalign
ตัวอย่าง
เมือเราต้องการสร้าตาราง Part list โดยมีเนืC อหา
ในตาราง ให้อยู่บริ เวณที กําหนด เมือใส่ คาํ สัง
ลงไปแล้วจะมีขอ้ ความดังนีC
Please select object: ทําการเลือกข้อความที ต้องการจัด จะมีขอ้ ความแสดง ซึ งให้เรากําหนดค่าดังนีC Select the align method:
X axis (X) / Y axis (Y) / Two points (P):
ให้เรากําหนดตําแหน่งแกน X,Y ทีต้องการ(สองจุด)

Text on Line:
Menu: Text >Text on Line
Command Entry: GC_textonline
ขัCนตอนการใช้คาํ สัง
1. เลือก Icon “text on line”
2. Click 1 จุดบนเส้นทีต้องการใส่ ตวั อักษร
3. ใส่ ตัวอักษร เช่น เราใส่ คาํ ว่า GstarCAD
4. ใส่ ความสู งของตัวอักษร
5. เลือก Mode การใส่ เราสามารถเลือก “Breakline” หรื อ
“wipeout”
Breakline: มันจะหยุดเส้นให้อตั โนมัติ ตามจุดทีเราใส่ ตวั อักษร และ ความยาวของข้อความ
Wipeout: สร้างพืCนที ทีใกล้เคียงกับความยาวข้อความ
194
Arc-Aligned Text: เราสามารถใช้คาํ สังนีC สร้าง
Arc-Aligned Text
Menu: Text >Arc-Aligned Text
Command Entry: ARCTEXT
1. พิมพ์คาํ สัง ARCTEXT ไปที Command
2. เลือกเส้นทีต้องการใส่ตวั หนังสื อเข้าไป
3. ใส่ ขอ้ ความลงไป “Arc-Aligned Text”
4. คลิCกทีปุ่ ม Ok เสร็ จขัCนตอนการสร้าง Arc-Aligned Text.

Text Mask: คําสังวาง Mask ไว้ดา้ นหลังตัวหนังสื อ Text หรื อ Mtext.โดยกําหนดค่า Offset และ ประเภทของพืCนหลัง และ
สี
Menu: Text >Text Mask
Command Entry: TEXTMASK
เมือใช้คาํ สังที Command line จะมีขอ้ ความขึCนมาถามดังนีC
- Current settings:Offset factor = 0.500000, Mask type = Solid, Mask color = 150
- Select text objects to mask or [Masktype/Offset]
เลือกตัวเลือก หรื อ text หรื อ กด Enter เพือ ออก
Text จะรวมเข้าไว้ดว้ ยกันกับ Mask object ซึ งเราสามารถย้าย, Copy หรื อ ลบ การ update mask หลังแก้ไขข้อความ ให้ใช้
คําสัง TEXTMASK อีกครัCง และ เลือก Text ทีต้องการ Update
Mask type:
3DFACE: แทนทีด้วย 3D Face หลังข้อความ
SOLID: Mask ด้วย 2D Solid ด้วยสี ทีเรากําหนด
WIPEOUT: แทนทีด้วย Mask ข้างหน้าข้อความ
Offset: กําหนดค่า Offset ระหว่างกรอบ และ Text

Unmask Text: คําสังนีCใช้ยกเลิก TEXTMASK


Menu: Text>Unmask Text
Command Entry: TEXTUNMASK
เมือเราได้พิมพ์คาํ สังลงไปจากนัCนให้เลือกข้อความทีต้องการยกเลิก
195
Make RText: เราสามารถสร้าง RText ได้จากคําสังนีC
Menu: Text >Make RText
Command Entry: RTEXT
ขัCนตอน
1. พิมพ์คาํ สัง RTEXT ที Command line
Options:
Style: เลือก text style.
Height: เลือกความสุ งของ TEXT
Rotation: กําหนดองศาทีต้องการ
File: เลือกไฟล์ external text
2. ตัวอักษร “S”, “H” หรื อ “R” ใช้กาํ หนด text style, text height, text rotationไดอะล็อค จะแสดงขึCนมา และ ยังสามารถ
เลือก text file (*.txt) ที RText จะแสดง ถ้าคุณเลือก “Diesel” และ ไดอะล็อค จะแสดงขึCนมา
3. ทําการกรอกคําสัง ยกตัวอย่างคําสังที กรอกลงไป $(getvar, "dwgprefix")$(getvar, "dwgname") โดยจะบอกถึง Path หรื อ
ตําแหน่ง
4. กําหนดตําแหน่งทีว่าง ของ RTEXT.5. เสร็ จขัCนตอนการสร้าง Rtext
196
Change RText: คําสัCงนีCเป็ นคําสังแก้ไข (Rtext)
Menu: Text >ChangeRText
Command Entry: RTEDIT
1. พิมพ์คาํ สัง RTEDIT แล้วเลือก Rtext
2. เราสามารถแก้ไข RTEXT โดยจะมีหน้าต่างแสดงขึCนมา
3. พิมพ์ “S” เพือกําหนด text style;
พิมพ์ “H” กําหนดความสุ งของ TEXT
พิมพ์ “R” กําหนดองศาของ TEXT
พิมพ์ “E” จะมีหน้าต่างแสดงขึCนมา
4. เสร็จขึCนตอนการแก้ไข RTEXT เมือแก้ไขแล้ว กด “OK”

Text Fit: คําสัCงนีCใช้ยืดหรื อหดข้อความตามระยะ ทีกําหนด


Menu: Text>Text Fit
Command Entry: TEXTFIT
ที Command line จะแสดงข้อความดังนีC
- Select Text to stretch/shrink: เพือทําการเลือก TEXT ทีต้องการ
- Specify end point or [Start point]: กําหนดจุดปลายของตัวอักษรทีต้องการ โดยอ้างอิงกับซ้ายล่างของ TEXT
197
Extended Text Editor: คําสังนีC เป็ นคําสังทีสามารถใส่ ขอ้ ความ รวมถึงสัญญาลักษณ์ เส้น underline และ double underline
กําหนดมุมองศา ความสุ งของข้อความ ความกว้าง
Menu: Text >Extended Text Editor
Command Entry: MMTEXT
1. พิมพ์คาํ สังที Comand “MMTEXT” จะมีหน้าต่างแสดงขึCนมา
2. กรอกข้อความลงไปทีช่อง
3. เสร็จแล้ว คลิCก ปุ่ ม “OK”

Enclose Text with Object: คํา สังนีC ท าํ หน้าที สร้ างวงกลมหรื อสี เหลี ยม เพื อล้อมรอบตัวอักษร. โดยขนาดของ
เส้นผ่าศูนย์กลางจะพอดีกบั ขนาดตัวอักษร หรื อ ตัวแปร
Menu: Text >Enclose Text with Object
Command Entry: TCIRCLE
198
Automatic Text Numbering: คําสังนีCช่วยเขียนหมายเลขหรื อเขียนตัวเลขเรี ยงลําดับ รวมถึงคํานําหน้าและตามหลัง
Menu: Text >Automatic Text Numbering
Command Entry: TCOUNT
1. เริ มใช้คาํ สัง ที Command line จะแสดงข้อความ
Select TEXT, MTEXT or ATTDEF objects. เพือทําการเลือกวัตถุทีเป็ น TEXT, MTEXT หรื อ ATTDEF
Sort selected objects by [X/Y/Select-order]: เพือกําหนดแนวแกนวัตถุ
Specify starting number and increment (Start increment) <1,1>: เพือกําหนดค่าตัวเลขเริ มต้น และค่าตัวเลขทีจะ
เพิม เช่น 1,5 จะนับค่าตัวเลขตัCงแต่ 1 เพิมขึCน 6,11 เป็ น 16,21ตามลําดับ
Specify the placement of numbers in text [Overwrite/Prefix/Suffix/Find&replace..]< Prefix>:
เราสามารถเลือกตัวเลือก หรื อ กดปุ่ ม Enter
“o” หากต้องการเขียนทับตัวเดิม
“P” หากต้องการเพิตัวเลขนําหน้า
“S” หากต้องการเพิมเติมตัวเลขพ่วงท้าย
“F” เพือค้นห้าแล้แทนที
ยกตัวอย่าง

Text Incremental Copy: คําสังคัดลอก พร้อมเรี ยง ชุดตัวเลข และ ชุดตัวอักษร


Menu: Text >Text Incremental Copy
Command Entry: GC_dztext
โดยเมือใช้คาํ สังจะมีหน้าต่างขึCนมา
Distance: ค่าระยะความห่างทีต้องการ
Amount: จํานวนทีต้องการเพิม ไม่นบั ตัวเลข หรื อ ตัวอักษร ตัวแรก
Incrementation: ช่วงของตัวเลขทีต้องการกระโดด
199
Select Incremental Object:
1. พิมพ์คาํ สัง Text Incremental Copy
2. เลือกวัตถุทีต้องการเพิม
3. ทําการตัCงค่าตามต้องการ
Free Incremental: เราสามารถคัดลอกชุดตัวเลขได้อย่างอิสระ
1. พิมพ์ คําสัง Text Incremental Copy.
2. จะมีหน้าต่างแสดงขึCนมาให้กรอก Distance or Amount กําหนดการเพิมค่าตามต้องการ แล้วเลือก TEXT
3. ระบุทิศทางทีต้องการเพิมตัวเลข

Scale: คําสังนีCใช้ปรับค่า Scale ตัวอักษร สามารถทําได้ทC งั single line text และ multiline text
Menu: Text > Scale
Command Entry: SCALETEXT
1. พิมพ์คาํ สัง SCALETEXT ลงไปที Command
2. ทําการเลือกวัตถุและกําหนด Scale ทีต้องการ
3. กําหนดจุด Center บริ เวณ Center
4. กําหนดความสุ งของ TEXT

Text Outline: เมือทําการแก้ไขตัวอักษร, กําหนดความสุ งของตัวอักษร รวมถึงการระเบิด TEXT


Menu: Text >Text Outline
Command Entry: EXPLODETEXT
1. พิมพ์คาํ สัง EXPLODETEXT ลงที Command
2. เลือกวัตถุทีต้องการ EXPOLDETEXT
3. จากนัCนกด Enter เพือจบคําสัง
200
Justify Text: คําสังเปลียนแปลงตําแหน่งของ TEXT สามารถทําได้ single line text และ multiline text
Menu: Express > Text Tools >Justify Text
Command Entry: TJUST
เลือกวัตถุทีต้องการปรับตําแหน่ง
[Start/Center/Middle/Right/TL/TC/TR/ML/MC/MR/BL/BC/BR] <Start>: Choose the new justification
ยกตัวอย่าง:

Rotate Text: คําสังใช้หมุน TEXT.


Menu: Express > Text Tools >Rotate Text
Command Entry: TORIENT
- Select objects: เลือกวัตถุทีต้องการ
- New absolute rotation <0>: กําหนดมุมองศาทีต้องการ
ตัวอย่าง:
201
Document Input: คําสังนีCทาํ หน้าที นําเข้า ไฟล์เอกสาร (*.txt) เข้ามาที Darwing โดยตรง
Menu: Text >Document Input
Command Entry: WJSR
ขัCนตอน
1. พิมพ์คาํ สัง WJSR ลงที Command
2. เลือก TXT file
3. กําหนดจุดทีต้องการว่าง TEXT
4. กําหนดความสุ งของ TEXT
5. กด ENTER เพือเสร็ จขัCนตอน

Convert Text to Mtext: คําสัง นีCจะแปลงจาก text ไปเป็ น Mtext


Menu: Text >Convert Text to Mtext
Command Entry: TXT2MTXT
1. พิมพ์คาํ สัง TXT2MTXT ลงที Command
2. เลือกวัตถุทีต้องการแปลง (TEXT)
3. โดยโปรแกรมจะทําการลบ TEXT และเพิม MTEXTลงไปแทนที

Change Text Case: คําสังนีCทาํ หน้าทีแปลง text, mtext โดยสามารถใช้กบั attributes and dimension text
Menu: Text >Change Text Case
Command Entry: TCASE
202
Change Text Style: คําสัCงนีCสามารถเปลียน text style เปลียนได้ทC งั single line text และ multiline texts
Menu: Express > Text Tools >Change Text Style
Command Entry: CHGSTY
ขัCนตอน
1. พิมพ์คาํ สัง CHGSTY ลงที Comamnd
2. ทําการเลือก text ทีต้องการเปลียน text style
3. จากนัCนทําการแก้ไขวัตถุ แล้วกด ENTER

Chinese Characters Split: คําสังนีCสามารถแยกข้อความข้อความระหว่างคําภาษาอังกฤษทําให้เป็ นตัวอักษรจีน


Menu: Express > Text Tools >Chinese Characters Split
Command Entry: HZCF
1. พิมพ์คาํ สัง HZCF ที Command
2. เลือก text ทีต้องการ split
3. จากนัCนกด Enter

Character Break: คําสัง Break ตัวหนังสื อ


Menu: Express>Text Tools>Character Break
Command Entry: WZDD
1. พิมพ์ คําสัง “WZDD”
2. เลือก text ทีต้องการ break.3. เลือกตําแหน่งทีต้องการ break

Change Character: วัตถุทีต้องการแก้ไข text สามารถใช้ได้ทC งั single line and Mtext


Menu: Express>Text Tools>Change Character
Command Entry: _DDEDIT
1. พิมพ์คาํ สัง DDEDIT ที Command
2. เลือกวัตถุทีต้องการแก้ไข TEXT
3. ใสตัวหนังสื อทีต้เองการแทนทีจากนัCนกด Enter
203
Change One Character: คําสังนีC สามารถแก้ไข TEXT หรื อตัวแปลได้ เราสามารถใส้ตวั อักษรในการแทนที โดยสามารถ
ใช้ได้ทC งั single line and Mtext
Menu: Express> Text Tools >Change One Character
Command Entry: CHGTXT
1. พิมพ์คาํ สัง CHGTXT ลงที Command
2. เลือกวัตถุทีต้องการแทนที
3. ใส่ ขอ้ ความทีต้องการแทนที ลงไป
4. กด Enter เพือจบคําสัง

Change Text Height/Width/Angle/Position: คําสังนีCใช้ในการแก้ไขความสู ง, ความกว้าง, มุม และ ตําแหน่ งตัวอักษร คุณ
สามารถ Click หรื อ เลือกตัวอักษรด้วย Window selection
Menu: Express>Text Tools> Change Text Height/Width/Angle/Position
Command Entry: TXTHEI / TXTWID / TXTANG / TXTPOS

Delete Annotation: คุณสามารถเลือก Text Annotation เพือทําการลบ GstarCAD จะเก็บข้อมูล Annotation ทัCงหมดใน 1
Layer คุณสามารถกดปุ่ ม Enter แล้ว Text Annotation ทัCงหมด จะถูกลบ
Menu: Express>Text Tools>Delete Annotation
Command Entry: WZOFF
ขัCนตอน
1. เริ มต้นคําสัง ด้วยการระบุ Text Annotation ที จะลบ ในขัCนตอนนีC คุณต้องระบุ Layer ที ทํางานอยู่เท่านัCน ถ้าคุณกดปุ่ ม
Enter โดยตรง Layer Single Text จะถูกลบ
2. เลือก Annotation ทีจะลบ และ กดปุ่ ม Enter เพือจบคําสัง
204
Adjust Character: เมือ Text มีการผสมกัน ระหว่าง ตัวอักษรภาษาจีน, ภาษาอังกฤษ และ ตัวเลขอารบิค ความสู งของ
ตัว อักษรจะแตกต่ างกัน และ ดู ไ ม่ ดี คุ ณ สามารถใช้คาํ สังนีC ในการปรั บ ความสู งของตัว อักษรได้ แต่ คาํ สังนีC จะทําการ
Explode ตัวอักษร และ มันจะยาก ทีจะ Re-Edit ดังนัCน เราแนะนําให้คุณใช้คาํ สัง หลังจากคุณแก้ไข Drawing เสร็ จสิC นแล้ว
Menu: Express>Text Tools>Adjust Character
Command Entry: TTL2
ขัCนตอน
1. เริ มต้นคําสัง เลือก Text ซึ งต้องการทีจะปรับความสู ง
2. กดปุ่ ม Enter เพือจบคําสัง

Dimension Tools
Change Dimension Text: แก้ไขตัวอักษรบนเส้นระยะ (Dimension)
Menu: Express>Dimension>Change Dimension Text
Command Entry: CHGDIMTXT
สังเกตทีCommand line จะขึCนคําสังดังนีC
-Select dimension objects ให้เลือก Dimension
-Currently label content <129.9>, input new dimension text <practically measure dimension> ตามตัวอย่างใส่ ค่า 130
205
Change Dim style: คําสังสําหรับเปลียนDimension style
Menu: Express>Dimension>Change Dimstyle
Command Entry: Dimstyle

Reset Dim Text Value: เปลียนค่าในชุดบอกระยะ


Menu: Express>Dimension>Reset Dim Text Value
Command Entry: DIMREASSOC
สังเกตที Command line จะขึC นดังนีC Select object: ให้เลือกชุ ดบอกระยะที ต้องการ (ชุดบอกระยะที ข้อความไม่
สัมพันธ์กนั ) หรื อEnter เพือออกจากคําสัง
206
Update Dimension: อัพเดทเส้นบอกระยะทัCงหมดบนDrawingให้เป็ นชุดรู ปแบบทีใช้ขณะนัCน
Menu: Express>Dimension>Update Dimension
Command Entry: DIMUPDATE

สังเกตทีCommand line แสดงดังนีC :


- Select a dimension for standard: เลือกชุดรู ปแบบเส้นบอกระยะทีต้องการเป็ นหลัก
- Select a dimension, ensure update the dimension style: ทําการเลือกชุดรู ปแบบระยะทีต้องการอัพเดท

Dimstyle Export: เราสามารถส่ งออกชือ และ การปรับแต่งต่างๆของชุดรู ปแบบเส้นบอกระยะส่ งออกเป็ นไฟล์ได้


Menu: Express>Dimension>Dimstyle Export
Command Entry: DIMEX
ขัCนตอน เมือใส่คาํ สัง โปรแกรมจะเปิ ดหน้าต่าง
Export File name: เลือกรู ปแบบDIM ทีต้องการหรื อBrowse ไฟล์
DIM ทีมีอยูห่ ากBrowseแล้วไม่พบแสดงว่าโปรแกรมได้สร้างให้แล้ว
หรื อหากพบไฟล์DIM โปรแกรมจะแสดงหน้าต่ างร้องขออนุ ญาต
สร้างทับโดยไฟล์ทีส่ งออกจะถูกสร้างเป็ นASCII ไฟล์ทีหมวด
Available Dimension Styles: ทําการเลือกชุดรู ปแบบทีต้องการเพื อ
สร้างเป็ น ASCII file โปรแกรมจะแสดงชุดรู ปแบบดังกล่าวโดยเรา
สามารถตัCงค่าชือของไฟล์ทีส่ งออกทีหมวด
Text Style Options: โดยสามารถบันทึกรู ปแบบของชุดบอกระยะ
ทัCงหมดทัCงรู ปแบบและชือโดยส่ งออกเป็ นASCII file
ข้อควรจํา:
เราสามารถสร้ า งชุ ด รู ป แบบ (Dimstyles) และ บัน ทึ ก ด้ว ยคํา สั ง
DDIM และหากต้องการส่งออก ต้องเลือกชุดรู ปแบบอย่างน้อย 1 ชุด
207
Dimstyle Import: นําเข้ารู ปแบบของชุดบอกระยะบน Drawingปัจจุบนั
Menu: Express>Dimension>DimstyleImport
Command Entry: DIMIM
ขัCนตอน เมือเลือกคําสัง โปรแกรมจะเปิ ดหน้าต่าง
Import Filename: ทําการเลือกตามชือของชุดรู ปแบบที ต้องการนําเข้า หรื อ Browse เลือกหาไฟล์ทีต้องการ โดยไฟล์นC นั ต้อง
ถูกสร้างโดยคําสัง DIMEX (หรื อสอดคล้องกัน) และ เมือเรานําเข้ารู ปแบบ Dimension รู ปแบบของ Text Style (รู ปแบบของ
ตัวอักษร) จะถูกนําเข้ามาด้วย

Import Options: ทีแถบการตัCงค่านําเข้า ประกอบด้วย Keep the Existing Style เพือเก็บรู ปแบบชุดบอกระยะไว้ทีDrawing
นัCนๆ และใช้แทนชุ ดรู ปแบบปั จจุบนั หมวดทีเหลือคื อ overwrite styles เมือเลือกหมวดนีC โปรแกรมจะเลือกเฉพาะชุ ด
รู ปแบบทีชือไม่ซC าํ กับชุดรู ปแบบทีมีบนDrawing นัCนๆ หากชือของ Style ทีนําเข้ามาไม่ซC าํ กัน ชุดรู ปแบบจึงถูกนําเข้า

Attach Leader to Annotation: การนําเข้าลูกศรชีCระยะเข้าที Mtext, Tolerance หรื อ Block Reference Object
Menu: Express>Dimension>Attach Leader to Annotation
Command Entry: QLATTACH
-Select Leader: Select a leaderเลือกชุดลูกศรทีต้องการ
-Select a dimension: จากนัCนเลือก Mtext, Tolerance, หรื อ Block Reference Object เพือจัดค่า
ตัวอย่าง
- เลือกชุดลูกศรชีCบอกระยะ จากนัCนเลือก Mtext ชุดทีต้องการนําเข้า ต้องเลือกเป็ นแต่ละวัตถุเท่านัCน
- ชุดลูกศร และ Mtext จะรวมเป็ นวัตถุ 1 ชิCน และ ชีCตาํ แหน่งสัมพันธ์กนั
ขณะทีอยู่ในคําสัง Select Leader: ผูใ้ ช้สามารถเลือกลูกศร หรื อ ยกเลิกคําสังได้ แต่หากเป็ นขัCนตอน Select Annotation: ผูใ้ ช้
สามารถเลือก MText, Tolerance หรื อ Block Reference object. เพือเชือมโยงLeader
208
Detach Leaders from Annotation: นําชุดลูกศรชีCบอกระยะออกจาก Mtext, Tolerance, หรื อ Block Reference Object
Menu: Express>Dimension>Detach Leaders from Annotation
Command Entry: QLDETACHSET
-Select objects: Select leader line.เลือกลูกศรชีCบอกระยะ
ตัวอย่าง
-เลือกขชุดลูกศรชีCบอกระยะทีต้องการนําออก

Global Attach Leader to Annotation: นําเข้าวงกลมครอบลูกศรชีCบอกระยะไปที Mtext, Tolerance, หรื อ Block Reference
Objects
Menu: Express>Dimension>Global Attach Leader to Annotation
Command Entry: QLATTACHSET
- Select objects: เลือกชุดลูกศรชีCบอกระยะ 1 หรื อ มากกว่า
ตัวอย่าง
- เลือกชุดลูกศรบอกระยะและ ชุด Mtext
-Select objects: เลือกชุดลูกศรชีCระยะ 1 ชุด หรื อ มากกว่า
สังเกตที Command line จะขึCนว่า Number of unlocked leaders = 2, Number with annotation detached = 2
- Leader with detached Mtext object (Fig 5)
- Leader attached to block object (Fig 6)
209
Selection Tools
Get Selection Set: เลือกวัตถุแบบชัวคราวเป็ นชุด
Menu: Express>Selection>Get Selection Set
Command Entry: GETSEL
- Select an object on the Source layer: เลือกเฉพาะชุดวัตถุหรื อ Enter เพือเลือกรวม Layers ทัCงหมด
- Select an object of the Type you want: เลือกเฉพาะชุดวัตถุหรื อ Enter เพือเลือกรวมวัตถุทC งั หมด

Select Filter: ทําการกรองเลือก, แก้ไขและชือของวัตถุทีเลือก


Menu: Express>Selection>Select Filter
Command Entry: Filter
ขัCนตอนกรองเลือกวัตถุ ตามหน้าต่างของโปรแกรม ดังนีC
210
1. X, Y, Z Parameters: เลือกกรองค่าตามระยะโดยขึC นอยู่กบั วัตถุทีหน้าต่างปรั บค่ากรองตามระยะเราสามารถใส่ ค่า
เครื องหมายตามสัมพันธ์เช่น (<) น้อยกว่า,(>) มากกว่า
2. Select: โปรแกรมจะแสดงหน้าต่างรายการทัCงหมดให้ระบุวตั ถุบนDrawing จากนัCนทําการเลือกวัตถุ
3. Add to List: ทําการเพิมข้อมูลคุณสมบัติทีกรองไปที ลิสต์รายการโดยคุณสมบัติทีเราเพิมเข้าไปนัCนจะยังไม่ถูกต้องชือตัว
กรองและยังคงแสดงให้เราสามารถทํางานได้เว้นแต่ผใู ้ ช้เข้าไปลบคุณสมบัตินC นั เอง
4. Replace: สามารถแทนที คุ ณสมบัติการกรองที รายการfilter property list ชุ ดเดี ยวกับที แสดงบนSelect Filter
5. Add Selected Object: ทําการเลือกวัตถุบนDrawingเพิมเข้าไปทีList
6. Edit Item: ย้ายคุณสมบัติตามวัตถุทีเลือกเข้ามาในเมนูกรองในการแก้ไขคุณสมบัติเลือกวัตถุดงั กล่าวทําการแก้ไขจากนัCน
เลือก Substitute โดยค่าทีเราย้ายหรื อแก้ไขจะถูกแทนที
7. Delete: ลบคุณสมบัติตวั กรองออกจากชุดกรองปั จจุบนั
8. Clear List: ลบรายการคุณสมบัติตวั กรองทัCงหมด
9. The filter name is used: แสดงรายการ, บันทึก และ ลบตัวกรอง
10. Current: แสดงรายการทีบันทึ กไว้เลือกชุดกรองตัCงให้เป็ นใช้งานจากนัCนโปรแกรมจะแสดงรายการคุณสมบัติทC งั หมด
โดยดึงมาจากค่าเบืCองต้นไฟล์ filter.nfl
11. Save As: บันทึกเป็ นไฟล์โดยโปรแกรมจะแสดงคุณสมบัติทC งั หมดจะบันทึกเป็ นไฟล์filter.nflสามารถตัCงชื อได้ยาว 18
อักษร
12. Delete Current Filter List: ลบชุดกรองพร้อมคุณสมบัติออกจากรายการ
13. Apply: เมือApply ออกจากหน้าต่างโปรแกรมจะให้เลือกวัตถุทีตําแหน่งตามต้องการคัดกรองโดยค่าชุดกรองจะถูกใช้บน
วัตถุทีเลือก

Get Selection by Block Name: เราสามารถใช้คาํ สังนีCเพือเลือกวัตถุหลายรายการด้วยชือเดียวกันตามพืCนทีทีเลือก


Menu: Express>Selection Tools>Get Selection by Block Name
Command Entry: GETBLKSEL
ขัCนตอน
1.ใส่คาํ สัง
2. เลือกวัตถุจากนัCนกําหนดชือ Block
3. จากนัCนกําหนด region
4. โปรแกรมจะรวมวัตถุBlock ทีใช้ชือเดียวกันโดยภายในพืCนทีทีเลือก
211
Get Selection by Object Type: สําหรับเลือกวัตถุหลายรายการทีแสดง
เหมือนกันภายในพืCนทีทีกําหนด
Menu: Express>Selection Tools>Get Selection by Object Type
Command Entry: GETENTSEL
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สังตามด้านบน
2. เลือกวัตถุทีต้องการ โปรแกรมจะจําว่าเป็ นวัตถุตน้ แบบ จากนัCนคลุม
พืCนที
3. โปรแกรมจะเลือกวัตถุตามคําสัง ภายในพืCนทีทีคลุม

Get Selection by Layer: ใช้คาํ สังนีCเลือกวัตถุตามLayer ทีต้องการภายในพืCนทีทีเลือก


Tools>Get Selection by Layer
Command Entry: GETLAYSEL
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สังตามขัCนต้น
2. เลือกวัตถุตาม Layer ทีต้องการจากนัCนเลือกคลุมพืCนที
3. โปรแกรมจะทําการเลือกวัตถุตามเลเยอร์ โดยอยู่ภายใน
ขอบเขตทีเลือกไว้

Get Selection by Color: คําสังเลือกวัตถุตามสี (color) เดียวกัน


Menu: Express>Selection Tools>Get Selection by Color
Command Entry: GETCOLSEL
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สังตามขัCนต้น
2. ทําการเลือกวัตถุสีทีต้องการเลือก โปรแกรมจะจําเป็ นต้นแบบ
3. ทําการคลุมพืCนที
4.โปรแกรมจะเลือกวัตถุทC งั หมดทีอยูภ่ ายในพืCนทีทีคลุม โดยมีสี (color) เดียวกัน
212
Get Selection by Object/Layer: คําสังเลือกวัตถุตามประเภท หรื อ เลเยอร์ เดียวกัน
Menu: Express>Selection Tools>Get Selection by Object/Layer
Command Entry: GETENTLAYSEL
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สังตามขัCนต้น
2. ทําการเลือกวัตถุตามประเภททีต้องการ โปรแกรมจะจําเป็ นต้นแบบ
3. ทําการคลุมพืCนที
4. โปรแกรมจะเลือกวัตถุทC งั หมดทีอยูภ่ ายในพืCนทีทีคลุม โดยมีประเภทและเลเยอร์ เดียวกัน

Get Selection by Object/Color: คําสังเลือกวัตถุตามประเภท หรื อ สี (color) เดียวกัน


Menu: Express>Selection Tools>Get Selection by Object/Color
Command Entry: GETENTCOLSEL
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สังตามขัCนต้น
2. ทําการเลือกวัตถุประเภท และ สี ทีต้องการ โปรแกรมจะจํา เป็ นต้นแบบ
3. ทําการคลุมพืCนที
4. โปรแกรมจะเลือกวัตถุทC งั หมดทีอยูภ่ ายในพืCนทีทีคลุม โดยมีประเภทและสี (color) เดียวกัน

Get Selection by Layer/Color: คําสังเลือกวัตถุตามสี และ เลเยอร์เดียวกัน


Menu: Express>Selection Tools>Get Selection by Layer/Color
Command Entry: GETLAYCOLSEL
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สังตามขัCนต้น
2. ทําการเลือกวัตถุตามประเภทสี และเลเยอร์ทีต้องการ โปรแกรมจะจําเป็ นต้นแบบ
3. ทําการคลุมพืCนที
4. โปรแกรมจะเลือกวัตถุทC งั หมดทีอยูภ่ ายในพืCนทีทีคลุม โดยมีประเภทสี และเลเยอร์เดียวกัน
213
Edit Tools
Align Tool: เครื องมือปรับแก้ระนาบ เช่น Rectangle, Circle, Line, SPline, Arc, Pline, Block หรื อ แม้แต่วตั ถุทรง 3D โดย
อยูบ่ นพิกดั X และ Y ขัCนตอนนัCน แตกต่างกัน ในนัCนมีคาํ สัง offset ช่วยปรับแต่งในแต่ละระนาบ
Menu: Express tools>Modify>Align Tool
Command Entry: Aligntool
เครื องมือปรับแก้ระนาบมีหลายส่ วนภายในหน้าต่างเมนูโดยจะอ้างอิงวัตถุทีระนาบ X,Y เท่านัCน

1. -Left object X axis Align: ปรับแก้วตั ถุระนาบ X


2. -Center object X axis Align: ปรับแก้วตั ถุระนาบ X ตําแหน่ง center
3. -Right object X axis Align: ปรับแก้วตั ถุระนาบX ตําแหน่งฝังขวา
4. -X offset: Offset วัตถุตามระนาบ X
5. -Top object Y axis Align: ปรับแก้วตั ถุระนาบ Y ด้านบน
6. -Center object Y axis Align: ปรับแก้วตั ถุระนาบYตําแหน่ง center
7. -Bottom object Y axis Align: ปรับแก้วตั ถุระนาบ Y ตําแหน่งด้านล่าง
8. -Y offset: Offset วัตถุตามระนาบ Y
9. -Specified object: ปรับแก้ระนาบวัตถุตามแนววัตถุ หรื อ จุด endpoint เมือเลือกระนาบ X,Y แล้ว
10. -Specified point: ปรับแก้ระนาบวัตถุตามตําแหน่งที 2 ของวัตถุ เมือเลือกระนาบ X,Y แล้ว
11. -Selection boundary: เลือกหมวดนีC เมือต้องการให้ระนาบ X,Y คืนค่าเดิม
214
ตามตัวอย่างเราใช้ Align Tool เพือปรับวัตถุ เสาอาคาร ตามรู ปให้ตรงตามตําแหน่ ง สังเกตว่าเสาแต่ละต้น อยู่ใน
ระนาบทีแตกต่างกัน อีกทัCงเป็ น Block ทีแยกแต่ละชิCน ตัวอย่าง ปรั บที วัตถุชิCนบนสุ ด ระนาบ Y จากนัCนเลือกวัตถุ เมือใส่
คําสังแล้ว โปรแกรมจะแสดงหน้าต่างเมนูและข้อความ Please select the object to align: จากนัCนเลือกวัตถุตามต้องการ

เมือทําการเลือกวัตถุโปรแกรมจะแสดงเมนู อันดับแรกให้ คลิกเลือกทีวัตถุดา้ นบนสุ ดที Y axis จากนัCนสังเกตว่าวัตถุ


ทีเหลือตามจะถูกนําวางระนาบเดียวกัน ตัวอย่างรู ปเสา
215
เมือวัตถุได้จดั เรี ยงตามระนาบแล้ว เราต้องเข้ากําหนดวัตถุอีกครัCง จากนัCนทําการเลือกวัตถุ(ตัวอย่างเส้นสี นC าํ เงิน) ที
ตําแหน่งซึ งวางวัตถุ จนเสร็ จสิC น จะเห็นได้วา่ มีขCนั ตอนทีรวดเร็ ว

Arrange Tool: คําสังทีช่วยจัดเรี ยงวัตถุหลายๆชิCน และ ยังสามารถเปลียนระนาบวัตถุหลายๆชิCน ไปทาง ซ้าย ขวา ด้านบน,
ล่าง หรื อ แม้แต่จุดศูนย์กลาง รวมถึงจัดเรี ยงระนาบแนวตัCง แนวนอน
Menu: Express tools>Modify>Arrange Tool
Command Entry: ARRANGETOOL
ตัวอย่าง
ใช้ Arrange Tool เพือจัดเรี ยง Bearings ให้มีระยะที เท่ ากัน คําสัง
Arrange Tool รองรับการปรับแก้ แบบ Real-Time เมือเราทําการ
ปรับแก้

ซึ งภายในเมนู Arrange Tool มี ส่วนการปรับแต่ง ด้วยกัน


หลายส่ ว น ส่ วนใหญ่การปรับ แต่ งวัตถุ นC ัน จะทํากับแกน X,Y และ ต้องมี วตั ถุอ ย่างน้อ ย 2 ชิC นขึC นไป ในการทํางาน
รายละเอียดดังนีC
216

1. -Left horizontal arrangement: จัดเรี ยงวัตถุทีเลือกไว้ฝังซ้ายแนวนอน


2. -Middle horizontal arrangement: จัดเรี ยงวัตถุทีเลือกไว้ตรงกลางแนวนอน
3. -Nearest side horizontal arrangement: จัดเรี ยงวัตถุทีเลือกไว้ตาํ แหน่งทีไกล้ทีสุ ดแนวนอน
4. -Right horizontal arrangement: จัดเรี ยงวัตถุทีเลือกไว้วางฝังขวาแนวนอน
5. -Top vertical arrangement: จัดเรี ยงวัตถุทีเลือกไว้วางตําแหน่งด้านบนแนวตัCง
6. -Middle vertical arrangement: จัดเรี ยงวัตถุทีเลือกไว้ วางตําแหน่งแนวตัCงตรงกลาง
7. -Nearest side vertical arrangement: จัดเรี ยงวัตถุทีเลือกไว้ไกล้ทีสุ ดแนวตัCง
8. -Right vertical arrangement: จัดเรี ยงวัตถุทีเลือกไว้วางตําแหน่งฝัCงขวา
9. -Specify spacing: จัดเรี ยงวัตถุได้ทC งั แนวตัCงและแนวนอน อีกยังสามารถใส่ ค่ากําหนดได้เอง
10. -Specify region: จัดเรี ยงวัตถุได้ทC งั แนวตัCงและแนวนอน สามารถกําหนดจุดเริ มต้นและสิC นสุดของ New Ragion
11. -Selection boundary: เมือเลือกวัตถุแล้ว โปรแกรมจะกลับมาทีหน้าต่างเมนู ให้เราเลือกปรับค่าในแนวตัCงและแนวนอน
โดย แยกการปรับค่า
ข้อควรจํา:
การกําหนดช่องไฟ มี 2 ประเภท คือ Raw และ Column ค่า Raw จะสามารถปรับค่าได้ต่อเมือเราเลือกหรื อทํางานกับวัตถุ
แนวตัCง และในตรงกันข้าม ค่า Column จะปรับค่ากับวัตถุแนวนอน
217
ตัวอย่าง
เราใช้การปรับค่าการจัดเรี ยงกับตัวเลขบนชุ ดลูกศรชีC รายละเอียด (Leader) บนชิC นงาน ดังรู ป ข้อแม้ คื อ ตัวเลขดังกล่าวถูก
สร้างจาก Mtext และ จัดวางบนตําแหน่งด้านบน (Top) ขัCนตอนใส่ คาํ สังจะขึCนดังนีC Please select the object to arrange:
จากนัCนเลือกตัวเลข เคาะ Enter หน้าต่างเมนู ของ Arrange Tool จะแสดง เลือกSpecify spacing ตามด้วย Top
vertical arrangement จะปรากฎตามรู ปตัวอย่างตามภาพ

LayoutByPath: คําสังนีC คล้ายคลึงกับ Array คือ การคัดลอกวัตถุตามแนวทิ ศทาง แต่ทีพิเศษกว่าคื อ สามารถคัดลอกวัตถุ


ตามทิศทางใดก็ได้ อาจเป็ นเส้นโค้ง หรื อ เส้นอิสระ อีกยังสามารถสุ่ มวางวัตถุ แบ่งเขต หรื อ แบ่งตามระยะทีต้องการได้
Menu: Express tools>Modify>Layout by path
Command Entry: Layouthbypath
ตัวอย่าง
ตามรู ปภาพถนนเราสามารถสร้าง Drawing โดยมีเส้นแบ่งกลางทีไม่ต่อเนื องกัน ตามภาพ
218
เมือเราเริ มต้นคําสัง สังเกตที Command line จะขึCน Please select the object to array:
เมือเลือกวัตถุแล้ว จะขึCนคําสัง
Please specify the base point:
ทําการเลือกจุด Base Point ทีต้องการสร้างเป็ นจุดอ้างอิง ตัวอย่างเลือกทีจุดซ้ายล่าง

จากนัCน จะขึCนคําสัง Specify the object’s direction along the curve<Y axis of WCS>: เป็ นขัCนตอนทีสําคัญ เนื องจาก
เราได้เลือกจุดอ้างอิงทีมุมซ้ายล่าง ดังนัCนเราต้องกําหนดทิศทางไปตามทิศทาง Path (เส้นสี เขียว)
219
เมือเราเลือกทิศทางของวัตถุแล้ว โปรแกรมจะแสดงข้อความ Please select the curve: เลือกทีเส้นเขียวอีกครัCง

เมือเลือกส่ วนโค้งแล้ว โปรแกรมจะแสดงคําสัง Specify select along which side of the curve <left side or forward
direction>: เป็ นขัCนตอนทีสําคัญเช่นเดียวกัน เพราะเราต้องเลือกข้างทีจะทํา Array ตามตัวอย่างเลือกข้างซ้าย
220
เมือเลือกข้างแล้ว จะขึCนคําสัง Select the method Random (R) / Division (F) / Measure (D):

ทีขัCนตอนนีCจะมีคาํ สังแยกให้เลือกดังนีC
Random: คําสัง Array วัตถุตาม Path กําหนดจุดวางได้ตามต้องการ
Division: คําสัง Array อัตโนมัติ โดยเลือกวัตถุ ตาม Path ใส่จาํ นวนได้ตามต้องการ
Measure: คําสัง Array อัตโนมัติ โดยเลือกวัตถุ ตาม Path กําหนดระยะห่างได้ตามต้องการ
ตัวอย่าง
หากเราไม่ทราบระยะห่ างของวัตถุ แต่ ทราบจํานวนที ต้องการวาง ให้เลือกหมวด Division ดังนีC เมือเข้าที Option
โปรแกรมจะแสดงคําสัง Enter the number: ใส่ ค่า 11 โปรแกรมจะแสดง
Pick a point on the curve as start point (Distribute from the end curve when selection is empty):
จากนัCนเลือกจุดของส่ วนโค้ง เมือเลือกแล้ว เราจะได้ค่าเฉลีย เรายังสามารถทําวิธีได้กบั ระนาบกลาง (เส้นนํCาเงิน) จะได้ตาม
ภาพหน้าถัดไป
221
AreaSum: คําสังทีช่วยให้การหาพืCนที ง่ายขึCน หากเป็ นขัCนตอนเดิมผูใ้ ช้ตอ้ งเขียนเส้น Polyline ปิ ด หรื อ สร้างขอบเขตพืCนที
ใหม่ บนพืCนทีงานทีทําไปแล้ว โดยการทํางานของคําสังง่ายๆ เพียงแค่ใส่ คาํ สัง จากนัCนคลิกภายในพืCนที ทีทําไว้ ก็จะสามารถ
หาค่า Area และ Region ได้อย่างง่ายดาย
Menu: Express tools>Edit>Areasum
Command Entry: Areasum

หลังจากคุณเริ มใช้คาํ สัง คุณต้องชีCจุดภายในพืCนทีปิ ดในพืCนที ทีคุณต้องการ


ตัวอย่าง
คุณชีCจุดภายในพืCนที ทีมีลาย Hatch หลังจากนัCนที Command Line จะแสดงผลค่าเป็ นแบบเรี ยลไทม์ และ คํานวณพืCนที ให้
หน่วย (mm2)
222
Move/Copy/Rotate: คําสังพิเศษใช้ Move, Copy, Rotate and Scales ได้ในครัCงเดียว
Menu: Express tools>Modify >Move/Copy/Rotate
Command Entry: MOCORO
เมือใส่ คาํ สังแล้ว โปรแกรมจะแสดงคําสัง Select objects: เลือกวัตถุ และ Enter (Fig 7) Base point: กําหนดจุดอ้างอิง (Fig 8)
[Move/Copy/Rotate/Scale/Base/Undo]<eXit>: จากนัCน ระบุตวั เลือก (Fig 9\10)
Move: ย้ายวัตถุ Copy: คัดลอกวัตถุ
Rotate: หมุนวัตถุ Scale: ย่อ ขยายวัตถุ
Base: กําหนดจุดอ้างอิงเพือ ย้าย คัดลอกหรื อย่อ ขยาย วัตถุ

Region Scale: คําสัง สร้าง Region แยกหรื อคัดลอกบางส่ วนของวัตถุออกมา


Menu: Express tools>Modify >Region Scale
Command Entry: ICAD_DYJT
โปรแกรมจะแสดง: Specify left up corner point for full-page proof: สร้าง Region จากฝังซ้ายบน ลงมาที ขวาล่าง
223
Specify the position to copy: เลือกพืCนที ทีต้องการคัดลอกออกมาได้ตามต้องการ ตามภาพ

Select the object to Trim or shift-select to Extend or [Edge/Fence/Crossing/Project]:


เลือกวัตถุ ทีต้องการ Trim หรื อ กดปุ่ ม Enter เพือจบคําสัง

Input zoom scaling, the block and text will zoom together <Enter- No Zoom>: เลือก Enter เพือจบคําสัง
224
Trim Enhancement: คําสังที มากกว่าการ Trim (ตัดเส้น) ธรรมดา โดยขัCนตอน เมือเรา เลือกฝั งที ต้องการ Trim แล้ว
โปรแกรมจะคํานวณพืCนที และ ตัดเส้นอัตโนมัติ วัตถุอาจเป็ น Polyline, Line, Circle, Arc, Ellipse, Image หรื อ ตัวอักษร
Menu: Express tools>Modify>Trim Enhancement
Command Entry: EXTRIM
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สังข้างต้น
2. ทําการเลือกวัตถุ ดังรู ปตัวอย่าง (Fig 11)
3. Specify the side to trim on กําหนดด้านทีต้องการ Trim (Fig 12)
4. เป็ นอันเสร็ จสิC น สังเกตว่า พืCนทีภายใน เส้นหายไป นันคือโปรแกรมจะคํานวณ ตัดเส้นหรื อวัตถุทีพาดผ่านทัCงหมด

Extended Offset: คําสัง Offsetทีมากกว่าธรรมดา เราสามารถควบคุมLayer ย้อนคืนการทํางานหรื อทํางานร่ วมกับคําสังอืน


Menu: Express tools>Modify>Extended Offset
Command Entry: EXOFFSET
1. Specify offset distance or [Through] <T>: กําหนดระยะ Offset หรื อคลิกระยะห่างทีต้องการ
2. Select object(s) to offset or [Options/Undo]: เลือกวัตถุทีต้องการ Offset หรื อเข้าเปลียนค่าที Option
3. Specify an option to set [Distance/Layer/Gaptype]: เปลียนค่าปรับแต่ง ได้ดงั นีC
Distance: กําหนดระยะห่างของ Offset หรื อคลิกเลือกตามระยะ
Layer: กําหนด Layer ใหม่สาํ หรับ วัตถุที Offset ไป โดย มีเลเยอร์ ตน้ แบบเป็ นวัตถุที Offset
GapType: ตัCงค่าหรื อเปลียนโหมด Offset จะควบคุมจากคําสัง OFFSETGAPTYPE ตัCงค่า ได้ดงั นีC
Normal, Fillet or Chamfer
225

Multiple Pedit: คําสังทีเกือบเหมือนกับคําสัง Pedit


Menu: Express tools>Modify >Multiple Pedit
Command Entry: MPEDIT
1. ใส่ คาํ สัง
2. Select object เพือเลือกวัตถุ
3. เลือกคําสังดังนีC [Open/Close/Decurve/Fit/Linetype-mode/Spline/Width/eXit]<eXit>: เลือกคําสัง C(Close)
4. โปรแกรมจะทําการเชือมเส้น ปิ ดวัตถุดงั รู ป

Overkill: คําสังทีนอกจากช่วยจัดการเส้น Lines, Circles, Plines linear objects อืนๆทีทับซ้อน ยังสามารถจัดการ Region,
Blocks, Dimension หรื อ Text ได้ดว้ ย ยิงกว่านัCนเมือย้ายออกไปแล้ว วัตถุจะถูกลบ โดยคํานึ งถึง Layer, Color, Line Type
และ Attribute ต่างๆ สําหรับวัตถุ 2D, 3D, Pline, Circles, Arcs นัCนคําสังนีC ยังช่วยแก้ปัญหาการทับซ้อนของเลเยอร์ เมือพิมพ์
งานอีกด้วย
Menu: Express tools >Modify >Delete Duplicate Line
Command Entry: OVERKILL
226
เมือใส่ คาํ สัง โปแกรมจะแสดง Select objects: เลือกวัตถุทีต้องการเปรี ยบเที ยบ และ ลบออก เมือเลือกเสร็ จสิC น OK เพือออก
จากคําสัง

Multiple Copy: คําสังคัดลอกวัตถุ พร้อมเลือกทําซํCา, คัดลอกแบบ Array แบ่ง และ วัดระยะของวัตถุ


Menu: Express tools>Edit>Multiple Copy
Command Entry: COPYM
ใส่คาํ สังตามข้างต้น โปรแกรมจะแสดงคําสัง
Select objects: เลือกวัตถุทีต้องการ
Base Point: กําหนดจุดอ้างอิง
Second point or [Repeat (last)/Divide/Measure/Array (dynamic)/Undo] <exit>: กําหนดตําแหน่งอ้างอิงถัดไป หรื อ เข้าปรับ
ค่าที Option
Repeat: คัดลอกวัตถุซC าํ อีกครัCงโดย
ใช้ระยะห่างเดิมและชือเดิม
Divide: คํา สั งย่ อ ยการแบ่ ง ตาม
ระนาบ ให้เราเลื อกตําแหน่ งอ้างอิงเพิ มเติ ม
พร้ อมกับจํานวนที ต้องการคัดลอกไป โดย
โปรแกรมจะคํา นวณและวางวัต ถุ ต ามค่ า
ทีตัCงตามภาพ
227
Measure: ตัCงค่ าคัดลอกวัตถุ กาํ หนดระยะ โดยเราต้องทราบระยะที ต้องการคัดลอก โดยโปรแกรมจะคํา นวณ
ระยะห่างจากจุดอ้างอิงเริ มต้นและจุดจบ
Array: เปิ ดหน้าต่างปรับค่า Array

Statistics Summation: คําสังพิเศษนีC ช่วยรวมจํานวนของ ข้อความอักษร (Text, ,Mtext)โดยโปรแกรมจะรวมเฉพาะตัวเลข


ไม่รวมหน่วยทีตามหลัง แต่มีรายละเอียดให้
Menu: Express tools>Edit>Statistics Summation
Command Entry: KLL01
เริ มต้นใส่ คาํ สังดังกล่าว โปรแกรมจะให้เลือกคําสัง
Select objects: เลือกข้อความทีมีชุดตัวเลข จากนัCน Enter
โปรแกรมจะเปิ ดหน้าต่ างเมนู สังเกตที เมนู จะมี
รายการตัว เลขแสดง ผูใ้ ช้ส ามารถปรั บ แก้ หรื อทํา การ
เลือกใหม่อีกครัCงได้ตลอด ตามรู ปด้านล่าง
228
Draw Tools
Superhatch: ใส่ ลวดลายลงบนพืCนทีปิ ด หรื อเลือกวัตถุทีเป็ นวัตถุปิดด้วยสี ทึบ, เฉดสี หรื อลวดลาย Hatch ดังนีC
Menu: Express>Draw>Superhatch
Command Entry:Superhatch
เมือใส่ คาํ สังโปรแกรมจะเปิ ดหน้าต่างเมนู มีดงั นีC
Image: เลือกรู ปภาพเข้ามาทําเป็ นลวดลาย Hatch ได้
Block: เลือกวัตถุ Block เข้ามาทําเป็ นลวดลาย Hatch
Xref Attach:เลือกวัตถุไฟล์ Xrefเข้ามาทําเป็ น ลวดลาย Hatch ได้
WipeOut: เลือกการ Wipeout เข้ามาทําเป็ น ลวดลาย Hatch
Select Existing: เลือกวัตถุทีมีการนํามาวางไว้แล้ว นํามาเป็ น ลวดลาย Hatch เช่น existing
image, block, xref, หรื อWipeout

For Image
1. เลือกคําสัง.
2. เลือกไฟล์ภาพทีต้องการ เมือเลือกแล้วโปรแกรมจะเปิ ดหน้าต่างอีกครัCง
3. เลือกที OK จากนัCนสามารถตัCงค่า Scale หรื อ ตําแหน่งวางของภาพได้
4. เมือวางภาพแล้ว โปรแกรมจะถามว่า “Is the placement of this IMAGE acceptable? [Yes/No]<yes>” ตอบ YES
5. คลิกเพือวางรู ป
229
For Blocks:
1. ใส่ คาํ สัง
2. เลือกที Block เพือนําเข้าวัตถุ Block คลิกที Block อีกครัCงเพือเลือก Block บน Drawing ทีทํางานนัCนๆ
3. เลือกวัตถุ Block ทีต้องการ จากนัCน OK
4. กําหนดจุดนําเข้า Scale และปรับจุดหมุนได้
5. โปรแกรมจะถามว่า“Is the placement of this IMAGE acceptable? [Yes/No]<yes>”หากเลือก Yes โปรแกรมจะให้
กําหนดจุดวาง หากเลือก No จะออกจากคําสัง6. คลิกทีภายในพืCนทีปิ ดเพือ วางลวดลาย Hatch

For WipeOut:
1. ใส่ คาํ สังจากนัCนเลือกทีWipeout
2. โปรแกรมจะถามถึงจุดวางตําแหน่ง เพือทําเป็ นพืCนที
3. เลือก Enter เมือเสร็ จสิCนการกําหนด
4. ตามรู ปตัวอย่าง ย้าย Block เพือวางลวดลายเป็ น Hatch โปรแกรมจะวางโดยอัตโนมัติ
230

Breakline Symbol: คําสังแทรก Breaking Symbol บนเส้น Polyline จะช่วยวางและปรับขนาดของ Breaking Symbol อย่าง
สมดุล โดยเราไม่ตอ้ งไปกําหนดค่าอืนแต่อย่างใด ใส่ คาํ สังดังนีC
Menu: Express tools>Draw>Breakline Symbol
Command Entry: BREAKLINE
เมือเริ มคําสังแล้ว โปรแกรมจะมีคาํ สังย่อยให้เลือกที Command Line ดังนีC
Block = BRKLINE.DWG, Size = 1.000, Extension = 1.250
Specify first point for breakline or [Block/Size/Extension/sPecify line for breakline]:
ให้กาํ หนดจุดทีต้องการหรื อ Esc เพือออก

Options:
Specify first point for breakline: คลิกเพือลาก Break Line ผ่านตําแหน่งทีต้องการ จุดเริ มต้น และจุดจบ
231
Block: กําหนดรู ปแบบ Block ทีต้องการจากนัCน
Enter the block name for breakline symbol <BRKLINE.DWG>: ทําการตัCงชือ และ Enter อีกครัCง แต่หากเราเคาะ Enter ผ่าน
ทันที โปรแกรมจะบันทึกให้ อัตโนมัติ

Size: กําหนดขนาดของ Breaking Symbol


Breakline symbol size <1>: กําหนด Scale ของ Breaking Sysbol
Extension: กําหนดความยาวของเส้นBreaking Symbol ทีพ้นจากขอบเขต

Breakline extension distance <1.25>: กําหนดความยาวของเส้น Breaking Symbol ทีพ้นจากขอบเขต โปรแกรมจะให้เลือก


ดังนีC
Specify second point for breakline: กําหนดจุดที 2
Specify location for break symbol <Midpoint>:
กําหนดจุดแบ่ง ของ Breaking Symbol หรื อ เลือก Enter
เพือตําแหน่งจุดกึงกลางอัตโนมัติ
232
Pline Boolean:
Menu: Express>Draw>Pline Boolean
Command Entry:GC_BoolOP
เมนู Pline Boolean เป็ นดังภาพ

Delete the entity chosen by second selection: คือหากต้องการลบวัตถุทีด้านหลัง ของวัตถุหลัก บนเมนูมีค่าเพิทเติมให้เลือก


เช่น union, intersection และsubtraction. ทีสําคัญเมือเสร็ จสิC นคําสังแล้ว วัตถุจะรวมเป็ น Polyline ทันที
Operation case:
ด้านล่างภาพตัวอย่างงาน Mechanical เราจะใช้คาํ สัง Pline Boolean ดังนีC

1. เมือใส่คาํ สังแล้ว โปรแกรมจะเปิ ดเมนู ให้เลือก

2. เลือกหมวด Union และเอาเครื องหมายที "Delete the entity choosen by second selection",
นําออกไป ตามภาพ
3. จากนัCนเลือกเส้นวงกลมด้านนอกสุ ดจากนัCน ครอบวงกลมทัCงหมด เคาะ Enter ตามรู ป
ด้านขวา
233
4. ใช้คาํ สังอีกครัCง ครัCงนีCเลือก Subtraction พร้อมกับคลิกเลือก “Delete the entity chosen by second selection"
5. ครอบวงกลมทัCงหมดอีกครัCง จะได้รูปวงกลม ตามตัวอย่างด้านล่าง

Spline to Line: คําสังแปลงเส้น Spline เป็ นเส้น Straight linesดังนีC


Menu: Express tools>Draw> Spline to Line
Command Entry: SPLINE2LINE
เมือใส่ คาํ สังแล้วโปรแกรมจะให้เลือกเมนูย่อย ดังนีC
Select spline or [Set parameters(S)]: เลือกวัตุเส้น Spline หรื อตัCงค่าใหม่เลือก (S)
[The line precision/Starting point (S)<1.00>]: ใส่ ค่าทีมากกว่า 0 ระหว่างช่วงระยะ
Conversion in a straight line to allow the greatest number of <5000>]: ใส่ ค่าชุดใหม่ ทีน้อยกว่า 5000
GstarCAD จะกําหนดเส้น Spline ทีเหมาะสม ตามค่าทีเราเลือกไว้ หาก lines ต้องการเพิมเส้นมากกว่า ค่าทีเราใส่ ไว้
โปรแกรมจะต่อเส้นออกไปเองจากนัCน เลือก
Select spline or [Set parameters(S)]: จากนัCนเลือก เส้น Spline ทีต้องการ แล้ว Enter เพือออกจากคําสัง ตามรู ปหน้าถัดไป

Spline to Pline: ด้วยคําสังนีC เราสามารถเปลง Spline เป็ นเส้น Polyline ซึ งขึCนอยู่กบั จุดจํานวนของส่ วนโค้งใดๆ ตามทีผูใ้ ช้
กําหนด หากกําหนดจํานวนจุดส่ วนโค้งมากเท่าไร ความแม่นยําจะสู งขึCนด้วย ดังนีC
Menu: Express tools>Draw>Spline to Pline
Command Entry: SPTPL
234
ดังตัวอย่าง
วาดเส้น Spline พร้อมด้วย ส่ วนโค้ง 5 จุด

หลังจากใช้คาํ สัง SPTPL แล้ว จะแสดงข้อความ Please select the object (Spline).เมือเลือก Spline แล้ว โปรแกรมจะถาม
>Delete the spline? Yes(Y) / No(N):ตามตัวอย่างหากเราเลือก Yes , โปรแกรมจะทําการลบ Spline หากเราเลือก No ,
โปรแกรมจะเก็บ Spline ไว้ เมือเลือกแล้ว โปรแกรมจะขึCนคําสังให้เราเลือก >Pleaseenter the number of arcs Non-zero:ให้
เราใส่ ค่าทีมากกว่า 0 ดังตัวอย่างค่า 8. ค่าตรงนีCจะกําหนดให้ Spline นีCแบ่งเป็ น 8 Segment ดังภาพ

Line to Pline: คําสังนีCจะช่วยแปลงเส้นหรื อส่ วนโค้ง ต่างๆ ให้เป็ นวัตถุ polyline ชิCนเดียว ดังนีC
Menu: Express tools>Draw>Line to Polyline
Command Entry: Line2pl
เมือใส่ คาํ สัง โปรแกรมจะให้เลือก Please enter the join precision: ส่ วนนีC โปรแกรมจะให้เลือกจุด Endpoint ของแต่ละวัตถุ
ทีต่อเนืองกัน ตามภาพตัวอย่างใส่ ค่า 0 เพือมันใจว่าวัตถุ (lines) ต่อเนื องกัน สนิท
เมือเลือกค่าได้แล้ว โปรแกรมให้เลือก Please select the objects to be joined และจะแปลงเป็ น Polyline ทันที
235
ตามภาพตัวอย่าง เราจะได้วตั ถุ Polyline

Cloud Line: คําสังเปลียนเส้น Polyline เป็ น cloud lines ดังนีC


Menu: Express tools>Draw>Cloud Line
Command Entry: REVCLOUD
เมือใส่ คาํ สัง โปรแกรมจะให้เลือก ที Command lines
Minimum arc length:Current Maximum arc length: Current
Style: Normal
Specify start point or [Ar length/Object/Style]<Object>: กําหนดจุดเริ มต้น หรื อเลือก Option หรื อ กดปุ่ ม Enter
Starting point: กําหนดจุดเริ มต้นของCloud lines นําเคอร์ เซอร์ตาม Path ไป
เมือลากถึงจุด End โปรแกรมจะถาม Reverse direction [Yes (Y)/No (N)]:
หากเราเลือก Yes โปรแกรมจะพลิกกลับเส้น Cloud line แต่หากเราเลือก No เส้น Cloud lines จะใช้ระนาบเดิม
236
Arc: กําหนดองศาของส่ วนโค้ง
Specify minimum length of arc <current>: กําหนดค่าความยาวขององศา ทีส่ วนน้อยทีสุ ด
Specify the maximum arc length <current>: กําหนดความยาว แล้วเลือก Enter
จากนัCนสามารถลากเส้นจนจบเสร็ จคําสัง
ข้อควรจํา:
ค่าองศาทีมากทีสุดไม่ควรมากกว่า เท่า ของส่ วนน้อยทีสุ ด ตามรู ปภาพตัวอย่าง

Object: การแปลงวัตถุเส้นปิ ดเป็ น Cloud lines นัCนต้องเป็ นวัตถุปิดเท่านัCน


Select objects: เลือกวัตถุ
Reverse direction [Yes (Y)/No (N)]: หากเราเลือก Yes โปรแกรมจะพลิกกลับเส้น Cloud line แต่หากเราเลือก No เส้น
Cloud lines จะใช้ระนาบเดิม ทีเป็ น
237
Style: มีรูปแบบ 2 styles คือ Normal (แบบเดียวกับข้างบน) และ Calligraphy อย่างหลังทําให้ส่วนโค้งมีเส้นหนา กว่าปกติ
Select arc style [Normal/Calligraphy]<Normal>: เลือกแบบ Calligraphic
Reverse direction [Yes (Y)/No (N)]: By inputting “Y” หากเราเลือก Yes โปรแกรมจะพลิกกลับเส้น Cloud line แต่หากเรา
เลือก No เส้น Cloud lines จะใช้ระนาบเดิม ทีเป็ น

Command Alias: ฟังก์ชนที ั ให้ผใู ้ ช้เพิม, แก้ไข หรื อ ลบคําสังคียบ์ อร์ดได้อย่างอิสระ


Menu: Express tools>Tools>Command Alias
Command Entry: ALIAS
ขัCนตอน
1. เมือใส่คาํ สังแล้วหน้าต่างเมนูจะแสดง
2. หากต้องการลบคําสังเลือก Remove
3. หากต้องการปรับแก้คาํ สังเลือก “Edit” จะเปิ ดเมนูยอ่ ย ทําการแก้ไข แล้ว OK เป็ นอันเสร็ จสิC น
238
System Variable Editor: ฟังก์ชนที
ั ให้ผใู ้ ช้ เข้าดู, บันทึก หรื อ โหลดข้อมูล ระบบตัCงค่าการใช้งาน
Menu: Express tools>Tools>System Variable Editor
Command Entry: SYSVDLG
เมือใส่ คาํ สังจะปรากฎเมนู โดยรายละเอียดมีดงั นีC

List Box: แสดงรายการระบบคําสัง หรื อ อืนๆทัCงหมด ด้านบนของตาราง สามารถกรอกชือระบบทีต้องการ โดย


อ้างอิงจากคําสังของผูใ้ ช้ ตัวอย่าง พิ มพ์คาํ ว่า DIM* โปรแกรมจะหาคําสังที มีคาํ ทีค้นหา และ แสดงให้เลือก หากเราไม่มี
คําค้นหา โปรแกรมจะแสดงชือรายการทัCงหมด สําหรับการเข้าแก้ไขนัCน ทําได้ครัCงละ 1 คําสัง เท่านัCน
New Value: แสดงค่าปั จจุบนั ของคําสังนัCนๆ หากมีการเปลียนค่า คําสังจะยังไม่เสร็ จสิC นจนกระทัง เลือก OK และ
ปิ ด หน้าต่างเมนู
Current Value: แสดงค่าของระบบคําสังทีเลือกไว้
Initial Value: แสดงค่าของระบบคําสังทีเลือกไว้ โดยค่าตรงนีC จะนําไปใช้งานทีไฟล์งานใหม่
Saved In: แสดงตําแหน่งทีบันทึกระบบทีตัCงค่าไว้
Type: แสดงประเภทของระบบทีเลือกนัCนๆ เช่น integer, real, stringและอืนๆ
Save All: ทําการบันทึกค่าทัCงหมดที ตัCงไว้เป็ นไฟล์ นามสกุล .SVF หรื อ.SCRสําหรับ .SVF จะเปิ ดได้จากคําสัง
หัวข้อนีC ส่ วน .SCR สามารถเปิ ดได้จาก Command line สําหรับ เมนู Save All จะทําการบันทึกโดยขึCนอยูก่ บั ระบบทีตัCง
Read: คืนค่าทีบันทึกไว้ทC งั หมดจากไฟล์ .SVF โปรแกรมจะยังไม่ถูกบันทึ กจนกระทังเลือก OK หรื อ Cancel เพือ
ยกเลิก เมือเลือก OK แล้ว ตัCงค่าต่างๆ จะนําไปใช้ทนั ที
Compare with saved: คําสังเปรี ยบเทียบค่าทีตัCงไว้กบั ค่าของไฟล์ .SCR
239
Make Linetype: สร้าง Linetype โดยอ้างอิงกับวัตถุทีมี
Menu: Express tools>Tools>Make Linetype
Command Entry: MKLTYPE
เมือใส่ คาํ สังแล้ว โปรแกรมจะเปิ ดหน้าต่างเมนู สามารถเลือกไฟล์ นามสกุล .linนําเข้าใช้ได้ทนั ที

Attach Xdata: นําเข้าวัตถุประเภทข้อมูล object data (xdata)


Menu: Express tools>Tools>Attach Xdata
Command Entry: XDATA
Select object: เลือกวัตถุ
Input application name: กําหนดหาชือ
Enter an option [3Real/DIR/DISP/DIST/Hand/Int/LAyer/LOng/Pos/Real/SCale/STr/eXit] <eXit>:
เมือเลือกวัตถุแล้ว โปรแกรมจะแสดงตัวเลือกดังนีC
Application name: An ASCII string up to 255 bytes long (group code 1000)
3Real: 3 real numbers (group code 1010)
Dir: A 3D World space direction (group code 1013)
Disp: A 3D World space displacement (group code 1012)
Dist: A distance (group code 1041)
Hand: An object handle (group code 1005)
Int: A 16-bit integer (group code 1070)
Layer: A layer name (group code 1003)
240
Long: A 32-bit signed long integer (group code 1071)
Pos: A 3D World space position (group code 1011)
Real: A real number (group code 1040)
Scale: A scale factor (group code 1042)

List Object Xdata: แสดงรายการของ Xdata ทีทํางานร่ วมกับวัตถุ บนไฟล์นC นั ๆ


Menu: Express tools>Tools>List Object Xdata
Command Entry: XDLIST
Select objects: เลือกวัตถุทีต้องการ
Input application name <*>: เลือกชือทีต้องการหรื อ Enter เพือเลือกทัCงหมดทีมี

Table Tools
Table Fill In: ผูใ้ ช้สามารถใช้คาํ สังนีCเพิมตารางหรื อเข้าแก้ไขตัวอักษรบน Table

ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สัง
2. คลิกที Table หรื อใส่ คาํ สัง “Q” เพือเข้าแก้ไข
3. ทีหน้าต่างของเมนูสามารถตัCงค่าคาวมสู งของอักษรและอืนๆ
4. เลือกทีตาราง ช่องว่าง จะนําใส่ ได้ทนั ที
5. เลือก Enter เพือจบคําสัง
241
Draw Table: คําสังทีช่วยเขียน Table
Menu:Express>Table Tools> Draw Table
Command Entry: BGE
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สัง
2. กําหนดเลือกจุดมุมแรก เลือกจํานวนช่องตามต้องการ
3. เตรี ยมข้อมูล เช่นความกว้าง ยาว
a. หากต้องการเพิมความกว้างของช่อง พิมพ์ (Q) ยิงพิมพ์ซC าํ ช่องยิงกว้าง
b. หากต้องการเพิมความสู ง เลือก (W)ยิงพิมพ์ซC าํ ยิงเพิมความสู ง
c. หากต้องการลดความสู งเลือก (A)
d. หากต้องการลดความกว้างเลือก (S)
4. เราสามารถค่าระบุแบบเจาะจงได้
5. จากนัCนคลิกอีกมุม เป็ นอันเสร็ จการสร้าง Table

Merge Cells: คําสังทีคล้ายกับคําสัง merge cells ของ โปรแกรม Excel


Menu: Express>Table Tools>Merge Cells
Command Entry: BGH
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สัง
2. กําหนดขอบเขตทีต้องการ Merge ตามรู ปตัวอย่าง
3. ทําการ Merge ตามรู ปตัวอย่าง จากนัCน Enter เพือจบคําสัง
242
Sample1: กําหนดขอบเขตของตาราง

Sample2: กําหนดช่องแรก และช่องอืนทีต้องการ

Split Cells: คล้ายกับคําสัง Split cells บนโปรแกรมExcel


Menu: Express>Table Tools>Split Cells
Command Entry: BGFG
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สัง
2. เลือกช่องหรื อ cell ทีต้องการ Split (Fig14)
3. เคลือน cursor เมือขนาดของบรรทัด และ แถวเพิมขึCน จากนัCนคลิกเม้าส์ เพือแยก cell อัตโนมัติ (Fig15)

\
Add Bias: คําสังสร้างเส้นเอียงบนช่อง cell ต่างๆ ขัCนตอนนัCน ง่าย และ เร็ วมาก เพียงเราเลือกคําสัง จากนัCนคลิกทีมุมซ้ายบน
และ ลากมาทีมุมขวาล่าง หรื อ อีกวิธีหนึงคือ คลิก สาม ครัCงทีช่อง Cell นัCน จะสามารถสร้างเส้นเอียงได้ทนั ที
Menu: Express>Table Tools>Add Bias
Command Entry: BGX
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สัง
2. กําหนดจุดเริ มต้นทีมุมซ้ายบน หรื อ คลิกทีช่อง Cell
3. จากนัCนคลิกทีมุมขวาล่างเป็ นอันเสร็ จสิC น
243
Drag Multiple Lines: เราสามารถเปลียนขนาดแถว และ บรรทัด โดยคลิกเลือก ตามเส้น Cell หากเลือกเส้นข้าง บรรทัดจะ
ขยายไป หากเลือกเส้นคัน บรรทัด Cell จะสู งขึCน
Menu: Express>Table Tools>Drag Multiple Lines
Command Entry: BGMT
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สัง
2. เลือกเส้น Cell ตามรู ป (Fig16)
3. ลากไปทางขวา สังเกตขนาดจะเพิมขึCนตามรู ป (Fig17)
4. เลือก Enter เพือเสร็จคําสัง (Fig18)

Drag Line: คําสังนีC แตกต่างกับ Drag Multiple Lines ตรงที เมือเราเลือกเส้น Cell ด้านทีต้องการ เราสามารถขยับได้เฉพาะ
CellนัCน (ไม่ได้ปรับขนาดทัCงหมด)
Menu: Express>Table Tools>Drag Line
Command Entry: BGST
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สัง
2. เลือกเส้น Cell ตามรู ป (Fig19)
3. ลากไปทางขวา สังเกตจะย้ายเส้น Cell นัCนออกไปตามรู ป (Fig20)
4. เลือก Enter เพือเสร็จคําสัง (Fig21)
244
Drag Segment: คําสังย่อยออกมา เพราะเป็ นการปรับเฉพาะเส้น Cell บนบรรทัดนัCนๆ
Menu: Express>Table Tools>Drag Segment
Command Entry: BGJT
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สัง
2. เลือกเส้น Cell ตามรู ป ทําการลากไป (Fig22)
3. ลากไปทิศทาง ทีต้องการ สังเกตจะย้ายเส้น Cell นัCนออกไปตามรู ป (Fig23)
4. เลือก Enter เพือเสร็จคําสัง (Fig24)

Selection Scale: คําสังซูมเข้า ออก ตามช่อง Cell ทีต้องการ


Menu: Express>Table Tools>Selection Scale
Command Entry: BGSF
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สังพร้อมกับกําหนดจุดเริ มต้น ตามรู ป (Fig25)
2. เคลือนเคอร์เซอร์สังเกตว่าโปรแกรมจะทําการซูม (Fig26)
3. เมือได้ระดับทําการ คลิกเพือวางตามรู ป (Fig27)
245
Add Row: คําสังเพิมแถว ให้กบั Table
Menu: Express>Table Tools>Add Row
Command Entry: BGZH
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สัง
2. กําหนดตําแหน่งทีเพิม
3. โปรแกรมจะทําการเพิมแถวให้ตามตําหน่ง

Add Column: คําสังเพิมบรรทัดให้กบั Table


Menu: Express>Table Tools>Add Column
Command Entry: BGZL
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สัง
2. กําหนดตําแหน่งทีเพิมบรรทัด
3. โปรแกรมจะทําการเพิมบรรทัดให้ตามตําหน่ง ตามรู ป

Delete Row: คําสังลดจํานวนแถว ให้กบั Table


Menu: Express>Table Tools>Delete Row
Command Entry: BGSH
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สัง
2. กําหนดตําแหน่งทีต้องการลดแถว
3. โปรแกรมจะทําการลดแถวให้ตามตําหน่ง ตามรู ป
246
Delete Column: คําสังลดจํานวนบรรทัด ให้กบั Table
Menu: Express>Table Tools>Delete Column
Command Entry: BGSL
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สัง
2. กําหนดตําแหน่งทีต้องการลดบรรทัด
3. โปรแกรมจะทําการลดบรรทัดให้ตามตําหน่ง ตามรู ป

Delete Table: คําสังลบ Table ทีเราเลือกได้


Menu: Express>Table Tools>Delete Table
Command Entry: BGSC
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สังเลือก Table ทีเราต้องการ
2. Enter เพือลบ Table เป็ นอันเสร็ จสิC น

Text Orientation Adjust: คําสังนีCจะช่วยปรับ ระยะหรื อแนว ของชุดอักษร บน Table


Menu: Express>Table Tools>Text Orientation Adjust
Command Entry: BGJS
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สังเพือเลือก Text หรื อข้อความทีต้องการ
2. Enter เพือเลือกข้อความอีกครัCง
3. ใส่ ค่า “1” เพือปรับค่าไปทางซ้าย (ตัวอย่าง)
247
4. ตัวอักษรหรื อ Text จะปรับตามค่าทีตัCง

ข้อควรจํา:
1. คําสังนีCใช้ได้เฉพาะชุดอักษรทีอยูใ่ น Table เท่านัCน
2. ระยะทีสามารถปรับได้ ของคําสังนีC มีให้เลือกประมาณหนึ ง หากท่านต้องการ ระยะทีละเอียดกว่า สามารถใช้คาํ สังอืนๆ
ของ GstarCAD ร่ วมด้วยกันได้

CAD Table to Excel: คําสังนีC ช่วยในการ Export ข้อมูลใน Table บน Drawing เข้าไปไว้ในตารางที Excel อย่างรวดเร็ ว
โดยมีคุณสมบัติ ของ Line/Spline และ text/Mtext เข้าไปด้วย
Menu: Express>Table Tools> CAD Table to Excel
Command Entry: GC_CTE
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สังจากนัCน มีหน้าต่างให้เลือกขนาดของ Table
2. ทําการครอบ Table ทีต้องการ จากนัCน Enter โปรแกรมจะเปิ ด Microsoft Excel
ขึCนมาพร้อมตาราง
3. ทําการบันทึกข้อมูล ตามความจําเป็ น
248
Coordinate Tools
Coordinate Point: คําสังพิเศษให้ตาํ แหน่งพิกดั ของวัตถุ แบบ Leader
Menu: Express>Coordinate Tools>Coordinate Point
Command Entry: DIMCOORD

Change Z Coordinate: คําสังสําหรับเลือกวัตถุหลายชิCน จากนัCนเปลียนแกน Z พร้อมกัน


Menu: Express>Coordinate Tools>Change Z Coordinate
Command Entry: CHANGEZ
249
Drawing Tools
Drawing Lock: ในบางครัC งเมือเราต้องการส่ ง Drawings ให้กบั บุคคลอืนและไม่ตอ้ งการให้มีการแก้ไข คําสังพิ เศษนีC
“Drawing Lock”จะทําการเปลียน Drawing ทัCงหมดให้เป็ น Block ไม่สามารถทําการระเบิ ดหรื อแก้ไขวัตถุใดๆได้ เป็ นวิธี
หนึ งทีช่วยป้องกันบุคคลอืนแก้ไขหรื อเปลียนแปลงงานของเราได้
Menu: Express tools>Drawing Tools>Drawing Lock
Command Entry: LOCKUP
เมือเราใส่คาํ สัง โปรแกรมจะเปิ ดหน้าต่างเมนู

Select objects: ทําการเลือกวัตถุทีมีบน Drawing เพือ Lock จากนัCน Enter


ข้ อควรจํา: ควรบันทึกไฟล์งานก่อนใช้คาํ สังนีC เพราะ เมือใส่ คาํ สังไปแล้ว จะไม่สามารถแก้ไขได้
250
Drawing Compare: คือ คําสังพิเศษทีทางทีมงานได้คิดค้นเพิมเติม โดยแนวคิดมาจากลูกค้าของ GstarCAD ของเรา คําสังนีC
ใช้สี (Color) เพือแยกความแตกต่างของวัตถุทีเปลียนแปลง เช่น แก้ไข, ลบ หรื อ สร้างวัตถุเพิมเติ ม เมือมีการแก้ไขไฟล์งาน
โปรแกรมจะวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่าง Drawing เก่า และ ใหม่ โดยโปรแกรมจะใช้สี แทนความแตกต่างเหล่านัCน เรา
สามารถทราบความหมายของสี ต่างๆ ที Option
Menu: Express tools>Drawing Tools> Drawing Compare
Command Entry: CMP
เมือเราใส่ คาํ สัง โปรแกรมจะเปิ ดหน้าต่างเมนู ที
เมนู ให้เราเลือกไฟล์เก่า (Old Drawing) และ ไฟล์งานใหม่
(New Drawing) ทีมีการแก้ไข เราอาจมีการปรับเปลียนที
อยู่ ของไฟล์ทC ัง 2 เพื อป้ อ งกัน ความสั บ สน ของไฟล์
จากนัCนเลือก Option เพือทราบค่าความแตกต่างของวัตถุ
โดยเมือเราตัCงค่าต่างๆแล้ว เช่น Colors, Layers,
line typeหรื ออื นๆแล้ว ให้ OK เพื อยืนยัCนค่ าเหล่านัCน
โปรดจําไว้ว่า ค่าต่างๆที เราทําการตัCงไป แทนความหมาย
สิ งหนึ งสิ งใด จากนัCนเลือก Compare โปรแกรมจะเปิ ดทัCง
2 ไฟล์งาน โดยเราสามารถสลับเปลียนดู ความแตกต่าง
ของทัCง สองไฟล์งาน ตามค่าสี ทีเราตัCงไว้
251
Batch Purge (Batch Files Cleaning): คําสังนีC คล้ายกับ Purge ทีเราสามารถเลือกวัตถุ หรื อข้อมูลที ต้องการเช่น Blocks,
Layers, Line Type, Dimension Style หรื อ Text Style บนหลายไฟล์งานได้ คําสังนีCเราไม่จาํ เป็ นต้องเปิ ดไฟล์งาน แค่เลือก
คําสัง เลือกไฟล์ คําสังจะเข้าไปทําการ Purge อัตโนมัติ
Menu: Express>Drawing Tools>Batch Purge
Command Entry: Batpurge
เมือเราใส่คาํ สัง โปรแกรมจะแสดงหน้าต่างเมนู ให้ผใู ้ ช้เลือก, เพิม,ไม่เลือก หรื อล้าง ได้ คําสังแยกย่อยมีดงั นีC

Add Files: เลือกไฟล์ งานตามต้ องการ


Add Folder: เลือกไฟล์ แบบ Folder
Select All: เลือกไฟล์ DWG ทังรายการ ในครั งเดียว.
Select None: ยกเลิกการ เลือกไฟล์ DWG ทังรายการ ในครั งเดียว
Delete: ลบไฟล์งานทีเลือกไว้
Clear: ทําการล้ าง (Clean) ไฟล์ ทังหมด ทีเลือก
Start Purge: เริ มต้น Purge ตามไฟล์ทีเลือกไว้ โดยเมือเสร็ จสิ น โ ปรแกรมจะแสดงรายละเอียดบน Notepad
Log: เมือการ Purge เสร็จสิC น เราสามารถใช้คาํ สัง Log เพือสร้างไฟล์ Notepad โดยมีรายละเอียดทัCงหมด แยกออกมา
252
AutoXLS Table Tools
เป็ นคําสังที ใช้เพื อการนับ จํานวน Block, คํานวณขนาดพืC นที ปิ ด หรื อ ขนาดความเส้น โดยเมื อผูใ้ ช้งาน มี การ
ปรับเปลียน จํานวน Block หรื อ ขนาดของพืCนทีปิ ด หรื อ เส้น ค่าในตารางจะปรับเปลียนค่าให้เองอัตโนมัติ แบบทันที โดย
คําสังนีCจะทํางานร่ วมกันกับ MS-Excel
Create Table: คําสังสร้างตาราง
Menu: Express tools>AutoXlsTable>Create Table
ขัCนตอน
1. ทีเมนูคาํ สัง เลือก Create Table

2. ทําการสร้างรายการ หรื อ เปิ ดรายการทีมีอยู่


3. เลือก Finish ทีเมนู บน Excel.
4. กําหนดจุดนําเข้าลงบน GstarCAD
253
Edit Table: สําหรับแก้ไขตารางทีเคยสร้างไว้ก่อนหน้านีC
Menu: Express tools>AutoXlsTable>Edit Table
ขัCนตอน1. Click Edit Table.เลือก Edit Table

2. เลือก Table ทีทําการสร้างมาจาก AutoXlsTable จากนัCนโปรแกรมจะเปิ ดไฟล์ Excel ดังกล่าว

Update Table: เป็ นการ Update ข้อมูลในตาราง เพือให้สูตรทีเราทําการสร้างไว้เพิมเติม มีการเปลียนค่า


Menu: Express tools>AutoXlsTable>Update Table
ขัCนตอน
1. เลือกคําสัง Update table

2. เลือก Table ทีต้องการอัพเดต จากนัCนโปรแกรมจะปรับข้อมูลตามอัตโนมัติ


254
Update All the Tables:
Menu: Express>AutoXlsTable>Update All the Tables
เมือเราใช้คาํ สัง Update All the Table แล้ว โปรแกรมจะทําการอัพเดตข้อมูล Table ทัCงหมด ที ถูกสร้างจากคําสัง Create
Table

File Link Management: สามารถใช้คาํ สังนีC เพือแก้ไข จัดการลิCงค์ขอ้ มูลระหว่าง Table บน drawing และไฟล์ Table ที
เชือมต่อกับโปรแกรม Excel
Menu: Express>AutoXlsTable>File Link Management
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สังข้างต้น
2. ทําการเลือกวัตถุ Tableโปรแกรมจะเปิ ดเมนู
3. เลือกที Browse เพือเปิ ดไฟล์ทีต้องการ
4. ทําการเลือกไฟล์ XLS ทีต้องการลิCงค์กบั วัตถุ Table จากนัCน เลือก OK จะกลับมาทีเมนู Link Manager
5. สามารถใช้คาํ สัง “Attach”, “Delete” หรื อ “Update”เพือจัดการลิCงค์ดงั กล่าว
255
Path Settings: ใช้คาํ สังนีCเพือตัCงค่า Path ของไฟล์งาน Excel
Menu: Express>AutoXlsTable>Path Settings
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สังข้างต้น โปรแกรมจะเปิ ดหน้าต่างเมนู
2. เลือกตัCงค่า Path ได้ตามเมนู

Selection Management: ใช้คาํ สังนีC เพื อตัCงชื อให้ พืC นที ปิ ด หรื อ เส้น เพื อคํานวณพืC นที Area หรื อ ความยาวของเส้น
Menu: Express>AutoXlsTable>Selection Management

ตัวอย่ าง
1. ทดลองสร้างวัตถุ วงกลม และ สี เหลียม จากนัCนใช้คาํ สัง “Create Table” ทําการสร้างรายการตามรู ปด้านล่าง จากนัCน

2. ใช้คาํ สัง “Selection Management” โปรแกรมจะเปิ ดเมนู


3. ใส่ ชือวัตถุ “CIRCLE” จากนัCน Click ปุ่ ม ด้านขวามือ
4. ทําการเลือกวงกลมดังกล่าว
256
5. กดปุ่ ม Enter โปรแกรมจะเปิ ดหน้าต่างเมนู พร้อมกับมีรายการ Circle ทีเราทําการเพิม ตามรู ป

6. ทําการเพิมรู ปสี เหลียม วิธีเดียวกัน


7. เลือก Close ออกจากเมนู
8. เลือกคําสัง Edit Table เพือเข้าเพิมเติมค่า
9. คลิกที Cell ตรงหมวด Area จากนัCนเลือกไอคอน Insert Function ตามรู ป
257
10. ทีหน้าต่างเมนู เลือก Circle ทีหมวด Layers เปลียนเป็ น All จากนัCน OK พืCนที Area จะถูกวาง ตรง Cell ของ Circle

11. ใช้วิธีเดียวกัน เพือคํานวณรู ปสี เหลียม เมือเสร็ จสิC น เลือก Finish ตามรู ปด้านล่าง

13. เสร็ จแล้วจะกลับไปที โปรแกรม เลือกตําแหน่งวาง Table ที มี


จํานวนขนาดพืCนทีวงกลม และ สี เหลียม ดังกล่าว
14. ทดลองขยายรู ปสี เหลียม สังเกตตัวเลขพืCนทีจะเปลียนตามทันที
258
GstarCAD Tools
Drawing Scale: คําสังพิเศาทีจะช่วยตัCงค่า Scale ก่อนจะเขียนงาน โดยเมือเราสร้างวัตถุ หรื อ อุปกรณ์ เช่น “Line Such as
Chord” and “Modify Line width” โปรแกรมจะทําการปรับ Scale ให้
ทันที
Menu: Express>GstarCAD Tools>Drawing Scale
Command Entry: SASCL
ขัCนตอน
1. ทําการใส่ คาํ สังข้างต้น
2. ใส่ ค่า Scale ทีต้องการ จากนัCน Enter

Rotate Cursor: คําสังช่วยหมุน Cursor ทวนเข็มนาฬิกา 0 – 45 องศา หมุนแบบ Side Line และ Real Time
Rotate
Menu: Express>GstarCAD Tools>Rotate Cursor>0 or 45
Command Entry: RTCUR0/RTCUR45
Side Line
Menu: Express>GstarCAD Tools>Rotate Cursor>Side Line
Command Entry: RTCUR1

ขัCนตอน
1. ใส่คาํ สังข้างต้น
2. ทําการเลือกแกน ทีต้องการ โปรแกรมจะหมุนตามแกนนัCนๆ
259
Real Time Rotate:
Menu: Express>GstarCAD Tools>Rotate Cursor>Real Time Rotate
Command Entry: RTCUR
ขัCนตอน
1. เมือเราใส่ คาํ สังแล้ว โปรแกรมจะแสดงฟังก์ชนที
ั Command Line
2. ให้ผใู ้ ช้เลือกจาก Command Line ADWS (ปรับทวนเข็มนาฬิกา) ตามรู ป

Draw Axonometric Line: คําสังพิเศษทีช่วยในการเขียนแกนด้วยคําสัง


Menu: Express>GstarCAD Tools>Draw Axonometric Line
Command Entry: SALPL
ขัCนตอน
1. เมือใส่คาํ สังแล้วให้กาํ หนดความหนาของ line
2. โปรแกรมจะแสดงคําสังให้เลือกที Command Line เราสามารถใส่ ค่า
องศา ตัCงแต่ 0-45 องศา หรื อ ใส่ ค่ามุมเปิ ดได้ ต่ อเนื อง จากนัCน Enter
เพือจบคําสัง

Visual Extension: โดยปกติ สํา หรั บ คํา สัง extensionเราต้อ ง


เลือกวัตถุและขอบเขตจากนัCน Enter เส้น line จึงจะทําการเชือม
แต่สําหรั บคําสังพิ เศษนีC โปรแกรมจะแสดงแนวเส้น ทีเชื อมต่ อ
ให้ รอพียง Enter เพือยืนยัCน ช่วยให้การใช้คาํ สังเร็ วกว่าเดิม
Menu: Express>GstarCAD Tools>Visual Extension
Command Entry: ETT
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สังข้างต้น
2. เลือก Lineทีต้องการextended โปรแกรมจะเลือกขอบเขตทีไกล้ทีสุ ด และทําการแสดงแนว อัตโนมัติ
3. สามารถเคลือนเคอร์เซอร์ เพือเปลียนขอบเขตตามต้องการได้ทนั ที
260
Normal Connect: อีกหนึงคําสังพิเศษทีคล้ายกับ Chamfer แต่เพิมเติมในส่ วนการลบวัตถุส่วนเกินหลังจากทีใช้คาํ สัง
Menu: Express>GstarCAD Tools>Normal Connect
Command Entry: GXFILT
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สังข้างต้น
2. เลือกตําแหน่งหรื อวัตถุชิCนแรก
3. เลือกตําแหน่งหรื อวัตถุขอบเขต ที 2
4. จะได้วตั ถุ ตามภาพตัวอย่าง

Flex Connect: คําสังที ต่อ (Extend) โดยไม่ตดั ส่ ว นเกิน


หลังจาก Extend
Menu: Express>GstarCAD Tools>Flex Connect
Command Entry: GXFSS
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สังข้างต้น
2. เลื อกตําแหน่ งหรื อวัต ถุเส้นจะ Extend ให้อตั โนมัติ
(คล้ายกับ Extend)

Super Fillet: คําสังนีC นอกจากสามารถทํา Fillet ได้แล้วยังสามารถเลือกเปลียนเลเยอร์ สี หรื อประเภทของเส้นนัCนๆได้ โดย


ขัCนตอนเบืC องต้น เมื อเราเลือกใส่ องศา เลือกวัตถุชิCนแรกนัCนจะเป็ นต้นฉบับ เพื อเลื อกเลเยอร์ ในการไป Fillet งานชิC นที
ต้องการ
Menu: Express>GstarCAD Tools>Super Fillet
Command Entry: SFILLET
ขัCนตอน
1. ใส่คาํ สังตามข้างต้น จากนัCน ใส่ ค่าองศาทีต้องการ
2. ทําการเลือกวัตถุแรก ตามภาพตัวอย่าง จากนัCนไปเลือก
วัตถุทีต้องการ Fillet โปรแกรมจะทําการ Fillet พร้อมกับ
เปลียนคุณสมบัติ ของเลเยอร์สีหรื อประเภทของเส้น
3. Enter อีกครัCงเป็ นอันเสร็ จคําสัง
261
Modify Linewidth: คําสังในการปรับแต่ง ขนาดความหนาของ Line โดยเมือเราสร้างLine จากนัCนใช้คาํ สัง โปรแกรมจะ
เปลียนคุณสมบัติเป็ น Pline อัตโนมัติ และทําการเปลียนขนาด ความหนาของเส้น อาจจะคล้ายกับคําสัง Pedit อาจจะใช้คาํ สัง
นีCแทนได้ อีกทัCงสะดวกกว่า
Menu: Express>GstarCAD Tools>Modify Linewidth
Command Entry: LCW
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สังตามข้างต้น.
2. เลือกเส้น line ทีต้องการ
3. ใส่ ค่าความหนาของเส้น ตามตัวอย่าง ใส่ ค่า
เท่ากับ 2
4. Enter เพือจบคําสัง จะได้ Line ตามภาพ

Cross to Break: สําหรับการเขียนแบบงานวิศวกรรม เราอาจต้องทําการตัดขาดเส้น หรื อเรี ยกว่า Break เส้น ซึ งวิธะรรมดา
ทัวไป อาจยุ่งยากเพราะต้องใช้หลายคําสัง สําหรับ GstarCADมีคาํ สังพิเศษ ทีช่วยให้ง่ายขึCน
Menu: Express>GstarCAD Tools>Cross to Break
Command Entry: CBK
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สังตามข้างต้น.
2. กําหนดเส้นทีต้องการ
3. เลือกเส้นทีต้องการ ของอีกฝัง ของเส้น Break
โปรแกรมจะทําการตัดเส้นอัตโนมัติ4. Enter เพือจบ
คําสัง
262
Control Break Width: คําสังสําหรับ Break เส้นออกเป็ นพืCนที
Menu: Express>GstarCAD Tools>Control Break Width
Command Entry: CBKWID
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สังตามข้างต้น.
2. เลือกเส้นทีเราสร้างขวางไว้แล้ว Enter โปรแกรม
จะทําการตัดเส้น ตามตัวอย่าง

Modify Text: หมวดคําสังพิเศษ ปรับแก้เรื องตัวอักษร


Text Height Menu: Express tools>GstarCAD Tools>Modify Text>Text Height
Command Entry: TXT40
1. ใส่ คาํ สังตามข้างต้น.
2. เลือก Single line Text ทีต้องการ
3. จากนัCนใส่ ค่าความสู งทีต้องการ
4. Enter เพือจบคําสัง

Width Factor
Menu: Express tools>GstarCAD Tools>Modify Text>Width Factor
Command Entry: TXT41
1. ใส่คาํ สังตามข้างต้น
2. เลือก Single line Text ทีต้องการ
3. จากนัCนใส่ ค่าความสู งทีต้องการ
4. Enter เพือจบคําสัง
263
Angle:
Menu Express tools>GstarCAD Tools>Modify Text>Angle
Command Entry: TXT50
1. ใส่คาํ สังตามข้างต้น
2. เลือก Single line Text ทีต้องการ
3. จากนัCนใส่ ค่ามุมองศาทีต้องการ
4. Enter เพือจบคําสัง

ObliquingAngle: คําสังนีCช่วยในการปรับราะนาบของตัวอักษร ให้เอียงตาม ค่าทีเราใส่


Menu: Express tools>GstarCAD Tools>Modify Text>Obliquing Angle
Command Entry: TXT51
1. ใส่คาํ สังตามข้างต้น
2. เลือก Single line Text ทีต้องการ
3. จากนัCนใส่ ค่ามุมองศาทีต้องการ
4. Enter เพือจบคําสัง

Options Modify: เราสามารถใช้ฟังก์ชนั นีC สาํ หรับปรับค่า คําสัง ทีหมวดนีCได้


Menu: Express tools>GstarCAD Tools>Modify Text>Options Modify
Command Entry: EDTXT

Print Tools
Print PLT: Users can send PLT files to printer for printing ผูใ้ ช้สามารถใช้คาํ สังนีCส่งไฟล์ PLT เพือพิมพ์งานได้
Menu: Express tools>Plot Tool>Print PLT
Command Entry: PrintPlt
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สังตามข้างต้น
2. เลือก PrintPlt.exe ทีหน้าต่างเมนู
3. ดับเบิCล คลิก ทีไฟล์ PrintPlt.exe จากนัCนโปรแกรมจะเปิ ดหน้าต่างเมนูพิมพ์งาน สามารถเลือก Printer เพือเปลียนค่าตาม
ต้องการ
264
4. จากนัCน เลือก Ok โปรแกรมจะเปิ ดหน้าต่าง OPEN ให้ผูใ้ ช้เลือก Printed file

Batch Print: Batch print ด้วย Frame ชุดเดียวกัน


Menu: Express tools>Plot Tool>Batch Print
Command Entry: BP
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สังตามข้างต้น
2. เลือกประเภทของ Frame สามารถเลือก Layer/ Block/
Polylineเพือเชือมโยงกับ Frame
3. คลิกทีจุดมุมของ Frame ทีต้องการ จะพบหน้าต่างเมนู
4. จากนัCนตัCงค่า แล้ว OK เป็ นเสร็ จคําสัง
265
Arrange Frame Automatically: คําสังทีช่วยค้นหา Frame อัตโนมัติ โดยโปรแกรมจะคํานวณขนาด จากนัCนทําการ
ประมวล Drawing ต่างๆ
Menu: Express tools>Plot Tool>Arrange Frame Automatically
Command Entry: ZDPT
ขัCนตอน
1. ใส่ คาํ สังตามข้างต้น จะพบเมนู
2. หากต้องการรายละเอียดของการพิมพ์ ซึ งบริ ษทั อาจต้องการเพิม เลือกที Option จะพบหน้าต่างตัCงค่า
266
3. เลือกที Insert File จะพบหน้าต่าง “Add file Manner” ดังรู ป
Folder: ฟั งก์ชC นั นีC จะทําการเพิมไฟล์ DWG ทัCงหมดจาก Root Directory
เพือเข้ามาที Folder หากเราเลือก “File that contains subfolders” ก็จะทํา
การเพิมเข้ามาทัCงหมด
Drawing list: เพิมไฟล์ LSTตามกําหนด
File: เพิมไฟล์ DWG ตามกําหนด

4. เมือเราเลือกแล้ว ไฟล์ทC ังหมดจะอยู่บน List เลือกที “Preview” เพื อดูตวั อย่างการเรี ย งลําดับ โดยโปรแกรมจะทําการ
เรี ยงลําดับ ตาม Frame ด้านบน
5. เมือตรวจสอบ พอใจแล้ว เลือก OK โปรแกรมจะเรี ยงลําดับ จากนัCนจะนําเข้าทีไฟล์งานปัจจุบนั
267
บทที
What is new GstarCAD 2021
GstarCAD 2021 ยกระดับไปอีกขันด้วยคําสั!งที! สอดคล้องการทํางานในปั จจุบนั ฟั งก์ชนั! สามมิติที!ดีกว่าเก่า
คําสั!งที!จาํ เป็ นสําหรับการเขียนแบบและเครื! องมือพิเศษ ทําให้การทํางานนันเร็ วยิ!งขึนกว่าเดิม จึงทําให้ GstarCAD นันคื อ
โปรแกรมเขียนแบบที!คุม้ ค่า ที!สุด
1. New user Interface
GstarCAD ผูใ้ ช้สามารถทํางานและปรับแต่งได้ง่ายกว่าเวอร์ ชน!ั ก่อนหน้า ด้วยหน้าต่างที! มีสีเทาดํา ที! เข้มขึ น
ในเวอร์ ชน!ั 202< นัน ช่ วยลดภาระสายตาหากต้องทํางานเป็ นเวลานานๆ การปรับแต่งทําได้ทงั ย้าย Toolbar ปรับสี พืนที!
Drawing ปรั บ Command bar หรื อเปลี!ยนสี ให้สว่างกว่าก็สามารถทําได้ การปรับแต่งให้เป็ นสใตล์ตวั เองทังหมด และยัง
สามารถทําการล็อคตําแหน่งของ ไอคอนเมนูให้อยูแ่ บบถาวร
268
2. Save your time with faster running speed
พัฒนาให้มีประสิ ทธิ ภาพสู งขึน ช่ วยให้ประหยัดเวลา ด้วยการเพิ!มประสิ ทธิ ภาพของคําสั!งพืนฐาน ให้ดียิ!งขึ น
เช่น OPEN, QSAVE, PLOT, CLIP, TRIM, PASTE, MOVE, DYNAMIC, SELECTION และ การระเบิดวัตถุ ทําได้
อย่างรวดเร็ วยิ!งขึน

3. New (D Feature
พบกับคําสัง! 3D เพิ!มประสิ ทธิ ภาพการทํางาน 3D Model ด้วยคําสัง! \D Model ใหม่ ใน GstarCAD ]^]< ผูใ้ ช้งาน
สามารถใช้ ออกแบบ และ แก้ไข โมเดล \ มิติ ได้สะดวก และ ง่ายยิ!งขึน เช่น POLYSOLID, CONVTOMESH,
CONVTOSOLID, CONVTONURBS ช่วย ยกระดับการออกแบบ \D Model บนโปรแกรม GstarCAD ให้ดีมากยิ!งขึน
269

4. Import/Export/Migrate การตังค่าการทํางานต่างๆ: ช่วยให้การทํางานลื!นไหล ต่อเนื! อง จาก GstarCAD รุ่ นก่อนหน้า


รวมไปจนถึง การนําเข้า Tool Palettes จาก AutoCAD

5.
270
5. Rapid Dist ให้ค่าขนาดได้สะดวก รวดเร็ วยิ!งขึน เพียงเลื!อนเมาส์ผา่ นวัตถุใดๆ สามารถวัดระยะทาง และ มุมระหว่า
วัตถุ 2 มิติ ตามแกน X, Y ได้ทนั ที

6. Point Cloud : ช่วยให้การแสดงผล Object จากข้อมูล Point Cloud (.rcp และ .rcs) เป็ นเรื! องง่าย แม่นยํามากขึน
และ แสดงผลวัตถุเป็ นรู ปแบบของสี RGB
271
7. Tool Palate: ช่วยให้การใส่ลวดลาย Hatch ง่าย และ เร็ วกว่าเดิม สามารถลากลาย Hatch เข้าไปยังบริ เวณพืนที!ๆ
ต้องการได้ทนั ที ลดขันตอนการทํางานได้มาก

8. MText Editor ช่วยให้การเขียนข้อความสะดวกกว่าเดิม เหมือนใช้งานบน MS-Wordรองรับ การเรี ยงลําดับหัวข้อ


, ตัวยก, ตัวห้อย, รวมย่อหน้า, การสําเนารู ปแบบตัวอักษร และ อื!นๆ อีกมากมาย
272
9. Use the license anywhere by VPN : ใช้งานได้ตลอดเวลา และ ทุกสถานที!ผา่ นระบบ VPN
Network License Dashboard: ช่วยให้ IT หรื อ ผูบ้ ริ หาร เก็บสถิติ ข้อมูล และ วิเคราะห์การใช้งาน ซึ! งแสดงผล
เป็ นกราฟ รวมไปถึงแสดงชื! อผูใ้ ช้งานแบบ Real-Time

You might also like