You are on page 1of 179

ผลของการใช้แบบฝึ กที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เรื่อง โจทย์

สมการเชิ งเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1

สารนิ พนธ์
ของ
วชิ ราภรณ์ ชานิ

เสนอต่อบัณฑิ ตวิ ทยาลัย มหาวิ ทยาลัยศรีนคริ นทรวิ โรฒ เพื่อเป็ นส่วนหนึ่ งของการศึกษา
ตามหลักสูตรปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิ ต สาขาวิ ชาการมัธยมศึกษา
มิถุนายน 2555
ลิ ขสิ ทธิ์ เป็ นของมหาวิ ทยาลัยศรีนคริ นทรวิ โรฒ
ผลของการใช้แบบฝึ กที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เรื่อง โจทย์
สมการเชิ งเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1

บทคัดย่อ
ของ
วชิ ราภรณ์ ชานิ

เสนอต่อบัณฑิ ตวิ ทยาลัย มหาวิ ทยาลัยศรีนคริ นทรวิ โรฒ เพื่อเป็ นส่วนหนึ่ งของการศึกษา
ตามหลักสูตรปริ ญญาการศึกษามหาบัณฑิ ต สาขาวิ ชาการมัธยมศึกษา
มิถุนายน 2555
วชิราภรณ์ ชานิ (2555). ผลของการใช้แบบฝึกทีม่ ตี ่อความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์
เรือ่ ง โจทย์สมการของนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 1 สารนิพนธ์ กศ.ม.
(การมัธยมศึกษา).กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
อาจารย์ทป่ี รึกษาสารนิพนธ์ : ผูช้ ่วยศาตราจารย์ชยั ศักดิ ์ ลีลาจรัสกุล.

การศึกษาค้นคว้าในครัง้ นี้มคี วามมุ่งหมายเพื่อทดสอบความสามารถในการแก้ปญั หาทาง


คณิต ศาสตร์ ของนัก เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 1 หลังได้รบั การสอนโดยใช้แบบฝึ ก เรื่อ ง โจทย์
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กลุ่ ม ตัว อย่า งที่ใ ช้ใ นการศึก ษาค้นคว้า ครัง้ นี้ เป็ นนัก เรีย นชัน้ มัธ ยมศึก ษาปี ท่ี 1 ของ
โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ ถนนสุนทรโกษา เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2
ปี การศึก ษา 2554 จานวน 1 ห้องเรียน ที่ได้มาโดยวิธ ีการสุ่มแบบกลุ่ ม (Cluster random
sampling) จานวนนักเรียน 50 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครัง้ นี้ได้แก่แผนการจัดการ
เรียนรู้ แบบฝึ ก และแบบทดสอบความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ แบบแผนการ
วิจยั ครัง้ นี้เป็ นแบบ One-Short Case Study สถิตใิ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลคือ t – test One
Samples
ผลการศึกษาพบว่า
ความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนหลังได้รบั การสอนโดยใช้
แบบฝึก เรือ่ ง โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สูงกว่าเกณฑ์รอ้ ยละ 60 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ทีร่ ะดับ .01
THE EFFECT OF USING DRILL ON LEARNING EQUATION OF ONE-VARIABLE
TOWARD MATHEMATICAL PROBLEM SOLVING OF MATAYOMSUKSA I
STUDENTS

AN ABSTRACT
BY
WACHIRAPORN CHUMNI

Presented in Partial Fullfillment of the Requirements for the


Master of Education Degree in Secondary Education
at Srinakharinwirote University
JUNE 2012
Wachiraporn Chamni (2012).The Effect of Using Drill on Learning Equation of One-Variable
Toward Mathematical problem solving of Mathayomsuksa 1 Master ’s
Project,M.Ed.(Secondary Education). Bangkok:Graduated School,
Srinakharinwirote University. Project Advisor: Asst. Prof. Chaisak Leelajaruskul.

The purpose of this research was to investigate the effect of using Drill on
Learning Equation of One-Variable Toward Mathematical problem solving of
Mathayomsuksa 1 students.
The subjects used in this study were 50 Mathayomsuksa 1 who have studied at
Sacred Heart Convent School in the second semester of 2011 academic year.
They were selected through Cluster random sampling technique. The research
instruments were lesson plans , drill and exercises in solving mathematical problems.
The One – Short Case Study was used for this study. The data was analyzed
by using t – test One Samples.
The results of this study were as follows :
The student’s ability in solving mathematical problems connecting with linear
equations with single variable after the teaching with the exercises was higher than 60% at
the .01 level of significance.
ประกาศคุณูปการ

สารนิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จได้ดว้ ยความกรุณาให้คาปรึกษา คาแนะนา ความช่วยเหลือ


ตลอดจนปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ อย่างดียงิ่ จาก ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ชยั ศักดิ ์ ลีลาจรัสกุล
รองศาสตราจารย์ ดร.สมชาย ชูชาติ รองศาสตราจารย์นิภา ศรีไพโรจน์ ผูว้ จิ ยั รูส้ กึ ซาบซึง้ ในความ
กรุณาและขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์ศกั ดา ลาวัง อาจารย์วรรณรัตน์ โปษกานนท์ และ
อาจารย์กนกทิพย์ ทองศรีจนั ทร์ ทีก่ รุณาให้เกียรติเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญ ให้คาปรึกษา แนะนา และตรวจ
แก้ไขเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการศึกษาครัง้ นี้
ขอขอบพระคุณ ผูจ้ ดั การสถานศึกษา หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์และ
คณาจารย์โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ทุกท่าน ทีใ่ ห้ความสะดวกและความช่วยเหลือในการ
ทดลองเก็บรวบรวมข้อมูลในครัง้ นี้ และขอขอบใจนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 และ 2 ปี
การศึกษา 2554 ทุกคน ทีใ่ ห้ความร่วมมือในการหาคุณภาพเครือ่ งมือและดาเนินการทดลองในการ
วิจยั ครัง้ นี้เป็ นอย่างดี
ขอขอบพระคุณ คุณแม่สุรนิ ทร์ ชานิ ทีใ่ ห้การอบรมเลีย้ งดูและให้การสนับสนุ นทัง้
ด้านการศึกษาและด้านทุนทรัพย์ และเพื่อนร่วมรุน่ สาขาการมัธยม นายพนม จองเฉลิมชัย
นางสาวเปรมฤดี ทองอันตัง นางสาวพรวิภา ปานมาศ นางสาวสุรกั ขณา คุม้ ทรัพย์ และนาย
พิสุทธิ ์ศิลป์ โพธิอะ ทีใ่ ห้กาลังใจและช่วยเหลือมาโดยตลอด ทาให้สารนิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จลุล่วง
ด้วยดี
คุณค่าและประโยชน์ทพ่ี งึ มีของสารนิพนธ์ฉบับนี้ ขอมอบเป็ นเครือ่ งบูชาพระคุณของบิดา
มารดา ครู อาจารย์และผูม้ พี ระคุณทุกท่าน

วชิราภรณ์ ชานิ
สารบัญ

บทที่ หน้ า
1 บทนา..............................................................................................................................1
ภูมหิ ลัง........................................................................................................................1
ความมุง่ หมายของการศึกษาค้นคว้า..............................................................................3
ความสาคัญของการศึกษาค้นคว้า..................................................................................3
ขอบเขตของการการศึกษาค้นคว้า.................................................................................3
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง......................................................................................3
เนื้อหาทีใ่ ช้ในการศึกษาค้นคว้า...............................................................................3
ระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้า.................................................................................3
ตัวแปรทีศ่ กึ ษา.......................................................................................................4
นิยามศัพท์เฉพาะ...................................................................................................4
สมมติฐานการศึกษาค้นคว้า..........................................................................................6

2 เอกสารที่เกี่ยวข้องและงานวิ จยั ที่เกี่ยวข้อง.................................................................7


เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้องกับแบบฝึก...................................................................7
ความหมายของแบบฝึก.........................................................................................7
ประโยชน์ของแบบฝึก............................................................................................8
ลักษณะของแบบฝึก............................................................................................10
หลักในการสร้างแบบฝึก......................................................................................12
งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับแบบฝึก............................................................................15
เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์.......17
ความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์....................................................17
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทีเ่ อือ้ ต่อการพัฒนาความสามารถในการแก้
ปญั หาทางคณิตศาสตร์.................................................................................... ..20
ปจั จัยทีส่ ่งผลต่อความสามารถทางคณิตศาสตร์....................................................23
แนวทางการพัฒนาความสามารถในการแก้ปญั หาคณิตศาสตร์..............................25
บทบาทของครูในการพัฒนาความสามารถในการแก้ปญั หาคณิตศาสตร์................29
งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์...................31
สารบัญ (ต่อ)

บทที่ หน้ า
3 วิ ธีดาเนิ นศึกษาค้นคว้า..............................................................................................35
การกาหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง.........................................................................35
เนื้อหาทีใ่ ช้ในการศึกษาค้าคว้า....................................................................................35
ระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้า.....................................................................................36
แบบแผนทีใ่ ช้ในการศึกษาค้นคว้า................................................................................36
เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการศึกษาค้นคว้า................................................................................36
การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ...............................................................................37
แผนการจัดการเรียนรู.้ ..........................................................................................37
แบบฝึกทีม่ ตี ่อความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์................................38
แบบทดสอบความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์...................................39
วิธกี ารดาเนินการศึกษาค้นคว้า....................................................................................41
สถิตทิ ใ่ี ช้ในการศึกษาค้นคว้า.......................................................................................44

4 ผลการวิ เคราะห์ข้อมูล.................................................................................................45
สัญลักษณ์ทใ่ี ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล...........................................................................45
การวิเคราะห์ขอ้ มูล.....................................................................................................45
ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล.................................................................................................45

5 สรุปผล อภิ ปรายและข้อเสนอแนะ.............................................................................. .47


ความมุง่ หมายของการศึกษาค้นคว้า.......................................................................... .47
สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า................................................................................. 47
วิธดี าเนินการศึกษาค้นคว้า....................................................................................... .47
การวิเคราะห์ขอ้ มูล.................................................................................................... 49
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า.............................................................................................49
อภิปรายผล................................................................................................................49
ข้อสังเกตจากการศึกษาค้นคว้า...................................................................................51
สารบัญ (ต่อ)

บทที่ หน้ า

บรรณานุกรม...........................................................................................................................54

ภาคผนวก................................................................................................................................61
ภาคผนวก ก......................................................................................................................62
ภาคผนวก ข......................................................................................................................72
ภาคผนวก ค......................................................................................................................76
ภาคผนวก ง.....................................................................................................................165

ประวัติย่อผูท้ าสารนิ พนธ์......................................................................................................167


บัญชีตาราง

ตาราง หน้ า
1 แบบแผนการศึกษาค้นคว้าแบบ One-Short Case Study..............................................36
2 การวิเคราะห์ความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์เรือ่ ง โจทย์ปญั หา
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของผูเ้ รียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี หลังได้รบั การสอน
โดยใช้แบบฝึกกับเกณฑ์.............................................................................................46
3 การประเมินแบบทดสอบความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์
ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โดยผูเ้ ชีย่ วชาญ (แบบอัตนัย)..................................62
4 ค่าความง่าย (PE) และค่าอานาจจาแนก (D) ของแบบทดสอบความสามารถในการ
แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาหรับแบบทดสอบ อัตนัย โดย คานวณจากสูตร Whitney and Sabers....................63
5 ค่าSU และSL ในการหาค่าความยากและค่าอานาจจาแนกของแบบทดสอบความสามารถ
ในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ทไ่ี ม่ใช่กลุ่มตัวอย่างจานวน 50 คน............................64
6 ค่า x และ x2 ในการหาค่าความแปรปรวนของแบบทดสอบความสามารถใน
การแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 แบบทดสอบอัตนัย ทีใ่ ช้ในการหาค่าความเชื่อมัน่
(α – Coefficient )...................................................................................................................67
7 ค่า ในการหาค่าความเชื่อมัน( ่ α – Coefficient ) ของแบบทดสอบวัด
ความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้น
ตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 แบบทดสอบ อัตนัย
โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ ์แอลฟา( α – Coefficient ).........................................................70
บทที่ 1
บทนำ

ภูมิหลัง
คณิต ศาสตร์มบี ทบาทส าคัญ ยิง่ ต่ อ การพัฒนาความคิดมนุ ษ ย์ ทาให้มนุ ษ ย์มคี วามคิด
สร้างสรรค์ คิด อย่างมีเหตุ ผ ล เป็ นระบบ ระเบียบ มีแ บบแผน สามารถวิเ คราะห์ปญั หาและ
สถานการณ์ได้อย่างถีถ่ ว้ นรอบคอบ ทาให้สามารถคาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ และแก้ ปญั หาได้
อย่างถูกต้องและเหมาะสม และเป็ นเครื่องมือในการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจน
ศาสตร์อ่นื ๆทีเ่ กีย่ วข้อง คณิตศาสตร์จงึ มีประโยชน์ต่อการดารงชีวติ และช่วยพัฒนาคุณภาพชีวติ ให้ดี
ขึน้ นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยงั ช่วยพัฒนาคนให้เป็ นมนุ ษย์ทส่ี มบูรณ์ มีความสมดุ ลทัง้ ทางร่างกาย
จิตใจ สติปญั ญาและอารมณ์ สามารถคิดเป็น ทาเป็ น แก้ปญั หาเป็ น และสามารถอยู่ร่วมกับผูอ้ ่นื
ได้อย่างมีความสุข ในการศึกษาคณิตศาสตร์สาหรับหลักสูตรการศึ กษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช
2551 เป็ นการศึกษาเพื่อปวงชนที่เปิ ดโอกาสให้เยาวชนทุกคนได้เรียนรู้ คณิตศาสตร์อย่างต่อเนื่อง
และตลอดชีวติ ตามศักยภาพ ทัง้ นี้เพื่อให้เยาวชนเป็ นผูท้ ่มี คี วามรูค้ วามสามารถทางคณิตศาสตร์ท่ี
เพียงพอ สามารถนาความรู้ ทักษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ท่จี าเป็ นไปพัฒนาคุณภาพ
ชีวติ ให้ดขี ้นึ รวมทัง้ สามารถนาไปเป็ นเครื่องมือในการเรียนรู้ ส ิ่งต่างๆ และเป็ นพื้นฐานสาหรับ
การศึกษาต่อ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2545:1)
แต่คณิตศาสตร์กเ็ ป็ นวิชาทีน่ กั เรียนมักประสบปญั หาในการเรียนเนื่องจากเป็นวิชาทีน่ กั เรียน
เข้าใจยาก (ชัยศักดิ ์ ลีลาจรัสกุล. 2543:1) และส่งผลให้นกั เรียนมีผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนต่าสาเหตุ
หนึ่งเกิดจากครูผสู้ อน เนื่องจากครูไม่มสี ่อื ในการสอน ขาดประสบการณ์ และไม่มเี ทคนิคการสอน
ใหม่ๆ ครูยงั คงใช้วธิ กี ารสอนด้วยการอธิบายบนกระดานดา (ยุพนิ พิพธิ กุล. 2524: 2-5) สาเหตุ
ข้างต้นสอดคล้องกับ อารีย์ คาปล้อง (2536: 2) กล่าวว่าครูยงั ใช้วธิ สี อนแบบบรรยาย และจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนทีเ่ น้น เนื้อหามากกว่ากระบวนการ ส่งผลให้ผเู้ รียนไม่มโี อกาสได้รว่ มรู้
ร่วมคิด แก้ปญั หาทีก่ าลังเรียน การทีค่ รูใช้วธิ กี ารดังกล่าว เป็นประจาย่อมทาให้ผเู้ รียนเกิดความเบื่อ
หน่ายและไม่สนใจบทเรียน นักเรียนจึงไม่เกิดการเรียนรูไ้ ม่เกิดมโนมติ ในเรือ่ งทีเ่ รียนและไม่สามารถ
นากฎเกณฑ์ต่างๆ ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง ซึง่ เห็นได้จากผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ของสานัก
ทดสอบทางการศึกษา พบว่านักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ในช่วงปีการศึกษา 2553 คะแนน
เฉลีย่ ของรายวิชาหลัก ในระดับเขตพืน้ ที่ สพฐ. และระดับประเทศ ไม่สามารถทาคะแนนได้ถงึ ร้อยละ
50 ในปีการศึกษา 2553 รายวิชาทีเ่ ป็ นปญั หาค่อนข้างมากคือวิชา ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์
และวิทยาศาสตร์ ทีม่ คี ่าเฉลีย่ ที่ ร้อยละ 16.19, 24.18, และ 29.17 ตามลาดับ (สถาบันทดสอบ
การศึกษาแห่งชาติ.2554:ออนไลน์)ผูว้ จิ ยั เองพบว่านักเรียนได้ประสบปญั หาในการเรียนคณิตศาสตร์
หลายเรือ่ ง และปญั หาทีพ่ บมากเรือ่ งหนึ่งก็ คือเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับความสามารถในการแก้ปญั หาทาง
คณิตศาสตร์ และเนื่องจากปญั หาทางคณิตศาสตร์ ถือว่าเป็นเสมือนสถานการณ์จาลองทีส่ ร้างขึน้ มา
2

จากปญั หาทีส่ ามารถพบได้ในชีวติ ประจาวัน และถือว่าเป็นสิง่ สาคัญทีค่ วรจะได้รบั การพัฒนาให้


นักเรียนได้ฝึกคิดฝึกทดลองแก้ปญั หาต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ เพราะการฝึกแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ต่างๆ
ย่อมมีส่วนในการ ช่วยส่งเสริมลาดับการคิด กระบวนการคิด และกระบวนการทางานของผูเ้ รียน
อันจะช่วยให้ผเู้ รียนสามารถนาความรูแ้ ละกระบวนการเรียนรูท้ ไ่ี ด้น้ไี ปใช้แก้ปญั หาในชีวติ ประจาวัน
ได้ดงั นัน้ ถ้าผูเ้ รียนมีความสามารถในการแก้ปญั หาคณิตศาสตร์ ได้ดกี น็ ่าจะช่วยให้นกั เรียนสามารถ
แก้ปญั หาในชีวติ ประจาวันได้ดดี ว้ ยเช่นกัน (นิกร ขวัญเมือง. 2545:1)
ด้วยเหตุน้ผี วู้ จิ ยั จึงคิดทีจ่ ะใช้แบบฝึกในการจัดกิจกรรมการเรียนรูเ้ พื่อช่วยในการแก้ปญั หา
ทางคณิตศาสตร์ของผูเ้ รียน เรื่อง โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โดยแบบฝึ กที่ใช้จะประกอบไป
ด้วยขัน้ ตอนการแก้ปญั หา 4 ขัน้ ตอน คือ ขัน้ เข้าใจปญั หา เป็ นขัน้ ตอนที่ให้บอกถึงสิง่ ที่โจทย์
กาหนดและสิง่ ที่โจทย์ต้อ งการพร้อมทัง้ กาหนดตัว แปรแทนสิ่งที่โจทย์ต้อ งการ ขัน้ วางแผน เป็ น
ขัน้ ตอนทีใ่ ห้นกั เรียนระบุวธิ กี ารแก้ปญั หาโดยการเขียนเป็ นประโยคสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ขัน้
หาคาตอบ เป็นขัน้ ตอนทีใ่ ห้นกั เรียนแสดงการหาคาตอบโดยเขียนเป็ นประโยคทางคณิตศาสตร์จาก
ประโยคสัญลักษณ์ทเ่ี ขียนไว้ ขัน้ ตรวจคาตอบ เป็ นขัน้ ตอนทีใ่ ห้นักเรียนแสดงว่าคาตอบทีไ่ ด้มานัน้
ถูกต้องตามทีโ่ จทย์ต้องการหรือไม่ การแก้ปญั หาเป็ นหัวใจของคณิตศาสตร์ (สมเดช บุญประจักษ์.
2540: 11;อ้างอิงจาก Lester.1977: 12 ) และเป็ นเป้าหมายสูงสุดของหลักสูตร การเรียนการสอน
คณิตศาสตร์ และเป็ นส่วนสาคัญของกิจกรรมทางคณิตศาสตร์ หลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
พุทธศักราช 2544 ได้ให้ความสาคัญของการแก้ปญั หาโดยกาหนดให้การแก้ปญั หาเป็ นทักษะที่
สาคัญและจาเป็ นอันดับแรกของทักษะ/กระบวนการคณิตศาสตร์ ทัง้ นี้เพราะการแก้ปญั หาทาง
คณิ ต ศาสตร์ช่ ว ยให้ ผู้เ รีย น พัฒ นาศัก ยภาพในการวิเ คราะห์ช่ ว ยกระตุ้ น การเรีย นรู้แ ละการ
สร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์แก่ผเู้ รียน นอกจากนี้การแก้ปญั หา ยังช่วยให้ผเู้ รียนเรียนรูข้ อ้ เท็จจริง
ทักษะ มโนมติ หลักการต่างๆทางคณิตศาสตร์ความสาเร็จในการแก้ปญั หาจะก่อให้เกิดการพัฒนา
คุณลักษณะทีต่ ้องการแก่ผเู้ รียน เช่น ความใฝ่รู้ ความอยากรูอ้ ยากเห็น สาหรับการเข้าสู่
กระบวนการแก้ปญั หาของนักเรียนจาเป็ นต้องอาศัยการตัง้ ปญั หา จากสถานการณ์ท่มี คี วาม
เหมาะสม ซึง่ กิจกรรมการเรียนการสอน ทีช่ ่วยส่งเสริมและพัฒนาความสามารถในการตัง้ ปญั หา
โดยการพัฒนาความสามารถในการตัง้ โจทย์ปญั หา ได้รบั การยอมรับโดยทัวไปว่ ่ าเป็ นเป้าหมายที่
สาคัญอย่างหนึ่งของการสอนและการเรียนคณิตศาสตร์ ซึ่งเป็ นหัวใจของการสอนคณิตศาสตร์
การตัง้ โจทย์ปญั หาจะประกอบด้วยปจั จัยหลัก ทีม่ สี ่วนส่งเสริมความสามารถของนักเรียน ในการ
แก้โจทย์ปญั หาคณิตศาสตร์ นอกจากนัน้ จากมุมมองของด้านการสอน การตัง้ โจทย์เป็ นการแสดง
ให้เห็นถึงความเข้าใจ ทักษะ และทัศนคติ ของคนตัง้ โจทย์ปญั หา นามาใส่ในสถานการณ์ทก่ี าหนด
และทาให้กลายเป็ นเครื่องมือประเมินที่ทรงพลังไม่แปลกเลยที่รายงานต่างๆที่ตี พมิ พ์โดยสภาครู
คณิตศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา (NCTM) ในปี 1989, 2000 ได้เรียกร้องให้มกี ารให้ความสาคัญ
ต่อการจัดกิจกรรมตัง้ โจทย์ปญั หาเป็ นอย่างมาก (Nicolaou; & Philipou. 2007: 50)
จากเหตุผลดังกล่าวมาข้างต้นทาให้ผวู้ จิ ยั มีความสนใจทีจ่ ะจัดการเรียนการสอนโดยใช้
แบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์สมการเชิงส้นตัวแปร
3

เดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ซึง่ ในการจัดการเรียนการสอน ดังกล่าวสามารถใช้เป็ น


แนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ให้เกิดประสิทธิภาพมาก
ยิง่ ขึน้

ควำมมุ่งหมำยของกำรศึกษำค้นคว้ำ
เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์สมการเชิง
เส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ทีไ่ ด้รบั การสอนโดยใช้แบบฝึก กับเกณฑ์

ควำมสำคัญของกำรศึกษำค้นคว้ำ
ผลการศึกษาค้นคว้าวิจยั ครัง้ นี้จะเป็ นแนวทางให้กบั ครูผสู้ อนคณิตศาสตร์ได้นาแบบฝึกไป
ใช้ในการพัฒนาความสามารถการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปร
เดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 นอกจากนัน้ ยังสามารถใช้เป็ นแนวทางในการปรับปรุงและ
พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรูว้ ชิ าคณิตศาสตร์ให้เหมาะสมกับผูเ้ รียนและเนื้อหาคณิตศาสตร์ ให้ม ี
ประสิทธิภาพยิง่ ขึน้

ขอบเขตของกำรศึกษำค้นคว้ำ
1. ประชำกร
ประชากรที่ใ ช้ใ นการศึกษาค้นคว้าครัง้ นี้ เป็ นนั กเรียนระดับชัน้ มัธ ยมศึกษาปี ท่ี 1
โรงเรียนพระหฤทัย คอนแวนต์ เขตคลองเตย จัง หวัดกรุง เทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปี
การศึกษา 2554 จานวน 4 ห้องเรียน จานวนนักเรียน 220 คน
2. กลุ่มตัวอย่ำง
กลุ่มตัวอย่างทีใ่ ช้ในการศึกษาค้นคว้าครัง้ นี้ เป็ นนั กเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 1
โรงเรียนพระหฤทัย คอนแวนต์ เขตคลองเตย จัง หวัดกรุง เทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปี
การศึกษา 2554 จานวน 1 ห้องเรียน จานวนนักเรียน 50 คน ได้มาโดยสุ่มแบบกลุ่ม
(Cluster random sampling) โดยใช้หอ้ งเรียนเป็นหน่วยในการสุ่ม (Sampling Unit)
3. เนื้ อหำที่ใช้ในกำรศึกษำค้นคว้ำ
เป็ นเนื้ อ หากลุ่ ม สาระคณิต ศาสตร์ เรื่อ ง โจทย์ส มการเชิง เส้น ตัว แปรเดีย ว ของ
นักเรียน ชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 1 ตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ เขต
คลองเตย กรุงเทพมหานคร ซึง่ ประกอบด้วยเรือ่ ง
4. ระยะเวลำดำเนิ นกำร
ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการศึกษาค้นคว้า ดาเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2554 ใช้เวลา 9 คาบ คาบละ 50 นาที โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ชัวโมงที
่ ่ 1-2 โจทย์สมการเกี่ยวกับการเปรียบเทียบจานวน
4

ชัวโมงที
่ ่ 3-4 โจทย์สมการเกีย่ วกับอายุ
ชัวโมงที
่ ่ 5-6 โจทย์สมการเกีย่ วกับเศษส่วน
ชัวโมงที
่ ่ 7-8 โจทย์ระคน
ชัวโมงที่ ่ 9 ทดสอบหลังเรียน
5. ตัวแปรที่ศึกษำ
1. ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ได้แก่
- การใช้แบบฝึก
2. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ได้แก่
- ความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์
นิ ยำมศัพท์เฉพำะ
1. แบบฝึ ก หมำยถึง สิง่ ที่สร้างขึน้ เพื่อเสริมสร้างทักษะให้แก่นักเรียนและเป็ นสื่อการ
เรียนสาหรับให้นักเรียนได้ทบทวน ฝึกฝนทักษะจนเกิดความชานาญ มีลกั ษณะเป็ นแบบฝึกหัดให้
นัก เรียนได้ นาไปใช้แ ก้ ป ญ ั หาทางคณิต ศาสตร์แบบฝึ ก ที่ผู้ว ิจยั สร้า งขึ้น เป็ น แบบฝึ ก ให้นัก เรีย น
วิเคราะห์โจทย์ปญั หาแบบอัตนัยเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับปญั หานัน้ ๆจนทาให้
ผู้เรียนสามารถมองเห็นแนวทางในการแก้ปญั หาได้ง่ายยิง่ ขึน้ แบบฝึ กที่สร้างขึน้ นาไปใช้กบั เรื่อง
โจทย์ส มการเชิงเส้น ตัว แปรเดียว ส าหรับ นัก เรีย นชัน้ มัธ ยมศึก ษาปี ท่ี 1 ซึ่ง แต่ ล ะแบบฝึ ก
ประกอบด้วย
* ชื่อแบบฝึก
* คาชีแ้ จงในการใช้แบบฝึก
* จุดประสงค์การเรียนรู้
* เวลาทีใ่ ช้ในการทาแบบฝึกวิเคราะห์โจทย์ปญั หา
* สื่อทีใ่ ช้ในการทาแบบฝึกเพื่อช่วยให้งา่ ยต่อการอธิบาย
* เนื้อหาเป็นส่วนทีเ่ สนอความรูใ้ ห้กบั นักเรียน
* กิจกรรมทีท่ าการวิเคราะห์เป็นแบบฝึกวิเคราะห์โจทย์ปญั หา
ประกอบไปด้วยขัน้ ตอนทีส่ าคัญในการวิเคราะห์โจทย์ปญั หา 4 ขัน้ ตอนได้แก่
1. ขัน้ ทาความเข้าใจปญั หา
- บอกใจความสาคัญของโจทย์
- บอกสิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
- บอกสิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ
2. ขัน้ วางแผนแก้ปญั หา
- เลือกวิธที ใ่ี ช้ในการคานวณ
- เขียนประโยคสัญลักษณ์
3. ขัน้ ดาเนินการตามแผน
5

- แสดงวิธกี ารคิดคานวณเพื่อหาคาตอบ
4. ขัน้ ตรวจสอบ
* การประเมินผลจากกิจกรรมทีท่ าการวิเคราะห์
2. ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำคณิ ตศำสตร์ หมำยถึง กระบวนการหาคาตอบ
ให้ก ับ ค าถามหรือ สถานการณ์ ต่ างๆที่กาหนดขึ้น ได้อ ย่า งเหมาะสมและถู กต้อ งซึ่ง กระบวนการ
ดังกล่าวได้มาจากการนาความรู้ ทักษะและประสบการณ์มาเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน โดยให้สอดคล้อง
กับปญั หาหรือสถานการณ์ใหม่ โดยกระบวนการต้องมีการดาเนินการอย่างเป็ นลาดับขัน้ ตอนขัน้ ตอน
โดยใช้กระบวนการแก้ปญั หาของโพลยา (Polya.1957:16–17) ทีป่ ระกอบด้วยขัน้ ตอนทีส่ าคัญ 4
ขัน้ ตอน ได้แก่
1.ขัน้ ทาความเข้าใจปญั หา เป็ นขัน้ เริม่ ต้นของการแก้ปญั หา ทีต่ ้องอาศัยทักษะใน
การอ่านโจทย์ ทักษะการแปลความทางภาษาการหาแบบจาลอง
2.ขัน้ วางแผนแก้ปญั หา เป็ นขัน้ ตอนทีส่ าคัญทีส่ ุด ให้ผเู้ รียนแสวงหาทางเลือกใน
การแก้ปญั หาอย่างหลากหลาย ด้วยการทดลอง ด้วยการลองผิด – ลองถูก เพื่อกาหนดแนวทาง
หรือแผนในการแก้ปญั หา และท้ายสุดเลือกยุทธวิธที จ่ี ะนามาแก้ปญั หา
3.ขัน้ ดาเนินการตามแผน เป็ นขัน้ ตอนทีต่ ้องอาศัยทักษะในการคิดคานวณ ทักษะใน
การพิสจู น์หรือการอธิบายและการให้เหตุผล โดยเริม่ จากการตรวจสอบความเป็ นไปได้ ตามแผน
พร้อมลงรายละเอียด และลงมือปฏิบตั จิ นกระทัง้ สามารถตอบคาถามได้
4.ขัน้ ตรวจสอบ เป็ นขัน้ ตอนการตรวจสอบผลลัพธ์ท่หี าได้ โดยอาศัยความรูส้ กึ เชิง
จานวนหรือความรูส้ กึ เชิงปริภูม ิ สาหรับนักเรียนที่คาดเดาคาตอบ ก่อนลงมือปฏิบตั ิ ก็สามารถ
เปรียบเทียบหรือตรวจสอบความสมเหตุของคาตอบทีค่ าดเดา กับคาตอบจริงในขัน้ ตอนนี้ได้ ซึง่
ประเมินได้จากการทาแบบทดสอบความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์
ทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ เป็นอัตนัยจานวน 8 ข้อ
3. เกณฑ์ หมำยถึง ความต้องการขัน้ ต่ าสุดทีจ่ ะยอมรับว่านักเรียนมีความสามารถใน
แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ ในเรือ่ ง โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ในทีน่ ้ีใช้เกณฑ์รอ้ ยละ 60 ขึน้
ไปของคะแนนเต็ม กล่าวคือ ถ้านักเรียนได้คะแนนในการทาแบบทดสอบความสามารถในการ
แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ ตัง้ แต่รอ้ ยละ 60 ขึน้ ไป ของคะแนนเต็มถือว่าผูน้ นั ้ สอบผ่านเกณฑ์
(สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา.2552:25) ซึง่ มีดงั ต่อไปนี้
ได้ช่วงคะแนนร้อยละ 80 – 100 อยูใ่ นระดับดีเยีย่ ม
ได้ช่วงคะแนนร้อยละ 75 – 79 อยูใ่ นระดับดีมาก
ได้ช่วงคะแนนร้อยละ 70 – 74 อยูใ่ นระดับดี
ได้ช่วงคะแนนร้อยละ 65 – 69 อยูใ่ นระดับค่อนข้างดี
ได้ช่วงคะแนนร้อยละ 60 – 64 อยูใ่ นระดับปานกลาง
ได้ช่วงคะแนนร้อยละ 55 – 59 อยูใ่ นระดับพอใช้
6

ได้ช่วงคะแนนร้อยละ 50 – 54 อยูใ่ นระดับผ่านเกณฑ์ขนั ้ ต่า


ได้ช่วงคะแนนร้อยละ 0 – 49 อยูใ่ นระดับต่ากว่าเกณฑ์

กรอบแนวคิ ดในกำรวิ จยั


การวิจยั ครัง้ นี้ ได้ศกึ ษาแนวคิดการจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้แบบฝึกตามกระบวนการ
แก้ปญั หาของโพลยา ซึง่ เป็ นรูปแบบการจัดการเรียนรูท้ น่ี าไปสู่การพัฒนาความสามารถในการ
แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์

ควำมสำมำรถในกำร
กำรใช้แบบฝึ ก แก้ปัญหำทำงคณิ ตศำสตร์

ภาพประกอบ 1 กรอบแนวคิดการวิจยั

สมมติ ฐำนของกำรศึกษำค้นคว้ำ
ความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 หลัง
การใช้แบบฝึก เรือ่ ง การแก้โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สูงกว่าเกณฑ์ (ร้อยละ 60)
บทที่ 2
เอกสารและงานวิ จยั ที่เกี่ยวข้อง

ในการวิจยั ครัง้ นี้ ผูว้ จิ ยั ได้ศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับการใช้แบบฝึก


ความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 และได้
นาเสนอตามหัวข้อต่อไปนี้
1. เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับแบบฝึก
1.1 ความหมายของแบบฝึก
1.2 ประโยชน์ของแบบฝึก
1.3 ลักษณะของแบบฝึก
1.4 หลักในการสร้างแบบฝึก
1.5 จิตวิทยาทีเ่ กีย่ วข้องกับการสร้างแบบฝึก
1.6 งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับแบบฝึก
2. เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้องกับความสามารถในการแก้ปญั หาคณิตศาสตร์
2.1 ความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์
2.2 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทีเ่ อื้อต่อการพัฒนาความสามารถในการ
แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์
2.3 ปจั จัยทีส่ ่งผลต่อความสามารถทางคณิตศาสตร์
2.4 แนวทางการพัฒนาความสามารถในการแก้ปญั หาคณิตศาสตร์
2.5 บทบาทของครูในการพัฒนาความสามารถในการแก้ปญั หาคณิตศาสตร์
2.6 งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับความสามารถในการแก้ปญั หาคณิตศาสตร์

1. เอกสารและงานวิ จยั ที่เกี่ยวข้องกับแบบฝึ ก


1.1 ความหมายของแบบฝึ ก
การเรียนการสอนในปจั จุบนั การฝึกมีความจาเป็ นในการช่วยพัฒนาการแก้โจทย์ปญั หา
เพราะช่วยเสริมให้ผเู้ รียนเกิดทักษะ และเข้าใจในบทเรียนมากขึน้ ผูเ้ รียนยังสามรถแก้ไขข้อบกพร่ อง
ทางการเรียนด้วยการฝึ กจากแบบฝึ กที่ครูสร้างขึน้ แบบฝึ กมีผู้เรียกแตกต่างกันไป เช่นแบบฝึ ก
ชุดฝึก ชุดการสอน ชุดการฝึก ซึง่ ในการศึกษาค้นคว้าครัง้ นี้ผวู้ จิ ยั ใช้ช่อื แบบฝึกในการแก้ปญั หา
ทางคณิตศาสตร์ ซึง่ มีผกู้ ล่าวถึงความหมายของแบบฝึกไว้ดงั นี้
เว็บสเตอร์ (Webster.1979:640)ได้กล่าวถึงความหมายของแบบฝึ กว่าแบบฝึ กหมายถึง
โจทย์ปญั หา หรือตัวอย่างทีย่ กมาจากหนังสือเพื่อนามาสอนหรือให้ผเู้ รียนได้ฝึกฝนทักษะต่างๆให้ดี
ขึน้ หลังจากทีเ่ รียนในบทเรียน
8

ราชบัณฑิตยสถาน (2525:483) ให้ความหมายของ แบบฝึ ก หมายถึง แบบฝึกหัดหรือ


ชุดการสอนทีเ่ ป็ นแบบฝึกทีใ่ ช้ตวั อย่างปญั หาหรือคาสังที ่ ต่ งั ้ ขึน้ เพื่อให้นกั เรียนฝึกตอบ
ชัยวงค์ พรหมวงศ์ (2528:123) ได้กล่าวถึงความหมายของแบบฝึกไว้สรุปได้ว่าหมายถึง
สิง่ ที่นักเรียนต้องใช้ควบคู่กบั การเรียนเป็ นแบบฝึ กหัดครอบคลุมกิจกรรมที่นักเรี ยนพึงกระทาอาจ
กาหนดแยกเป็นแต่ละหน่วย หรือออาจรวมเล่มก็ได้
กติกา สุวรรณสมพงศ์ (2541:40) กล่าวว่า แบบฝึ ก หมายถึง การจัดประสบการณ์การ
ฝึ กหัดโดยใช้วสั ดุประกอบการสอนหรือเป็ นกิจกรรมให้ผู้เรียนกระทาด้วยตนเองเพื่อฝึ กฝนเนื้อหา
ต่างๆทีไ่ ด้เรียนไปแล้วให้เข้าใจดีขน้ึ และเกิดความชานาญจนสามารถทาและนาไปใช้ได้โดยอัตโนมติ
ชุลพี ร แจ่มถนอม (2542:29) กล่าวว่า แบบฝึกเป็ นสื่อประกอบการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนซึ่งช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรูจ้ ากการปฏิบตั ดิ ้วยตนเองได้ฝึกทักษะเพิม่ เติมจากเนื้อหา
โดยมีครูเป็นผูแ้ นะนา
อัง ศุ ม าลิน เพิ่ม ผล (2542:8) ได้ ส รุ ป ไว้ ว่ า แบบฝึ ก หมายถึ ง งาน กิ จ กรรมหรือ
ประสบการณ์ทค่ี รูจดั ให้นักเรียนได้ฝึกหัดกระทาเพื่อทบทวนฝึกฝนเนื้อหาความรู่ต่างๆทีไ่ ด้เรียนไป
แล้วจนสามารถปฏิบตั ไิ ด้ดว้ ยความชานาญและให้ผเู้ รียนสามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้
เตือนใจ ตรีเนตร (2544:53-54) ได้สรุปว่าแบบฝึกเป็ นสื่อประกอบการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอน ซึง่ ช่วยให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรูจ้ ากการปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง ได้ฝึกทักษะเพิม่ เติมจาก
เนื้อหา จนปฏิบตั ไิ ด้อย่างชานาญและให้ผเู้ รียนสามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้
ปฐมพร บุญลี (2545:43) ได้ให้ความหมายของแบบฝึกไว้ว่า แบบฝึกทักษะ หมายถึงสิง่ ที่
ผูส้ อนมอบหมายให้ผเู้ รียนกระทาเพื่อฝึกฝนเนื้อหาต่างๆ ทีไ่ ด้เรียนไปแล้วให้เกิดความชานาญมาก
ขึน้ และให้ผเู้ รียนสามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้
พรพรหม อัตตวัฒนากุล (2547:18) ได้ให้ความหมายของแบบฝึกไว้ว่า แบบฝึก หมายถึง
สิง่ ทีผ่ สู้ อนมอบหมายให้ผเู้ รียนกระทา เพื่อฝึกฝนเนื้อหาต่างๆ เพื่อให้เกิดความชานาญ และสามารถ
นาไปแก้ปญั หาได้
จากความหมายของแบบฝึกข้างต้นพอทีจ่ ะสรุปได้ว่า แบบฝึกเป็นสิง่ ทีส่ ร้างขึน้ เพื่อ
เสริมสร้างทักษะให้แก่นกั เรียนและเป็ นสื่อการเรียนสาหรับให้นกั เรียนได้ทบทวน ฝึกฝนทักษะจน
เกิดความชานาญ มีลกั ษณะเป็นแบบฝึกหัดให้นกั เรียนได้กระทากิจกรรมโดยมีจดุ มุง่ หมายเพื่อ
พัฒนาความสามารถของนักเรียนให้ดขี น้ึ
1.2 ประโยชน์ของแบบฝึ ก
แพตตี้ (Patty.1963:469–472)ได้ก ล่ า วถึง ประโยชน์ ข องแบบฝึ ก ต่ อ การเรีย นรู้ไ ว้ 10
ประการ คือ
1.เป็นส่วนเพิม่ เติมหรือเสริมสร้างในการเรียนทักษะเป็นอุปกรณ์การสอนทีช่ ่วยลดภาระ
ของครู เพราะแบบฝึกเป็นสิง่ ทีจ่ ดั ทาขึน้ อย่างเป็นระบบหรือมีระเบียบ
9

2.ช่ว ยเสริมทักษะการใช้ภาษาเป็ นเครื่อ งมือ ที่ช่วยนักเรียนในการฝึ กทักษะทางการใช้


ภาษาให้ดขี น้ึ แต่ทงั ้ นี้จะต้องอาศัยการส่งเสริมและเอาใจใส่จากครูผสู้ อนด้วย
3.ช่วยในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคล เนื่องจากนักเรียนมีความสามารถทางภาษา
แตกต่างกัน การให้นัก เรียนทาแบบฝึ กที่เหมาะสมกับความสามารถของเขาจะช่ว ยให้นักเรียน
ประสบความสาเร็จมากขึน้
4.แบบฝึ ก ช่ ว ยเสริม ให้ท ัก ษะทางภาษาคงทนลัก ษณะของการฝึ ก เพื่อ ช่ ว ยให้เ กิด ผล
ดังกล่าวนัน้ ได้แก่
4.1 ฝึกทันทีหลังจากทีน่ กั เรียนได้เรียนรูเ้ รือ่ งนัน้ ๆ
4.2 ฝึกซ้าหลายๆครัง้
4.3 เน้นเฉพาะเรือ่ งทีต่ อ้ งการฝึก
5.แบบฝึกทีใ่ ช้จะเป็นเครือ่ งวัดผลการเรียนหลังจากจบบทเรียนในแต่ละครัง้
6.แบบฝึ กที่จดั ขึน้ เป็ นรูปเล่ม นักเรียนสามารถเก็บรักษาไว้ใช้เป็ นแนวทางเพื่อทบทวน
ด้วยตนเองต่อไป
7.การให้นักเรียนทาแบบฝึ กหัดช่วยให้ครูมองจุดเด่น หรือปญั หาต่างๆของนักเรียนได้
ชัดเจน ซึง่ จะช่วยให้ครูดาเนินการปรับปรุงแก้ไขปญั หานัน้ ๆได้ทนั ท่วงที
8.แบบฝึกทีจ่ ดั ขึน้ นอกเหนือจากทีม่ อี ยูใ่ นหนังสือเรียนจะช่วยให้นกั เรียนฝึกฝนอย่างเต็มที่
9.แบบฝึกทีจ่ ดั พิมพ์ไว้เรียบร้อยแล้วจะช่วยทาให้ครูประหยัดทัง้ แรงงานและเวลาในการที่
จะต้องเตรียมสร้างแบบฝึกอยูเ่ สมอ ในด้านผูเ้ รียนก็ไม่ต้องเสียเวลาในการลอกแบบฝึกหัดจากตารา
เรียนหรือกระดานดา ทาให้มเี วลาและโอกาสได้ฝึกทักษะต่างๆมากขึน้
10.แบบฝึ กช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายและยังมีประโยชน์ ในการที่ผู้เรียนสามารถบันทึกและ
มองเห็นความก้าวหน้าของตนเองได้อย่างมีระบบและเป็นระเบียบ
ธนู แสวงศักดิ ์ (2514:132)ได้กล่าวประโยชน์ของแบบฝึ กไว้ว่า การให้แบบฝึ กแก่
นักเรียนนับเป็ นสิง่ หนึ่งที่จะช่วยให้การเรียนการสอนได้ผลดียงิ่ ขึน้ ด้วย ในการเรียนการสอนวิชา
คณิตศาสตร์ ครูผู้สอนใช้วธิ สี อนโดยการอธิบายตัวอย่างแล้วให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดซึ่งแสดงให้
เห็นว่า การสอนคณิตศาสตร์จะขาดการทาแบบฝึกหัดไม่ได้เลย
รัชนี ศรีไพรวรรณ (2517:189) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของแบบฝึกทักษะไว้ว่า
1.ทาให้นัก เรียนเข้าใจในบทเรียนดีข้นึ เพราะแบบฝึ กทักษะจะเป็ นเครื่ อ งมือ ทบทวน
ความรูท้ ไ่ี ด้เรียน และทาให้เกิดความชานาญ คล่องแคล่วในเนื้อหาวิชาเหล่านัน้ ยิง่ ขึน้
2.ทาให้ครูทราบความเข้าใจของนักเรียนทีม่ ตี ่อบทเรียน ซึง่ จะช่วยให้ครูสามารถปรับปรุง
เนื้อหาวิธสี อน และกิจกรรมในแต่ละบทเรียน ตลอดจนสามารถช่วยนักเรียนให้เรียนได้ดที ส่ี ุดตาม
ความสามารถของตน
3.ฝึกให้นกั เรียนทางานตามลาพัง โดยมีความรับผิดชอบในงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
10

ดวงเดือน อ่อนน่วม และคณะ(2536:36) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของแบบฝึกไว้ดงั นี้


1.ช่ ว ยเสริม สร้า งและเพิ่ม พู น ความรู้ค วามเข้า ใจความจ า แนวทางและทัก ษะในการ
แก้ปญั หาแก่นกั เรียน
2.ใช้เป็นเครือ่ งมือประเมินผลการสอนของครูทาให้ทราบข้อบกพร่องในการสอนแต่ละเรื่อง
แต่ละตอนและสามารถปรับปรุงแก้ไขได้ตรงจุด
3.ใช้เป็ นเครื่องมือประเมินผลการเรียนของนักเรียนทาให้ครูทราบข้อบกพร่องจุดอ่อนของ
นักเรียนแต่ละคนในแต่ละเรือ่ งแต่ละตอนและสามารถคิดหาทางช่วยเหลือแก้ไขได้ทนั ท่วงทีและช่วย
ให้นกั เรียนทราบจุดอ่อนข้อบกพร่องของตนเองเพื่อหาทางปรับปรุงแก้ไขเช่นกัน
4.ช่วยกระตุน้ ให้นกั เรียนอยากทาแบบฝึกหัด
5.ช่วยให้นกั เรียนได้ฝึกฝนทักษะได้อย่างเต็มที่ และตรงจุดทีต่ อ้ งการฝึกหัด
6.ช่วยให้นกั เรียนเกิดความเชื่อมันในตนเอง
่ คิดอย่างมีเหตุผล แสดงความคิดออกมาอย่าง
มีระเบียบชัดเจนและรัดกุม
7.เป็นการประหยัดเงินและเวลา
จากทีก่ ล่าวมาข้างต้นสามารถสรุปประโยชน์ของแบบฝึกได้ดงั นี้
1.แบบฝึ กช่วยเสริมสร้างทักษะ ทบทวนความรู้ ทาให้เกิดความชานาญในเนื้อหาวิชา
เหล่านัน้ มากยิง่ ขึน้
2.แบบฝึ ก ยังช่ว ยให้ค รูทราบถึงความเข้าใจของนักเรียนที่มตี ่อ บทเรียน ช่ว ยให้ค รูได้
พัฒนาแบบฝึกได้เหมาะสมกับความแตกต่างของแต่ละบุคคล
3.แบบฝึกยังช่วยลดภาระงานของครู
1.3 ลักษณะของแบบฝึ ก
บิลโลว์ ( Billow.1962:87) กล่าวถึงลักษณะของแบบฝึกทีด่ นี นั ้ จะต้องดึงดูดความสนใจและ
สมาธิของนัก เรียน เรียงล าดับจากง่ายไปยากเปิ ดโอกาสให้นักเรียนฝึ กเฉพาะอย่าง ใช้ภาษา
เหมาะสมกับวัย วัฒนธรรมประเพณี ภูมหิ ลังทางภาษาของนักเรียน แบบฝึ กทีด่ คี วรเป็ นแบบฝึ ก
สาหรับนักเรียนทีเ่ รียนเก่ง และซ่อมเสริมนักเรียนทีเ่ รียนอ่อนในขณะเดียวกัน นอกจากนี้แล้วควร
ใช้หลายลักษณะ และมีความหมายต่อผูฝ้ ึกอีกด้วย
รีเวอร์ส (Rivers.1968:97–105) กล่าวถึงลักษณะของแบบฝึกไว้ดงั นี้
1.บทเรียนทุกเรือ่ งควรให้นกั เรียนได้มโี อกาสฝึกมากพอก่อนจะเรียนเรือ่ งต่อไป
2.แต่ละบทควรฝึกโดยใช้เพียงแบบฝึกเดียว
3.ฝึกโครงสร้างใหม่กบั สิง่ ทีเ่ รียนมาแล้ว
4.สิง่ ทีฝ่ ึกแต่ละครัง้ ควรเป็นแบบฝึกสัน้ ๆ
5.ประโยคและคาศัพท์ควรเป็นแบบทีใ่ ช้พูดกันในชีวติ ประจาวัน
6.แบบฝึกควรให้นกั เรียนได้ใช้ความคิดไปด้วย
7.แบบฝึกควรมีหลายๆแบบเพื่อไม่ให้นกั เรียนเกิดความเบื่อหน่าย
11

8.การฝึกควรฝึกให้นกั เรียนนาสิง่ ทีเ่ รียนมาแล้วสามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้


ฮาร์เลส (Harless1978:93-94) กล่าวถึงลักษณะของแบบฝึ กไว้ว่าการเขียนแบบฝึ กต้อง
แน่ใจในภาษาทีใ่ ช้ให้เหมาะสมกับนักเรียนและควรสร้างโดยใช้หลักจิตวิทยาดังนี้
1.ใช้แบบฝึกหลายชนิด เพื่อเร้าให้นกั เรียนเกิดความสนใจ
2.แบบฝึกทีจ่ ดั ทาขึน้ นัน้ ต้องให้นกั เรียนสามารถแยกออกมาพิจารณาได้ว่าแต่ละแบบแต่ละ
ข้อต้องการอะไร
3.คาชีแ้ จงสัน้ ๆทีท่ าให้นกั เรียนเข้าใจวิธไี ด้งา่ ย
4.ใช้เวลาเหมาะสม คือ ไม่ใช้เวลานานหรือสัน้ เกินไป
5.เป็นสิง่ ทีน่ ่าสนใจ และท้าทายให้แสดงความสามารถ
บาร์เนท (Barrnett.1998;12) กล่าวถึงลักษณะแบบฝึ กว่า แบบฝึ กที่ดคี วรมีขอ้ แนะนาใน
การใช้คาหรือข้อความทีใ่ ห้ฝึกควรมีจากัดคาสังหรื ่ อตัวอย่างทีย่ กมาควรชัดเจนและไม่ยากจนเกินไป
ถ้าต้องการให้ผฝู้ ึกศึกษาด้วยตนเองแบบฝึก ก็ควรมีรปู แบบและแต่ละรูปแบบก็ควรให้มคี วามหมาย
แก่ผฝู้ ึกด้วย
วลี สุมพิ นั ธ์ (2530:189–190) ได้กล่าวถึงลักษณะทีด่ ขี องแบบฝึกว่าต้องมีลกั ษณะดังนี้
1.เกีย่ วข้องกับบทเรียนทีเ่ รียนมาแล้ว
2.เหมาะสมกับระดับวัย และระดับความสามารถของนักเรียน
3.มีคาชีแ้ จงสัน้ ๆทีจ่ ะทาให้นกั เรียนเข้าใจวิธที าได้งา่ ยคาชีแ้ จงหรือคาสังต้
่ องกะทัดรัด
4.ใช้เวลาเหมาะสม คือไม่ใช้เวลานานหรือสัน้ เกินไป
5.เป็นทีน่ ่าสนใจและท้าทายให้แสดงความสามารถ
วิชยั เพ็ชรเรือง (2531:73) ได้เสนอแนวคิดเกีย่ วกับลักษณะทีด่ ขี องแบบฝึกว่า
1.แบบฝึกแต่ละแบบฝึกควรใช้จติ วิทยาเข้ามาช่วย เช่น มีการสร้างแรงจูงใจให้กบั
นักเรียน เกิดความอยากรูอ้ ยากเห็น และกระตือรือร้น ทีอ่ ยากจะกระทากิจกรรมนัน้ ๆและเมื่อจบ
การฝึ ก แต่ ล ะครัง้ ควรมีก ารเสริมแรงให้นักเรีย นทุกครัง้ เพื่อ ที่นักเรียนจะได้อ ยากทาในกิจกรรม
ต่อๆไป เมือ่ ตนเองประสบผลสาเร็จ
2.การสร้างแบบฝึกแต่ละครัง้ ควรให้นกั เรียนมีส่วนร่วมด้วย เพื่อจะได้เกิดความรูส้ กึ
ภูมใิ จทีไ่ ด้เป็นเจ้าของกิจกรรมและเต็มใจทีจ่ ะกระทากิจกรรมนัน้ ๆให้บรรลุเป้าหมาย
1.สานวนภาษา ไม่ควรใช้คายากเกินไป เพราะจะเกิดความท้อถอยและไม่ง่ายจนเกิด
ความเบื่อหน่าย
2.แบบฝึกควรให้ฝึกในสิง่ ที่เกี่ยวข้องใกล้ชดิ กับตัวผูเ้ รียนมีความหมายต่อผู้เรียนเพื่อ
จะได้นาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้ และนักเรียนจะสามารถปรับเข้าสู่โครงสร้า งทางความคิดของตนได้
ง่าย
3.คาสัง่ หรือตัวอย่างไม่ควรยาวเกินไปเพราะจะทาให้เข้าใจยากทัง้ นี้เพื่อนักเรียนจะได้
ศึกษาด้วยตนเองได้ตามต้องการ
12

ชุลพี ร แจ่มถนอม (2542:31) กล่าวว่า ลักษณะของแบบฝึกทีด่ จี ะต้องเรียงลาดับจากง่าย


ไปหายาก มีคาสังและค ่ าอธิบายชัดเจนมีเ นื้อหารูปแบบน่ าสนใจ ซึง่ จะต้องอาศัยหลักจิตวิทยาเพื่อ
ไม่ ใ ห้ นั ก เรีย น เกิ ด ความเบื่อ หน่ า ยและนั ก เรีย นสามารถน าสิ่ง ที่เ รีย น ไปใช้ ป ระโยชน์ ใ น
ชีวติ ประจาวันได้
จากข้อความดังกล่าวข้างต้น ลักษณะของแบบฝึกทีด่ สี ามารถสรุปได้ว่า
1.แบบฝึ ก ควรเหมาะสมกับ ระดับ วัยและความสามารถของผู้เ รียนและควรเป็ นเรื่อ งที่
เกีย่ วข้องกับบทเรียนทีเ่ รียนมาแล้วมีคาแนะนาทีช่ ดั เจน
2.แบบฝึ ก ควรฝึ ก จากง่ า ยไปหายาก มีรู ป แบบที่ห ลากหลาย น่ า สนใจ ท้ า ทาย
ความสามารถ และสามารถนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้
1.4 หลักในการสร้างแบบฝึ ก
บัทส์ (Butts.1974:85) เสนอหลักการสร้างแบบฝึกไว้ดงั นี้
1.ก่ อ นที่จ ะสร้า งแบบฝึ ก จะต้อ งก าหนดโครงร่า งไว้ค ร่า วๆก่ อ น ว่ า จะเขีย นแบบฝึ ก
เกีย่ วกับเรือ่ งอะไร มีวตั ถุประสงค์อย่างไร
2.ศึกษางานและเอกสารทีเ่ กีย่ วข้องกับเรือ่ งทีจ่ ะฝึก
3.เขียนวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมและเนื้อหาให้สอดคล้องกัน
4.แจ้งวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมออกเป็ นกิจกรรมย่อยโดยคานึงถึงความเหมาะสมของ
ผูเ้ รียน
5.กาหนดอุปกรณ์ทจ่ี ะใช้ในกิจกรรมแต่ละตอนให้เหมาะสมกับแบบฝึก
6.กาหนดเวลาทีใ่ ช้ในแบบฝึกแต่ละตอนให้เหมาะสม
7.กาหนดวิธกี ารประเมินผลว่าจะประเมินผลก่อนเรียนหรือหลังเรียน
ฮาเรส (Haress.1978:93-94)ได้กล่าวถึง หลักการสร้างแบบฝึกว่าแบบฝึกจะต้องใช้ภาษา
ให้เหมาะสมกับนักเรียนและควรสร้างโดยอาศัยหลักจิตวิทยาในการแก้ปญั หา และการตอบสนองไว้
ดังนี้
1.สร้างแบบฝึกหลายๆชนิด เพื่อเร้าให้นกั เรียนเกิดความสนใจ
2.แบบฝึกทีส่ ร้างขึน้ นัน้ จะต้องให้นกั เรียนสามารถพิจารณาได้ว่าต้องการให้นกั เรียนทา
อะไร
3.ให้นกั เรียนได้นาสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรูจ้ ากการเรียนมาตอบในแบบฝึกให้ตรงตามเป้าหมาย
4.ให้นกั เรียนตอบสนอง สิง่ เร้าด้วยการแสดงความสามารถและความเข้าใจในการฝึก
5.กาหนดให้ชดั เจนว่าจะให้นกั เรียนตอบแบบฝึกแต่ละชนิด แต่ละรูปแบบด้วยวิธกี าร
ตอบอย่างไร
วรนาถ พ่วงสุวรรณ (2518:34–37) ได้กล่าวถึงหลักในการสร้างแบบฝึกซึง่ สรุปได้ดงั นี้
13

1. ตัง้ วัตถุประสงค์
2. ศึกษาเกีย่ วกับเนื้อหา
3. ขัน้ ตอนในการสร้างแบบฝึก
3.1 ศึกษาปญั หาในการเรียนการสอน
3.2 ศึกษาจิตวิทยาเกีย่ วกับการเรียนการสอนและจิตวิทยาพัฒนาการ
3.3 ศึกษาเนื้อหาวิชา
3.4 ศึกษาลักษณะของแบบฝึก
3.5 วางโครงเรือ่ งและกาหนดรูปแบบของการฝึกให้ครบตามทีก่ าหนดไว
3.6 เลือกเนื้อหาต่างๆทีเ่ หมาะสมมาบรรจุในแบบฝึกให้ครบตามทีก่ าหนดไว้
โรจนา แสงรุ่งเรือง (2531:20) กล่าวว่า การสร้างแบบฝึ กให้ดมี ปี ระสิทธิภาพครูต้อ ง
คานึงถึงตัวนักเรียนเป็ นสาคัญ โดยดูความพร้อม ระดับสติปญั ญา ความสามารถ ความเหมาะสม
ในการใช้สานวนภาษา ตลอดจนเนื้อหาและระยะเวลาในการทาแบบฝึก ซึง่ จะทาให้นักเรียนสนใจที่
จะนาเอาแบบฝึกทีค่ รูสร้างขึน้ มาแก้ไขข้อบกพร่องหรือส่งเสริมทักษะทางภาษาให้ดยี งิ่ ขึน้
วิชยั เพ็ชรเรือง (2531:17) ได้สรุปในการทาแบบฝึกว่า ควรมีลกั ษณะดังนี้
1.แบบฝึกต้องมีเอกภาพและความสมบูรณ์ในตัวเอง
2.เกิดจากความต้องการของผูเ้ รียนและสังคม
3.ครอบคลุมหลายลักษณะวิชาโดยบูรณาการให้เข้ากับการอ่าน
4.ใช้แนวคิดใหม่ในการจัดกิจกรรม
5.สนองความสนใจใคร่รแู้ ละความสามารถของผูเ้ รียน ส่งเสริมให้ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการ
เรียนเต็มที่
6.คานึงถึงพัฒนาการและวุฒภิ าวะของผูเ้ รียน
7.เน้นการแก้ปญั หาครูและนักเรียนได้มโี อกาสวางแผนงานร่วมกัน
8.แบบฝึกควรเป็นสิง่ ทีน่ ่าสนใจ คือเป็นสิง่ ทีม่ คี วามแปลกใหม่สามารถปรับเข้าสู่โครงสร้าง
ทางความคิดของผูเ้ รียนได้
ฉวีวรรณ กีรติกร (2537:11-12) ได้กล่าวถึงหลักในการสร้างแบบฝึกไว้ดงั นี้
1.แบบฝึ กทีส่ ร้างขึน้ นัน้ ควรสอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการและลาดับขัน้ ตอนการเรียนรู้
ของผูเ้ รียน เด็กทีเ่ ริม่ เรียนมีประสบการณ์น้อยจะต้องสร้างแบบฝึกทีน่ ่ าสนใจและจูงใจผูเ้ รียนโดยการ
เริม่ จากข้อทีง่ า่ ยไปหายากเพื่อให้ผเู้ รียนมีกาลังใจทาแบบฝึกหัด
2.ให้แบบฝึกหัดทีต่ รงกับจุดประสงค์ทต่ี ้องการฝึกและต้องมีเวลาเตรียมการไว้ล่วงหน้าอยู่
เสมอ
3.แบบฝึกหัดควรมุง่ เสริมนักเรียนแต่ละกลุ่มตามความสามารถทีแ่ ตกต่างกันของผูเ้ รียน
4.แบบฝึกหัดแต่ละชุดควรมีคาชีแ้ จงง่ายๆ สัน้ ๆเพื่อให้ผเู้ รียนเข้าใจหรือมีตวั อย่างแสดงวิธ ี
ทาจะช่วยให้เข้าใจได้ดยี งิ่ ขึน้
5.แบบฝึกจะต้องถูกต้องครูจะต้องพิจารณาให้ดอี ย่าให้มขี อ้ ผิดพลาดได้
14

6.แบบฝึกควรมีหลายๆแบบเพื่อให้ผเู้ รียนได้แนวคิดทีก่ ว้างไกล


จากหลักการสร้างแบบฝึกทีก่ ล่าวมาทัง้ หมด สรุปได้ว่า
1.การสร้างแบบฝึ กคือต้องกาหนดวัตถุประสงค์ทจ่ี ะฝึ กให้แน่ นอนว่าจะฝึ กเรื่องอะไร แล้ว
จัดเนื้อหาให้สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์
2.สร้างแบบฝึ กให้เหมาะสมกับวัยและระดับความสามารถของผู้เรียนและแบบฝึ กควรมี
หลายรูปแบบ
3.เปิดโอกาสให้นกั เรียนได้แสดงความคิดเห็นได้อย่างกว้างขวาง
1.5 หลักจิ ตวิ ทยาที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบฝึ ก
พรรณี ชูชยั (2522:192–195) ได้สรุปแนวคิดของนัก จิตวิทยาทีเ่ กี่ยวข้องกับแบบฝึกว่า
ควรประกอบด้วย
1.กฎแห่งผลของธอร์นไดค์ (Thorndike)แบบฝึกทีส่ ร้างขึน้ ตามหลักจิตวิทยาข้อนี้จงึ ต้องให้
นักเรียนสามารถทาแบบฝึกนัน้ ได้พอสมควร และควรมีคาเฉลยให้นักเรียนสามารถตรวจคาตอบได้
หลังจากทาแบบฝึกหัดเสร็จแล้ว
2.การฝึ กหัดของวัตสัน (Watson) การสร้างแบบฝึ กตามหลักจิตวิทยานี้จงึ ควรเน้นให้ม ี
การกระทาซ้าๆเพื่อให้จาได้นาน และสามารถเขียนได้ถูก เพราะการเขียนเป็ นทักษะที่ต้องฝึ กหัด
อยูเ่ สมอ
3.การเสริมแรงของธอร์นไดค์ (Thorndike) ในการสอนฝึกทักษะ ครูจงึ ควรให้การ
เสริมแรงโดยการให้กาลังใจอย่างดีแก่นกั เรียน เพื่อให้นกั เรียนเกิดความภาคภูมใิ จในตนเองและรูส้ กึ
ประสบผลสาเร็จในงานทีท่ า
4.แรงจูงใจ เป็นสิง่ สาคัญในการเรียน ครูตอ้ งกระตุน้ ให้นกั เรียนตื่นตัวอยากรูอ้ ยากเห็น
แบบฝึกทีน่ ่าสนใจจะเป็นแรงจูงใจอย่างหนึ่งทีท่ าให้นกั เรียนอยากทา อยากฝึกและเกิดการเรียนรู้
จากหลักจิตวิทยาในการสร้างแบบฝึ กที่กล่าวมาข้างต้น พอสรุปได้ว่าการสร้างแบบฝึ ก
ควรสร้า งให้ เ หมาะสมกับ ความสามารถและวัย ของผู้ เ รีย น แบบฝึ ก ควรดึง ดู ด ใจ ท้ า ทาย
ความสามารถและให้นกั เรียนฝึกฝนบ่อยๆ
สุจริต เพียรชอบ และ สายใจ อินทรัมพรรย์ (2523:52–62) กล่าวถึงหลักจิตวิทยาทีใ่ ช้ใน
การสร้างแบบฝึกมีดงั นี้
1.กฎการเรียนของธอร์นไดค์ (Thorndike) เกี่ยวกับกฎการฝึ กหัดซึ่งสอดคล้อ งกับการ
ทดลองของ วัต สัน (Watson) นัน่ คือ สิง่ ใดก็ต ามที่มกี ารฝึ กหัดหรือ กระทาบ่อยๆย่อ มทาให้ผู้ฝึ ก
คล่องแคล่วสามารถทาได้ดี ในทางตรงกันข้ามสิง่ ใดก็ตามทีไ่ ม่ได้รบั การฝึกหัดทอดทิ้งไปนานย่อม
ทาได้ไม่ดเี หมือนเดิม ต่อเมือ่ มีการฝึกฝนหรือกระทาซ้าๆก็จะช่วยให้เกิดทักษะเพิม่ ขึน้
2.ความแตกต่ างระหว่างบุค คลเป็ นสิ่งที่ค รูควรค านึงด้ว ยว่านักเรียนแต่ ล ะคนมีค วามรู้
ความถนัด ความสามารถ และความสนใจแตกต่างกัน ฉะนัน้ ในการสร้างแบบฝึกจึงควรพิจารณา
ถึงความเหมาะสม ไม่ยากหรือง่ายจนเกินไป และควรมีหลายแบบ
15

3.การจูงใจผู้เ รียนนัน้ ครูส ามารถทาได้โดยการจัดแบบฝึ กจากง่ายไปหายากเพื่อ ดึงดูด


ความสนใจของผู้เรียน เป็ นการกระตุ้นให้ตดิ ตามต่อไป และทาให้นักเรียนประสบความสาเร็จใน
การทาแบบฝึ ก นอกนัน้ การใช้แบบฝึ กสัน้ ๆจะช่วยไม่ให้ผเู้ รียนเกิดความเบื่อหน่ าย การนาสิง่ ที่ม ี
ความหมายต่ อ ชีว ิต และการเรีย นรู้ม าให้ นั ก เรีย นได้ ท ดลองท าภาษาที่ใ ช้ พู ด และเขีย นใน
ชีวติ ประจาวันจะทาให้ผู้เรียนได้เรียนและทาแบบฝึ กในสิง่ ที่ใกล้ตวั นอกจากจะทาได้แม่นยาแล้ว
นักเรียนยังสามารถนาหลักและความรูท้ ไ่ี ด้รบั ไปใช้ประโยชน์อกี ด้วย
จากหลักจิตวิทยาในการสร้างแบบฝึกทีก่ ล่าวมาข้างต้น พอสรุปได้ว่า
1.การสร้างแบบฝึกควรสร้างให้เหมาะสมและวัยของผูเ้ รียน
2.แบบฝึกควรดึงดูดใจ ท้าทายความสามารถและให้นกั เรียนฝึกฝนบ่อยๆ
1.6 งานวิ จยั ที่เกี่ยวข้องกับแบบฝึ ก
งานวิ จยั ต่างประเทศ
ฮัลเลย์ (Hulley.1998:2352-A) ได้สร้างแบบฝึกแบบบูรณาการทางวิทยาศาสตร์และการ
เรียนการสอนทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนเกรด 5 โดยบูรณาการวิชาวิทยาศาสตร์กบั คณิตศาสตร์
แบบฝึกได้สร้างให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาแห่งรัฐมิสซิสสิปปีและมาตรฐานการศึกษา
วิทยาศาสตร์ 3 ข้อ 1) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แบ่งเป็น 3 บทเรียน 45 แผนการสอน
ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั จากการวิจยั คือ ทาให้ครูผสู้ อนสามารถสร้างแบบฝึ กแบบบูรณาการทาง
วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์และสามารถดาเนินการจัดทาหลักสูตรในโรงเรียนได้
ยาวัซ (Yavuz. 2003:Online) ได้ทาวิจยั เพื่อศึกษาอิทธิพลของการเรียนรูโ้ ดยใช้แบบฝึก
ทักษะเชิงประสบการณ์ในชัน้ เรียน กรณีศกึ ษาจากการเรียนการสอน เรือ่ งกาหนดการเชิงเส้น เพื่อ
ประเมินการทดลองการใช้แบบฝึกทักษะเชิงประสบการณ์ในวิชาดังกล่าว โดยได้ศกึ ษาผลทีเ่ กิดจาก
การใช้แบบฝึกนี้กบั นักศึกษา 3 กลุ่ม ซึง่ มีกลุ่มทดลองสองกลุ่มและได้รบั แบบฝึกเชิงประสบการณ์ ที่
แตกต่างกัน ส่วนอีกกลุ่มหนึ่งเป็นกลุ่มควบคุม ในการวิจยั ครัง้ นี้จะวัดความรูค้ วามเข้าใจในการเรียน
ของนักเรียนทัง้ ก่อนและหลังเรียน ผลการวิจยั พบว่า การใช้แบบฝึกเชิงประสบการณ์ทงั ้ สองกลุ่ม
สามารถสร้างความเข้าใจเรื่องกาหนดการเชิงเส้นเพิม่ ขึน้ สังเกตได้จากการเปรียบเทียบคะแนน หลัง
เรียนซึง่ สูงกว่าคะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญ ข้อมูลในการศึกษานี้ทาให้ทราบอีกว่าเพศหญิงจะ
เอาใจใส่ในการเรียนรูใ้ นสิง่ แวดล้อม ทีม่ กี ารปฏิสมั พันธ์ดว้ ยกระบวนการเรียนรูแ้ บบเป็นกลุ่มดีกว่า
เรียนรูแ้ บบรายคน ส่วนเพศชายเรียนรูไ้ ด้ดใี นสภาวะการเรียนรูท้ งั ้ สองแบบ
ไมเลส (Myles. 2006:Online) ได้ศกึ ษาแบบฝึกทีเ่ รียนโดยใช้ GSP เพื่อพัฒนาความ
เข้าใจความคิดรวบยอดเกีย่ วกับเรขาคณิตของยูคลิด ซึง่ เครือ่ งมือนี้จะช่วยในการพัฒนาความเข้าใจ
เกีย่ วกับความคิดรวบยอดของแนวคิดทีเ่ ป็นมูลฐาน เกีย่ วกับเรขาคณิตของยูคลิด การศึกษานี้ใช้การ
สารวจความคิดเห็นคณิตศาสตร์ ก่อนเรียนและหลังเรียน เพื่อวัดความเปลีย่ นแปลง ในความคิดของ
นักเรียนทีเ่ กีย่ วกับคณิตศาสตร์ ซึง่ มีส่วนประกอบอยู่ 7 ส่วน คือ ความรูเ้ กีย่ วกับคณิตศาสตร์
โครงสร้างของความรูเ้ กีย่ วกับคณิตศาสตร์ สถานะของคณิตศาสตร์ การทางคณิตศาสตร์ แนวคิดที่
16

พิสจู น์ว่าใช้ได้ในคณิตศาสตร์ การเรียนคณิตศาสตร์ และความมีประโยชน์ของคณิตศาสตร์ แบบฝึก


ทีเ่ รียนโดย GSP สามารถปรับปรุงนักเรียนให้ได้รบั ความสาเร็จจากการวัดด้วยแบบทดสอบ และทา
ให้นกั เรียนได้รบั ประสบการณ์โดยการใช้ GSP ผูว้ จิ ยั ยังพบอีกว่า สิง่ ทีจ่ ะต้องคานึงถึงจากการ
สัมภาษณ์นกั เรียนถึงการเปลีย่ นแปลงการประเมินความคิดของนักเรียนเพิม่ เติม ก็คอื การวิเคราะห์
ความคิดของนักเรียนจะช่วยให้ความเข้าใจของครู ในแนวคิดเกีย่ วกับคณิตศาสตร์ของนักเรียนดีขน้ึ

งานวิ จยั ในประเทศ


สาหรับงานวิจยั ในประเทศเกีย่ วกับการเรียนแบบการใช้แบบฝึกแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์
ในวิชาคณิตศาสตร์นัน้ จากการค้นคว้าปรากฏว่ามีขอ้ มูลระบุไว้น้อยมาก ซึ่งมีผู้ท่ที าการวิจยั ไว้
ดังต่อไปนี้
เตือนใจ ตรีเนตร (2544:80) ได้ศกึ ษาผลการใช้แบบฝึ กการแก้โจทย์ปญั หาคณิตศาสตร์
ั หา
เรื่อ ง พื้น ที่ ส าหรับ นั ก เรีย นชัน้ มัธ ยมศึก ษาปี ท่ี 2 ที่ใ ห้ นั ก เรีย นแสดงขัน้ ตอนการแก้ ป ญ
ผลการวิจยั พบว่าหลังการใช้แบบฝึกการแก้โจทย์ปญั หาคณิตศาสตร์เรือ่ ง พืน้ ที่ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ ์
ทางการเรียนหลังการฝึ กสูงกว่าก่อนฝึ กอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ .05 และแบบฝึ กที่ใช้ม ี
ประสิทธิภาพเท่ากับ 84.34 / 82.20
ศิร ิล ัก ษณ์ พุ่ ม ก าพล (2546:68-76) ได้ศึก ษาการสร้า งแบบฝึ ก เรื่อ งเศษส่ ว นส าหรับ
นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ทีส่ อบไม่ผ่านเกณฑ์ ทีใ่ ห้นักเรียนแสดงขัน้ ตอนในการแก้ปญั หาโดย
แบ่งเป็ น 3 ตอน คือ ขัน้ ทาความเข้าใจโจทย์ปญั หา ขัน้ แสดงวิธ ีการแก้ปญั หา ขัน้ สรุปค าตอบ
ผลการวิจยั พบว่า แบบฝึ กเรื่องเศษส่วนมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ โดยเฉลี่ยของแบบฝึก 1 – 4
เท่ากับ 81.91 / 82.80 แสดงว่าแบบฝึกมีประสิทธิภาพนาไปใช้ได้และแบบฝึก 5 – 7 เท่ากับ 81.95
/ 80.60 แสดงว่าแบบฝึ กมีประสิทธิภาพนาไปใช้ได้และหลังจากใช้แบบฝึ ก เรื่อง เศษส่วน แล้ว
นักเรียนมีผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนหลังฝึกสูงกว่าก่อนฝึกอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01 และ
ได้คะแนนมากกว่าร้อยละ 50 ทุกคน
พิชาญ พรหมสมบัติ (2548:78-79)ได้ศึกษาผลของการใช้แบบฝึ ก เรื่องการแก้โจทย์
ปญั หาสมการ สาหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ผลการวิจยั สรุปว่า ประสิทธิภาพของแบบฝึก
คณิตศาสตร์ เรือ่ งการแก้โจทย์ปญั หาสมการ ทีผ่ วู้ จิ ยั สร้างขึน้ สาหรับนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
ทัง้ 2 รูปแบบ มีประสิทธิภาพ คือ แบบฝึ กคณิตศาสตร์ เรื่องการแก้โจทย์ปญั หาสมการ แบบเขียน
ประโยคทางคณิตศาสตร์ มีประสิทธิภาพโดยเฉลีย่ เท่ ากับ 80.05 / 79.39 และแบบฝึ กคณิตศาสตร์
เรื่อง การแก้โจทย์ปญั หาแบบตาราง มีประสิทธิภาพโดยเฉลี่ยเท่ากับ 82.54 / 83.03 แสดงว่าแบบ
ฝึ กมีประสิทธิภาพนาไปใช้ได้และหลังจากใช้แบบฝึ กนักเรียนมีผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนหลังฝึ กสูง
กว่าก่อนฝึกอย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01
สุรภี ฤทธิ ์วงศ์ (2549:80) ได้ทาแบบฝึ กซ่อมเสริมวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การแก้โจทย์
ปญั หาร้อ ยละ ระดับชัน้ มัธ ยมศึก ษาปี ท่ี 2 ผลการวิจ ยั สรุปได้ว่ า ผลสัม ฤทธิ ์ทางการเรียนวิช า
คณิตศาสตร์ของนักเรียนทีไ่ ด้รบั การสอนโดยใช้แบบฝึกซ่อมเสริมวิชาคณิตศาสตร์เรื่อง การแก้โจทย์
17

ปญั หาร้อยละ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 สูงกว่าเกณฑ์รอ้ ยละ 50 โดยมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ


.01
จากงานวิจยั ดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า แบบฝึ กช่วยให้ผู้เรียนมีแนวทางในการศึกษา
ค้นคว้าด้วยตนเอง ช่วยให้ผเู้ รียนรูจ้ กั การแก้ปญั หาทางการเรียนและยังมีความสนุ กสนานในการ
เรียนเพิม่ มากขึน้ ส่งผลให้ผเู้ รียนมีผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนดีขน้ึ และผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนระหว่าง
กลุ่มที่ใช้แบบฝึ กกับกลุ่มที่ไม่ได้ใช้แบบฝึ ก พบว่า นักเรียนที่ฝึกโดยใช้แบบฝึ กมีพฒ ั นาการเรียนรู้
และมีผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนสูงกว่ากลุ่มทีไ่ ม่ได้ใช้แบบฝึก

2. เอกสารและงานวิ จยั ที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการแก้ปัญหาทาง


คณิ ตศาสตร์
2.1 ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์
เมื่อมีกระบวนการและยุทธวิธกี ารแก้ปญั หาแล้วก็ยงั ไม่ได้ประกันว่าจะสามารถแก้ปญั หา
ได้ดเี พราะความสามารถในการแก้ปญั หาไม่ใช่ความสามารถที่เป็ นไปตามรูปแบบที่กาหนดตายตัว
ต้องมีการพัฒนาปรับปรุงรูปแบบการคิดและการแก้ปญั หาใหม่ๆเสมอ ซึ่งต้องอาศัยทักษะและ
ความสามารถหลายๆด้าน อดัมส์ เอลลิสและบีสนั (Adams, Ellis ;& Beeson.1977:174-175) ได้
กล่าวถึงปจั จัยทีส่ ่งผลถึงความสามารถในการแก้ปญั หา 3 ด้าน คือ
1.สติปญั ญา (Intelligence) การแก้ปญั หาจาเป็ นต้องใช้การคิดระดับสูง สติปญั ญาจึงเป็ น
สิ่ง ส าคัญ ยิ่ง ประการหนึ่ ง ในการแก้ ป ญ ั หา องค์ป ระกอบของสติป ญ ั ญาที่ม ีส่ ว นสัม พัน ธ์ก ับ
ความสามารถในการแก้ปญั หา คือ องค์ประกอบทางปริมาณ (Quantitative Factors) ดังนัน้ นักเรียน
บางคนอาจมีความสามารถในองค์ประกอบทางด้านภาษา (Verbal Factors) แต่อาจด้อยใน
ความสามารถทีไ่ ม่ใช่ภาษาหรือทางด้านปริมาณ
2.การอ่าน (Reading) การอ่านเป็ นพื้นฐานที่จาเป็ นสาหรับการแก้ปญั หา เพราะการ
แก้ปญั หาต้องอ่านอย่างรอบคอบ อ่านอย่างวิเคราะห์ อันจะนาไปสู่การตัดสินใจว่าควรจะทาอะไร
และอย่างไรมีนกั เรียนจานวนมากทีม่ คี วามสามารถในการอ่านแต่ไม่สามารถแก้ปญั หาได้
3.ทักษะพืน้ ฐาน (Basic Skill) หลังจากการวิเคราะห์สถานการณ์ปญั หาและตัดสินใจว่าจะ
ทาอะไรแล้วก็ยงั เหลือขัน้ ตอนการได้มาซึง่ คาตอบที่ถูกต้องเหมาะสม นัน่ คือนักเรียนจะต้องรูก้ าร
ดาเนินการต่างๆทีจ่ าเป็นซึง่ ก็คอื ทักษะพืน้ ฐานนันเอง

ซุยดัม (Suydam.1990:36) กล่าวถึงองค์ประกอบที่ช่วยส่งเสริมความสามารถในการ
แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ได้แก่ ความสามารถในการเข้าใจในความคิดรวบยอดและข้อความทาง
คณิตศาสตร์ ความสามารถในการแยกแยะความคล้ายคลึงหรือความแตกต่างกัน ความสามารถใน
การเลือ กใช้ข้อ มูล และวิธ ีก ารที่ถู ก ต้อ ง ความสามารถในการแยกแยะข้อ มูล ที่ไ ม่เ กี่ย วข้อ ง
ความสามารถในการวิเคราะห์ขอ้ มูลและประมาณค่า ความสามารถในการมองเห็นความสัมพันธ์และ
ตีความหมายของข้อเท็จจริงเชิงปริมาณ
18

ในการสอนคณิตศาสตร์นนั ้ เมือ่ ผูเ้ รียนทาแบบฝึกหัด ถ้าเป็นเรือ่ งง่ายและผูเ้ รียนสามารถทา


ได้กจ็ ะฝึกไปจนเกิดชานาญ (skill) และใช้ขอ้ เท็จจริงและความคิดรวบยอดที่ไม่ซบั ซ้อน อาจจะใช้
เพียงข้อเท็จจริงหรือหลักการหรือความคิดรวบยอดเพียงฝึกซ้าๆจนเกิดทักษะ อย่างไรก็ตามในตัว
แบบฝึกหัดนัน้ เมือ่ ใช้หลายๆข้อเท็จจริงหรือหลายหลักการหรือ หลายความคิดรวบยอด นักเรียนก็ไม่
สามารถจะทาได้จงึ พบ “ปญั หา” ว่าจะทาอย่างไร เมื่อผูเ้ รียนพบ “ปญั หา” ก็จะเกิดการแก้ปญั หาก็จะ
ถามต่อไปอีกว่าจะแก้ปญั หาอย่างไร การแก้ปญั หานัน้ มี“กระบวนการแก้ปญั หา” เมื่อผูเ้ รียนสามารถ
ดาเนินการตามกระบวนการแก้ปญั หาก็จะแก้ปญั หานัน้ ได้ เมื่อได้ฝึกการแก้ปญั หาบ่อยๆ ก็จะเกิด
ทักษะการแก้ปญั หา (Problem Solving Skill)
กองวิจยั ทางการศึกษา (2532:35) กล่าวไว้สรุปได้ว่า กระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
ประกอบด้ว ย ความสามารถในการเข้าใจโจทย์ ความสามารถในการหาวิธ ีการได้ถู กต้อ ง
ความสามารถในการคิดคานวณ และความสามารถในการหาคาตอบได้ถูกต้อง
สิรพิ ร ทิพย์คง (2536:157-159) เสนอแนะกิจกรรมเสริมทักษะในการแก้ปญั หาไว้ดงั นี้
1.เลือกปญั หาทีก่ ระตุน้ ความสนใจของผูเ้ รียน ซึง่ เป็ นโจทย์ทผ่ี เู้ รียนมีประสบการณ์ในเรื่อง
เหล่านัน้
2.ทดสอบความรูพ้ น้ื ฐานและทบทวนทักษะทีข่ าดหายไปก่อนลงมือสอนการแก้ปญั หา
3.ให้อสิ ระในการคิดแก่นกั เรียนและกระตุน้ ให้นกั เรียนคิดว่าจะสามารถใช้ความคิดรวบยอด
ทักษะและหลักการใดในการแก้โจทย์ปญั หานัน้ ๆ
4.สอนโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยให้มแี บบฝึกหลายระดับทัง้ ยาก ปาน
กลางและง่ายเพื่อให้นกั เรียนประสบความสาเร็จในการแก้ปญั หาเป็นการเสริมกาลังใจให้กบั นักเรียน
5.ทดสอบว่านักเรียนเข้าใจโจทย์ปญั หานัน้ ๆ โดยถามถึงสิง่ ที่โจทย์กาหนดให้และสิง่ ที่
โจทย์ตอ้ งการ
6.ฝึกให้นกั เรียนรูจ้ กั หาคาตอบโดยการประมาณก่อนการคิดคานวณ
7.แนะให้นักเรียนคิดหาความสัมพันธ์ของโจทย์ปญั หาโดยการวาดรูปแผนภาพทีน่ ักเรียน
เคยพบมาก่อน
8.ช่วยนักเรียนในการหาข้อมูลจากการวิเคราะห์โจทย์ปญั หาและเทียบเคียงกับโจทย์ท่ี
นักเรียนเคยพบมาก่อน
9.สนับสนุ นให้นักเรียนคิดวิธกี ารแก้ปญั หาโดยวิธกี ารของนักเรียนเอง แล้วอภิปรายหา
วิธกี ารทีถ่ ูกต้อง
พรทิพย์ ยาวะประภาษ (2537:24) ได้กล่าวว่า ในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์นนั ้ ครู
จาเป็ นต้องนาโจทย์ปญั หาคณิตศาสตร์ต่างๆ มาใช้เพื่อ
1.สาธิตให้เข้าใจถึงสิง่ ทีจ่ าเป็นในการเรียนคณิตศาสตร์
2.ใช้ในการเริม่ ความคิดรวบยอดใหม่ๆ ทีย่ งั ไม่เคยเรียนรู้
3.สรุปหลักการทางคณิตศาสตร์
4.ช่วยให้เกิดความเข้าใจและมองความสัมพันธ์ ระหว่างการคิดคานวณวิธกี ารต่างๆ
19

5.ให้มองเห็นปญั หาและนาไปใช้ในชีวติ ประจาวัน


6.เพิม่ พูนประสบการณ์อ่านของนักเรียนให้ดขี น้ึ
7.ทาให้เกิดแรงจูงใจ ความสนใจ และเจตคติทด่ี ตี ่อวิชาคณิตศาสตร์
ชมนาด เชือ้ สุวรรณทวี (2544:125) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบทีส่ ่งเสริมความสามารถใน
การแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ ไว้ดงั นี้
1.ความสามารถในการวิเคราะห์ปญั หาทางคณิตศาสตร์ คือ นักเรียนสามารถตีความทา
ความเข้าใจปญั หา จาแนก แยกแยะ สิง่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับปญั หาและสิง่ ทีไ่ ม่เกี่ยวข้องกับปญั หาออกจาก
กัน จะมองปญั หาให้ชดั เจนว่า อะไรคือสิง่ ทีต่ อ้ งการ อะไรคือสิง่ ทีเ่ ราคาดหวังว่าจะพบและเรามีขอ้ มูล
อะไรอยูบ่ า้ ง การเขียนภาพจะช่วยให้เราเข้าใจปญั หานัน้ ๆได้ชดั เจนยิง่ ขึน้
2.ความสามารถในการวางแผนแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ ผูแ้ ก้ต้องค้นพบว่าข้อมูลต่างๆ
เกีย่ วข้องสัมพันธ์กนั อย่างไร สิง่ ทีย่ งั ไม่รเู้ กี่ยวข้องกับสิง่ ทีร่ แู้ ล้วอย่างไร แล้วหาวิธกี ารแก้ปญั หาโดย
นากฎเกณฑ์ หลักการ ทฤษฎี มาใช้ประกอบกับข้อมูลทีม่ อี ยู่ แล้วเสนอออกมาในรูปของวิธกี าร
3.ความสามารถในการคิดคานวณ หมายถึง ความสามารถในการหาคาตอบที่ถูกต้อง
สมบู รณ์ ท่ีสุ ด ของปญั หาคณิต ศาสตร์โ ดยวิธ ีก ารตามแผนที่ว างไว้ผู้แ ก้ป ญ ั หาจะต้อ งรู้จ กั วิธ ีก าร
คานวณทีเ่ หมาะสมด้วย
จากที่กล่าวมาสรุปได้ว่า ความสามารถในการแก้โจทย์ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เป็ น
ความสามารถของสติปญั ญาทีเ่ กี่ยวข้องกับการทาความเข้าใจปญั หา การสร้างตัวแทน การวางแผน
ในการแก้ปญั หา การดาเนินการตามแผนและการตรวจคาตอบซึง่ สามารถวัดได้จากแบบทดสอบวัด
ความสามารถในการแก้โจทย์สมการ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โดยการใช้ตวั แทนดังนี้
1.ความสามารถในการทาความเข้าใจปญั หา เป็ นความสามารถในการอ่านวิเคราะห์โจทย์
ปญั หาซึง่ ผูแ้ ก้ปญั หาจะต้องอ่านโจทย์เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ทโ่ี จทย์กาหนดให้ได้ว่า อะไรคือสิง่ ที่
โจทย์กาหนดให้ อะไรคือสิง่ ทีโ่ จทย์ถาม
2.ความสามารถในการสร้างตัวแทน เป็ นความสามารถทีผ่ เู้ รียนสามารถแสดงความเข้าใจ
ออกมาในรูปของการสร้างตัวแทน ซึง่ ได้แก่ การใช้วตั ถุจริง การวาดรูป การสร้างตาราง หรือการใช้
สัญลักษณ์ (ตัวแปร) โดยการประมวลความคิดหรือความเข้าใจในโจทย์ปญั หาเพื่อนาเสนอออกมาให้
เห็นเป็นรูปธรรมโดยการสร้างตัวแทนทางคณิตศาสตร์ดงั กล่าว
3.ความสามารถในการวางแผนการแก้ปญั หา เป็ นความสามารถในการเสนอแนวคิดหรือ
การสร้างทางเลือกในการแก้ปญั หาโดยทีน่ ักเรียนต้องประมวลสิง่ ต่างๆทีไ่ ด้ในขัน้ ที่ 1 และ 2 เพื่อ
วางแผนในการแก้ปญั หาว่า จากสิง่ ทีโ่ จทย์กาหนดกับสิง่ ทีโ่ จทย์ต้องการ ผูแ้ ก้จะสามารถเขียนสิง่
เหล่านี้ออกมาเป็ นความสัมพันธ์ในรูปของสมการได้อย่างไรและจะมีสูตร ทฤษฎีขอ้ เท็จจริงหรือ
ข้อมูลอื่นใดทีโ่ จทย์ไม่ได้กาหนดให้แต่ตอ้ งใช้เพื่อมาช่วยในการแก้ปญั หานัน้
4.ความสามารถในการดาเนินการตามแผน เป็ นความสามารถทีน่ ักเรียนลงมือปฏิบตั ติ าม
แผนทีไ่ ด้วางไว้
20

5.ความสามารถในการตรวจคาตอบ เป็นการตรวจสอบผลลัพธ์ทไ่ี ด้ว่ามีความสอดคล้องกับ


สถานการณ์ทโ่ี จทย์กาหนดให้หรือไม่
2.2 การจัดกิ จกรรมการเรียนการสอนที่ เอื้อต่ อการพัฒนาความสามารถในการ
แก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์
บทบาทของครู
คณะกรรมการการศึก ษาแห่งรัฐแคลิฟอร์เนีย (California State Department of
Education.1985:14) ได้ให้ข้อเสนอแนะสาหรับครูเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา
ความสามารถในการแก้ปญั หาดังนี้
1.ระบุพฤติกรรมการแก้ปญั หาให้ชดั เจน
2.จัดบรรยากาศภายในชัน้ เรียนให้นกั เรียนได้คดิ และแก้ปญั หาอยูเ่ สมอๆ
3.ให้โอกาสนักเรียนได้อธิบายแนวคิดในแต่ละขัน้ ของการแก้ปญั หา
4.มีความเข้าใจว่าปญั หาแต่ละปญั หามียทุ ธวิธใี นการแก้ปญั หาได้หลายวิธ ี
5.นาเสนอปญั หาทีส่ มั พันธ์กบั ชีวติ จริง และเป็ นปญั หาทีช่ ่วยเพิม่ ประสบการณ์ทจ่ี ะนาไป
ประยุกต์ใช้ได้
สเตซีและโกรฟ (Schoenfeld.1989:83-103;citing Stacey;& Groves.n.d.) ได้สรุปบทบาท
ของครูในการสอนแก้ปญั หา เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ ดังนี้
1.ช่วยให้นักเรียนยอมรับความท้าทายทีว่ ่า ” ปญั หาจะไม่ใช่ปญั หาจนกว่าเขาต้องการจะ
แก้มนั ”
2.สร้างบรรยากาศทีส่ นับสนุ นการแก้ปญั หา
3.ให้เด็กได้ทางานในแนวทางของตนเพื่อหาคาตอบและครูจะช่วยเมือ่ จาเป็น
4.ให้สอนการทางาน เช่น ให้เด็กคิดเกี่ยวกับสิง่ ทีท่ า สิง่ ทีอ่ ภิปรายหรือเขียนออกมาเพื่อให้
เด็กได้เข้าใจกระบวนการทีเ่ กีย่ วข้อง
5.อภิปรายกับเด็กเกีย่ วกับกระบวนการทีเ่ กีย่ วข้องในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์เพื่อให้
เด็กได้สะสมคาศัพท์ทจ่ี ะต้องใช้ในการแก้ปญั หาต่อไป เด็กจะเรียนรูม้ ากขึน้ ถ้าครูเบนความสนใจเข้า
สู่ยทุ ธวิธหี รือขบวนการทีเ่ กีย่ วข้อง
สภาครูค ณิ ต ศาสตร์แ ห่ ง ชาติข องสหรัฐ อเมริก า(NCTM.1991:57)ได้เ สนอแนะการจัด
กิจกรรมทีเ่ อือ้ ให้เกิดการพัฒนาความสามารถของผูเ้ รียน ดังนี้
1.สร้างบรรยากาศที่ยอมรับและเห็นคุณค่าของแนวคิด วิธ ีการคิดและความรู้สกึ ของ
นักเรียน
2.ให้เวลาในการสารวจแนวคิดทางคณิตศาสตร์
3.ส่งเสริมให้นกั เรียนได้ทางานทัง้ ส่วนบุคคลและร่วมมือกัน
4.ส่งเสริมให้นกั เรียนได้ลองใช้ความสามารถในการกาหนดปญั หาและสร้างข้อคาดเดา
5.ให้นกั เรียนได้ให้เหตุผลและสนับสนุนแนวคิดด้วยข้อความทางคณิตศาสตร์
21

สุลดั ดา ลอยฟ้า (2530.12-13) ได้เสนอแนะบทบาทของครูในการจัดกิจกรรมทีส่ ่งเสริม


ความสามารถในการแก้ปญั หาคณิตศาสตร์ดงั นี้
1.สร้างบรรยากาศของการประสบผลสาเร็จในการแก้ปญั หา โดยครูควรเริม่ ต้นด้วยปญั หา
ทีง่ ่ายๆเพื่อให้นักเรียนมีโอกาสทีจ่ ะประสบความสาเร็จในการแก้ปญั หาในระยะเริม่ แรก เพื่อความ
่ และความอยากในการแก้ปญั หาด้วยตนเอง
มันใจ
2.สนับสนุ นการเรียนเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนแก้ปญั หา เมื่อครูกาหนดปญั หาหรือทาปญั หา
ให้น่าสนใจในการแก้ปญั หาแต่ละปญั หาไม่ได้ วิธกี ารเพียงวิธกี ารเดียวคือ ครูพยายามกระตุ้นให้
นักเรียน รวมทัง้ ให้นักเรียนรูเ้ ทคนิควิธกี ารแก้ปญั หาเพิม่ มากขึน้ เพื่อจะได้นาไปใช้ในการแก้ปญั หา
ในสถานการณ์อ่นื ๆ
3.สอนให้นกั เรียนมีส่วนร่วมในการแก้ปญั หา
4.ให้นกั เรียนมีส่วนร่วมในปญั หา
5.ให้นักเรียนมีส่วนร่วมสร้างปญั หาด้วยตัวเอง ทัง้ นี้เพราะว่าการให้นักเรียนสร้างปญั หา
ด้วยตนเอง เขาจะสามารถแก้ปญั หาได้ดกี ว่าทัง้ นี้เพราะเขาจะรูจ้ กั โครงสร้างของปญั หาเป็นอย่างดี
6.สนับสนุ นให้นกั เรียนวาดภาพหรือแผนภาพประกอบการแก้ปญั หา การวาดรูปหรือการ
เขียนแผนภาพประกอบการแก้ปญั หาจะช่ว ยให้นัก เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างข้อ มูล ใน
ปญั หาทีจ่ ะช่วยให้นกั เรียนสามารถแก้ปญั หาได้งา่ ยขึน้
7.ส่งเสริมให้นักเรียนทางานเป็ นกลุ่มหรือเป็ นคู่ การเปิ ดโอกาสให้นักเรียนช่วยกันคิด
อภิปราย สารวจ คิดค้นวิธกี ารแก้ปญั หาเป็นกลุ่มย่อยจะช่วยพัฒนาหรือกระตุ้นให้นักเรียนแสดงออก
เพิม่ มากขึน้ เป็ นการสร้างบรรยากาศเชิงสร้างสรรค์ในการแก้ปญั หายิง่ ขึน้
8.สนับสนุนให้มกี ารเลือกวิธที ห่ี ลากหลายในการแก้ปญั หา
9.ครูควรใช้คาถามในลักษณะสร้างสรรค์ ครูควรใช้คาถามในลักษณะชีน้ าหรือเสนอแนะ
แนวทางแก้ปญั หา แต่ละคาตอบต้องมีลกั ษณะที่เปิ ดกว้างที่จะกระตุ้นความนึกคิดให้ชวนคิดค้น
พร้อมให้เวลานักเรียนสาหรับคิด
10.เน้นให้นกั เรียนคิดและจินตนาการ
11.การใช้ยทุ ธวิธเี พื่อพัฒนาความคิดและแก้ปญั หาในชัน้ เรียน
12 เสนอปญั หามากกว่าหนึ่งขัน้ ตอน
อาภา ถนัดช่าง (2534:23) ได้กล่าวถึงบทบาทของครูในการจัดกิจกรรมการสอนแก้ปญั หา
เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปญั หาของนักเรียนไว้ ดังนี้
1.ครูควรสร้างบรรยากาศการเรียนการสอนให้เด็กมีอสิ ระ กล้าคิด กล้าแสดงออก เพราะ
การคิดหรือกล้าแสดงออกเหล่านี้จะช่วยให้ครูรจู้ กั นักเรียนดียงิ่ ขึน้ ทัง้ ในแง่ของสติปญั ญาและอารมณ์
หรือปมทางจิตต่างๆซึง่ ครูควรหาวิธสี ่งเสริมและช่วยเหลือให้เหมาะสมต่อไป
2.การจะให้เด็ก สามารถคิด และแก้ปญั หาได้อ ย่างฉลาดนัน้ จะต้องอาศัยสิ่งเร้าหรือ การ
กระตุน้ ทีด่ คี อื มีการเสนอปญั หาหรือประเด็นให้คดิ ท้าทาย น่าสนใจ และเหมาะสมกับวัยของเด็ก
22

3.ครูอาจให้ความรูใ้ นรูปข้อมูลเพื่อประกอบการพิจารณาหาทางเลือกได้ แต่ในขัน้ ของการ


ตัดสินใจ ครูควรให้นักเรียนได้ตดั สินใจด้วยตัวเอง เพื่อที่จะให้เด็กได้รบั ผิดชอบตนเองและรูจ้ กั
ควบคุมตนเองต่อไป
บทบาทของผูเ้ รียน
ซุยดัม (Suydam.1980:36) ได้กล่าวถึงบทบาทของผูแ้ ก้ปญั หาทีด่ ไี ว้ 10 ประการดังนี้
1.มีความสามารถในการเข้าใจในความคิดรวบยอด (Concepts) และข้อความทาง
คณิตศาสตร์
2.มีความสามารถในการแยกแยะ ความคล้ายคลึงกันหรือความแตกต่างกัน
3.มีความสามารถในการเลือกใช้ขอ้ มูล และวิธกี ารทีถ่ ูกต้อง
4.มีความสามารถแยกแยะข้อมูลทีไ่ ม่เกีย่ วข้อง
5.มีความสามารถในการวิเคราะห์และประมาณค่า
6 มีความสามารถในการมองเห็นความสัมพันธ์และตีความสัมพันธ์และความหมายของ
ข้อเท็จจริงเชิงปริมาณ
7.มีความสามารถในการกล่าวถึงส่วนสาคัญของตัวอย่างทีก่ าหนด
8.มีความสามารถในการเปลีย่ นวิธคี ดิ ได้อย่างถูกต้อง
9.มีความเชื่อมันในตนเองสู
่ งและมีสมั พันธภาพทีด่ ตี ่อผูอ้ ่นื
10.มีความวิตกกังวลต่า
สุลดั ดา ลอยฟ้าและคณะ (2530:12-13) ได้เสนอบทบาทของผู้แก้ปญั หาว่าควรจะมี
ลักษณะ ดังนี้
1.สังเกตและวิเคราะห์สถานการณ์ได้ว่าอะไรคือปญั หา
2.พิจารณาปญั หาและทาปญั หาให้ง่ายในการแก้ปญั หา เช่น ตัดส่วนทีไ่ ม่เกี่ยวข้องออก
เขียนภาพหรือวาดภาพประกอบ
3.เปลีย่ นให้อยูใ่ นรูปของสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
4.คิดคานวณหาผลลัพธ์หรือคาตอบจากประโยคสัญลักษณ์
5.นาผลลัพธ์ไปตอบปญั หา แปลผลลัพธ์ไปสู่ปญั หา
6.นาปญั หาทีไ่ ด้ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริง
จากทีก่ ล่าวมาสรุปได้ว่าบทบาทของครูและนักเรียนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีดงั นี้
บทบาทของครู
1.สร้างบรรยากาศของการประสบผลสาเร็จในการแก้ปญั หา โดยครูควรเริม่ ต้นด้วยปญั หา
ทีง่ า่ ยๆเพื่อให้นกั เรียนมีโอกาสทีจ่ ะประสบความสาเร็จในการแก้ปญั หาในระยะเริม่ แรก เป็ นการเพิม่
ความมันใจในการแก้
่ ปญั หาของนักเรียน
2.สนับสนุ นการเรียนเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนแก้ปญั หา ซึ่งครูอาจจัดกิจกรรมด้ว ยการตัง้
คาถามการอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป เป็นต้น
23

3.สนับสนุ นให้นักเรียนได้มโี อกาสทางานเป็ นกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนวิธกี ารและความคิดซึ่ง


กันและกัน
4.ส่งเสริมให้นกั เรียนมีส่วนร่วมในการแก้ปญั หามากทีส่ ุด
5.สนับสนุ นให้นกั เรียนได้มโี อกาสเรียนรูก้ ารแก้ปญั หาทีห่ ลากหลายวิธ ี
บทบาทของผูเ้ รียน
1.ผูเ้ รียนต้องมีความรูใ้ นเนื้อหาเช่น เนื้อหาสาระ สูตร หลักเกณฑ์และทฤษฎี
2.ผูเ้ รียนต้องมีความเข้าใจข้อสรุปสัญลักษณ์และข้อความต่างๆทางคณิตศาสตร์
3.ผู้เรียนต้องมีค วามสามารถในการอ่าน การตีความ การขยายความและการแปล
ความหมาย
4.ผูเ้ รียนจะต้องมีความสามารถในการใช้ตวั แทน เช่นการวาดรูป การสร้างตารางแผนภูม ิ
วัตถุจริง แบบจาลอง
5.ผูเ้ รียนต้องมีทกั ษะพืน้ ฐานทางคณิตศาสตร์ เช่น การคานวณ การบวกลบ คูณหาร
6.ผูเ้ รียนต้องรูจ้ กั การทางานร่วมกับผูอ้ ่นื
7.ผูเ้ รียนต้องมีทกั ษะในการค้นคว้า หาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรูท้ ห่ี ลากหลาย
2.3 ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการแก้ปัญหา
ถึงแม้ผเู้ รียนจะมีกระบวนการและยุทธวิธกี ารแก้ปญั หาแล้ว ก็ยงั ไม่ได้ประกันว่าจะ
สามารถแก้ปญั หาได้ด ี เพราะความสามารถในการแก้ปญั หาไม่ใช่ความสามารถทีเ่ ป็นไปตาม
รูปแบบทีก่ าหนดตายตัว ต้องมีการพัฒนาปรับปรุงรูปแบบการคิดและการแก้ปญั หาใหม่ๆ เสมอ
ซึง่ ต้องอาศัยทักษะและความสามารถหลายๆด้าน
อดัมส์ เอลลิสและบีสนั (Adams, Ellis ;&Beeson.1977:174-175) ได้กล่าวถึงปจั จัยที่
ส่งผลถึงความสามารถในการแก้ปญั หา 3 ด้านคือ
1.สติปญั ญา (Intelligence) การแก้ปญั หาจาเป็นต้องใช้การคิดระดับสูง สติปญั ญาจึง
เป็ นสิง่ สาคัญยิง่ ประการหนึ่งในการแก้ปญั หา องค์ประกอบของสติปญั ญาทีม่ สี ่วนสัมพันธ์กบั
ความสามารถในการแก้ปญั หา คือ องค์ประกอบทางปริมาณ (Quantitative Factors) ดังนัน้ นักเรียน
บางคนอาจมีความสามารถในองค์ประกบทางด้านภาษา (Verbal Factors) แต่อาจด้อยใน
ความสามารถทีไ่ ม่ใช่ภาษาหรือทางด้านปริมาณ
2.การอ่าน (Reading) การอ่านเป็นพืน้ ฐานทีจ่ าเป็นสาหรับการแก้ปญั หา เพราะการ
แก้ปญั หาต้องอ่านอย่างรอบคอบ อ่านอย่างวิเคราะห์อนั จะนาไปสู่การตัดสินใจว่า ควรจะทาอะไรและ
อย่างไร มีนกั เรียนจานวนมากทีม่ คี วามสามารถในการอ่านแต่ไม่สามารถแก้ปญั หาได้
3.ทักษะพืน้ ฐาน (Basic Skill) หลังจากการวิเคราะห์สถานการณ์ปญั หาและตัดสินใจว่า
จะทาอะไรแล้วก็ยงั เหลือขัน้ ตอนการได้มาซึง่ คาตอบทีถ่ ูกต้องเหมาะสม นันคื ่ อนักเรียนจะต้องรูก้ าร
ดาเนินการต่างๆ ทีจ่ าเป็ น ซึง่ ก็คอื ทักษะพืน้ ฐานนันเอง ่
24

เฮดเดนและสเพียร์(Hedden;&Speer.1992:34-35) กล่าวถึงปจั จัยทีส่ ่งผลต่อ


ความสามารถของบุคคลในการแก้ปญั หาว่าขึน้ อยูก่ บั หลายปจั จัยดังนี้
1. รูปแบบของการรับรู้
2. ความสามารถภายในตัวบุคคล
3. เทคนิคการประมวลผลของข้อมูล
4. พืน้ ฐานทางคณิตศาสตร์
5. ความต้องการทีจ่ ะหาคาตอบ
6. ความมันใจในความสามารถของตนเองในการแก้
่ ปญั หา
ไฮเมอร์ และ ทรูบลัด (Heimer;& Trueblood.1997:31-32) กล่าวถึงปจั จัยทีส่ าคัญบาง
ประการทีม่ ผี ลต่อความสามารถของนักเรียนในการแก้ปญั หาคณิตศาสตร์เกีย่ วกับ ภาษา หรือถ้อย
คา สรุปได้ดงั นี้
1. ความรูเ้ กีย่ วกับศัพท์เทคนิค
2. ความสามารถเกีย่ วกับการคานวณ
3. การรวบรวมข้อมูลความรูร้ อบตัว
4. ความสามารถในการตระหนักถึงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลทีใ่ ห้มา
5. ความสามารถในการให้เหตุผลของความสมเหตุสมผลตามจุดมุง่ หมายทีต่ งั ้ ไว้
6. ความสามารถในการเลือกการดาเนินการเกีย่ วกับคณิตศาสตร์ทถ่ี ูกต้อง
7. ความสามารถในการรองรับข้อมูลทีข่ าดหายไป
8. ความสามารถในการเปลีย่ นปญั หาให้เป็ นประโยคสัญลักษณ์
ชมนาด เชือ้ สุวรรณทวี (2542:107) กล่าวถึงปจั จัยทีส่ ่งผลต่อความสามารถในการ
แก้ปญั หานัน้ ต้องอาศัยปจั จัยหลายประการ เช่น ด้านสติปญั ญา นักเรียนจะต้องมีความสามารถ ใน
การวิเคราะห์ ตีความ แยกแยะสิง่ ทีเ่ กีย่ วข้องและสิง่ ทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกับโจทย์ปญั หาหาความสัมพันธ์
ของข้อมูล ตลอดจนความสามารถในการคิดคานวณ
จากทีก่ ล่าวมาปจั จัยทีส่ ่งผลต่อความสามารถในการแก้ปญั หาพอจะสรุปได้ดงั นี้
1. สติปญั ญา ซึง่ ได้แก่
1.1 ความรู-้ จา ความเข้าใจในเนื้อหาคาศัพท์และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ทฤษฎี สูตร
ต่างๆ
1.2 การใช้ตวั แทน เช่น การวาดรูป การกาหนดสัญลักษณ์ การสร้างตาราง กราฟ หรือ
แบบจาลองทางคณิตศาสตร์ เพื่อช่วยในการแก้ปญั หา
1.3 การวางแผน หาความสัมพันธ์ การจัดลาดับ การหาแบบรูปหรือข้อสรุป
1.4 ทักษะพืน้ ฐานในการคิดคานวณ เช่น การบวก ลบ คูณ หาร ซึง่ ถือเป็น
2. ความรูส้ กึ และเจตคติต่อการแก้ปญั หา ได้แก่ ความต้องการ ความมันใจ ่ ความสนใจใน
การแก้ปญั หาซึง่ อาจขึน้ อยูก่ บั ลักษณะของโจทย์ปญั หาว่าท้าทายหรือสามารถเร้าความสนใจของผู้
แก้ปญั หานัน้ มากน้อยเพียงใดและมีความเกีย่ วข้องกับผูแ้ ก้ปญั หาหรือไม่ เป็นต้น
25

3. การคิดคานวณและการให้เหตุผล
3.1 การคานวณเป็นสิง่ สาคัญในการหาคาตอบ เพราะถ้าหากวิเคราะห์โจทย์เป็น
ประโยคสัญลักษณ์ได้ถูกต้อง แต่คานวณผิดพลาดคาตอบทีไ่ ด้ไม่ถูกต้อง ถือว่าการแก้ปญั หาไม่
ประสบ ผลสาเร็จ
3.2 การให้เหตุผลเป็นการพิสจู น์ หรืออธิบายคา ตอบว่าข้อความที่ โจทย์กาหนดให้ เป็น
จริงหรือเท็จ โดยอาศัยทักษะการเขียนและการพูดและให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์
4. แรงขับ เนื่องจากโจทย์ปญั หาคณิตศาสตร์มคี วามแตกต่างกัน ดังนัน้ นักเรียนต้องมี เจต
คติทด่ี ี ความสนใจหรือแรงจูงใจใฝส่ มั ฤทธิ ์์ เพื่อใช้ในการแก้ปญั หา
5. ความยืดหยุ่น ในการแก้โจทย์ปญั หาแต่ละข้อนักเรียนต้องมีความยืดหยุน่ ในการคิดหา
คาตอบไม่ยดึ ติดกับวิธกี ารทีค่ นุ้ เคยและนักเรียนต้องปรับกระบวนการแก้ปญั หาด้วยวิธกี ารใหม่ๆ
2.4 แนวทางการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์
ได้มนี กั การศึกษาหลายท่านได้ให้แนวคิดไว้ดงั นี้
เรย์ ซุยดัมและลินด์ควิสท์ (Reys,Suydum ; &Lindquist.1989:30) กล่าวถึงการใช้เวลาใน
การแก้ปญั หาว่า ในการแก้ปญั หาปญั หาหนึ่ง นักเรียนต้องใช้เวลาทาความเข้าใจปญั หา สารวจหา
แนวทางในการแก้ปญั หาและตรวจสอบคาตอบที่ได้โดยเฉพาะปญั หาที่ยงั ไม่รู้วธิ แี ก้ปญั หาต้องใช้
เวลาเพิม่ ขึน้ อีก ดังนัน้ การให้เวลาทีเ่ หมาะสมจึงเป็ นอีกปจั จัยหนึ่งทีส่ ่งผลต่อการแก้ปญั หาโดยทัวไป

แล้วลักษณะการจัดการเรียนการสอนให้ชนั ้ เรียนจะเป็ นทัง้ แบบกลุ่มใหญ่ทงั ้ ชัน้ กลุ่มย่อยและแบบ
รายบุคคล
ธีสเซนและคนอื่นๆ (Thiessen and others.1989:38) กล่าวว่า กลุ่มใหญ่จะใช้เพื่อฝึ ก
ความชานาญและกลุ่ มย่อ ยจะเป็ นการรวมเอาจุดดีของกิจกรรมกลุ่ มใหญ่ และแบบรายบุค คลมา
ผสมผสานกัน ซึ่งกลุ่มย่อยนี้นักเรียนทุกคนจะมีส่วนร่วมในกระบวนการแก้ปญั หาอย่างเต็มที่ ได้
แลกเปลีย่ นแนวคิด ประสบความสาเร็จและมีเจตคติทางบวกต่อการเรียน และยังพบอีกว่ากลุ่มย่อย
สามารถแก้ปญั หาได้ดกี ว่ารายบุคคล
สมาคมครู ค ณิ ต ศาสตร์ ใ นสหรั ฐ อเมริ ก า (NCTM.1991:57)ได้ เ สนอแนะเกี่ ย วกั บ
สภาพแวดล้อมทีจ่ ะเอือ้ ให้เกิดการพัฒนาความสามรถของผูเ้ รียนไว้ดงั นี้
1.เป็นบรรยากาศทีย่ อมรับและเห็นคุณค่าของแนวคิดวิธกี ารคิดและความรูส้ กึ ของนักเรียน
2.ให้เวลาในการสารวจแนวคิดในทางคณิตศาสตร์
3.ส่งเสริมให้นกั เรียนได้ทางานทัง้ ส่วนบุคคลและร่วมมือกัน
4.ส่งเสริมให้นกั เรียนได้ลองใช้ความสามารถในการกาหนดปญั หาและสร้างข้อคาดเดา
5.ให้นกั เรียนได้ให้เหตุผลและสนับสนุนแนวคิดด้วยข้อความทางคณิตศาสตร์
กอนซาเลส (Gonzales.1998:74) ได้ให้ความคิดเห็นไว้ว่าบรรยากาศทีส่ ่งเสริมการพัฒนา
ความสามารถในการแก้ปญั หาจะต้องเป็ นบรรยากาศที่ทาให้นักเรียนรูส้ กึ สะดวกสบายในการแสดง
แนวคิด ไม่เข้มงวดเอาจริงเอาจังจนเกิดความตึงเครียด เพราะถ้านักเรียนเกิดความรูส้ กึ กลัวในสิง่ ที่
26

ทาผิดพลาดหรือกลัวถูกหัวเราะเยาะจากเพื่อน นักเรียนจะไม่กล้าซักถาม ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น


ฉะนัน้ ครูจะต้องจัดบรรยากาศของชัน้ เรียน ที่ทาให้ผเู้ รียนมีความรูส้ กึ เป็ นอิสระเป็ นบรรยากาศที่
ส่งเสริมให้มกี ารสารวจ สืบค้น ให้เหตุผลและสื่อสารกันเวลานับว่าเป็ นองค์ประกอบที่สาคัญอีก
ประการหนึ่งในการแก้ปญั หา นักเรียนต้องมีเวลาเพียงพอในการแก้ปญั หาแต่ละคนต้องการเวลาใน
การแก้ปญั หาไม่เท่ากัน ขึน้ อยูก่ บั ความรูค้ วามสามารถและประสบการณ์ในการแก้ปญั หา
ปรีชา เนาว์เย็นผล (2537:66-74) ได้เสนอวิธกี ารพัฒนาความสามารถในการแก้ปญั หา
คณิตศาสตร์โดยประยุกต์ขนั ้ ตอนการแก้ปญั หาของโพลยามาเป็นวิธกี ารพัฒนาดังนี้
1.การพัฒนาความสามารถในการเข้าใจปญั หา
1.1 การพัฒนาทักษะการอ่านโดยการวิเคราะห์ความสาคัญความเข้าใจในปญั หาเป็ น
รายบุคคลหรือกลุ่ม อภิปรายความเป็ นไปได้ของคาตอบ ความเพียงพอหรือความเกินพอของข้อมูล
ปญั หาทีใ่ ช้เพิม่ เติมอาจไม่ใช่ปญั หาคณิตศาสตร์กไ็ ด้
1.2 การใช้กลวิธเี พื่อเพิม่ พูนความเข้าใจ
1.2.1 การเขียนภาพ แผนภาพ หรือแบบจาลอง เพื่อแสดงความสัมพันธ์ของ
ข้อมูลจะช่วยทาให้ขอ้ มูลมีความเป็นรูปธรรม ทาความเข้าใจได้งา่ ยขึน้
1.2.2 ลดปริมาณที่กาหนดในปญั หาให้น้อยลงเพื่อเน้ นโครงสร้างของปญั หามี
ความชัดเจนขึน้ โดยคานึงถึงความเป็นไปได้และความมีเหตุมผี ล
1.2.3 การยกตัวอย่างทีส่ อดคล้องกับปญั หา
1.2.4 การเปลีย่ นแปลงสถานการณ์ให้เป็นเรือ่ งทีส่ อดคล้องกับชีวติ ประจาวัน
1.3 การใช้ปญั หาที่ใกล้เคียงกับชีวติ ประจาวันมาให้ผู้เรียนฝึ กทาความเข้าใจโดย
กาหนดข้อมูลเกินความจาเป็ นหรือไม่เพียงพอ เพื่อให้ผู้เรียนฝึ กการวิเคราะห์ว่าข้อมูลที่กาหนดให้
ข้อมูลใดไม่ได้ใช้หรือข้อมูลทีก่ าหนดให้เพียงพอหรือไม่ ซึ่งสอดคล้องกับชีวติ ประจาวันทีบ่ างครัง้ มี
ข้อมูลมากมายทีผ่ เู้ รียนจะต้องเลือกข้อมูลที่เกี่ยวข้องมาใช้ในบางครัง้ ข้อมูลอาจไม่เพียงพอ ผูเ้ รียน
จะต้องแสวงหาความรูใ้ ห้เพียงพอ
2.การพัฒนาความสามารถในการวางแผน ถ้าโจทย์กบั ปญั หามีความซับซ้อน ควรฝึกให้
ผูเ้ รียนเขียนเป็ นประโยคสัญลักษณ์และเขียน หรือพูดลาดับขัน้ ตอนการคิดอย่างคร่าวๆ ก่อนลงมือ
ทา เพราะขัน้ ตอนดังกล่าวเป็ นเสมือนการวางแผนในการแก้ไขปญั หา ถ้าผูเ้ รียนฝึกฝนสม่าเสมอย่อม
ทาให้ผเู้ รียนพัฒนาความสามารถในการวางแผนแก้ปญั หา ดังนัน้ การพัฒนาความสามารถในการ
วางแผนแก้ไขปญั หามีแนวทาง ดังนี้
2.1 ไม่บอกวิธกี ารแก้ปญั หาโดยตรงแต่กระตุ้นโดยใช้คาถามนาแล้วให้ผู้เรียนหา
คาตอบ ถ้ายังตอบไม่ได้ให้เปลี่ยนคาถามให้ง่ายลง คาตอบของผู้เรียนจะช่วยให้แผนการการ
แก้ปญั หาชัดเจนขึน้
2.2 ส่งเสริมให้ผเู้ รียนคิดออกมาดังๆ (Think Aloud) สามารถบอกให้ผอู้ ่นื ทราบว่าตน
คิดอะไร ไม่ใช่คดิ อยูใ่ นใจตนเงียบๆ การคิดออกมาดังๆ อาจอยู่ในรูปของการสนทนา หรือการเขียน
27

ลาดับขัน้ ตอนการคิดออกมาให้ผอู้ ่นื ทราบ ทาให้เกิดการอภิปรายเพื่อหาแนวทางในการแก้ปญั หาที่


เหมาะสม
2.3 สร้างลักษณะนิสยั ของผูเ้ รียนให้คดิ วางแผนก่อนลงมือทา ทาให้เห็นภาพรวมของ
ปญั หา ประเมินความเป็ นไปได้ก่อนลงมือแก้ปญั หาเพื่อป้องกันการผิดพลาดหรือแก้ไขข้อบกพร่อง
ได้ทนั ที เน้นวิธกี ารแก้ปญั หาสาคัญกว่าคาตอบ
2.4 จัดปญั หาให้ผเู้ รียนฝึกทักษะ ควรเป็ นปญั หาทีท่ า้ ทายเหมาะกับความสามารถไม่
ยากหรือง่ายเกินไป
2.5 ในการแก้ปญั หาแต่ละปญั หาควรส่งเสริมให้ผเู้ รียนใช้ยุทธวิธใี นการแก้ปญั หาให้
มากกว่า 1 รูปแบบ เพื่อให้ผเู้ รียนมีความยืดหยุน่ ในการคิด
3.การพัฒนาความสามารถในการดาเนินการตามแผน ในการดาเนินการตามแผนผูเ้ รียน
ต้องตีความ ขยายความ นาแผนไปสู่การปฏิบตั อิ ย่างละเอียดชัดเจนและประเมินความสามารถทีจ่ ะ
ดาเนินการได้หรือไม่
4.การพัฒนาความสามารถในการตรวจสอบการตรวจสอบการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์
ครอบคลุมประเด็นสาคัญ 2 ประเด็นคือ ประเด็นแรก ตรวจสอบขัน้ ตอนตัง้ แต่เริม่ ต้นจนเสร็จสิ้น
กระบวนการ รวมทัง้ หายุทธวิธอี ่นื ในการแก้ปญั หา ประเด็นทีส่ อง คือ มองไปข้างหน้าเป็ นการใช้
ประโยชน์จากกระบวนการแก้ปญั หา โดยสร้างสรรค์ทเ่ี กี่ยวข้องสัมพันธ์กนั ขึน้ มาใหม่ มีแนวทางการ
พัฒนาดังนี้
4.1 กระตุ้นให้ผเู้ รียนเห็นความสาคัญของการตรวจสอบคาตอบทีไ่ ด้ให้เคยชินจนเป็ น
นิสยั
4.2 ฝึกให้ผเู้ รียนคาดคะเนคาตอบ
4.3 ฝึกการตีความหมายของคาตอบ (ความเป็นไปได้)
5.สนับสนุ นให้ผเู้ รียนทาแบบฝึกหัดโดยใช้วธิ หี าคาตอบมากกว่า 1 วิธใี ห้ผเู้ รียนฝึกสร้าง
โจทย์ปญั หาเกีย่ วกับเนื้อหาทีเ่ รียน
ชัยศักดิ ์ ลีลาจรัสกุล (2539:137-139) ได้นาเสนอแนวทางการนาเสนอวิธกี ารพัฒนา
ความสามารถในการแก้ปญั หาของ โพลยา 4 ขัน้ ตอน ดังนี้
1.การพัฒนาความสามารถในการเข้าใจปญั หา นักเรียนควรได้รบั การฝึกฝนอ่านข้อความ
อ่านปญั หา แล้วทาความเข้าใจโดยเริม่ จากการ...ตัง้ คาถามให้นักเรียนตอบ ให้นักเรียนฝึ กฝนทา
ความเข้าใจเอง แล้วใช้กลวิธชี ่วยเพิม่ พูนความเข้าใจ เช่น การเขียนภาพ สร้างแบบจาลอง การ
ปรับเปลีย่ นขนาดของปริมาณต่างๆของปญั หา
2.การพัฒนาความสามารถในการวางแผนแก้ปญั หา ในการทากิจกรรมต่างๆ ฝึ กให้
นักเรียนคิดวางแผนก่อนลงมือทาเสมอ เช่น ในการทาแบบฝึ กหัดควรฝึ กให้นักเรียนเขียนแบบ
แผนการคิดอย่างคร่าวๆ ก่อนทีจ่ ะลงมือทาอย่างละเอียดชัดเจน โดยครูต้องไม่บอกวิธกี ารแก้ปญั หา
กับนักเรียนโดยตรง แต่ควรใช้คาถามเพื่อกระตุ้นนักเรียนให้คดิ ด้วยตนเอง ส่งเสริมให้นักเรียนคิด
28

ออกมาดังๆ อาจจะอยู่ในรูปของการบอกหรือเขียนแบบแผนขัน้ ตอนการคิดออกมาให้ผู้อ่นื ทราบ


นอกจากนี้แล้วควรนาปญั หาแปลกใหม่มาให้นกั เรียนฝึกคิดอยูเ่ สมอ
3.การพัฒนาความสามารถในการดาเนินการตามแผน การวางแผนเป็ นการจัดลาดับหลัก
ในการแก้ปญั หา เมื่อลงมือดาเนินการตามแผน นักเรียนต้องตีความ ขยายความ เพื่อนาไปสู่การ
ปฏิบตั นิ อกจากนี้แล้วควรฝึ กให้นักเรียนฝึ กการตรวจสอบความถูกต้อง เป็ นไปตามแผนที่วางไว้
หรือไม่ก่อนทีจ่ ะลงมือปฏิบตั ิ
4.สนับสนุนให้นกั เรียนทาแบบฝึกหัดโดยใช้วธิ กี ารหาคาตอบมากกว่า 1 วิธ ี
5.ให้นกั เรียนฝึกสร้างโจทย์ปญั หาเกีย่ วกับปญั หาทีเ่ รียน
วิชยั พาณิชย์สวย(2546:92) ได้นาเสนอว่า เราสามารถพัฒนาการรูค้ ดิ (Metacognition)ใน
การแก้โจทย์ปญั หาคณิตศาสตร์ของนักเรียนได้ โดยมีแนวปฏิบตั กิ ว้างๆ ดังนี้
1.ส่งเสริมให้นัก เรียนเห็นความสาคัญ ของการรู้จกั ตนเอง รู้จกั ควบคุ มความคิดและ
พฤติกรรมของตนในการกระทากิจกรรมต่างๆ อย่างรอบคอบ มีสติ ในการสอนโจทย์ปญั หาครูให้
นักเรียนมีกจิ กรรมต่อไปนี้
1.1 ให้นกั เรียนคิดและพูดออกมาว่า รับรูโ้ จทย์ปญั หาแต่ละข้ออย่างไร มีคาถามอะไรที่
จะถามตนเอง และจะวางแผนแก้โจทย์ปญั หานัน้ อย่างไร
1.2 ให้นักเรียนประมาณคาตอบไว้ล่วงหน้า และชีใ้ ห้เห็นว่าการประมาณคาตอบไว้
ล่วงหน้ามีความสาคัญอย่างไร
1.3 ให้นกั เรียนตรวจสอบความเป็นไปได้ของคาตอบทุกครัง้ ก่อนสรุปคาตอบ
2.ให้นักเรียนได้มโี อกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในกลุ่มเพื่อนเกี่ยวกับ วิธคี วบคุมและ
ตรวจสอบตนเองในขณะดาเนินการแก้ปญั หา รวมถึงเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ร่วมกลุ่มกันแก้โจทย์
ปญั หาทีย่ าก เมือ่ โอกาสอานวย
พนารัตน์ แช่มชื่น (2548:50) กล่าวว่า ในจัดการเรียนรูน้ นั ้ ผูส้ อนสามารถจัดกิจกรรมให้
ผูเ้ รียนเรียนรูอ้ ย่างค่อยเป็นค่อยไป โดยกาหนดประเด็นคาถามให้คดิ และหาคาตอบเป็ นลาดับโดย
ใช้กระบวนการแก้ปญั หา จนผูเ้ รียนสามารถหาคาตอบได้ หลังจากนัน้ ในปญั หาต่อๆ ไป ผูส้ อน
ค่อยลดประเด็นคาถามลงเมื่อเห็นว่า ผูเ้ รียนมีทกั ษะในการแก้ปญั หา เพียงพอแล้วก็ไม่จาเป็ นต้องมี
คาถามชีน้ า นอกจากนี้แล้วหากผูเ้ รียนเข้าใจกระบวนการแก้ปญั หาเป็ นลาดับขัน้ แล้ว การพัฒนาให้ม ี
ทักษะนัน้ ผู้สอนควรเน้นฝึ กการวิเคราะห์แนวคิดที่หลากหลาย ในขัน้ วางแผนแก้ปญั หาให้มาก
เพราะเป็นขัน้ ตอนทีม่ คี วามสาคัญและถือว่ายากสาหรับผูเ้ รียน
พงศธร มหาวิจติ ร (2550:25- 26) ได้นาเสนอว่า ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้ผเู้ รียน
เกิดการพัฒนาทักษะ/กระบวนการด้านการแก้ปญั หาคณิตศาสตร์ เริม่ แรกครูผสู้ อนอาจสอนระเบียบ
วิธกี ารกว้าง ๆ หรือใช้คาถามนาและเปิ ดโอกาสให้ผู้เรียนได้พฒ ั นาทักษะกระบวนการคิดอย่า
หลากหลายในการวางแผนการแก้ปญั หา หลังจากนัน้ ครูผู้สอนอาจค่อยๆ ลดประเด็นคาถามลง
เพื่อให้ผเู้ รียนได้ใช้ความคิดมากขึน้ และเมื่อเห็นว่าผูเ้ รียนมีทกั ษะในการแก้ปญั หาเพียงพอแล้วก็ไม่
จาเป็นต้องใช้คาถามชีน้ าอีก
29

จากทีก่ ล่าวมาสรุปได้ว่า แนวทางการพัฒนาความสามารถในการแก้ปญั หาแบ่งได้เป็น


1.การพัฒนาความสามารถในการเข้าใจปญั หา ได้แก่การพัฒนาทักษะการอ่านของผูเ้ รียน
โดยการวิเคราะห์ความสาคัญ เพิม่ พูนความเข้าใจ โดยการเขียนแผนภาพ หรือแบบจาลอง
ยกตัวอย่างทีส่ อดคล้องกับปญั หา และเปลีย่ นแปลงสถานการณ์ให้เป็ นเรื่องในชีวติ จริง รวมถึงการใช้
ปญั หาที่ใกล้เคียงชีวติ ประจาวันมาให้ผู้เรียนฝึกทาความเข้าใจ โดยกาหนดข้อมูลเกินความจาเป็ น
หรือไม่เพียงพอ และปญั หาทีท่ า้ ทายเหมาะสมกับความสามารถไม่ยากหรือง่ายเกินไป
2.การพัฒนาความสามารถในการวางแผนแก้ปญั หา เป็ นการจัดล าดับหลักในการ
แก้ปญั หาทาให้เห็นภาพรวมของปญั หา ประเมินความเป็ นไปได้ เมื่อลงมือดาเนินการตามแผน
นักเรียนต้องให้หลักการวิเคราะห์เข้าร่วม โดยการฝึ กให้นักเรียนได้เขียนแบบแผนการคิดอย่าง
คร่าวๆ ก่อนลงมือทาอย่างละเอียดในแบบฝึกหัด โดยครูทาหน้าทีก่ ระตุ้นให้นักเรียนคิดด้วยตนเอง
โดยใช้คาถามนาแล้วให้นกั เรียนหาคาตอบ ถ้ายังไม่ได้ให้ครูเปลีย่ นคาถามให้งา่ ยลง
3.การดาเนินการตามแผน เป็ นการดาเนินการตามแผนงานทีก่ าหนดไว้ นาแผนไปสู่การ
ปฏิบตั อิ ย่างละเอียดชัดเจนและประเมินความสามารถ โดยครูทาหน้าทีก่ ระตุ้นให้นักเรียนได้ลงมือ
กระทารวมกัน และดาเนินการไปตามแผนงานทีก่ าหนดไว้
4.การพัฒ นาความสามารถในการตรวจสอบเป็ น การมองย้อ นกลับ ไปที่ข นั ้ ตอนการ
แก้ปญั หาตัง้ แต่ขนั ้ ตอนทาความเข้าใจปญั หา การวางแผน และดาเนินการตามแผน โดยพิจารณา
ความถูกต้องของกระบวนการ การคิดคานวณ และความสมเหตุสมผลของคาตอบ
2.5 บทบาทของครูในการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์
สภาครูคณิตศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกา (NCTM.1997:341) กล่าวว่า การแก้ปญั หาเป็ น
หัว ใจสาคัญ ของวิชาคณิต ศาสตร์ การแก้ปญั หาจะประสบความสาเร็จจาเป็ นต้อ งมีค วามรู้ใ น
เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ ยุทธวิธตี ่างๆ ในการแก้ปญั หา การกากับตนเองอย่างมีประสิทธิภาพและ
การกาหนดประโยชน์ ท่รี บั จากการสร้างและแก้ปญั หานัน้ ๆ การสอนการแก้ปญั หามีความจาเป็ น
เท่าๆ กับครูผสู้ อน ดังนัน้ ครูสามารถช่วยให้นักเรียนเกิดความรู้ และเจตคติทด่ี ตี ่อการแก้ปญั หา
ภาระหน้ าที่ท่สี าคัญของครู ประกอบด้วยการวางแผนการแก้ปญั หา ซึ่งเป็ นการเปิ ดโอกาสให้
นักเรียนได้เรียนรูเ้ นื้อหาทีส่ าคัญ โดยการสารวจปญั หา ซึง่ เป็ นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้
เนื้อหาทีส่ าคัญ โดยการสารวจปญั หา การศึกษาค้นคว้า และการปฏิบตั ติ ามยุทธวิธขี องตนเอง ครู
ต้องไม่ยอ่ ท้อ ถึงแม้ว่าครูจะวางแผนการเรียนรูไ้ ว้เป็นอย่างดีแล้วแต่ไม่เป็นไปตามแผนทีว่ างไว้กต็ าม
นักเรียนต้องการคาแนะนาในทุกครัง้ ทีเ่ ขาพยายามจะแก้ปญั หา นักเรียนต้องสังเกตในสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ที่
เป็ นข้อคาดการณ์หรือการสารวจ นักเรียนอาจสรุปคาแนะนาของใครก็ได้ทม่ี เี หตุผล บางครัง้ อาจ
ไม่ใช่ครูผสู้ อนก็ได้ ครูต้องฝึกวิพากษ์วจิ ารณ์ในส่วนของการตัดสินใจทีเ่ ป็ นการตอบสนองต่อการ
ปฏิบตั ติ าม และการทาความเข้าใจถึงความเป็นไปได้ทงั ้ ในด้านการเรียนรูแ้ ละการส่งเสริมเจตคติเมื่อ
นักเรียนแสดงแนวคิดใหม่ๆ แต่ครูต้องยอมรับว่าการตอบทัง้ หมดไม่ได้นาไปสู่การอธิบายได้ และใน
บางครัง้ ครูไม่ควรยอมรับแนวคิดทุกแนวคิดของนักเรียน ครูควรสะท้อนความคิดของนักเรียน เพื่อ
30

เป็ นการสร้างบรรยากาศโดยให้นักเรียนได้สะท้อนความคิดของตนเองในการทางานการสอนเป็ น
กิจกรรมของการแก้ปญั หาในตัวมันเองครูทม่ี คี วามสามารถในการแก้ปญั หาต้องมีความรูแ้ ละวิธกี าร
แก้ปญั หาทีด่ มี ปี ระสิทธิภาพ
บิทเตอร์, แฮทฟิลด์ และ เอ็ดวาร์ดส์ (Bitter;Hatfield; & Edwards.1998:43 - 44) กล่าวว่า
บทบาทของครูเพื่อช่วยพัฒนาความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียน สรุปได้
ดังนี้
1.ควรเลือกปญั หาทีน่ ่ าสนใจ และไม่ยากหรือง่ายเกินไปมาสอนนักเรียน
2.ควรแบ่งนักเรียนเป็ นกลุ่มย่อยๆ เพื่อให้ร่วมกันแก้ปญั หาเป็ นการฝึ กให้นักเรียนรูจ้ กั
ทางานร่วมกัน
3.ควรให้นักเรียนพิจารณาว่า โจทย์กาหนดข้อมูลอะไรมาให้ ซึง่ สามารถนาไปใช้ในการ
แก้ปญั หาและยังต้องให้ขอ้ มูลอื่นใดบ้างในการแก้ปญั หาข้อนัน้ ๆ
4.ควรให้นกั เรียนพิจารณาว่า ปญั หาถามอะไร ถ้าไม่สามารถบอกได้ให้อ่านปญั หานัน้ ใหม่
และถ้าจาเป็นจริงๆ ให้ครูอธิบายความหมายของคาทีใ่ ช้ในปญั หาข้อนัน้ ให้นกั เรียนทราบ
5.ควรให้ฝึกการแก้ปญั หาหลายๆ รูปแบบ เพื่อไม่ให้รสู้ กึ เบื่อหน่ ายกับการแก้ปญั หาที่
ซ้าซาก ไม่ทา้ ทายความสามารถ
6.ควรให้นักเรียนทาการแก้ปญั หาบ่อยๆ จนเคยชินว่าเป็ นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียน
การสอน
7.ควรส่งเสริมให้นกั เรียนแก้ปญั หาหลายๆ ข้อ โดยวิธกี ารเดียวกัน เพื่อจะได้ฝึกทักษะและ
ส่งเสริมให้ใช้การแก้ปญั หาหลายๆ วิธใี นข้อเดียวกัน เพื่อให้เห็นว่ายังมีวธิ กี ารอื่นๆ อีกที่จะใช้
แก้ปญั หาในข้อนัน้ ได้
8.ควรให้เวลากับนักเรียนในการลงมือแก้ปญั หา อภิปรายผลการแก้ปญั หาและวิธกี าร
ดาเนินการแก้ปญั หา
9.ควรให้นักเรียนฝึกความคาดคะเนคาตอบและการทดสอบคาตอบทีไ่ ด้เพื่อประหยัดเวลา
ในการแก้ปญั หา
สิรพิ ร ทิพย์คง(2536:165-167)กล่าวว่าบทบาทหน้าทีข่ องครูในการส่งเสริม ความสามารถ
ในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ สรุปได้ดงั นี้
1.ควรเลือกปญั หาทีช่ ่วยกระตุน้ ความสนใจและเป็นปญั หาทีน่ ักเรียนมีประสบการณ์ในเรื่อง
เหล่านัน้ มาใช้สอนนักเรียน
2.ควรทดสอบดูว่านักเรียนมีพน้ื ฐานความรูเ้ พียงพอหรือไม่ทจ่ี ะนามาใช้ในการแก้ปญั หาได้
ถ้ามีไม่เพียงพอนัน้ ครูตอ้ งสอนเสริมหรือทบทวนในสิง่ ทีน่ กั เรียนเคยเรียนมาแล้ว
3.ควรให้อสิ ระแก้นกั เรียนในการใช้ความคิดแก้ปญั หา
4.ควรให้แบบฝึกหัดทีม่ ขี อ้ ยาก ปานกลางและง่ายเพื่อให้นกั เรียนทุกคนประสบความสาเร็จ
ในการแก้ปญั หา เป็นการเสริมสร้างกาลังใจให้กบั ทุกคน
31

5.ควรทาการทดสอบดูว่านักเรียนเข้าใจในปญั หาข้อนัน้ ๆ หรือไม่ โดยการถามว่าโจทย์


ถามอะไรและโจทย์กาหนดอะไรมาให้
6.ควรฝึ กให้นักเรียนรู้จกั การหาคาตอบโดยการประมาณก่อนที่จะคิดคานวณเพื่อให้ได้
คาตอบทีถ่ ูกต้อง
7.ควรช่วยนักเรียนคิดหาความสัมพันธ์ของปญั หา โดยการแนะนาให้วาดภาพหรือเขียน
แผนผังในกรณีทไ่ี ม่สามารถคิดแก้ปญั หาได้
8.ควรช่วยนักเรียนในการคิดแก้ปญั หา เช่น ถามว่าเคยแก้ปญั หานี้หรือปญั หาทีม่ ลี กั ษณะ
คล้ายข้อนี้มาก่อนหรือไม่ ลองแยกแยะปญั หานัน้ ๆ ออกเป็นปญั หาย่อยๆ
9.ควรให้นกั เรียนคิดหาวิธอี ่นื ๆ เพื่อนาไปใช้แก้ปญั หาในข้อนัน้ ๆ รวมทัง้ สนับสนุ นให้ตอบ
วิธกี ารทีค่ ดิ และทาในการแก้ปญั หาข้อนัน้ ๆ ตลอดจนให้ทบทวนวิธกี ารคิดแก้ปญั หาแต่ละขัน้ ตอน
10.ควรให้นักเรียนช่วยกันแก้ปญั หาเป็ นกลุ่มย่อยๆ หรือนาปญั หามาเองเพื่อเป็ นการ
แลกเปลีย่ นความคิดเห็น
จากที่ก ล่ า วมาข้า งต้ น สรุ ป ได้ว่ า บทบาทของครูใ นการพัฒ นาความสามารถในการ
แก้ปญั หาคือครูควรเลือกปญั หาในหลายๆ รูปแบบ ทีไ่ ม่ยากเกินไปไม่ง่ายเกินไป เพื่อกระตุ้นความ
สนใจของนักเรียน พร้อมทัง้ ทาการทดสอบความเข้าใจปญั หาข้อนัน้ ๆ ของนักเรียนว่ามีความเข้าใจ
หรือไม่และช่วยเหลือนักเรียนโดยการซักถามและดึงความรูเ้ ดิมทีม่ อี ยู่มาใช้ในการแก้ปญั หา โดยใช้
วิธกี ารอภิปราย แบ่งกลุ่ม เขียนภาพ เขียนแผนผัง พร้อมทัง้ ส่งเสริมนักเรียนคิดแก้ปญั หาใน
หลากหลายวิธพี ร้อมทัง้ ฝึ กให้นักเรียนรูจ้ กั การตัง้ ปญั หาย่อยๆ จากปญั หาทีก่ าหนดเพื่อเป็ นการฝึก
ทักษะ
2.6 งานวิ จยั ที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการแก้ปัญหาคณิ ตศาสตร์
งานวิ จยั ต่างประเทศ
เพอไรน์ (Perrine.2001:online) ได้ทาการวิจยั เรือ่ ง ผลกระทบของการแก้ปญั หาพืน้ ฐานใน
การสอนคณิตศาสตร์ของการให้เหตุผลเกี่ยวกับสัดส่วนของครู การพัฒนาการให้เหตุผลในเรื่อง
สัดส่วนมีความสาคัญในการศึกษาคณิตศาสตร์ ซึ่งครูผู้สอนต้องมีวธิ กี ารสอนทีน่ ่ าสนใจเพื่อดึงดูด
ผูเ้ รียนทาให้เข้าใจในบทเรียนมากยิง่ ขึน้ เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพในการแก้ปญั หา ในการเรียน 1 ภาค
จะต้องมีการเก็บคะแนน การเพิม่ ขึน้ ของคะแนนจะมีผลต่อการเรียนในปีต่อไป มีผู้เข้าร่วมในการ
เรียนคณิตศาสตร์ในระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 จานวน 187 คน มีวทิ ยากรจานวน 6 ท่าน หนึ่งใน
นัน้ เป็ นครูประจาชัน้ ซึง่ สามารถแก้ปญั หาต่างๆ ในชัน้ เรียนได้ ใน 187 คนนี้ เมื่อถึงภาคเรียนที่ 2 มี
นักเรียน108 คน ประสบปญั หาในการสอบปลายภาค และในต้นภาคเรียนที่ 3 ผลรวมแสดงออกมา
ให้เห็นว่าการแก้ปญั หาอย่างมีเหตุผลมีนัยสาคัญทางสถิติ การแก้ปญั หาอย่างมีเหตุผลเป็ นปจั จัย
หลักในการศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ ครูตอ้ งมีวธิ กี ารสอนทีแ่ ตกต่างไปจากการสอนแบบเดิมทีน่ ักเรียน
ไม่เคยเรียนมาก่อน
32

ไมเคิลส์ (Michaels.2002:online) ได้ทาการวิจยั เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการ


แก้ปญั หา เพศ ความเชื่อมัน่ และรูปแบบของการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนเกรด 3
กลุ่มตัวอย่างเป็ นนักเรียนเกรด 3 จานวน 109 คน เครื่องมือทีใ่ ช้ในการวิจยั มี 3 แบบด้วยกันคือ
แบบวัดกระบวนการแก้ปญั หา แบบวัดความเชื่อมัน่ และแบบวัดรูปแบบของการให้เ หตุผ ล
(พิจารณาจากความสามารถ ความพยายามและความช่วยเหลือจากผู้ อ่นื ) ผลการวิจยั พบว่า
นักเรียนชายชอบแก้ปญั หาทีซ่ บั ซ้อนมากกว่านักเรียนหญิง นักเรียนหญิงมีรปู แบบของการให้เหตุผล
ทีน่ าไปสู่ความสาเร็จดีกว่านักเรียนชาย ไม่มคี วามแตกต่างกันระหว่างเพศในด้านความเชื่อมันทาง ่
คณิตศาสตร์
วิ ล เลี ย ม (William.2003:185–187)ได้ ท าการ วิ จ ั ย เกี่ ย ว กั บ การเขี ย นต ามขั ้น ต อ น
กระบวนการแก้ปญั หาว่าสามารถช่วยเสริมการทางานแก้ปญั หาได้ กลุ่มตัวอย่างเป็ นนักเรียนทีก่ าลัง
เริม่ ต้นเรียนพีชคณิตจานวน 42 คน แบ่งเป็ นกลุ่มทดลอง 22 คน และกลุ่มควบคุม 20 คน กลุ่ม
ทดลองเรียนโดยใช้การเขียนตามขัน้ ตอนของกระบวนการแก้ปญั หา ส่วนกลุ่มควบคุมเรียนโดยใช้
การแก้ปญั หาตามขัน้ ตอนแต่ไม่ต้องฝึ กเขียน มีการทดลองทัง้ ก่อนเรียนและหลังเรียน ผลการวิจยั
พบว่า กลุ่มทดลองสามารถทางานแก้ปญั หาได้ดกี ว่ากลุ่มควบคุม และนักเรียนกลุ่มทดลองมีการ
เขียนตามขัน้ ตอนกระบวนการแก้ปญั หา ได้เร็วกว่านักเรียนในกลุ่มควบคุม จากการสัมภาษณ์
นักเรียนในกลุ่มทดลองพบว่า นักเรียนจานวน 75% มีความพอในใจกิจกรรมการเขียนและนักเรียน
จานวน 80% บอกว่ากิจกรรมการเขียนจะช่วยให้เขาเป็นนักแก้ปญั หาทีด่ ขี น้ึ ได้
บัลลาร์ด (Ballard.2007:online) ได้ทาการวิจยั ผลสัมฤทธิ ์ของการรวมระบบการเรียน
(ILS; IntegratedLearning System) เพื่อพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนประถมเกรด
3 ถึงเกรด 6 ทีม่ คี วามบกพร่องทางการเรียนรู้ โดยนาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ร่วมในการศึกษา
โดยเปรียบเทียบกับเด็กทีเ่ รียนจากโรงเรียนทีจ่ ดั พิเศษโดยเฉพาะ ผลปรากฏว่า ไม่พบข้อแตกต่าง
ระหว่างเด็กทัง้ สองกลุ่มในด้านพัฒนาการของคะแนนวิชาคณิตศาสตร์ และพบว่านักเรียนจานวน 10
คน จาก 56 คนมีคะแนนของผมสัมฤทธิ ์ทางการเรียนสัมพันธ์กบั ด้านทักษะทางคณิตศาสตร์ เพิม่ ขึน้
อย่างโดดเด่นเมื่อเรียนโดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาร่วมในการเรียนรูร้ ่วมกับการได้รบั การ
แนะนาจากครู
งานวิ จยั ภายในประเทศ
ปฐมพร บุญลี (2545:68) ได้ทาการศึกษาชุดแบบฝึกทักษะเพื่อพัฒนาความสามารถในการ
แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง พืน้ ทีผ่ วิ และปริมาตร โดยกลุ่มตัวอย่างเป็ นนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา
ปีท่ี 3 จานวน 40 คน และมีเครื่องมือทีใ่ ช้ในการทดลองประกอบด้วย แบบฝึกทักษะเพื่อพัฒนา
ความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ แผนการสอนวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้แบบฝึกทักษะ
เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ แบบทดสอบย่อย และแบบทดสอบวัด
ความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ ซึง่ ความสามารถในการแก้ปญั หาทาคณิตศาสตร์
ของนักเรียนหลังจากได้รบั การสอนโดยใช้ชุดแบบฝึ กทักษะเพื่อพัฒนาความสามารถในแก้ปญั หา
33

คณิต ศาสตร์สูงกว่าก่ อ นได้รบั การสอนโดยใช้ชุดแบบฝึ กทักษะเพื่อ พัฒนาความสามารถในการ


แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์อย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01
นุชรี อ่อนละม้าย (2546:70) ได้ทาการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถทางสมอง
ด้านเหตุผล กับการแก้ปญั หาโจทย์คณิตศาสตร์ และน้ าหนักของความสาคัญทางสมองด้านเหตุผล
แต่ ล ะด้านที่ส่ ง ผลต่ อ การแก้โ จทย์ปญั หาทางคณิต ศาสตร์ โดยกลุ่ มตัว อย่างเป็ นนักเรียนชัน้
มัธยมศึกษาปี ท่ี 1จานวน 359 คนและมีเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย
แบบทดสอบวัดความสามารถด้านจาแนกประเภท แบบทดสอบวัดความสามารถด้านอุปมาและ
อุปไมย แบบทดสอบวัดความสามารถด้านอนุ กรมมิติ แบบวัดความสามารถด้านสรุปความ
แบบทดสอบวัดความสามารถด้านวิเคราะห์ และแบบทดสอบโจทย์ปญั หาทางคณิต ศาสตร์ผ ล
การศึกษาพบว่า ค่าสัมประสิทธิ ์สหสัมพันธ์พหุคูณระหว่างความสามารถทางสมองด้านเหตุผลแต่ละ
ด้านกับการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ มีค่าเท่ากับ 0.353 และสัมพันธ์กนั อย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ่ี
ระดับ .01 ค่าน้ าหนักความสาคัญของความสามารถทางสมองด้านเหตุผลด้านจาแนกประเภท
ความสามารถทางสมองด้านเหตุผล ด้านสรุปความส่งผลต่อการแก้โจทย์ปญั หาทางคณิตศาสตร์มคี ่า
0.180 และ 0.294 ตามลาดับ อย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01 ส่วนความสัมพันธ์ทางสมองด้าน
อุปมาอุปไมย ความสามารถทางสมองด้านเหตุผลด้านอนุ กรมมิติ ความสามารถทางสมองด้าน
เหตุผลด้านวิเคราะห์ส่งผลต่อการแก้โจทย์ปญั หาทางคณิตศาสตร์อย่างไม่มนี ยั สาคัญทางสถิติ
พนารัตน์ แช่มชื่น (2548:89) ได้ทาการศึกษาชุดกิจกรรมปฏิบตั กิ าร เพื่อส่งเสริมทักษะ
การแก้ปญั หาและการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 เรื่อง แบบรูปและ
ความสัมพันธ์ กับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 1 จานวน 45 คน ใช้เวลาในการทดลอง 8 คาบเรียน
จานวนชุดกิจกรรม 6 ชุดกิจกรรม คือ กิจกรรมจานวนมหัศจรรย์ กิจกรรมสนุ กกับภาพ กิจกรรม
สามเหลีย่ มแสนกล กิจกรรมลูกบาศก์พาเพลิน กิจกรรมปญั หาชวนคิด และกิจกรรมมาออกแบบพืน้
สนามกันเถอะ ผลการศึกษาพบว่า ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนหลังจาก
ได้รบั การสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมแบบปฏิบตั กิ ารเพื่อส่งเสริมทักษะการแก้ปญั หาและการให้เหตุผล
ทางคณิตศาสตร์ อยู่ในระดับสูงกว่าเกณฑ์รอ้ ยละ 60 ทีก่ าหนดไว้อย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ
.01
จินตนา วงศามารถ (2549:78) ได้ทาการศึกษาการสร้างกิจกรรมคณิตศาสตร์โดยใช้เกม
เพื่อใช้ในชัวโมงชุ
่ มนุ มคณิตศาสตร์และเพื่อศึกษาความสามารถในการแก้ปญั หาคณิตศาสตร์ของ
นักเรียนของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 จานวน 20 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2548ผล
การศึกษาพบว่า ความสามารถในการแก้ปญั หาคณิตศาสตร์ของนักเรียนสูงขึน้ และสูงกว่าเกณฑ์
ร้อยละ 70 ทีร่ ะดับ .01
มาเลียม พินิจรอบ(2549:76) ได้ทาการศึกษาผลการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ด้ว ย
กระบวนการกลุ่มทีม่ ตี ่อทักษะการแก้ปญั หา เรือ่ งอัตราส่วนและร้อยละ จานวน 50 คน โดยใช้การจัด
กิจกรรมคณิตศาสตร์ดว้ ยกระบวนการกลุ่ม ผลการศึกษาพบว่า การจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ดว้ ย
34

กระบวนการกลุ่ม เรือ่ งอัตราส่วนและร้อยละ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 หลังการสอนมีทกั ษะ


การแก้ปญั หาสูงกว่าเกณฑ์รอ้ ยละ 60 อย่างมีนยั สาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01
จากการศึกษางานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้องกับความสามารถในการแก้ปญั หาคณิตศาสตร์ ทีก่ ล่าว
มาข้างต้นสรุปได้ว่า การแก้ปญั หาคณิตศาสตร์เป็ นสิง่ ที่สาคัญในการจัดกิจกรรมการเรียนรูว้ ชิ า
คณิตศาสตร์ ทาให้นักเรียนเกิดการคิดวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การวางแผนและปฏิบตั ติ ามแผน
สามารถตัดสินใจเลือกรูปแบบในการแก้ไขปญั หาได้ รวมทัง้ มีการให้เหตุผลในการตัดสินใจ โดยครู
เป็ นผูจ้ ดั กิจกรรมการเรียนรู้ สถานการณ์ พร้อมทัง้ กระตุ้นและเร้าความสนใจของผูเ้ รียน เพื่อช่วย
พัฒนาให้ผเู้ รียนได้พฒ ั นาตนเองอย่างเต็มศักยภาพในทุกมิติ ซึง่ เป็ นสิง่ ทีส่ าคัญอย่างยิง่ ในการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน อันจะส่งผลให้การจัดการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์มปี ระสิทธิภาพ
มากขึน้
บทที่ 3
วิธีดำเนินกำรศึกษำค้นคว้ำ

ผูว้ ิ จยั ได้ทำกำรศึกษำค้นคว้ำตำมลำดับขัน้ ตอนดังนี้


1. การกาหนดประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
2. เนื้อหาทีใ่ ช้ในการศึกษาค้นคว้า
3. ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการศึกษาค้นคว้า
4. แบบแผนในการศึกษาค้นคว้า
5. เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการศึกษาค้นคว้า
6. การสร้างเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการศึกษาค้นคว้า
7. วิธกี ารดาเนินการศึกษาค้นคว้า
8. สถิตทิ ใ่ี ช้ในการศึกษาค้นคว้า

1. กำรกำหนดประชำกรและกำรสุ่มกลุ่มตัวอย่ำง
ประชำกร
ประชากรที่ใ ช้ใ นการศึก ษาค้น คว้า ครัง้ นี้ เป็ น นั ก เรีย นระดับ ชัน้ มั ธ ยมศึก ษาปี ท่ี 1
โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ เขต คลองเตย ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2554 จานวน 4
ห้องเรียน โดยแต่ละห้องเป็นนักเรียนทีค่ ละความสามารถกัน มีจานวนนักเรียนทัง้ หมด 220 คน
กลุ่มตัวอย่ำง
กลุ่ มตัว อย่า งที่ใ ช้ใ นการศึก ษาค้นคว้า ครัง้ นี้ เป็ นนั ก เรีย นระดับชัน้ มัธ ยมศึกษาปี ท่ี 1
โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จานวน 1 ห้องเรียน 50 คน
ได้มาโดยสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็ นหน่ วยในการสุ่ม
(Sampling Unit)

2. เนื้ อหำที่ใช้ในกำรศึกษำค้นคว้ำ
สาระการเรียนรูท้ ใ่ี ช้ในการศึกษาครัง้ นี้เป็ น โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ใน
วิชาคณิตศาสตร์พ้นื ฐาน ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 1 ตามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน 2552
กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์รชู้ ่วงชัน้ ที่ 3 ซึง่ ประกอบด้วยเรือ่ ง
1.โจทย์สมการเกีย่ วกับการเปรียบเทียบจานวน
2.โจทย์สมการเกีย่ วกับอายุ
3.โจทย์สมการเกีย่ วกับเศษส่วน
4.โจทย์ระคน
36

3. ระยะเวลำที่ใช้ในกำรศึกษำค้นคว้ำ
ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการศึกษาค้นคว้า ดาเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา
2554 ใช้เวลา 9 คาบ คาบละ 50 นาที ดังนี้
ชัวโมงที่ ่ 1-2 โจทย์สมการเกีย่ วกับการเปรียบเทียบจานวน
ชัวโมงที ่ ่ 3-4 โจทย์สมการเกีย่ วกับอายุ
ชัวโมงที
่ ่ 5-6 โจทย์สมการเกีย่ วกับเศษส่วน
ชัวโมงที
่ ่ 7-8 โจทย์ระคน
ชัวโมงที
่ ่ 9 ทดสอบหลังเรียน

4. แบบแผนที่ใช้ในกำรศึกษำค้นคว้ำ
การศึกษาในครัง้ นี้เป็ นการพัฒนาและทดลอง โดยใช้แบบแผนการทดลองแบบ One-
Short Case Study (ล้วน สายยศ; และอังคณา สายยศ. 2538:249)

ตาราง 1 แบบแผนการทดลอง

กลุ่ม ทดสอบก่อน ทดลอง ทดสอบหลัง


E - X T2

สัญลักษณ์ทใ่ี ช้ในแบบแผนการทดลอง
E แทน กลุ่มทดลอง
X แทน การใช้แบบฝึก
T2 แทน การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์หลังทาการทดลอง
(Post-test)

5. เครื่องมือที่ใช้ในกำรศึกษำค้นคว้ำ
เครื่องมือที่ใช้ในกำรศึกษำค้นคว้ำ
1.1 แผนการจัดการเรียนรูเ้ รื่อง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้
มัธยมศึกษาปีท่ี 1
1.2 แบบฝึ กความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปญั หาสมการเชิง
เส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1
1.3 แบบทดสอบความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ งโจทย์ปญั หาสมการ
เชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 จานวน 4 ฉบับ ฉบับละ 2 ข้อ
37

6. กำรสร้ำงและหำคุณภำพเครื่องมือที่ใช้ในกำรศึกษำค้นคว้ำ
6.1 แผนกำรจัดกำรเรียนรู้โดยใช้ แบบฝึ กที่มีต่อควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำทำง
คณิ ตศำสตร์ เรื่องโจทย์สมกำรเชิ งเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษำปี ที่ 1
ขัน้ ตอนการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึ ก เรื่อง โจทย์สมการเชิงเส้นตัว
แปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 มีดงั นี้
1.ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ของสถาบันส่งเสริมการสอน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กรมวิชาการ และหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนพระหฤทัย
คอนแวนต์ เขต คลองเตย กรุงเทพมหานคร ช่วงชัน้ ที่ 3 ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1
2.วิเ คราะห์ส าระการเรีย นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้แ ละตัว ชี้ว ัด กลุ่ ม สาระการเรีย นรู้
คณิต ศาสตร์ ช่ว งชัน้ ที่ 3 ชัน้ มัธ ยมศึกษาปี ท่ี 1 เรื่อง โจทย์สมการเชิงเส้นตัว แปรเดียวความ
สอดคล้องระหว่างตัวชีว้ ดั กับกระบวนการเรียนการสอน
3.ดาเนินการสร้างแผนการจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้แบบฝึ ก ให้สอดคล้องกับตัวชี้วดั ใน
กลุ่ ม สาระคณิต ศาสตร์ เรื่อ ง โจทย์ส มการเชิงเส้นตัว แปรเดียว ชัน้ มัธ ยมศึก ษาปี ท่ี 1 ซึ่ง มี
องค์ประกอบดังนี้
3.1 รหัส วิช า / กลุ่ ม สาระการเรีย นรู้ / ช่ ว งชัน้ / ระดับ ชัน้ / ภาคเรีย น / ปี
การศึกษา / ชื่อหน่วยการเรียนรู้ / ชื่อเรือ่ ง / เวลาทีใ่ ช้
3.2 ตัวชีว้ ดั / จุดประสงค์การเรียนรู้
- ด้านความรู้
- ด้านทักษะ / กระบวนการ
- ด้านคุณลักษณะ
3.3 สาระการเรียนรู้
3.4 กิจกรรมการเรียนรู้
- เริม่ ต้น เป็ นการกล่าวถึงความสาคัญและเป้าหมายที่จะเรียน และสอบถาม
ผูเ้ รียนว่ามีความรูใ้ นเรือ่ งที่จะเรียนมาบ้างแล้วหรือไม่อย่างไร
- น าเสนอป ญ ั หาเกี่ ย วกั บ เรื่ อ งที่ จ ะสอน เป็ น การน าเสนอป ญ
ั หาหรือ
สถานการณ์ทเ่ี กี่ยวข้องกับเรื่องทีจ่ ะเรียนพร้อมเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนาเสนอปญั หา โดยปญั หาทีค่ รู
นาเสนอควรเป็ นปญั หาพืน้ ฐานของเรือ่ งทีจ่ ะเรียนพร้อมเปิดโอกาสให้ซกั ถามข้อสงสัยในปญั หา
- มอบหมายงาน เป็ นการมอบหมายงานจากปญั หาหรือสถานการณ์เพื่อให้
นักเรียนเรียนรูม้ โนทัศน์ สรุปมโนทัศน์ และเรียนรูว้ ธิ กี ารแก้ปญั หา
3.5 ภาระงาน/ชิน้ งาน
3.6 สื่อการเรียนรู้ / แหล่งการเรียนรู้
3.7 การวัดผลประเมินผล
- วิธกี ารวัด
38

- เครือ่ งมือวัด
- เกณฑ์การประเมิน
3.8 การบันทักผลหลังการสอน
4.นาแผนการจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้แบบฝึก เรื่อง โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ที่
ผู้วจิ ยั สร้างเสร็จเรียบร้อยแล้วเสนอต่ออาจารย์ท่ปี รึกษาสารนิพนธ์แล้วจึงนาไปให้ผู้เชี่ยวชาญด้าน
การสอนคณิตศาสตร์จานวน 3 ท่าน ตรวจสอบเกี่ยวกับความเทีย่ งตรงของเนื้อหา ความชัดเจนและ
ความถูกต้องของตัวชีว้ ดั ความสอดคล้องระหว่างเนื้อหากับกิจกรรม สื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้ และ
ความสอดคล้องระหว่างตัวชีว้ ดั กับการวัดผลและประเมินผล เพื่อนาข้อเสนอแนะมาปรับปรุงแก้ไข
5.นาแผนการจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้แบบฝึก เรื่อง โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ที่
ผ่านการปรับปรุงแก้ไขข้อเสนอแนะเรียบร้อยแล้วเสนอต่ออาจารย์ท่ปี รึกษาสารนิพนธ์ตรวจสอบ
พิจารณาอีก ครัง้ แล้ว นามาปรับปรุงแก้ไขให้เ รียบร้อ ยเพื่อ นาไปใช้ใ นการศึกษาค้นคว้ากับกลุ่ ม
ตัวอย่าง
6.2 แบบฝึ กที่ มีต่อควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำทำงคณิ ตศำสตร์ เรื่อง โจทย์
ปัญหำสมกำรเชิ งเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษำปี ที่ 1
ขัน้ ตอนการสร้า งแบบฝึ ก เรื่อ ง โจทย์ส มการเชิง เส้น ตัว แปรเดีย ว ของนั ก เรีย นชัน้
มัธยมศึกษาปีท่ี 1 มีดงั นี้
1.ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศัก ราช 2551 มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชัน้ ตัว ชี้วดั จุดประสงค์การเรียนรู้ คู่มอื การจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ คณิตศาสตร์ชนั ้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 เอกสารประกอบอื่นๆ เกี่ยวกับความคิดรวบยอดเนื้อหา
กิจกรรมการเรียนการสอน เรื่อง โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี
1 ศึกษาเอกสาร ทฤษฎี และงายวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง
2.คัดเลือกบทเรียน โดยนาเนื้อหาเรื่อง โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของ
นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 มาจัดแบ่งเป็ นแบบฝึกจานวน 4 ชุด ชุดละ 4 ข้อ โดยแต่ละ
แบบฝึกใช้เวลา 2 คาบ แต่ละคาบใช้เวลา 50 นาที ดังนัน้ เนื้อหาทีใ่ ช้ในการศึกษาค้นคว้า
ครัง้ นี้เป็นเนื้อหาคณิตศาสตร์ชนั ้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ตามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานของโรงเรียน
พระหฤทัยคอนแวนต์ เรื่อง โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1
ในการใช้แ บบฝึ ก แต่ ล ะชุด ผู้ว ิจยั ใช้แ นวทางการแก้ปญั หาของโพลยาและแบบฝึ ก ของจริยาวดี
บรรทัดเที่ยง (2547:98-212) และศิรลิ กั ษณ์ พุ่มกาพล (2546:104-156) มาประยุกต์เข้าด้วยกัน
เพื่อให้เหมาะสมกับวิชา และความสามารถของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 1 ซึ่งแต่ละแบบฝึ ก
ประกอบด้วย
- ชื่อแบบฝึก
- คาชีแ้ จงในการใช้แบบฝึกและลักษณะของแบบฝึก
- จุดประสงค์การเรียนรู้
39

- เวลาทีใ่ ช้ในการทาแบบฝึกวิเคราะห์โจทย์ปญั หา
- เนื้อหาทีเ่ ป็นส่วนทีเ่ สนอความรูใ้ ห้กบั นักเรียน
- กิจกรรมทีท่ าการวิเคราะห์เป็นแบบฝึกวิเคราะห์โจทย์ปญั หา
- การประเมินผลจากการกิจกรรมทีท่ าการวิเคราะห์
3.นาแบบฝึ กวิเคราะห์โจทย์ปญั หา เสนอต่ออาจารย์ท่ปี รึกษาสารนิพนธ์แล้วจึงนาไป
ให้ผู้เชีย่ วชาญจานวน 3 ท่าน ตรวจสอบเกี่ยวกับความเที่ยงตรง เนื้อหาความถูกต้องของภาษา
และความเหมาะสมของแบบฝึกโจทย์ปญั หา จากนัน้ นามาปรับปรุงแก้ไข
4.นาแบบฝึกทีป่ รับปรุงแล้ว เสนอต่ออาจารย์ทป่ี รึกษาสารนิพนธ์ตรวจพิจารณาอีกครัง้
แล้วนาไปปรับปรุงแก้ไข
5.นาแบบฝึ กที่แก้ไขเรียบร้อยแล้วไปทดลองใช้กับ นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 1
โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ ทีไ่ ม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จานวน 50 คน เพื่อพิจารณาหาข้อมูลต่างๆ
โดยการสังเกตพฤติกรรมสัมภาษณ์ ผู้เรียนตลอดจนดูผลงานการทาแบบฝึ กวิเคราะห์โจทย์ปญั หา
ระหว่างเรียนการปฏิบตั กิ จิ กรรมระหว่างเรียน แล้วนาไปปรับปรุงแก้ไขก่อนนาไปใช้จริง
6.3 แบบทดสอบควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำคณิ ตศำสตร์ เรื่อง โจทย์สมกำรเชิ ง
เส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษำปี ที่ 1 ซึ่งผูว้ ิ จยั ได้ดำเนิ นกำรสร้ำงตำมขัน้ ตอน
ดังนี้
1.ศึกษาเนื้อหาและจุดประสงค์การเรียนรูว้ ชิ าคณิตศาสตร์ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา
ปีท่ี 1 ในวิชาพืน้ ฐาน
2.ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับทฤษฎีและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องความสามารถในการ
แก้ปญั หาคณิตศาสตร์
3.ศึก ษาวิธกี ารสร้างแบบทดสอบความสามารถในการแก้ปญั หาคณิต ศาสตร์ เรื่อ ง
โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1
4.สร้างแบบทดสอบอัตนัยจานวน 4 ฉบับ ฉบับละ 2 ข้อ ทีม่ ตี ่อความสามารถใน
การแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ ฉบับที่ 1 เรื่อง โจทย์สมการเกี่ยวกับการเปรียบเทียบจานวน ฉบับ
ที่ 2 เรือ่ ง โจทย์สมการเกีย่ วกับอายุ ฉบับที่ 3 เรือ่ ง โจทย์สมการเกีย่ วกับเศษส่วน ฉบับที่ 4 เรื่อง
โจทย์สมการระคน นาแบบทดสอบความสามารถในการแก้ปญั หาคณิตศาสตร์ท่สี ร้างขึ้นเสนอต่อ
อาจารย์ทป่ี รึกษาสารนิพนธ์เพื่อพิจารณาความเหมาะสมและชี้แนะข้อบกพร่องแล้วนาไปแก้ไขตาม
คาแนะนาในการการปรับปรุงแก้ไข
5.นาแบบทดสอบความสามารถในการแก้ปญั หาคณิตศาสตร์ทแ่ี ก้ไขตามคาชีแ้ นะของ
อาจารย์ท่ปี รึกษาสารนิพนธ์แล้วเสนอต่อผูเ้ ชี่ยวชาญซึ่งเป็ นชุดเดียวกับทีต่ รวจสอบความเที่ยงตรง
ของเนื้อหาและความเหมาะสมของภาษาทีใ่ ช้แล้วนาข้อเสนอแนะมาปรับปรุงแก้ไข จากนัน้ นาเสนอ
ต่ออาจารย์ทป่ี รึกษาสารนิพนธ์และผูเ้ ชีย่ วชาญอีกครัง้ แล้วนาข้อเสนอแนะมาปรับปรุงแก้ไข
40

6. นาแบบทดสอบทีแ่ ก้ไขแล้วเสนอผูเ้ ชีย่ วชาญการสอนคณิตศาสตร์จานวน 3 ท่าน เพื่อ


ตรวจสอบคุณภาพ ความเทีย่ งตรงของเนื้อหา โดยพิจารณาว่าข้อสอบทีส่ ร้างขึน้ สอดคล้องกับเนื้อหา
และจุดประสงค์ของกิจกรรมหรือไม่ โดยใช้เกณฑ์ดงั นี้
คะแนน +1 สาหรับข้อสอบทีส่ อดคล้องกับจุดประสงค์ของกิจกรรม
คะแนน 0 สาหรับข้อสอบทีไ่ ม่แน่ใจว่าสอดคล้องกับจุดประสงค์ของกิจกรรม
คะแนน -1 สาหรับข้อสอบทีไ่ ม่สอดคล้องกับจุดประสงค์ของกิจกรรม
7. นาแบบทดสอบความสามารถในการแก้ปญั หาคณิตศาสตร์ ทีผ่ ่านการตรวจสอบจาก
อาจารย์ทป่ี รึกษาสารนิพนธ์และผูเ้ ชี่ยวชาญการสอนคณิตศาสตร์แล้วมาคานวณหาค่า IOC แล้ว
คัดเลือกข้อสอบทีม่ คี ่า IOC ≥.50 พบว่าแบบทดสอบจานวน 16 ข้อ มีค่า IOC อยูใ่ นช่วง 0.67-1.00
8. ข้อสอบอัตนัย ตรวจใช้คะแนนแบบทดสอบอัตนัยทีน่ ักเรียนทาได้มเี กณฑ์ให้คะแนนโดย
ตรวจเป็นรายข้อ ดังนี้

เกณฑ์การให้คะแนน
เกณฑ์ คะแนน ผลการทาข้อสอบทีป่ รากฏให้เห็น
2 แสดงวิธกี ารคิดชัดเจน ครบถ้วน
ทาความเข้าใจในปญั หา 1 แสดงวิธกี ารคิดไม่ชดั เจนหรือถูกต้องบางส่วน
0 ไม่แสดงวิธกี ารการคิดหรือแสดงวิธกี ารคิดไม่ถูกต้อง
2 แสดงความสัมพันธ์การแก้ปญั หาถูกต้องทัง้ หมด
วางแผนการแก้ปญั หา 1 แสดงความสัมพันธ์การแก้ปญั หาถูกต้องบางส่วน
0 แสดงความสัมพันธ์การแก้ปญั หาไม่ถูกต้อง
2 วิธกี ารแก้ปญั หาถูกต้องทัง้ หมด
ดาเนินการแก้ปญั หา 1 วิธกี ารแก้ปญั หาถูกต้องบางส่วน
0 วิธกี ารแก้ปญั หาไม่ถูกต้อง
1 เมือ่ ตอบถูกต้อง
ตรวจสอบคาตอบ
0 เมือ่ ตอบผิดหรือไม่ตอบ

9.นาแบบทดสอบทีค่ ดั เลือกได้แล้วทัง้ หมด ไปทดลองใช้กบั นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาที่ 2


จานวน 50 คน เพื่อหาคุณภาพของแบบทดสอบ
10.นาผลทีไ่ ด้มาวิเคราะห์เพื่อหาค่าอานาจจาแนกเป็นรายข้อ โดยใช้วธิ ขี อง วิทนีย์ และซา
เบอร์ส (Whitney and Sabers) (ล้วน สายยศ;และอังคณา สายยศ. 2539:199–200) คัดเลือกข้อที่
มีค่าความยากง่ายระหว่าง 0.20 – 0.80 และค่าอานาจจาแนกตัง้ แต่ 0.20 ขึน้ ไปผลทีไ่ ด้ค่าความยาก
ง่ายอยูใ่ นช่วง 0.47-0.63 และค่าอานาจจาแนกอยูใ่ นช่วง 0.24-0.72 จากจานวนข้อสอบ 16 ข้อ
41

11.นาแบบทดสอบทีไ่ ด้ปรับปรุงแล้วคัดเลือก ไปหาค่าความเชื่อมันโดยน


่ าไปทดสอบกับ
นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ทีไ่ ม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จานวน 50 คน แล้วนามาวิเคราะห์หาค่า
สัมประสิทธิ ์แอลฟา (Alpha–Coeffcient) ของครอนบัค (Cronbach) (ล้วน สายยศ;และอังคณา
สายยศ. 2538:200) ได้ค่าความเชื่อมัน่ 0.86 แล้วนาเสนอต่ออาจารย์ทป่ี รึกษาสารนิพนธ์ก่อน
นาไปใช้กบั กลุ่มตัวอย่าง
12.จัดพิมพ์แบบทดสอบความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1

7. วิ ธีกำรดำเนิ นกำรศึกษำค้นคว้ำ
ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการศึกษาค้นคว้า โดยดาเนินการตามขัน้ ตอน ในช่วงเดือน มกราคม -
กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2555 ดังนี้
7.1 ขออนุญาตดาเนินการวิจยั กับนักเรียนโรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์จากหัวหน้าฝา่ ย
วิชาการ โดยสุ่มตัวอย่างจากประชากรทัง้ หมด ด้วยวิธกี ารสุ่มอย่างง่าย โดยใช้หอ้ งเรียนเป็นหน่วย
การสุ่ม จานวน 1 ห้องเรียน จากจานวน 4 ห้องเรียน ได้จานวนนักเรียน 50 คน จากจานวน
นักเรียนทัง้ หมด 220 คน ของโรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ ถนนสุนทรโกษา เขตคลองเตย
จังหวัดกรุงเทพมหานคร
7.2 ดาเนินการทดลองโดยผูว้ จิ ยั ดาเนินการใช้แบบฝึกทีม่ ตี ่อความสามารถในการแก้ปญั หา
ทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ดังนี้
ชัวโมงที
่ ่ 1-2 จัดกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้แบบฝึก เรื่อง โจทย์สมการเกี่ยวกับการ
เปรียบเทียบจานวน
ชัวโมงที ่ ่ 3-4 จัดกิจกรรมการเรียนโดยใช้แบบฝึก เรือ่ ง โจทย์สมการเกีย่ วกับอายุ
ชัวโมงที
่ ่ 5-6 จัดกิจกรรมการเรียนโดยใช้แบบฝึก เรือ่ ง โจทย์สมการเกีย่ วกับ
เศษส่วน
ชัวโมงที
่ ่ 7-8 จัดกิจกรรมการเรียนโดยใช้แบบฝึก เรือ่ ง โจทย์สมการระคน
7.3 ทาการทดสอบหลังเรียน (Post - Test) กับกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้แบบทดสอบ
ความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียน
ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1
7.4 ตรวจให้คะแนนแบบทดสอบและนาคะแนนทีไ่ ด้มาทาการวิเคราะห์โดยใช้วธิ กี ารทาง
สถิตเิ พื่อตรวจสอบสมมติฐานต่อไป
42

8. สถิ ติที่ใช้ในกำรวิ เครำะห์ข้อมูล


1. สถิ ติพื้นฐำน ที่ใช้ ในกำรวิ เครำะห์ข้อมูล
1.1 ค่าเฉลีย่ ( Mean ) คานวณจากสูตร

X
X
N
เมือ่ แทน คะแนนค่าเฉลีย่
x แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตัว
N แทน จานวนนักเรียนในกลุ่มตัวอย่าง
1.2 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน
N  x 2    x 2
s = N  N 1
เมือ่ s แทน ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน
x2 แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตัวยกกาลังสอง
(x)2 แทน ผลรวมของคะแนนทัง้ หมดยกกาลังสอง
N แทน จานวนนักเรียนในกลุ่มตัวอย่าง

2. สถิ ติที่ใช้ในกำรตรวจสอบคุณภำพเครื่องมือ
2.1 ค่าความเทีย่ งตรงของแบบทดสอบความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์
เรือ่ ง โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โดยหาจากการ
พิจารณาค่าดัชนีความสอดคล้อง( Index Of Congruency : IOC) ระหว่างคุณสมบัตทิ น่ี ิยามไว้กบั
ข้อสอบทีใ่ ช้วดั โดยใช้สตู รของโรวิเนลลี และแฮมเบิลตัน ( ล้วน สายยศ ; และอังคณา สายยศ .
2539 : 248 )

IOC = R
N

เมือ่ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้อง มีค่าอยูร่ ะหว่าง 1 ถึง +1


แทน ผลรวมของคะแนนการพิจารณาของผูเ้ ชีย่ วชาญ
N แทน จานวนผูเ้ ชีย่ วชาญ
43

2.2 หาดัชนี ความยากของแบบทดสอบความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์


เรือ่ ง เรือ่ ง โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1

SU  S L  2 NX min 
PE 
2 N  X max  X min 

เมือ่
PE แทน ดัชนีค่าความยาก
Su แทน ผลรวมของคะแนนกลุ่มเก่ง
SL แทน ผลรวมของคะแนนกลุ่มอ่อน
X max แทน คะแนนทีน่ กั เรียนทาได้สงู สุด
X min แทน คะแนนทีน่ กั เรียนทาได้ต่ าสุด
N แทน จานวนของผูเ้ ข้าสอบของกลุ่มเก่งหรือกลุ่มอ่อน
2.3 ห่าคาอานาจจาแนกเพื่อวิเคราะห์รายข้อ โดยใช้วธิ ขี องวิทนียแ์ ละซาเบอร์ (ล้วน
สายยศ ; และอังคณา สายยศ. 2539 : 257 ) )
SU  S L
D 
N  X max  X min 

เมือ่ D แทน ค่าอานาจจาแนก


S แทน ผลรวมของคะแนนกลุ่มเก่ง
SL แทน ผลรวมของคะแนนกลุ่มอ่อน
X max แทน คะแนนทีน่ กั เรียนทาได้สงู สุด
X min แทน คะแนนทีน่ กั เรียนทาได้ต่ าสุด
N แทน จานวนของผูเ้ ข้าสอบของกลุ่มเก่งหรือกลุ่มอ่อน
2.4 ค่าความเชื่อมันของแบบทดสอบความสามารถในการแก้
่ ปญั หาทางคณิตศาสตร์
เรือ่ ง โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 คานวณจากการหาค่า
สัมประสิทธิ ์แอลฟา ( α - Coefficient) โดยใช้สตู รของครอนบัค ( ล้วน สายยศ ; และอังคณา
สายยศ .2541:228-229 ) ดังนี้
α =

เมือ่ α แทน สัมประสิทธิ ์ของเชื่อมัน่


n แทน จานวนของแบบทดสอบ
แทน คะแนนความแปรปรวนของคะแนนข้อหนึ่งๆ
แทน คะแนนความแปรปรวนทัง้ หมด
44

3. สถิ ติที่ใช้ในกำรทดสอบสมมติ ฐำน


ศึกษาผลของการใช้แบบฝึกทีม่ ตี ่อความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง
โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โดย ใช้ค่าสถิติ t - test One
Samples เพื่อหาผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์รอ้ ยละ 60 โดย
ใช้สตู ร t - test One Samples (ชูศรี วงศ์รตั นะ.2550:134) ได้ดงั ต่อไปนี้

x  0
t
s
n

เมือ่ t แทน ค่าทีใ่ ช้ในการพิจารณา


แทน ค่าเฉลีย่ ของคะแนนสอบทีน่ ักเรียนทาได้
แทน ค่าเฉลีย่ ทีเ่ ป็ นเกณฑ์ทต่ี งั ้ ไว้
S แทน ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานของคะแนนสอบ
n แทน จานวนกลุ่มตัวอย่าง
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

สัญลักษณ์ ที่ใช้ในการวิ เคราะห์ข้อมูล


ในการเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลและแปลความหมาย ผูว้ จิ ยั ใช้สญั ลักษณ์ในการ
วิเคราะห์ขอ้ มูลดังนี้
แทน คะแนนเฉลีย่
N แทน จานวนนักเรียนในกลุ่มตัวอย่าง
K แทน จานวนคะแนนเต็ม
แทน ค่าเฉลีย่ มาตรฐานทีใ่ ช้เป็ นเกณฑ์ ( ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม)
s แทน ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน
t แทน ค่าทีใ่ ช้พจิ ารณาใน t – Distribution

การวิ เคราะห์ข้อมูล
การนาเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลและแปลการวิเคราะห์ขอ้ มูลในการทดลองครัง้ นี้ ผูว้ จิ ยั
เสนอ ดังนี้
ผลการวิเคราะห์ความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชัน้
มัธยมศึกษาปีท่ี 1 หลังได้รบั การสอนโดยใช้แบบฝึก เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
กับเกณฑ์ (ร้อยละ 60)

ผลการวิ เคราะห์ข้อมูล
ผลการวิเคราะห์ความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์หลังได้รบั การสอนโดยใช้
แบบฝึก เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของผูเ้ รียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 กับเกณฑ์
(ร้อยละ 60) โดยใช้ t – test One Samples ปรากฎในตาราง 2
46

ตาราง 2 การเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์เรือ่ ง โจทย์ปญั หา


สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 หลังได้รบั การสอนโดยใช้
แบบฝึกกับเกณฑ์

การทดสอบ N K s 60% t
ความสามารถใน
การแก้ปญั หาทาง
คณิตศาสตร์ 50 40 31.10 3.78 24 13.40**

** มีนัยสาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01


จากตาราง 2 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลพบว่า ความสามารถในการแก้ปญั หาทาง
คณิตศาสตร์โดยใช้แบบฝึก เรือ่ ง การโจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้
มัธยมศึกษาปีท่ี 1 หลังจากผูเ้ รียนใช้แบบฝึก สูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 60 อย่างมีนัยสาคัญทาง
สถิตทิ ร่ี ะดับ .01 โดยมีคะแนนเฉลีย่ คิดเป็ นร้อยละ 77.75
บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

การศึกษาค้นคว้าครัง้ นี้ เป็ นการศึกษาผลของการใช้แบบฝึกทีม่ ตี ่อความสามารถในการ


แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ซึง่ สรุปสาระสาคัญได้ดงั นี้

ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการ
เชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 กับเกณฑ์หลังได้รบั การสอนโดยใช้แบบฝึก

สมมติ ฐานของการศึกษาค้นคว้า
ความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 หลัง
การใช้แบบฝึก เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สูงกว่าเกณฑ์

วิ ธีดาเนิ นการศึกษาค้นคว้า
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใ ช้ใ นการศึกษาค้นคว้าครัง้ นี้ เป็ นนักเรียนระดับชัน้ มัธ ยมศึกษาปี ท่ี 1
โรงเรียนพระหฤทัย คอนแวนต์ เขตคลองเตย จัง หวัดกรุง เทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปี
การศึกษา 2554 จานวน 4 ห้องเรียน จานวนนักเรียน 220 คน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครัง้ นี้ เป็ นนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 1
โรงเรียนพระหฤทัย คอนแวนต์ เขตคลองเตย จัง หวัดกรุง เทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปี
การศึกษา 2554 จานวน 1 ห้องเรียน 50 คน ได้มาโดยสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random
sampling) โดยใช้หอ้ งเรียนเป็นหน่วยในการสุ่ม (Sampling Unit)
2. เนื้ อหาที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
สาระการเรียนรูท้ ใ่ี ช้ในการศึกษาครัง้ นี้เป็ น โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ในวิชาคณิตศาสตร์พน้ื ฐาน ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ตามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน 2552
กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์รชู้ ่วงชัน้ ที่ 3 ซึง่ ประกอบด้วยเรือ่ ง
1.โจทย์สมการเกีย่ วกับการเปรียบเทียบจานวน
2.โจทย์สมการเกีย่ วกับอายุ
3.โจทย์สมการเกีย่ วกับเศษส่วน
4.โจทย์ระคน
48

3. ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการศึกษาค้นคว้า ดาเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2554 ใช้เวลา 9 คาบ คาบละ 50 นาที ดังนี้
ชัวโมงที
่ ่ 1-2 โจทย์สมการเกีย่ วกับการเปรียบเทียบจานวน
ชัวโมงที่ ่ 3-4 โจทย์สมการเกีย่ วกับอายุ
ชัวโมงที
่ ่ 5-6 โจทย์สมการเกีย่ วกับเศษส่วน
ชัวโมงที ่ ่ 7-8 โจทย์ระคน
ชัวโมงที ่ ่ 9 ทดสอบหลังเรียน
4. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
ในการศึกษาค้นคว้าในครัง้ นี้ ผูว้ จิ ยั มีการสร้างเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั ดังนี้
4.1 แผนการจัดการเรียนรูเ้ รื่อง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียน
ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 มีทงั ้ หมด 4 แผน ดังนี้
4.1.1 แผนการจัดการเรียนรูเ้ รื่อง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกี่ยวกับ
จานวน
4.1.2 แผนการจัดการเรียนรูเ้ รื่อง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกี่ยวกับ
อายุ
4.1.3 แผนการจัดการเรียนรูเ้ รื่อง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกี่ยวกับ
เศษส่วน
4.1.4 แผนการจัดการเรียนรูเ้ รื่อง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกี่ยวกับ
สมการระคน
4.2 แบบฝึ กความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปญั หาสมการ
เชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1
4.3 แบบทดสอบความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรื่องโจทย์ปญั หา
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 จานวน 4 ฉบับ ฉบับละ 2 ข้อ
เป็ นแบบทดสอบแบบอัตนัย จานวน 8 ข้อ ได้ค่าความยาก (PE) อยู่ระหว่าง 0.47 - 0.63 ค่า
อานาจจาแนก (D) อยูร่ ะหว่าง 0.24 - 0.72 ค่าความเชื่อมัน่ (α) เท่ากับ 0.86
5. วิ ธีดาเนิ นการศึกษาค้นคว้า
ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการทดลองตามขัน้ ตอน ดังนี้
5.1 ขออนุญาตดาเนินการ ทาการวิจยั กับนักเรียน โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ จาก
หัวหน้าฝา่ ยวิชาการ โดยสุ่มตัวอย่างจากประชากรทัง้ หมด ด้วยวิธกี ารสุ่มอย่างง่ายโดยใช้หอ้ งเรียน
เป็นหน่วยการสุ่ม จานวน 1 ห้องเรียน จากจานวน 4 ห้องเรียน ได้จานวนนักเรียน 50 คน จาก
จานวนนักเรียนทัง้ หมด 220 คน ของโรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ ถนนสุนทรโกษา เขตคลองเตย
จังหวัดกรุงเทพมหานคร
49

5.2 ดาเนินการทดลอง โดยผูว้ จิ ยั ดาเนินการใช้แบบฝึกทีม่ ตี ่อความสามารถในการ


แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี
1 ดังนี้
ชัวโมงที
่ ่ 1-2 จัดกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้แบบฝึก เรื่อง โจทย์สมการเกี่ยวกับการ
เปรียบเทียบจานวน
ชัวโมงที่ ่ 3-4 จัดกิจกรรมการเรียนโดยใช้แบบฝึก เรือ่ ง โจทย์สมการเกีย่ วกับอายุ
ชัวโมงที
่ ่ 5-6 จัดกิจกรรมการเรียนโดยใช้แบบฝึก เรือ่ ง โจทย์สมการเกีย่ วกับ
เศษส่วน
ชัวโมงที
่ ่ 7-8 จัดกิจกรรมการเรียนโดยใช้แบบฝึก เรือ่ ง โจทย์สมการระคน
5.3 ทาการทดสอบหลังเรียน ( Post –Test ) กับกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้แบบทดสอบ
ความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โดยใช้เวลา 50 นาที
5.4 ตรวจให้คะแนนแบบทดสอบและนาคะแนนทีไ่ ด้มาทาการวิเคราะห์โดยใช้วธิ กี ารทาง
สถิตเิ พื่อตรวจสอบสมมติฐานต่อไป

การวิ เคราะห์ข้อมูล
วิเ คราะห์ ค ะแนนความสามารถในการแก้ ป ญ ั หาทางคณิ ต ศาสตร์ ข องนั ก เรีย นชัน้
มัธยมศึกษาปีท่ี 1 หลังได้รบั การสอนโดยใช้แบบฝึก โดยใช้ค่าสถิติ t – test One Samples

สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
ความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1
หลังได้รบั การสอนโดยใช้แบบฝึ ก สูงกว่าเกณฑ์รอ้ ยละ 60 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ่รี ะดับ .01
โดยมีคะแนนเฉลีย่ คิดเป็นร้อยละ 77.75

อภิ ปรายผล
จากการสอนโดยใช้แบบฝึกทีม่ ตี ่อความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง
โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 1 สามารถอภิปรายผล
การศึกษาค้นคว้าได้ดงั นี้
ความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปร
เดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 หลังได้รบั การสอนโดยใช้แบบฝึกสูงขึน้ อย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถิตทิ ่รี ะดับ .01 ซึง่ เป็ นไปตามสมมติฐาน ทัง้ นี้อาจเนื่องมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดย
ใช้แบบฝึกสามารถช่วยพัฒนาความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนได้ดขี น้ึ
โดยสังเกตจาก
50

1.นักเรียนสามารถแก้โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ได้ตามขัน้ ตอนดังนี้ ขัน้


ที่ 1 ขัน้ ทาความเข้าใจปญั หาซึง่ ในขัน้ นี้เป็นขัน้ ทีน่ กั เรียนสามารถวิเคราะห์โจทย์ได้ สามารถเขียนสิง่
ทีโ่ จทย์ตอ้ งการรู้ โดยครูเป็ นผูค้ อยแนะนาเพื่อให้นักเรียนได้เข้าใจปญั หาและรูว้ ่าตนรูอ้ ะไรบ้างจาก
ที่โจทย์กาหนดให้ ขัน้ ที่ 2 ขัน้ วางแผนการแก้ปญั หา นักเรียนสามารถกาหนดการวางแผนการ
แก้ปญั หาได้ครูใช้คาถามกระตุ้นให้นักเรียนคิดและคอยให้คาแนะนาช่วยเหลือเพื่อให้หาคาตอบได้
ขัน้ ที่ 3 ขัน้ ดาเนินการตามแผน นักเรียนแสดงวิธที าเพื่อหาคาตอบตามแนวทางทีต่ นเองกาหนดไว้
ซึง่ ในขัน้ นี้จะช่วยให้นักเรียนนาข้อมูลทีไ่ ด้วเิ คราะห์ไว้มาใช้ในการแก้ปญั หาทาให้ครูได้ทราบถึงแนว
ทางการคิดของนักเรียนและตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนได้เป็ นอย่างดี ขัน้ ที่ 4 ขัน้ ตรวจสอบ
คาตอบ เป็นขัน้ ตอนทีใ่ ห้นกั เรียนตรวจสอบข้อผิดพลาดของตนได้และสามารถทีจ่ ะแก้ไขได้ทนั ที ทา
ให้นักเรียนได้รบั สิง่ ที่เป็ นความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้อง ซึ่งสอดคล้องกับ กระบวนการแก้ปญั หา
ของโพลยา (Polya.1957:16–17) ทีป่ ระกอบด้วยขัน้ ตอนทีส่ าคัญ 4 ขัน้ ตอน ได้แก่
1.ขัน้ ทาความเข้าใจปญั หา เป็ นขัน้ เริม่ ต้นของการแก้ปญั หา ทีต่ ้องอาศัยทักษะใน
การอ่านโจทย์ ทักษะการแปลความทางภาษาการหาแบบจาลอง
2.ขัน้ วางแผนแก้ปญั หา เป็ นขัน้ ตอนทีส่ าคัญทีส่ ุด ให้ผเู้ รียนแสวงหาทางเลือกใน
การแก้ปญั หาอย่างหลากหลาย ด้วยการทดลอง ด้วยการลองผิด – ลองถูก เพื่อกาหนดแนวทาง
หรือแผนในการแก้ปญั หา และท้ายสุดเลือกยุทธวิธที จ่ี ะนามาแก้ปญั หา
3.ขัน้ ดาเนินการตามแผน เป็ นขัน้ ตอนทีต่ ้องอาศัยทักษะในการคิดคานวณ ทักษะใน
การพิสจู น์หรือการอธิบายและการให้เหตุผล โดยเริม่ จากการตรวจสอบความเป็ นไปได้ ตามแผน
พร้อมลงรายละเอียด และลงมือปฏิบตั จิ นกระทัง้ สามารถตอบคาถามได้
4.ขัน้ ตรวจสอบ เป็ นขัน้ ตอนการตรวจสอบผลลัพธ์ท่หี าได้ โดยอาศัยความรูส้ กึ เชิง
จานวนหรือความรูส้ กึ เชิงปริภูม ิ สาหรับนักเรียนที่คาดเดาคาตอบ ก่อนลงมือปฏิบตั ิ ก็สามารถ
เปรียบเทียบหรือ ตรวจสอบความสมเหตุ ของค าตอบที่ค าดเดา กับค าตอบจริงในขัน้ ตอนนี้ไ ด้
และสอดคล้องกับกรมวิชาการ (2545:195-196) ที่กล่าวว่าในการเริม่ ต้นพัฒนาผูเ้ รียนให้มที กั ษะใน
กระบวนการแก้ ป ญ ั หา ผู้ส อนจะต้อ งสร้า งพื้น ฐานให้ผู้เ รีย นเกิด ความคุ้น เคยกับ กระบวนการ
แก้ปญั หาซึง่ มีอยู่ 4 ขัน้ ตอน ดังต่อไปนี้ขนั ้ ที่ 1 ทาความเข้าใจปญั หาหรือวิเคราะห์ปญั หา ขัน้ ที่ 2
การวางแผนป ญ ั หา ขัน้ ที่ 3 ด าเนิ น การแก้ ป ญ ั หา ขัน้ ที่ 4 ตรวจสอบหรือ มองย้อ นกลับ และ
สอดคล้องกับงานวิจยั ของ วิลเลียม (William.2003:185–187) ได้ทาการวิจยั เกี่ยวกับการเขียนตาม
ขัน้ ตอนกระบวนการแก้ปญั หาว่าสามารถช่วยเสริมการทางานแก้ปญั หาได้ดนี ักเรียนจานวน 75% มี
ความพอในใจกิจกรรมการเขียนและนักเรียนจานวน 80% บอกว่ากิจกรรมการเขียนจะช่วยให้เขา
เป็ นนักแก้ปญั หาทีด่ ขี น้ึ ได้
2.การฝึ ก ฝนด้ว ยการทาแบบฝึ ก ทาให้นักเรียนมีความเข้าใจ วิเ คราะห์โจทย์ได้เ ป็ น
ลาดับขัน้ ตอนสามารถที่จะแก้ปญั หาด้ว ยตนเองได้อ ย่างเป็ นระบบซึ่งสอดคล้องกับงานวิจยั ของ
เตือนใจ ตรีเนตร (2544:80) ได้ศกึ ษาผลการใช้แบบฝึกการแก้โจทย์ปญั หาคณิตศาสตร์ เรื่อง พืน้ ที่
สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ทีใ่ ห้นกั เรียนแสดงขัน้ ตอนการแก้ปญั หาผลการวิจยั พบว่าหลัง
51

การใช้แบบฝึกการแก้โจทย์ปญั หาคณิตศาสตร์เรือ่ ง พืน้ ที่ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนหลังการ


ฝึกสูงกว่าก่อนฝึก และสอดคล้องกับงานวิจยั ของ พิชาญ พรหมสมบัติ ( 2548:78-79 )ได้ศกึ ษาผล
ของการใช้แ บบฝึ ก เรื่อ งการแก้ โ จทย์ป ญ ั หาสมการ ส าหรับ นัก เรีย นชัน้ ประถมศึก ษาปี ท่ี 6
ผลการวิจยั สรุปว่า ประสิทธิภาพของแบบฝึกคณิตศาสตร์ เรื่องการแก้โจทย์ปญั หาสมการ ทีผ่ ู้วจิ ยั
สร้างขึน้ และนาไปใช้ฝึกทาให้นกั เรียนมีผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนหลังฝึกสูงกว่าก่อนฝึก
3.เนื้อหาในเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเป็ นเนื้อหาที่เหมาะสมระดับหนึ่งในการใช้
แบบฝึกเพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปญั หา ซึง่ การใช้แบบฝึกทาให้นักเรียนสามารถวิเคราะห์
โจทย์สมการได้ห ลากหลาย ทัง้ โจทย์ส มการเกี่ยวกับจานวน โจทย์ส มการเกี่ยวกับอายุ โจทย์
สมการเศษส่วน และ โจทย์สมการระคน แบบฝึกทาให้นกั เรียนลาดับวิธกี ารคิดได้เป็ นขัน้ ตอนชัดเจน
และเข้ า ใจง่ า ยซึ่ง สอดคล้ อ งกับ ฮาร์ เ ลส (Harless.1978:93-94) กล่ า วไว้ ว่ า แบบฝึ ก ที่ ใ ช้ ต้ อ ง
หลากหลายชนิด เพื่อเร้าให้นักเรียนเกิดความสนใจ แบบฝึกทีจ่ ดั ทาขึน้ นัน้ ต้องให้นักเรียนสามารถ
แยกออกมาพิจารณาได้ว่าแต่ละแบบแต่ละข้อต้องการอะไร มีคาชีแ้ จงสัน้ ๆทีท่ าให้นักเรียนเข้าใจวิธ ี
ได้ง่าย ใช้เวลาเหมาะสม คือ ไม่ใช้เวลานานหรือสัน้ เกินไปและ เป็ นสิง่ ทีน่ ่ าสนใจ และท้าทายให้
แสดงความสามารถยังสอดคล้องกับงานวิจยั ของ ยาวัซ (Yavuz. 2003:Online) ได้ทาวิจยั เพื่อศึกษา
อิทธิพลของการเรียนรูโ้ ดยใช้แบบฝึ กทักษะเชิงประสบการณ์ในชัน้ เรียน กรณีศกึ ษาจากการเรียน
การสอน เรื่องกาหนดการเชิงเส้น ผลการวิจยั พบว่า การใช้แบบฝึกเชิงประสบการณ์ทงั ้ สองกลุ่ ม
สามารถสร้างความเข้าใจเรือ่ งกาหนดการเชิงเส้นเพิม่ ขึน้ สังเกตได้จากการเปรียบเทียบคะแนน หลัง
เรียนซึง่ สูงกว่าคะแนนก่อนเรียนอย่างมีนยั สาคัญ
ด้วยเหตุผลดังกล่าวมาแล้วจึง มีผลทาให้นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปญั หาทาง
คณิตศาสตร์สงู ขึน้ กว่าเกณฑ์รอ้ ยละ 60

ข้อสังเกตจากการศึกษาค้นคว้า
จากการจัดกิจกรรมการเรียนรูก้ บั นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โดยใช้แบบฝึก เรือ่ ง
โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ผูว้ จิ ยั ได้พบข้อสังเกตบางประการจากการวิจยั ซึง่ พอสรุป
ได้ดงั นี้
1.นักเรียนบางคนยังไม่เข้าใจเกีย่ วกับการแสดงวิธคี ดิ ตามกระบวนการแก้ปญั หา 4
ขัน้ ในการแก้โจทย์สมการ ยังวิเคราะห์โจทย์ไม่ได้ว่าส่วนใด คือ สิง่ ทีโ่ จทย์ถาม ส่วนใดคือสิง่ ที่
โจทย์ตอ้ งการทราบ และจะลาดับขัน้ การวางแผนในการแก้ปญั หาอย่างไร ครูจงึ ต้องยกตัวอย่างจาก
โจทย์สมการง่ายๆ ทีก่ าหนดตัวแปรมาให้ไปสู่โจทย์สมการ ทีไ่ ม่กาหนดตัวแปร เพื่อฝึกให้นกั เรียน
สมมติตวั แปรให้ได้ว่าสถานการณ์แบบใดจะต้องสมมติตวั แปรอย่างไรก่อนจึงจะนาไปสู่การแก้ปญั หา
โจทย์สมการนัน้ ได้ เมือ่ นักเรียนเข้าใจจึงนาไปสู่การแก้ปญั หา ตามกระบวนการและยกตัวอย่าง
ประกอบหลากหลายตัวอย่าง เพื่อให้นกั เรียนมีประสบการณ์ในการเรียนรู้หลายๆแบบและลองฝึกให้
52

นักเรียนเขียนสมการจากโจทย์ทค่ี รูให้โดยยังไม่แสดงวิธที าให้ฝึกเขียนสมการให้ได้จากสถานการณ์


ต่างๆ
2.นักเรียนมีความรูเ้ กีย่ วกับการวิเคราะห์โจทย์สมการจากเดิมมากขึน้ ลาดับ ขัน้ ตอนใน
การแก้ปญั หาได้ตามกระบวนการ 4 ขัน้ จากทีไ่ ด้เรียนมาแล้วในคาบเรียนก่อนเกีย่ วกับการแก้โจทย์
สมการเปรียบเทียบจานวน สมการหาอายุ สมการเศษส่วน และสมการระคน สามารถวิเคราะห์
โจทย์ได้ถูกต้องจะมีเพียงไม่กค่ี นทีย่ งั สับสนขัน้ ตอนของการวางแผนการแก้ปญั หาและขัน้ ดาเนินการ
เนื่องจากขาดการฝึก เพราะนักเรียนไม่ทางานด้วยตนเอง ใช้วธิ กี ารลอกเพื่อนในขณะทีค่ รูมอบหมาย
งานให้ทา
3.มีนกั เรียนบางคนทีย่ งั ต้องคอยให้คาแนะนา ขัน้ ตอนในการแก้ปญั หา จากแบบฝึก
ต้องให้ครูคอยช่วยเหลือ ในการลาดับขัน้ ตอนการแก้ปญั หา และต้องแนะนาเป็ นรายบุคคล ครูนา
นักเรียนกลุ่มนี้มาสอนนอกเวลาเพิม่ เติมในช่วงกลางวัน โดยนาตัวอย่าง โจทย์สมการแบบง่ายมาฝึก
ให้นกั เรียนวิเคราะห์หาวิธแี ก้และเขียนประโยคสัญลักษณ์ของสมการก่อนทีจ่ ะให้นกั เรียนแสดงวิธที า
ตามกระบวนการทีค่ รูสอนในชัวโมงเรี
่ ยน

ข้อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะทัวไป ่
1.1. ผูส้ อนควรชีแ้ จงให้นักเรียนเข้าใจถึงวิธ ีการ หลักการ ขัน้ ตอนต่างๆ ของการ
เรียนรูโ้ ดยใช้แบบฝึก ในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ตามขัน้ ตอน
1.2. การสร้างบรรยากาศในชัน้ เรียนและในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนครูควร
สร้างบรรยากาศในการเรียนให้สนุกสนาน ท้าทาย ไม่เข้มงวดเอาจริงเอาจังจนเกินไปควรเป็นกันเอง
กับนักเรียนเพื่อให้นกั เรียนรูส้ กึ เป็นอิสระ จะทาให้ผเู้ รียนกล้าพูด กล้าถามและส่งเสริมการสนับสนุน
การแก้ปญั หาของผูเ้ รียน ซึง่ สอดคล้องกับการพัฒนาความสามารถในการแก้ปญั หาของ กอนซาเลส
(Gonzales.1998:74) ได้ให้ความคิดเห็นไว้ว่า บรรยากาศทีส่ ่งเสริมการพัฒนาความสามารถ ในการ
แก้ปญั หาจะต้องเป็ นบรรยากาศทีท่ าให้นกั เรียนรูส้ กึ สะดวกสบายในการแสดงแนวคิด ไม่เข้มงวดเอา
จริงเอาจังจนเกิดความตึงเครียด เพราะถ้านักเรียนเกิดความรูส้ กึ กลัวในสิง่ ทีท่ าผิดพลาดหรือกลัวถูก
หัวเราะเยาะจากเพื่อน นักเรียนจะไม่กล้าซักถาม ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น
1.3 การให้ผเู้ รียนทราบผลคะแนนโดยทันทีหลังจากทาแบบทดสอบย่อยจะทาให้
ผูเ้ รียนตัง้ ใจเรียน และกระตือรือร้นในการเรียนมากขึน้ เพื่อจะทาคะแนนให้ดยี งิ่ ขึน้ ในกิจกรรมต่อไป
1.4 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพือ่ ให้เกิดกระบวนการคิด ครูควรจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน ให้นกั เรียนโดยใช้กระบวนการกลุ่มเพราะการเรียนรูโ้ ดยผ่านกระบวนการ
กลุ่มจะช่วยให้นกั เรียนได้เรียนรูว้ ธิ คี ดิ และได้เห็นวิธแี ก้ปญั หาทีแ่ ปลกใหม่ การได้พดู คุย อธิบายถึง
กระบวนการต่างๆจะทาให้นักเรียนเห็นข้อบกพร่องและนาไปแก้ปญั หาได้
53

2. ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าครัง้ ต่ อไป
2.1 ควรทาการวิจยั เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนที่ใช้ แบบฝึ ก ในเนื้อหาและ
ระดับชัน้ อื่นๆ เช่น การแก้โจทย์ปญั หาเศษส่วน อัตราส่วนร้อยละ
2.2 ควรศึกษาผลของการใช้แบบฝึก เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ทีม่ ผี ลต่อตัวแปรอื่นเพิม่ เติม เช่น ทักษะการเชื่อมโยง ทักษะการบูรณาการ
บรรณานุกรม
55

บรรณานุกรม
กติกา สุวรรณสมพงศ์. (2541). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนความคงทนในการ
เรียนรูแ้ ละเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์เรือ่ งเวลาและเงินของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที ่ 1
ทีไ่ ด้รบั การสอนแบบวรรณีทใี ่ ช้แบบฝึกทีส่ ร้างขึน้ กับการใช้แบบฝึกในหนังสือเรียน
ปริญญานิพนธ์ กศ.ม.(การมัธยมศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
กรมวิชาการ. (2545).เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2544 : คู่มอื การ
จัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้า
และพัสดุภณ ั ฑ์ (ร.ส.พ.).
กองวิจยั ทางการศึกษา.(2544).กลวิธกี ารจัดการเรียนการสอนทีส่ อดคล้องกับวิธกี ารเรียน:กองวิจยั
ทางการศึกษา.กรมวิชาการ
จริยาวดี บรรทัดเทีย่ ง.(2547). ผลการใช้ชุดกิจกรรมทีส่ ่งเสริมทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์
ด้านการใช้ตวั แทนเรือ่ งคู่อนั ดับและกราฟสาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 1.
สารนิพนธ์ กศ.ม (การมัธยมศึกษา).กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนคริน
ทรวิโรฒ.อัดสาเนา.
จินตนา วงศามารถ.(2549). ผลการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์โดยใช้เกมทีม่ ตี ่อความสามารถในการ
แก้ปญั หาคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 1 สารนิพนธ์ กศ.ม.
(การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ฉวีวรรณ กีรติกร. (2537). เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาการคิดคานวณของนักเรียนระดับ
ประถมศึกษา กรุงเทพฯ บัณฑิตวิทยาลัย
ฉวีวรรณ เศวตมาลย์. (2544). ศิลปะการสอนคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : สุวรี ยิ าสาสน์.
ชมนาด เชือ้ สุวรรณทวี. (2542). การสอนคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : ภาควิชาหลักสูตรและการสอน
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อัดสาเนา
ชัยวงค์ พรหมวงศ์. (2528). ชุดการสอนในระดับประถมศึกษา กรุงเทพ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ชัยศักดิ ์ ลีลาจรัสกุล. (2539). การจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ในโรงเรียน. กรุงเทพฯ : โรงเรียน
สาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน.
ชุลพี ร แจ่มถนอม. (2542). การสร้างแบบทดสอบทีใ่ ช้ในการฝึกการคิดโจทย์คานวณเคมี
เรือ่ ง สมบัตขิ องก๊าซ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 4. สารนิพนธ์ กศ.ม. (การวัดผลการศึกษา).
กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อัดสาเนา.
ชูศรี วงศ์รตั นะ.(2550). เทคนิคการใช้สถิตเิ พือ่ การวิจยั .พิมพ์ครัง้ ที่ 10 นนทบุร:ี ไทยเนรมิตกิจ
อินเตอร์โปรเกรสชิพ
56

ดวงเดือน อ่อนน่วม.(2536).พฤศจิกายน.โจทย์ปญั หา ปญั หาโจทย์. วารสารคณิตศาสตร์.


ทบวงมหาวิทยาลัย. (2524). ชุดการเรียนการสอนสาหรับครูคณิตศาสตร์. กรุงเทพ ฯ :
ทบวงมหาวิทยาลัย.
เตือนใจ ตรีเนตร.(2544). ผลการใช้แบบฝึกการแก้โจทย์ปญั หาคณิตศาสตร์เรือ่ งพื้นทีส่ าหรับ
นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 2 สารนิพนธ์ กศ.ม. (การวัดผลทางการศึกษา) กรุงเทพฯ:
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร
ธนู แสวงศักดิ ์.(2514). ปญั หาการขยายปริมาณการศึกษาในกรณีทมี ่ ที รัพยากรจากัด
รายงานการประชุมผูต้ รวจการศึกษาและศึกษาธิการจังหวัดทัวราชอาณาจั ่ กรประจาปี
2514 กรุงเทพฯ กระทรวงศึกษาธิการ
นิกร ขวัญเมือง.(2545). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเมตาคอกนิชนั และการอบรมเลี้ยงดูกบั
ความสามารถในการแก้โจทย์ปญั หาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 2.
ปริญญานิพนธ์ กศ.ม.(การวัดผลการศึกษา). กรุงเทพฯ :บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
นุชรี อ่อนละม้าย. (2546). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถทางสมองด้าน
เหตุผลกับการแก้ปญั หาโจทย์คณิตศาสตร์ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 1.ปริญญา
นิพนธ์ กศ.ม.(การวัดผลการศึกษา).กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
ปฐมพร บุญลี. (2545). การสร้างแบบฝึกทักษะเพือ่ พัฒนาความสามารถในการแก้ปญั หาทาง
คณิตศาสตร์ เรือ่ ง พื้นทีผ่ วิ และปริมาตร ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 3. สารนิพนธ์
กศ.ม. (การมัธยมศึกษา).กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ถ่ายเอกสาร.
ปรีชา เนาว์เย็นผล. (2537 , พฤษภาคม – กรกฎาคม). การแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์.
วารสารคณิตศาสตร์. 38(434 – 435) : 62 – 64.
พนารัตน์ แช่มชื่น. (2548). ชุดกิจกรรมแบบปฏิบตั กิ าร เพือ่ ส่งเสริมทักษะการแก้ปญั หาและการให้
เหตุผลทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 1 เรือ่ งแบบรูปและความสัมพันธ์.
สารนิพนธ์ กศ.ม.(การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนคริน
ทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
พิชาญ พรหมสมบัติ (2548).การศึกษาผลของการใช้แบบฝึก เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการ สาหรับ
นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที ่ 6 สารนิพนธ์ กศ.ม (การวัดผลการศึกษา) มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
พงศธร มหาวิจติ ร. (2550). กิจกรรมเสริมสร้างทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ สาระการ
เรียนรู้ จานวนและการดาเนินการ เรขาคณิต และพีชคณิต สาหรับนักเรียน ระดับชัน้
มัธยมศึกษาปีที ่ 1. สารนิพนธ์ กศ.ม.(การมัธยมศึกษา).กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
57

พรทิพย์ ยาวะประภาษ. (2537,มีนาคม-เมษายน).เทคนิคการสอนการแก้โจทย์ปญั หาคณิตศาสตร์.


วารสารคณิตศาสตร์. 38 (426 - 427) : 57-62 .
พรรณี ชูชยั . (2522). จิตวิทยาการเรียนการสอน พิมพ์ครัง้ ที่ 2 . กรุงเทพฯ ภาควิชาการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มาเลียม พินิจรอบ.(2549). ผลการจัดกิจกรรมคณิตศาสตร์ดว้ ยกระบวนการกลุ่มทีม่ ตี ่อทักษะการ
แก้ปญั หา เรือ่ งอัตราส่วนและร้อยละ ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 2. สารนิพนธ์ กศ.ม.
(การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย
ยุพนิ พิพธิ กุล.(2530). การสอนคณิตศาสตร์ กรุงเทพฯ ภาควิชาการมัธยมศึกษาคณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รัชนี ศรีไพรวรรณ. (2517). แบบฝึกทักษะวิชาภาษาไทย สาหรับแรกเรียน คู่มอื ครูแนวความคิด
และทรรศนะบางประการเกีย่ วกับกุศโลบายการสอนเด็กเริม่ เรียนทีพ่ ดู สอง
ภาษา นครราชสีมา สานักงานศึกษาธิการเขต 11
ราชบัณฑิตยสถาน. (2525). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน.กรุงเทพฯ : อักษรเจริญ.
โรจนา แสงรุง่ เรือง.(2531). ผลสัมฤทธิใ์ นการเขียนสะกดคาด้วยการใช้แบบฝึกของนักเรียน ชัน้
ประถมศึกษาปีที ่ 3 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยานิพนธ์ ศศ.บ.
(การประถมศึกษา) กรุงเทพฯ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ถ่ายเอกสาร
ล้วน สายยศ; และอังคณา สายยศ. (2538). เทคนิคการวิจยั ทางการศึกษา. พิมพ์ครัง้ ที่ 5.
กรุงเทพฯ: สุวรี ยิ าสาส์น.
---------. (2540). สถิตวิ ทิ ยาทางการวิจยั . พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพฯ : สุวรี ยิ าสาส์น.
วรนาถ พ่วงสุวรรณ. (2518). การสร้างแบบฝึกการผันวรรณยุกต์สาหรับชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 1
วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถ่ายเอกสาร
วลี สุมพิ นั ธ์.(2530).การเปรียบเทียบความสามารถในการเรียงความของนักเรียนชัน้
มัธยมศึกษาปีที ่ 1 ทีเ่ รียนซ่อมเสริมโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะและครูเป็นผูส้ อนปริญญา
นิพนธ์ กศ.ม.กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.ถ่ายเอกสาร.
วิชยั เพ็ชรเรือง.(2531).ความสามารถในการอ่านภาษาไทยของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที ่ 4 ที ่
พูดภาษาถิน่ ระหว่างกลุ่มทีไ่ ด้รบั การสอนโดยใช้แบบฝึกซ่อมเสริมกับกลุ่มทีไ่ ด้รบั การสอน
โดยใช้แบบฝึกซ่อมเสริมทัวไป ่ ของโรงเรียนสุนทรวัฒนา สานักงานการประถมศึกษา
จังหวัดชัยภูม ิ ปริญญานิพนธ์ กศ.ม.กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
วิชยั พาณิชย์สวย. (2546).สอนอย่างไรให้เด็กเก่งโจทย์ปญั หาคณิตศาสตร์ กรุงเทพฯ สถาบัน
พัฒนาคุณภาพวิชาการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.).
(2550). ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : ครุสภาลาดพร้าว.
58

สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2552). เอกสารประกอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้


พื้นฐาน พุทธศักราช 2552 แนวปฏิบตั กิ ารวัดและประเมินผลการเรียนรูส้ านักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
สิรพิ ร ทิพย์คง. (2536).การแก้ปญั หา เอกสารคาสอนวิชาทฤษฎีและวิธกี ารสอนคณิตศาสตร์
กรุงเทพฯ ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สุจริต เพียรชอบ;และสายใจ อินทรัมพรรย์. ( 2523 ). วิธสี อนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา
กรุงเทพฯ ไทยวัฒนาพานิช
สุรภี ฤทธิวงศ์ (2549). แบบฝึกซ่อมเสริมวิชาคณิตศาสตร์ เรือ่ ง การแก้โจทย์ปญั หาร้อยละ
ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 2 สารนิพนธ์ กศ.ม. (การมัธยมศึกษา) กรุงเทพฯ:บัณฑิต
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
สุลดั ดา ลอยฟ้าและคณะ. (2530). การพัฒนารูปแบบการสอนการแก้โจทย์ปญั หาคณิตศาสตร์
ระดับประถมศึกษา.รายงานการวิจยั .กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สมเดช บุญประจักษ์. (2543). การพัฒนาศักยภาพทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี
ที ่ 1 โดยใช้การเรียนแบบร่วมมือ. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม (คณิตศาสตร์ศกึ ษา). กรุงเทพฯ:
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร
สมวงษ์ แปลงประสพโชคและคณะ (2543). ค่ายคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏพระนคร.
---------. (2543). เอกสารประกอบการอบรมครู และเอกสารประกอบการเรียน เรือ่ ง การแก้ปญั หา.
กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏพระนคร.
ศิรลิ กั ษณ์ พุ่มกาพล. (2546). การสร้างแบบฝึก เรือ่ ง เศษส่วน สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่
1 สารนิพนธ์ กศ.ม.(การวัดผลการศึกษา) กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
อาภา ถนัดช่าง. (2534). การสอนแบบแก้ปญั หา. วารสารแนะแนว.25 (135) : 15-23.
อารีย์ คาปล้อง.(2536).การสอนแบบปฏิบตั กิ าร เรือ่ ง คุณสมบัตเิ กีย่ วกับวงกลม ของนักเรียนชัน้
มัธยมศึกษาปีที ่ 3 .ปริญญานิพนธ์ กศ.ม (การมัธยมศึกษา) กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.
อังศุมาลิน เพิม่ ผล. (2532). การสร้างแบบฝึกทักษะการคานวณวิชาคณิตศาสตร์ เรือ่ งวงกลม
สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที ่ 3. สารนิพนธ์ กศ.ม.(การวัดผลการศึกษา).กรุงเทพฯ:
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อัดสาเนา.
Adams, Sam; Leslie Ellis ; B.F. Beeson. (1977). Teaching Mathematics with Emphasis
On the Diagnostic Approach. New York: Harper & Row Publishers.
Aristokis, A. Nicolaou ; Philippou , George, N.. (2007). Efficacy Beliefs, Problem Posing,
and Mathematics Achievement. Focus on Learning Problems in Mathematics.
Fall Edition. 29(4) : Nicosia
59

Ballard, Katherine D. (2007, December). The Effects of integrated systems on mathematics


skill development for children with performance deficits in mathematics
achievement. Dissertation Abstracts Internationnal. 68(6): Retrieved February,
15 , 2008, form http://proquest.umi.com/pqdweb?did=1372007641&sid=9&Fmt=
2&clientld=61839&RQT=309&VName=PQD.
Barnet. (1998).Eight great tragedies/by Sylvan Barnet, Morton Bermay, William Burton.
New York;N.Y:Meridian.
Billow , F.L.(1962).The Teacher Work Out His Own Exercises : The Techniques of
Language Teaching. London : Green and Company Ltd.
Gonzales, Nancy A. (1994, February). Problem Posing : A Neglected Component in
Mathematics Courses for Prospective Elementary and Middle School Teachers.
School Science and Mathematics. 94(2):78 – 84. Retrieved ctober, 10, 2009, form
http://ssmj.tamu.edu/abstract/abs_feb94.html#abstracts.
Harless. (1998). Guilding Children’s Learning of Mathematics. 7th ed.Belmont California :
Wadsworth.
Hatfield , Mary M. ; Edwards , Noney T. ; & Bitter , Gary G. (1993). Mathematics Method
of the Elementary and Middle Schools. Boston : Allyn and Bacon.
Hedden,James W; William R. (1992). Problem Solving, Decision Making and
Communication in Mathematics. 7th ed. Newyork; Macmillan Publishing Company.
Heimer, R.T. ; & Trueblood, C.R. (1997). Strategies for Teaching Children’s Mathematics.
New York: Addison Wesley Publishing
Lawrey, Daniel Ralph. (1978, November). Effect of Feedback on Individuality. Dissertation
Abstracts Interational. 36 .317-A.
Lester, F,K.(1977, November). Ideas about Problem Solving : A Look at Some
Psychological Research. Arithematics Teacher. 25 : 12-15.
Michaels,Rosemaie. (2002). The Relationships Among Problem Solving Performance,
Gender, Confidence, and Attributional Style in Third – grade Mathematics.
Dissertation Abstracts International.63 – 03A.
Myles, Dennis E. (2006,November).Using Geometer’s Sketchpad to Develop a
Conceptual Understanding of Euclidean Geometry. Dissertation Abstracts
International. DAI-A 67/05.
60

National Council of Teachers of Mathematics (NCTM). (1991). Evaluation of Teaching :


Standard 4 – Mathematical Concepts , Procedures , and Connections. Principles
and Standards for School Mathematics. Retrieved May 25 , 2005 , from
http//standards.nctm.org/document/chapter6/conn.
-----------. (2000). Principles and Standards for School Mathematics. Reston, Va : NCTM.
Patty, Green.(1968).Language Workbook and Practices Material ; Developin Language
Teaching. London : Green and Company.
Perrine, Vicki. (2001). Effect of a problem-solving-based mathematical course on the
proportional reasoning of preservice teachers. Dissertation Abstracts
Internation,
Retrieved April, 10, 2004. form http://www.lib.uni.com/dissertations/fullcit/3006601.
Polya, G (1957).How To Solve It : A New Aspect Of Mathematical Method. New york
:doubleday and Company.
Thiessen,(1989).Elementary mathematical methods/Diane Thiessen by Thiessen/ Diane
New York : Macmillan.
Suydam , H. L.(1990). Untangling Clues From Research on Problem Solving.Problem
Solving in School Mathematics. National Council of teacher of Mathematics.
Wallas, G. (1972). The Art of Thought. In A Systematic Introduction to Psychology of
Thinking. D.M. Johnson (edited). New York : Harper & Row.
Webster, N. (1979). Webster’s New Twentieth Century Dictionary of the English Language
Unabridged. Springfield, Massachuselts : Collins & World Company.
William, Kenneth M. (2003,March). Writing about the Problem-Solving Process to improve
Problem-Solving Performance. Mathematics Teacher. 96(3).
Yavuz, Veli Alpagut. (2003). The Effectiveness of Interactive in-class Exercises on Learning:
A Case from Linear Programming Education. Rensselaer Polytechnic Institute.
Retrieved February, 20, 2008, form http://www lib.uni.com/dissertations.
ภาคผนวก
62

ภาคผนวก ก

ผลการวิเคราะห์เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการศึกษาค้นคว้า


1. การประเมินแบบทดสอบความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง
โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โดยผูเ้ ชีย่ วชาญ ( แบบอัตนัย)
2. ค่าความง่าย (PE) และค่าอานาจจาแนก (D) ของแบบทดสอบความสามารถใน
การแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาหรับแบบทดสอบ (อัตนัย)
3. ค่า x และ ในการหาค่าความแปรปรวนของแบบทดสอบความสามารถในการ
แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาหรับแบบทดสอบอัตนัย ทีใ่ ช้ในการหาค่าความเชื่อมัน( ่ α – Coefficient )
4. ค่า ในการหาค่าความเชื่อมัน( ่ α –Coefficient ) ของแบบทดสอบความสามารถ
ในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สาหรับ
แบบทดสอบอัตนัย
63

ตาราง 3 การประเมินแบบทดสอบความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์


ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โดยผูเ้ ชีย่ วชาญ (แบบอัตนัย)

ข้อสอบ คะแนนความคิดเห็นของผูเ้ ชีย่ วชาญ รวม ค่า IOC สรุปผล


ข้อที่ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3
1 0 +1 +1 2 0.67 ใช้ได้
2 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้
3 +1 +1 0 2 0.67 ใช้ได้
4 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้
5 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้
6 +1 +1 0 2 0.67 ใช้ได้
7 0 +1 +1 2 0.67 ใช้ได้
8 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้
9 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้
10 +1 +1 0 2 0.67 ใช้ได้
11 0 +1 +1 2 0.67 ใช้ได้
12 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้
13 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้
14 +1 +1 0 2 0.67 ใช้ได้
15 +1 +1 +1 3 1 ใช้ได้
16 0 +1 +1 2 0.67 ใช้ได้
64

ตาราง 4 ค่าความง่าย (PE) และค่าอานาจจาแนก (D) ของแบบทดสอบความสามารถในการ


แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สาหรับแบบทดสอบ
อัตนัย โดย คานวณจากสูตร Whitney and Sabers.

ข้อที่ ค่าดัชนีความยากง่าย ( PE ค่าอานาจจาแนก ( D ) การพิจารณา


)
1 0.54 0.28 คัดเลือก
2 0.51 0.26 คัดทิง้
3 0.52 0.37 คัดทิง้
4 0.47 0.70 คัดเลือก
5 0.49 0.26 คัดทิง้
6 0.50 0.72 คัดเลือก
7 0.53 0.58 คัดเลือก
8 0.53 0.66 คัดเลือก
9 0.60 0.24 คัดเลือก
10 0.58 0.24 คัดทิง้
11 0.62 0.20 คัดทิง้
12 0.63 0.26 คัดเลือก
13 0.59 0.58 คัดเลือก
14 0.56 0.56 คัดทิง้
15 0.53 0.58 คัดทิง้
16 0.52 0.52 คัดทิง้

หมายเหตุ เกณฑ์การคัดเลือก
ค่าความง่าย (PE) ตัง้ แต่ 0.2 ถึง 0.8
ค่าอานาจจาแนก (D) ตัง้ แต่ 0.2 ขึน้ ไป
เมือ่ ได้ค่าความง่าย(PE) และค่าอานาจจาแนก(D) ของแบบทดสอบความสามารถในการ
แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษา
ปีท่ี 1 ดังกล่าวมาแล้วจึงนาค่าความง่าย (PE) และค่าอานาจจาแนก (D) ของแบบทดสอบมา
พิจารณา ประกอบกับค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับผลการพิจารณาของผูเ้ ชีย่ วชาญทัง้
3 ท่าน เพื่อคัดเลือกข้อสอบไว้ จานวน 8 ข้อ ซึง่ ได้พจิ ารณาเลือกข้อสอบข้อ 1,4,6,7,8,9,12 และ
13 ไว้เป็ นแบบทดสอบความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ ซึง่ ผลทีไ่ ด้ของค่าความง่าย
(PE) อยูร่ ะหว่าง 0.47 - 0.63 ค่าอานาจจาแนก (D) อยูร่ ะหว่าง 0.24 - 0.7
65

ตาราง 5 ค่าSU และSL ในการหาค่าความยากและค่าอานาจจาแนกของแบบทดสอบความสามารถ


ในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ทไ่ี ม่ใช่กลุ่มตัวอย่างจานวน 50 คน

คะแนนแต่ละข้อคาถามของนักเรียนกลุ่มต่า
คน ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ รวม
ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16
1 3 3 4 4 4 4 4 4 5 5 5 5 4 4 4 4 66
2 3 3 4 4 5 3 4 4 5 5 4 4 4 4 4 4 64
3 4 4 3 3 4 4 4 4 5 4 4 5 3 4 4 4 63
4 4 4 3 3 4 4 4 4 4 4 5 5 4 4 3 4 63
5 4 4 5 3 4 4 3 3 4 4 5 5 4 4 3 3 62
6 4 3 4 4 3 3 4 4 5 4 5 5 4 3 3 4 62
7 4 4 4 3 4 4 3 3 5 5 4 4 3 3 4 4 61
8 4 4 3 3 3 3 4 4 4 4 5 5 4 4 3 3 60
9 4 4 4 4 3 3 4 4 4 4 4 4 4 4 3 3 60
10 5 4 4 3 3 4 3 3 4 4 4 4 3 3 4 4 59
11 4 4 5 3 4 3 3 4 4 3 3 3 4 4 4 4 59
12 4 4 3 3 4 4 4 3 3 3 4 4 4 4 4 4 59
13 3 4 4 4 5 3 4 3 3 4 4 3 3 4 4 4 59
14 4 4 4 4 3 3 3 3 4 4 5 5 3 3 3 3 58
15 3 3 4 4 3 3 4 4 5 4 3 3 4 4 3 4 58
16 4 4 3 4 4 3 3 3 4 4 4 4 3 3 4 3 57
17 4 4 3 3 4 3 3 3 4 4 3 3 4 4 4 3 56
18 4 4 4 3 4 3 3 3 3 4 4 4 4 3 3 3 56
19 4 4 3 3 3 3 4 4 4 4 4 4 3 3 3 3 56
20 4 4 3 3 4 3 3 3 4 3 3 3 4 4 4 3 55
21 4 4 4 3 3 3 3 3 3 3 4 3 3 4 4 4 55
22 4 4 4 3 4 3 3 3 3 4 4 4 3 3 3 3 55
23 3 3 4 3 4 3 4 3 3 3 4 4 4 3 3 4 55
24 3 3 4 2 4 3 3 3 4 4 3 4 4 3 3 3 53
25 4 4 4 2 3 3 3 3 3 4 4 3 3 3 3 3 52
รวม
95 94 94 81 93 82 87 85 99 98 101 100 90 89 87 88 1,463
(SL)
66

ตาราง 5 (ต่อ)

คะแนนแต่ละข้อคาถามของนักเรียนกลุ่มต่า
คน ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ ข้อ รวม
ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16
1 3 3 4 4 4 4 4 4 5 5 5 5 4 4 4 4 66
2 3 3 4 4 5 3 4 4 5 5 4 4 4 4 4 4 64
3 4 4 3 3 4 4 4 4 5 4 4 5 3 4 4 4 63
4 4 4 3 3 4 4 4 4 4 4 5 5 4 4 3 4 63
5 4 4 5 3 4 4 3 3 4 4 5 5 4 4 3 3 62
6 4 3 4 4 3 3 4 4 5 4 5 5 4 3 3 4 62
7 4 4 4 3 4 4 3 3 5 5 4 4 3 3 4 4 61
8 4 4 3 3 3 3 4 4 4 4 5 5 4 4 3 3 60
9 4 4 4 4 3 3 4 4 4 4 4 4 4 4 3 3 60
10 5 4 4 3 3 4 3 3 4 4 4 4 3 3 4 4 59
11 4 4 5 3 4 3 3 4 4 3 3 3 4 4 4 4 59
12 4 4 3 3 4 4 4 3 3 3 4 4 4 4 4 4 59
13 3 4 4 4 5 3 4 3 3 4 4 3 3 4 4 4 59
14 4 4 4 4 3 3 3 3 4 4 5 5 3 3 3 3 58
15 3 3 4 4 3 3 4 4 5 4 3 3 4 4 3 4 58
16 4 4 3 4 4 3 3 3 4 4 4 4 3 3 4 3 57
17 4 4 3 3 4 3 3 3 4 4 3 3 4 4 4 3 56
18 4 4 4 3 4 3 3 3 3 4 4 4 4 3 3 3 56
19 4 4 3 3 3 3 4 4 4 4 4 4 3 3 3 3 56
20 4 4 3 3 4 3 3 3 4 3 3 3 4 4 4 3 55
21 4 4 4 3 3 3 3 3 3 3 4 3 3 4 4 4 55
22 4 4 4 3 4 3 3 3 3 4 4 4 3 3 3 3 55
23 3 3 4 3 4 3 4 3 3 3 4 4 4 3 3 4 55
24 3 3 4 2 4 3 3 3 4 4 3 4 4 3 3 3 53
25 4 4 4 2 3 3 3 3 3 4 4 3 3 3 3 3 52
รวม
95 94 94 81 93 82 87 85 99 98 101 100 90 89 87 88 1,463
(SL)
67

ตัวอย่าง การคานวณหาค่าความง่าย (PE)และหาค่าอานาจจาแนก(D) ของแบบทดสอบ


ความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์

ข้อที่ SU SL ค่าความง่าย ( PE ) ค่าอานาจจาแนก ( D )

4 116 81 SU  S L  2 NX min  SU  S L
PE  D 
2 N  X max  X min  N  X max  X min 
= 116 + 81 –(2)(25)(3) = 116 – 81
2(25)(5 – 3) 25(5 – 3)
= 47 = 35
100 50
= 0.47 = 0.70
68

ตาราง 6 ค่า x และ X2 ในการหาค่าความแปรปรวนของแบบทดสอบความสามารถในการ


แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้
มัธยมศึกษาปีท่ี 1 แบบทดสอบอัตนัย ทีใ่ ช้ในการหาค่าความเชื่อมัน่ ( α – Coefficient )

คนที่ คะแนนในแต่ละข้อ

ข้อที่ 1 X2 2 X2 3 X2 4 X2 5 X2 6 X2 7 X2 8 X2 x X2

1 4 16 3 9 4 16 4 16 4 16 3 9 3 9 4 16 29 841
2 4 16 4 16 5 25 5 25 4 16 3 9 4 16 4 16 33 1,089
3 4 16 4 16 5 25 5 25 4 16 4 16 5 25 5 25 36 1,296
4 3 9 4 16 5 25 5 25 3 9 3 9 4 16 4 16 31 961
5 3 9 4 16 4 16 4 16 5 25 4 16 4 16 4 16 32 1,024
6 4 16 3 9 4 16 4 16 4 16 4 16 3 9 4 16 30 900
7 5 25 4 16 3 9 3 9 4 16 4 16 3 9 3 9 29 841
8 4 16 3 9 4 16 4 16 4 16 4 16 3 9 3 9 29 841
9 4 16 5 25 4 16 4 16 5 25 5 25 4 16 4 16 35 1,225
10 3 9 4 16 4 16 3 9 3 9 3 9 3 9 3 9 26 676
11 5 25 5 25 4 16 4 16 5 25 5 25 4 16 4 16 36 1,296
12 4 16 4 16 3 9 3 9 5 25 5 25 4 16 4 16 32 1,024
13 4 16 5 25 5 25 5 25 5 25 5 25 5 25 5 25 39 1,521
14 4 16 3 9 3 9 3 9 5 25 5 25 4 16 4 16 31 961
15 4 16 5 25 4 16 4 16 5 25 5 25 5 25 5 25 37 1,369
16 4 16 5 25 4 16 4 16 4 16 4 16 4 16 4 16 33 1,089
17 5 25 4 16 4 16 4 16 5 25 5 25 5 25 5 25 37 1,369
18 4 16 3 9 3 9 4 16 4 16 4 16 4 16 4 16 30 900
19 4 16 5 25 4 16 4 16 4 16 4 16 5 25 5 25 35 1,225
20 4 16 4 16 4 16 4 16 5 25 5 25 4 16 4 16 34 1,156
21 3 9 3 9 4 16 4 16 4 16 4 16 5 25 5 25 32 1,024
22 4 16 4 16 4 16 4 16 5 25 5 25 4 16 4 16 34 1,156
23 3 9 3 9 3 9 3 9 4 16 3 9 3 9 3 9 25 625
24 4 16 5 25 4 16 5 25 5 25 5 25 4 16 4 16 36 1,296
25 4 16 5 25 4 16 3 9 3 9 4 16 4 16 4 16 31 961
26 5 25 5 25 5 25 4 16 5 25 4 16 4 16 4 16 36 1,296
27 4 16 4 16 4 16 3 9 4 16 5 25 5 25 4 16 33 1,089
28 3 9 4 16 3 9 4 16 4 16 4 16 4 16 4 16 30 900
29 5 25 4 16 5 25 5 25 5 25 5 25 5 25 5 25 39 1,521
69

ตาราง 6 (ต่อ)

คนที่ คะแนนในแต่ละข้อ

ข้อที่ 1 X2 2 X2 3 X2 4 X2 5 X2 6 X2 7 X2 8 X2 x X2

30 5 25 4 16 4 16 4 16 4 16 4 16 4 16 4 16 33 1,089
31 5 25 3 9 3 9 4 16 4 16 4 16 4 16 4 16 31 961
32 4 16 5 25 5 25 5 25 5 25 4 16 4 16 4 16 36 1,296
33 5 25 4 16 5 25 5 25 4 16 4 16 4 16 4 16 35 1,225
34 4 16 4 16 5 25 5 25 5 25 4 16 4 16 4 16 35 1,225
35 4 16 3 9 4 16 4 16 5 25 5 25 5 25 5 25 35 1,225
36 4 16 4 16 5 25 5 25 5 25 5 25 5 25 5 25 38 1,444
37 5 25 4 16 4 16 4 16 5 25 5 25 5 25 5 25 37 1,369
38 4 16 4 16 4 16 4 16 4 16 4 16 4 16 4 16 32 1,024
39 4 16 3 9 3 9 3 9 5 25 5 25 5 25 5 25 33 1,089
40 3 9 4 16 4 16 4 16 4 16 4 16 4 16 4 16 31 961
41 5 25 5 25 5 25 5 25 5 25 5 25 5 25 5 25 40 1,600
42 4 16 5 25 5 25 5 25 4 16 5 25 5 25 5 25 38 1,444
43 4 16 5 25 5 25 5 25 5 25 5 25 5 25 5 25 39 1,521
44 4 16 4 16 4 16 4 16 4 16 4 16 4 16 4 16 32 1,024
45 4 16 3 9 3 9 3 9 4 16 3 9 3 9 3 9 26 676
46 4 16 5 25 5 25 5 25 5 25 5 25 5 25 5 25 39 1,521
47 3 9 3 9 3 9 3 9 4 16 4 16 4 16 4 16 28 784
48 3 9 4 16 4 16 4 16 4 16 4 16 4 16 4 16 31 961
49 4 16 3 9 3 9 3 9 3 9 3 9 3 9 3 9 25 625
50 3 9 3 9 4 16 4 16 3 9 3 9 3 9 3 9 26 676
200 820 200 828 203 849 203 849 217 963 212 924 207 881 208 886 1,650 55,212
70

ค่าความแปรปรวนของแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์
เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สาหรับแบบทดสอบอัตนัย ทีใ่ ช้ในการหาค่าความ
่ α- Coefficient )
เชื่อมัน(

2
N  x 2    x 2
si = N  N 1

= (50)(55,212) – (1,650)2
50(50 – 1)
= 2,760,700 – 2,722,500
2.450
= 15.55
71

ตาราง 7 ค่า si2 ในการหาค่าความเชื่อมัน(


่ α – Coefficient ) ของแบบทดสอบ
ความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้น
ตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 แบบทดสอบอัตนัย โดยใช้ค่า
สัมประสิทธิ ์ แอลฟา(α – Coefficient )

ข้อที่ ค่า si ค่า si2


1 0.64 0.41
2 0.75 0.57
3 0.71 0.51
4 0.71 0.51
5 0.66 0.43
6 0.71 0.51
7 0.70 0.49
8 0.65 0.42
3.85

การคานวณหาค่าความเชื่อมัน่ (α – Coefficient )

α =

= 8 ( 1 – 3.85 )
8–1 15.55
= 8 ( 1 – 0.25)
7
= 0.86
72

ภาคผนวก ข

1. คะแนนความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนหลังได้รบั
การสอนโดยใช้แบบฝึก เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้
มัธยมศึกษาปี ที่ 1
2. สถิตทิ ใ่ี ช้ในการตรวจสอบสมมติฐานทดสอบความแตกต่างของคะแนนความสามารถในการ
แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้
มัธยมศึกษาปี ที่ 1
73

ตาราง 8 คะแนนความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์หลังจากนักเรียนได้รบั การสอน


โดยใช้แบบฝึก เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1

คะแนนของ คะแนนของ
นักเรียนคน นักเรียนแต่ละคน นักเรียนคนที่ นักเรียนแต่ละคน
ที่ (คะแนนเต็ม 40) (คะแนนเต็ม 40)
1 30 900 26 29 841
2 28 784 27 25 625
3 34 1,156 28 31 961
4 26 676 29 34 1,156
5 29 841 30 30 900
6 28 784 31 29 841
7 36 1,296 32 29 841
8 30 900 33 31 961
9 27 729 34 35 1,225
10 29 841 35 37 1,369
11 38 1,444 36 32 1,024
12 36 1,296 37 34 1,156
13 32 1,024 38 28 784
14 37 1,369 39 25 625
15 26 676 40 27 729
16 28 784 41 35 1,225
17 33 1,089 42 38 1,444
18 36 1,296 43 36 1,296
19 25 625 44 28 784
20 32 1,024 45 29 841
21 29 841 46 30 900
22 36 1,296 47 32 1,024
23 34 1,156 48 33 1,089
24 28 784 49 36 1,296
25 27 729 50 28 784
ผลรวม 1,555 49,061
74

สถิตทิ ใ่ี ช้ในการตรวจสอบความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์หลังจากนักเรียน


ได้รบั การสอนโดยใช้แบบฝึก เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้
มัธยมศึกษาปีท่ี 1
X
X
N
= 1,555
50
= 31.1

N  x 2   x 
2

จาก s =
N N  1

50(49,061)  (1,555)2
= 50  50  1

2,453,050  2,418,025
= 50(49)

35,025
=
2,450

14.30
=

= 3.78

x  0
t
s
; df = n – 1
n

= 31.1 – 24
3.78
75

= 7.1
3.78
7.07
= 7.1
0.53
= 13.40
ดังนัน้ t = 13.40

( เปิดตาราง t จะได้ค่าวิกฤตของ t จากการแจกแจงแบบ t เท่ากับ 2.66 ณ นัยสาคัญ


ทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .01 เมือ่ df = 50 – 1 = 49 )
76

ภาคผนวก ค

1. ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้แบบฝึก เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว


2. แบบทดสอบความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิง
เส้นตัวแปรเดียว
3. แบบฝึก เรือ่ ง โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
77

แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 1
รหัสวิชา ค 21101 กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2554
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกีย่ วกับการเปรียบเทียบจานวน จานวน 2 ชัวโมง ่
**********************************************************************************************************
1.สาระ
สาระที่ 4 พีชคณิต
สาระที่ 6 ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟและแบบจาลองทางคณิตศาสตร์
อื่นๆแทนสถานการณ์ต่างๆตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปญั หา
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปญั หา

3. ตัวชี้วดั
แก้โจทย์ปญั หาเกีย่ วกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวอย่างง่ายพร้อมทัง้ ตระหนักถึง
ความสมเหตุสมผลของคาตอบ

4. สาระสาคัญ
การแก้โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกีย่ วกับการเปรียบเทียบจานวน เป็ น
การแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ ตามขัน้ ตอน/กระบวนการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ ดังนี้
1. ขัน้ ทาความเข้าใจปญั หา เป็นขัน้ ของการวิเคราะห์โจทย์ปญั หา ซึง่ ผูแ้ ก้ปญั หาจะต้อง
อ่านโจทย์ปญั หา เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์หรือปญั หาทีโ่ จทย์กาหนดให้ได้ว่า อะไรคือสิง่ ทีโ่ จทย์
กาหนดและอะไรคือสิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการ
2. ขัน้ วางแผนแก้ปญั หา เป็นขัน้ ของการเสนอแนวคิดหรือสร้างทางเลือกในการแก้โจทย์
ปญั หา ซึง่ นักเรียนจะต้องประมวลสิง่ ต่างๆทีไ่ ด้ในขัน้ ที่ 1 และ 2 เพื่อวางแผนแนวทางในการ
แก้ปญั หาว่าจากสิง่ ทีโ่ จทย์กาหนดและจากสิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการ นักเรียนจะสามารถเขียนสิง่ เหล่านี้
ออกมาในรูปของสมการได้อย่างไรและจะมีสตู ร ทฤษฎี ข้อเท็จจริงหรือข้อมูลใดทีโ่ จทย์ไม่ได้
กาหนดแต่ตอ้ งนามาใช้เพื่อนามาใช้ในการแก้ปญั หานัน้
3. ขัน้ ดาเนินการตามแผน เป็นขัน้ ทีน่ กั เรียนลงมือปฏิบตั ติ ามแผนทีไ่ ด้วางไว้
4. ขัน้ ตรวจคาตอบ เป็นขัน้ ของการตรวจคาตอบทีไ่ ด้ว่า คาตอบทีไ่ ด้นนั ้ มีความ
สอดคล้องกับสถานการณ์ทโ่ี จทย์กาหนดให้หรือไม่
78

5. จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ : นักเรียนสามารถ
1. แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์เรือ่ งโจทย์สมการเกีย่ วกับการเปรียบเทียบจานวนได้
ด้านทักษะ/กระบวนการ : นักเรียนมีความสามารถ (k)
1. ในการแก้ปญั หา (p )
2. ในการให้เหตุผล (p )
3. ในการสื่อสาร การสื่อความหมายและการนาเสนอข้อมูล (p )
ด้านคุณลักษณะ : นักเรียน
1. มีความรับผิดชอบ (A )
2. มีระเบียบวินยั (A )
3. ทางานเป็นระบบ (A )

6. สาระการเรียนรู้
การแก้โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกีย่ วกับการเปรียบเทียบจานวนโดยนา
หลักการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ 4 ขัน้ ตอน ใช้ฝึกนักเรียนในการวิเคราะห์โจทย์ ดังนี้

ก มีเงินเป็น 2 เท่าของ ข และ ค มีเงินเป็น 3 เท่าของ ก ทัง้ สามคนมีเงินรวมกัน 360 บาท อยาก
ทราบว่าแต่ละคนมีเงินเท่าใด
วิ ธีทา
1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ อยากทราบว่าแต่ละคนมีเงินเท่าใด
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ ก มีเงินเป็ น 2 เท่าของ ข
และ ค มีเงินเป็ น 3 เท่าของ ก
ทัง้ สามคนมีเงินรวมกัน 360 บาท
2. ขัน้ วางแผน
จากการสิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด จะได้ว่า
1. ข มีซองบรรจุเงินอยู่ 1 ซอง
ก มีซองบรรจุเงินอยู่ 2 ซอง
ค มีซองบรรจุเงินอยู่ 6 ซอง
2. นาจานวนเงิน(ทีเ่ ป็นซอง)ของทัง้ สามคนมารวมกันแล้วให้เท่ากับ 360 บาท
3. คานวณหาจานวนเงินในแต่ละซอง ของแต่ละคน
79

3. ขัน้ ดาเนิ นการตามแผน


นาจานวนเงิน ของทัง้ สามคนมารวมกัน ดังนี้
เงินของ ข + เงินของ ก + เงินของ ค = 360 บาท
1 ซอง + 2 ซอง + 6 ซอง = 360 บาท
9 ซอง = 360 บาท
1 ซอง = 40 บาท
เนื่องจาก ข มีซองบรรจุเงินอยู่ 1 ซอง ดังนัน้ ข จึงมีเงิ น 1 x 40 = 40 บาท
ก มีซองบรรจุเงินอยู่ 2 ซอง ดังนัน้ ก จึงมีเงิ น 2 x 40 = 80 บาท
ค มีซองบรรจุเงินอยู่ 6 ซอง ดังนัน้ ค จึงมีเงิ น 6 x 40 = 240 บาท

4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
จาก ข มีเงิน 40 บาท
ก มีเงิน 80 บาท
ค มีเงิน 240 บาท
ทัง้ สามมีเงินรวมกัน ได้ 40 + 80 + 240 = 360 บาท
ดังนัน้ จะเห็นได้ว่า
ก มีเงินเป็ น 2 เท่าของ ข
และ ค มีเงินเป็น 3 เท่าของ ก
ทัง้ สามคนมีเงินรวมกัน 360 บาท ( เป็นจริงตามทีโ่ จทย์กาหนด)

7. กิ จกรรมการเรียนรู้
คาบที่ 1-2
ขัน้ นาเข้าสู่บทเรียน
1. ทบทวนการแก้สมการ การบวก ลบ คูณ หาร จากโจทย์สมการทีค่ รูกาหนด
เพื่อให้นกั เรียนทาความเข้าใจก่อนทีจ่ ะเข้าสู่การแก้โจทย์ปญั หา(k)
2a + 8 = 16
นา 8 ลบออกทัง้ สองข้างของสมการ
2a + 8 – 8 = 16 – 8
2a = 8
นา 2 หารออกทัง้ สองข้างของสมการ
2a ÷ 2 = 8 ÷ 2
a = 4
ตรวจคาตอบ แทนค่า a = 4
80

ในสมการ 2(4) + 8 = 16
8 + 8 = 16 สมการเป็ นจริง
2. ครูนาเสนอวิธกี ารการกาหนดสัญลักษณ์ (ตัวแปร)ทางคณิตศาสตร์ โดย
อธิบายการเขียนสัญลักษณ์ (ตัวแปร) ทางคณิตศาสตร์ ดังตัวอย่าง(k)

พลอยมีไก่มากกว่าสี่เท่าของจานวนเป็ ดอยู่ 14 ตัว ถ้าพลอยมีไก่น้อยกว่า


70 ตัว จงหาพลอยมีเป็ ดกี่ตวั

3. จากโจทย์ปญั หาสมการจะเห็นได้ว่า โจทย์ไม่กาหนดตัวแปรมาให้ครูจงึ


แนะนานักเรียนว่านักเรียนต้องกาหนดตัวแปรก่อนโดยนาสิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบมาเขียนเป็ นตัว
แปรเพื่อนาไปสู่การเขียนประโยคสมการและทาการแสดงวิธหี าคาตอบ
ขัน้ สอน
1. ครูอธิบายเพิม่ เติมในการหาคาตอบจากสถานการณ์ทก่ี าหนดให้ในขัน้ นา
นัน้ เราสามารถแสดงวิธคี ดิ ในการหาคาตอบได้โดยใช้ ขัน้ ตอนการแก้ปญั หา 4 ขัน้ ตาม
กระบวนการแก้ปญั หาของโพลยา ดังนี้ (p)
1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด 1. ไก่มากกว่าสีเ่ ท่าของเป็ ดอยู่ 14 ตัว
2. มีไก่น้อยกว่า 70 ตัว
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ มีเป็ดกีต่ วั
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
วิธที ใ่ี ช้ในการคิดคานวณ กาหนดตัวแปรจากสิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ
ให้เป็ด แทนด้วย x ตัว
ไก่มากกว่าสีเ่ ท่าของเป็ดอยู่ 14 ตัว จะได้ 4x + 14 ตัว
มีไก่น้อยกว่าอยู่ 70 ตัว จะได้ 4x + 14 = 70
ประโยคสมการ คือ 4x + 14 = 70
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
ให้เป็ด แทนด้วย x ตัว
ไก่มากกว่าสีเ่ ท่าของเป็ ดอยู่ 14 ตัว = 4x + 14 ตัว
มีไก่น้อยกว่าอยู่ 70 ตัว = 4x + 14 = 70
ประโยคสมการ คือ 4x + 14 = 70
นา 14 ลบออกทัง้ สองข้างของสมการ
4x + 14 – 14 = 70 – 14
4x = 56
81

นา 4 หารออกทัง้ สองข้างของสมการ
4x ÷ 4 = 56 ÷ 4
X = 14
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
ให้เป็ด แทนด้วย 14 ตัว
ไก่มากกว่าสีเ่ ท่าของเป็ดอยู่ 4(14) + 14
จะได้ว่า 4(14) + 14 = 70
ดังนัน้ 70 = 70 สมการเป็ นจริง
2. เมือ่ นักเรียนได้วเิ คราะห์ตามขัน้ ตอนของแบบฝึกแล้วครูเปิดโอกาสให้นกั เรียน
ซักถามข้อสงสัย
3. ครูแจกใบงานการวิเคราะห์โจทย์ปญั หาให้นกั เรียนลองฝึกทาโดยพิจารณาจาก
ตัวอย่างทีก่ าหนดให้บนกระดาน (p)

ขัน้ สรุป
ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปลาดับขัน้ ตอนการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์เรือ่ งโจทย์
สมการ:การใช้สญั ลักษณ์ (ตัวแปร) ว่ามีลาดับขัน้ ตอนอย่างไร

8.ภาระ/ ชิ้ นงาน


- แบบฝึก การแก้โจทย์ปญั หาสมการเกี่ยวกับการเปรียบเทียบจานวน 4 ข้อ

9. สื่อการเรียนรู้
1. แบบฝึ กการแก้สมการเกี่ยวกับการเปรี ยบเทียบจานวน
2. หนังสื อเรี ยนคณิ ตศาสตร์
3. ตัวอย่างโจทย์ปัญหาสมการ

10. แหล่งการเรียนรู้
ห้องเรียน / ห้องสมุด
82

11. การวัดและประเมิ นผลการเรียนรู้

การวัดผล วิ ธีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิ น


ด้านความรู้ - ตรวจจากแบบฝึก -แบบฝึกที่ 1 โจทย์ -นักเรียนร้อยละ 60
- แก้ปญั หาทาง -การถาม/ตอบ สมการเกีย่ วกับการ ผ่านเกณฑ์ขนั ้ ต่าของ
คณิตศาสตร์เรือ่ ง เปรียบเทียบจานวน การประเมินชิน้ งาน
โจทย์สมการเกีย่ วกับ -คาถาม
การเปรียบเทียบ
จานวน
ด้านทักษะ/ -การร่วมกิจกรรม -แบบวัดและ -นักเรียนร้อยละ 60
กระบวนการ -ตรวจผลงาน ประเมินผล ผ่านเกณฑ์ตามแบวัด
-การแก้ปญั หา คณิตศาสตร์ดา้ น และประเมินผล
-การให้เหตุผล ทักษะ/กระบวนการ คณิตศาสตร์ดา้ น
-การสื่อสาร การสื่อ ทักษะ/กระบวนการ
ความหมายและการ
นาเสนอข้อมูล

ด้านคุณลักษณะ -การส่งงานตาม -บันทึกการส่งงาน -นักเรียนร้อยละ 60


- มีความรับผิดชอบ กาหนด ผ่านเกณฑ์การส่งงาน
- มีระเบียบวินัย -ความสะอาดของสมุด
-ทางานเป็ นระบบ และแบบฝึก
83

12. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการสอน
นักเรียนบางคนยังไม่เข้าใจเกีย่ วกับการแสดงวิธคี ดิ ตามกระบวนการแก้ปญั หา 4 ขัน้
ในการแก้โจทย์สมการยังวิเคราะห์โจทย์ไม่ได้ว่าส่วนใดคือ สิง่ ทีโ่ จทย์ถาม ส่วนใดคือสิง่ ทีโ่ จทย์
ต้องการทราบ และจะลาดับขัน้ การวางแผนในการแก้ปญั หาอย่างไร ครูจงึ ต้องยกตัวอย่างจากโจทย์
สมการง่ายๆ ทีก่ าหนดตัวแปรมาให้ไปสู่โจทย์สมการทีไ่ ม่กาหนดตัวแปรเพื่อฝึกให้นักเรียนสมมติตวั
แปรให้ได้ว่าสถานการณ์แบบใด จะต้องสมมติตวั แปรอย่างไร ก่อนจึงจะนาไปสู่การแก้ปญั หาโจทย์
สมการนัน้ ได้ เมือ่ นักเรียนเข้าใจจึงนาไปสู่การแก้ปญั หา ตามกระบวนการและยกตัวอย่างประกอบ
หลากหลายตัวอย่าง เพื่อให้นกั เรียนมีประสบการณ์ในการเรียนรูห้ ลายๆแบบและลองฝึกให้นกั เรียน
เขียนสมการจากโจทย์ทค่ี รูให้โดยยังไม่แสดงวิธที า ให้ฝึกเขียนสมการให้ได้จากสถานการณ์ต่างๆ

ปญั หาและอุปสรรค
นักเรียนบางคนไม่ทราบว่าจะต้องกาหนดตัวแปรก่อนในกรณีทโ่ี จทย์สมการไม่
กาหนดตัวแปรมาให้และจะใช้ขอ้ มูลส่วนใดนามาใช้ในการกาหนดตัวแปร

แนวทางแก้ไข
ครูยกตัวอย่างจากโจทย์สมการง่ายๆ ทีก่ าหนดตัวแปรมาให้ไปสู่โจทย์สมการทีไ่ ม่
กาหนดตัวแปรเพื่อฝึกให้นกั เรียนสมมติตวั แปรให้ได้ว่าสถานการณ์แบบใดจะต้องสมมติตวั แปร
อย่างไรก่อนจึงจะนาไปสู่การแก้ปญั หาโจทย์สมการนัน้ ได้เมือ่ นักเรียนเข้าใจจึงนาไปสู่การแก้ปญั หา
ตามกระบวนการและยกตัวอย่างประกอบหลากหลายตัวอย่างเพื่อให้นกั เรียนมีประสบการณ์ในการ
เรียนรูโ้ จทย์สมการหลายๆแบบ

ลงชื่อ ……………………………………………
( นางสาววชิราภรณ์ ชานิ )
84

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
รหัสวิชา ค 21101 กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2554
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกีย่ วกับอายุ จานวน 2 ชัวโมง

**********************************************************************************************************
1.สาระ
สาระที่ 4 พีชคณิต
สาระที่ 6 ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟและแบบจาลองทางคณิตศาสตร์
อื่นๆแทนสถานการณ์ต่างๆตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปญั หา
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปญั หา

3. ตัวชี้วดั
แก้โจทย์ปญั หาเกีย่ วกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวอย่างง่ายพร้อมทัง้ ตระหนักถึง
ความสมเหตุสมผลของคาตอบ

4. สาระสาคัญ
การแก้โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกีย่ วกับการหาอายุ เป็ นการแก้ปญั หา
ทางคณิตศาสตร์ ตามขัน้ ตอน/กระบวนการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ ดังนี้
1. ขัน้ ทาความเข้าใจปญั หา เป็นขัน้ ของการวิเคราะห์โจทย์ปญั หา ซึง่ ผูแ้ ก้ปญั หาจะต้อง
อ่านโจทย์ปญั หา เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์หรือปญั หาทีโ่ จทย์กาหนดให้ได้ว่า อะไรคือสิง่ ทีโ่ จทย์
กาหนดและอะไรคือสิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการ
2. ขัน้ วางแผนแก้ปญั หา เป็นขัน้ ของการเสนอแนวคิดหรือสร้างทางเลือกในการแก้โจทย์
ปญั หา ซึง่ นักเรียนจะต้องประมวลสิง่ ต่างๆทีไ่ ด้ในขัน้ ที่ 1 และ 2 เพื่อวางแผนแนวทางในการ
แก้ปญั หาว่าจากสิง่ ทีโ่ จทย์กาหนดและจากสิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการ นักเรียนจะสามารถเขียนสิง่ เหล่านี้
ออกมาในรูปของสมการได้อย่างไรและจะมีสตู ร ทฤษฎี ข้อเท็จจริงหรือข้อมูลใดทีโ่ จทย์ไม่ได้
กาหนดแต่ตอ้ งนามาใช้เพื่อนามาใช้ในการแก้ปญั หานัน้
3. ขัน้ ดาเนินการตามแผน เป็นขัน้ ทีน่ กั เรียนลงมือปฏิบตั ติ ามแผนทีไ่ ด้วางไว้
4. ขัน้ ตรวจคาตอบ เป็นขัน้ ของการตรวจคาตอบทีไ่ ด้ว่า คาตอบทีไ่ ด้นนั ้ มีความ
สอดคล้องกับสถานการณ์ทโ่ี จทย์กาหนดให้หรือไม่
85

5. จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ : นักเรียนสามารถ
1. แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์เรือ่ งโจทย์สมการเกีย่ วกับอายุได้
ด้านทักษะ/กระบวนการ : นักเรียนมีความสามารถ (k)
1. ในการแก้ปญั หา (p )
2. ในการให้เหตุผล (p )
3. ในการสื่อสาร การสื่อความหมายและการนาเสนอข้อมูล (p )
ด้านคุณลักษณะ : นักเรียน
1. มีความรับผิดชอบ (A )
2. มีระเบียบวินยั (A )
3. ทางานเป็นระบบ (A )

6. สาระการเรียนรู้
การแก้โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกีย่ วกับการหาอายุ ขัน้ ตอน/กระบวนการ
แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ ดังนี้
ปจั จุบนั พ่อมีอายุเป็ น 3 เท่าของอายุบุตร อีก 10 ปีขา้ งหน้าพ่อจะมีอายุครบ 61
ปีพอดี จงหาว่าปจั จุบนั บุตรมีอายุก่ปี ี

วิธีทำ
1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ ปจั จุบนั บุตรมีอายุก่ปี ี
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ ปจั จุบนั พ่อมีอายุเป็น 3 เท่าของอายุบุตร
อีก 10 ปีขา้ งหน้าพ่อจะมีอายุครบ 61 ปีพอดี
2. ขัน้ วางแผน
จากการวิเคราะห์โจทย์ จะได้ว่า อีก 10 ปีขา้ งหน้าพ่อจะมีอายุครบ 61 ปี
ดังนัน้ ปจั จุบนั พ่อมีอายุ 61 - 10 = 51 ปี
แต่ ปจั จุบนั พ่อมีอายุเป็น 3 เท่าของบุตร 3x ปี
สมการทีไ่ ด้กค็ อื 3x = 51

3. ขัน้ ดาเนิ นการตามแผน


สมการทีไ่ ด้กค็ อื 3x = 51
นา 3 หารทัง้ สองข้างของสมการ
3x ÷ 3 = 51 ÷ 3
86

X = 17
นัน่ คือ ปจั จุบนั บุตรมีอายุ 17 ปี

4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
ปจั จุบนั บุตรมีอายุ 17 ปี
พ่อมีอายุ เป็น 3 เท่าของบุตร 3 × 17 = 51
ดังนัน้ อีก 10 ปีขา้ งหน้า พ่อจะมีอายุ 51 + 10 = 61 ปี
( ซึง่ ตรงกับทีโ่ จทย์กาหนดว่า อีก 10 ปีขา้ งหน้า พ่อจะมีอายุครบ 10 ปี )

7. กิ จกรรมการเรียนรู้
คาบที่ 3-4
ขัน้ นาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูทบทวนการแก้โจทย์ปญั หาสมการ การบวก ลบ คูณ หาร เพื่อให้
นักเรียนทาความเข้าใจก่อนทีจ่ ะเข้าสู่การแก้โจทย์ปญั หาสมการเกีย่ วกับการหาอายุ (k)

อีก 3 ปี แพรวาจะมีอายุครบ 15 ปี จงหาอายุปัจจุบนั ของแพรวา

2. จากสถานการณ์ทก่ี าหนดให้นกั เรียนช่วยกันพิจารณาและฝึกวิเคราะห์โจทย์


เพื่อแสดงวิธคี ดิ หาคาตอบตามขัน้ ตอนทีเ่ รียนไปแล้วในคาบทีผ่ ่านมา
1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด อีก 3 ปี แพรวาจะมีอายุครบ 15 ปี
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ ปจั จุบนั แพรวาอายุเท่าไร
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
กาหนดตัวแปร ให้อายุปจั จุบนั ของแพรวา แทนด้วย x ปี
อีก 3 ปี แพรวาจะมีอายุ 15 จะได้ว่า x + 3 = 15
ประโยคสมการ คือ x + 3 = 15
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
ให้อายุปจั จุบนั ของแพรวา แทนด้วย x ปี
อีก 3 ปี แพรวาจะมีอายุ x + 3 = 15
ประโยคสมการ คือ x + 3 = 15
นา 3 ลบออกทัง้ สองข้างของสมการ
x + 3 – 3 = 15 - 3
x = 12
87

ดังนัน้ ปจั จุบนั แพรวาอายุ 12 ปี

4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
ให้อายุปจั จุบนั ของแพรวา 12 ปี
อีก 3 ปี แพรวาจะมีอายุ 12 + 3 = 15
ดังนัน้ 15 = 15 สมการเป็นจริง
ขัน้ สอน
1. ครูอธิบายเพิม่ เติมโดยยกสถานการณ์ทเ่ี ป็นโจทย์สมการเกีย่ วกับอายุท่ี
ซับซ้อนขึน้ มาให้นกั เรียนช่วยกันพิจารณาแล้วฝึกแก้โจทย์จนเกิดความชานาญ (p),(k)

สามเท่ าของอายุของต้นมากกว่าอายุของปู่ 5 ปี ถ้าปู่ อายุ 70 ปี ต้นอายุเท่ าไร

1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด 1. สามเท่าของอายุของต้นมากกว่าอายุของปู่ 5 ปี
2. ปูอ่ ายุ 70 ปี
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ ต้นอายุเท่าไร
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
วิธที ใ่ี ช้ในการคิดคานวณ กาหนดตัวแปรจากสิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ
ให้อายุตน้ แทนด้วย x ปี
สามเท่าของอายุของต้นมากกว่าอายุของปู่ 5 ปี จะได้ว่า 3x - 5
ถ้าปูอ่ ายุ 70 ปี จะได้ว่า 3x - 5 = 70
ประโยคสมการ คือ 3x - 5 = 70
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
ให้อายุตน้ แทนด้วย x ปี
สามเท่าของอายุของต้นมากกว่าอายุของปู่ 5 ปีจะได้ว่า 3x - 5
ถ้าปูอ่ ายุ 70 ปี จะได้ว่า 3x - 5 = 70
ประโยคสมการ คือ 3x - 5 = 70
นา 5 บวกทัง้ สองข้างของสมการ
3x - 5 + 5 = 70 + 5
3x = 75
นา 3 หารทัง้ สองข้างของสมการ
3x ÷ 3 = 75 ÷ 3
x = 25
88

ดังนัน้ ต้นอายุ 25 ปี
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
อายุตน้ 25 ปี
สามเท่าของอายุของต้นมากกว่าอายุของปู่ 3(25) - 5 = 70
ดังนัน้ 70 = 70 สมการเป็ นจริง

2. เมือ่ นักเรียนได้วเิ คราะห์ตามขัน้ ตอนของแบบฝึกแล้วครูเปิดโอกาสให้นกั เรียน


ซักถามข้อสงสัย (k)
3. ครูแจกใบงานการวิเคราะห์โจทย์ปญั หาให้นกั เรียนลองฝึกทาโดยพิจารณาจาก
ตัวอย่างทีก่ าหนดให้บนกระดาน (p)
ขัน้ สรุป
ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปลาดับขัน้ ตอนการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์เรือ่ งโจทย์
สมการ:การใช้สญ ั ลักษณ์ (ตัวแปร) ในสมการการหาอายุ ว่ามีลาดับขัน้ ตอนอย่างไร

8.ภาระ/ ชิ้ นงาน


- แบบฝึก การแก้โจทย์ปญั หาสมการเกีย่ วกับการหาอายุ 4 ข้อ

9. สื่อการเรียนรู้
1. แบบฝึกการแก้สมการเกี่ยวกับการหาอายุ
2. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์
3. ตัวอย่างโจทย์สมการเกีย่ วกับการหาอายุ

10. แหล่งการเรียนรู้
ห้องเรียน/ห้องสมุด
89

11. การวัดและประเมิ นผลการเรียนรู้

การวัดผล วิ ธีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิ น


ด้านความรู้ - ตรวจจากแบบฝึก -แบบฝึกที่ 2 โจทย์ -นักเรียนร้อยละ 60
- แก้ปญั หาทาง -การถาม/ตอบ สมการเกีย่ วกับการ ผ่านเกณฑ์ขนั ้ ต่าของ
คณิตศาสตร์เรือ่ ง การหาอายุ การประเมินชิน้ งาน
โจทย์สมการเกีย่ วกับ -คาถาม
การหาอายุได้

ด้านทักษะ/ -การร่วมกิจกรรม -แบบวัดและ -นักเรียนร้อยละ 60


กระบวนการ -ตรวจผลงาน ประเมินผล ผ่านเกณฑ์ตามแบวัด
-การแก้ปญั หา คณิตศาสตร์ดา้ น และประเมินผล
-การให้เหตุผล ทักษะ/กระบวนการ คณิตศาสตร์ดา้ น
-การสื่อสาร การสื่อ ทักษะ/กระบวนการ
ความหมายและการ
นาเสนอข้อมูล

ด้านคุณลักษณะ -การส่งงานตาม -บันทึกการส่งงาน -นักเรียนร้อยละ 60


- มีความรับผิดชอบ กาหนด ผ่านเกณฑ์การส่งงาน
- มีระเบียบวินัย -ความสะอาดของ
-ทางานเป็ นระบบ สมุดและแบบฝึก
90

12. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการสอน
นักเรียนมีความรูเ้ กีย่ วกับการวิเคราะห์โจทย์สมการ จากเดิมมากขึน้ ลาดับขัน้ ตอนใน
การแก้ปญั หาได้ตามกระบวนการ 4 ขัน้ จากทีไ่ ด้เรียนมาแล้วในคาบเรียนก่อนเกีย่ วกับการแก้โจทย์
สมการเปรียบเทียบจานวนสามารถวิเคราะห์โจทย์ได้ ถูกต้องจะมีไม่กค่ี นทีย่ งั สับสนในขัน้ ตอนของ
การวางแผนการแก้ปญั หาและขัน้ ดาเนินการ เนื่องจากขาดการฝึกเพราะนักเรียนไม่ทางานด้วย
ตนเองใช้วธิ กี ารลอกเพื่อนในขณะทีค่ รูมอบหมายงานให้ทา

ปญั หาและอุปสรรค
มีนกั เรียนบางคนสับสนกับโจทย์สมการเกี่ยวกับการหาอายุวเิ คราะห์โจทย์ไม่ได้ว่า
โจทย์ตอ้ งการอะไรและลาดับวิธกี ารแก้ปญั หาไม่ได้ว่าต้องแก้สมการใดก่อนและหลังเพราะโจทย์
สมการเกีย่ วกับการหาอายุมลี กั ษณะการถามจากอดีตไปจนถึงอนาคตนักเรียนจึงสับสนไม่สามารถ
ลาดับการแก้ปญั หาได้

แนวทางแก้ไข
ครูยกตัวอย่างสถานการณ์เกีย่ วกับโจทย์การหาอายุในกรณีจากง่ายเพียงหาตัวแปร
เพียงตัวเดียวให้ได้คาตอบให้นกั เรียนแก้ปญั หาโดยนากระบวนการแก้ปญั หาตามขัน้ ตอนฝึกเขียน
สมการไปก่อนยังไม่ตอ้ งเข้าสู่กระบวนการแก้ปญั หาขัน้ ดาเนินการให้วเิ คราะห์โจทย์สมการและฝึก
เขียนสมการเพื่อให้เรียนรูว้ ่าโจทย์สมการแบบใดจะต้องใช้วธิ กี ารแก้อย่างไรเมือ่ นักเรียนสามารถ
วิเคราะห์โจทย์ได้แล้วจึงเข้าสู่กระบวนการแก้ปญั หาขัน้ ดาเนินการและตรวจคาตอบ

ลงชื่อ ……………………………………………
( นางสาววชิราภรณ์ ชานิ )
91

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
รหัสวิชา ค 21101 กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2554
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกีย่ วกับเศษส่วน จานวน 2 ชัวโมง

**********************************************************************************************************
1.สาระ
สาระที่ 4 พีชคณิต
สาระที่ 6 ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟและแบบจาลองทางคณิตศาสตร์
อื่นๆแทนสถานการณ์ต่างๆตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปญั หา
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปญั หา

3. ตัวชี้วดั
แก้โจทย์ปญั หาเกีย่ วกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวอย่างง่ายพร้อมทัง้ ตระหนักถึง
ความสมเหตุสมผลของคาตอบ

4. สาระสาคัญ
การแก้โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกีย่ วกับเศษส่วน เป็ นการแก้ปญั หา
ทางคณิตศาสตร์ ตามขัน้ ตอน/กระบวนการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ ดังนี้
1. ขัน้ ทาความเข้าใจปญั หา เป็นขัน้ ของการวิเคราะห์โจทย์ปญั หา ซึง่ ผูแ้ ก้ปญั หาจะต้อง
อ่านโจทย์ปญั หา เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์หรือปญั หาทีโ่ จทย์กาหนดให้ได้ว่า อะไรคือสิง่ ทีโ่ จทย์
กาหนดและอะไรคือสิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการ
2. ขัน้ วางแผนแก้ปญั หา เป็นขัน้ ของการเสนอแนวคิดหรือสร้างทางเลือกในการแก้โจทย์
ปญั หา ซึง่ นักเรียนจะต้องประมวลสิง่ ต่างๆทีไ่ ด้ในขัน้ ที่ 1 และ 2 เพื่อวางแผนแนวทางในการ
แก้ปญั หาว่าจากสิง่ ทีโ่ จทย์กาหนดและจากสิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการ นักเรียนจะสามารถเขียนสิง่ เหล่านี้
ออกมาในรูปของสมการได้อย่างไรและจะมีสตู ร ทฤษฎี ข้อเท็จจริงหรือข้อมูลใดทีโ่ จทย์ไม่ได้
กาหนดแต่ตอ้ งนามาใช้เพื่อนามาใช้ในการแก้ปญั หานัน้
3. ขัน้ ดาเนินการตามแผน เป็นขัน้ ทีน่ กั เรียนลงมือปฏิบตั ติ ามแผนทีไ่ ด้วางไว้
4. ขัน้ ตรวจคาตอบ เป็นขัน้ ของการตรวจคาตอบทีไ่ ด้ว่า คาตอบทีไ่ ด้นนั ้ มีความ
สอดคล้องกับสถานการณ์ทโ่ี จทย์กาหนดให้หรือไม่
92

5. จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ : นักเรียนสามารถ
1. แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์เรือ่ งโจทย์สมการเกีย่ วกับเศษส่วนได้
ด้านทักษะ/กระบวนการ : นักเรียนมีความสามารถ (k)
1. ในการแก้ปญั หา (p )
2. ในการให้เหตุผล (p )
3. ในการสื่อสาร การสื่อความหมายและการนาเสนอข้อมูล (p )
ด้านคุณลักษณะ : นักเรียน
1. มีความรับผิดชอบ (A )
2. มีระเบียบวินยั (A )
3. ทางานเป็นระบบ (A )

6. สาระการเรียนรู้
การแก้โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกีย่ วกับเศษส่วน มีหลักการวิเคราะห์
โจทย์ดงั นี้
พอใจมีขนมอยูก่ ล่องหนึ่ง แบ่งให้เป็นต่อไป 2 ใน 5 ของขนมทีม่ อี ยู่ ปรากฏว่าเป็ น
ต่อได้ขนมไป 20 ชิน้ เดิมพอใจมีขนมทัง้ หมดกี่ชน้ิ
วิธีทำ
1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ เดิมพอใจมีขนมทัง้ หมดกี่ชน้ิ
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ พอใจมีขนมอยูก่ ล่องหนึ่ง แบ่งให้เป็ นต่อไป
2 ใน 5 ของขนมทีม่ อี ยู่
ปรากฏว่าเป็นต่อได้ขนมไป 20 ชิน้
2. ขัน้ วางแผน
จากการวิเคราะห์โจทย์ จะได้ว่า ให้พอใจมีขนม x ชิน้
แบ่งให้เป็นต่อไป 2 ใน 5 ของขนมทีม่ อี ยู่ จะได้ x

ปรากฏว่าเป็นต่อได้ขนมไป 20 ชิน้ จะได้ x = 20

3. ขัน้ ดาเนิ นการตามแผน


สมการคือ x = 20

นา 5 คูณทัง้ สองข้างของสมการ
93

x × 5 = 20 × 5

2x = 100
นา 2 หารทัง้ สองข้างของสมการ
2x ÷ 2 = 100 ÷ 2
X = 50

ดังนัน้ เดิมพอใจมีขนมทัง้ หมด 50 ชิน้

4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
เดิมพอใจมีขนมทัง้ หมด 50 ชิน้

แบ่งให้เป็ นต่อไป 50 ×

ดังนัน้ เป็นต่อได้ขนมไป 20 ชิน้

7. กิ จกรรมการเรียนรู้
คาบที่ 5-6
ขัน้ นาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูทบทวนการแก้โจทย์ปญั หาสมการ การบวก ลบ คูณ หาร เพื่อให้
นักเรียนทาความเข้าใจก่อนทีจ่ ะเข้าสู่การแก้โจทย์ปญั หาสมการเกีย่ วกับเศษส่วน (k)

เศษหนึ่ งส่วนสามของจานวนหนึ่ ง มีค่าเท่ ากับ 10 จงหาจานวนนัน้

2. จากสถานการณ์ทก่ี าหนดให้นกั เรียนช่วยกันพิจารณาและฝึกวิเคราะห์


โจทย์เพื่อแสดงวิธคี ดิ หาคาตอบตามขัน้ ตอนทีเ่ รียนไปแล้ว
1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด เศษหนึ่งส่วนสามของจานวนหนึ่ง มีค่าเท่ากับ 10
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ จานวนนัน้ คือ
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
กาหนดตัวแปรจาก สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ แทนด้วย x
เศษหนึ่งส่วนสามของจานวนหนึ่ง มีค่าเท่ากับ 10 จะได้ว่า x
ประโยคสมการ คือ x = 10
94

3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา


ให้ จานวนนัน้ แทนด้วย x
เศษหนึ่งส่วนสามของจานวนหนึ่ง มีค่าเท่ากับ 10 จะได้ว่า x
ประโยคสมการ คือ x = 10
นา 3 คูณทัง้ สองข้างของสมการ
x × 3 = 10 × 3
x = 30
ดังนัน้ เลขจานวนนัน้ คือ 30
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
ให้ เลขจานวนนัน้ คือ 30
จะได้ว่า × 30 = 10
ดังนัน้ 10 = 10 สมการเป็ นจริง

ขัน้ สอน
1. ครูอธิบายเพิม่ เติมโดยยกสถานการณ์ทเ่ี ป็นโจทย์สมการเกีย่ วกับเศษส่วนที่
ซับซ้อนขึน้ มาให้นกั เรียนช่วยกันพิจารณาแล้วฝึกแก้โจทย์จนเกิดความชานาญ (p),(k)

สามในห้าของจานวนหนึ่ งมากกว่า 8 อยู่ 7 จงหาเลขจานวนนัน้

1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด สามในห้าของจานวนหนึ่ง มากกว่า 8 อยู่ 7
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ เลขจานวนนัน้ คือ
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
กาหนดตัวแปร ให้เลขจานวนนัน้ แทนด้วย x
สามในห้าของจานวนหนึ่ง x
มีค่ามากกว่า 8 อยู่ 7 จะได้ว่า x- 8=7

ประโยคสมการ คือ x -8 = 7
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
ให้ เลขจานวนนัน้ แทนด้วย x
สามในห้าของจานวนหนึ่ง x
95

มีค่ามากกว่า 8 อยู่ 7 จะได้ x–8 = 7

ประโยคสมการ คือ x–8 = 7

นา 8 บวกทัง้ สองข้างของสมการ
x–8+8 = 7+8

x = 15

นา 5 คูณทัง้ สองข้างของสมการ
X × 5 = 15 × 5

3 x = 75
นา 3 หารทัง้ สองข้างของสมการ
3 x ÷ 3 = 75 ÷ 3
X = 25
ดังนัน้ เลขจานวนนัน้ คือ 25
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
ให้ เลขจานวนนัน้ คือ 25
สามในห้าของจานวนหนึ่งมากกว่า 8 อยู่ 7 จะได้ว่า (25 ) – 8 = 7

ดังนัน้ 7 = 7 สมการเป็นจริง

2. เมือ่ นักเรียนได้วเิ คราะห์ตามขัน้ ตอนของแบบฝึกแล้วครูเปิดโอกาสให้นกั เรียน


ซักถามข้อสงสัย (k)
3. ครูแจกใบงานการวิเคราะห์โจทย์ปญั หาให้นกั เรียนลองฝึกทาโดยพิจารณาจาก
ตัวอย่างทีก่ าหนดให้บนกระดาน (p)
ขัน้ สรุป
ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปลาดับขัน้ ตอนการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์เรือ่ งโจทย์
สมการ:การใช้สญ ั ลักษณ์ (ตัวแปร) ในสมการเศษส่วนว่ามีลาดับขัน้ ตอนอย่างไร

8.ภาระ/ ชิ้ นงาน


- แบบฝึก การแก้โจทย์ปญั หาสมการเกี่ยวกับเศษส่วน 4 ข้อ
96

9. สื่อการเรียนรู้
1. แบบฝึก การแก้สมการเกีย่ วกับเศษส่วน
2. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์
3. โจทย์ปญั หาสมการเกีย่ วกับเศษส่วน

10. แหล่งการเรียนรู้
ห้องเรียน/ห้องสมุด

11. การวัดและประเมิ นผลการเรียนรู้

การวัดผล วิ ธีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิ น


ด้านความรู้ - ตรวจจากแบบฝึก -แบบฝึกที่ 3 โจทย์ -นักเรียนร้อยละ 60
- แก้ปญั หาทาง -การถาม/ตอบ สมการเกีย่ วกับการ ผ่านเกณฑ์ขนั ้ ต่าของ
คณิตศาสตร์เรือ่ ง หาเศษส่วน การประเมินชิน้ งาน
โจทย์สมการเกีย่ วกับ -คาถาม
เศษส่วนได้

ด้านทักษะ/ -การร่วมกิจกรรม -แบบวัดและ -นักเรียนร้อยละ 60


กระบวนการ -ตรวจผลงาน ประเมินผล ผ่านเกณฑ์ตามแบวัด
-การแก้ปญั หา คณิตศาสตร์ดา้ น และประเมินผล
-การให้เหตุผล ทักษะ/กระบวนการ คณิตศาสตร์ดา้ น
-การสื่อสาร การสื่อ ทักษะ/กระบวนการ
ความหมายและการ
นาเสนอข้อมูล

ด้านคุณลักษณะ -การส่งงานตาม -บันทึกการส่งงาน -นักเรียนร้อยละ 60


- มีความรับผิดชอบ กาหนด ผ่านเกณฑ์การส่ง
- มีระเบียบวินัย -ความสะอาดของ งาน
-ทางานเป็ นระบบ สมุดและแบบฝึก
97

12. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการสอน
นักเรียนสามารถวิเคราะห์โจทย์สมการได้ถูกต้องตามกระบวนการแก้ปญั หา 4 ขัน้
ลาดับขัน้ ตอนได้และแสดงวิธกี ารดาเนินการได้ถูกต้องเนื่องจากนักเรียนได้ฝึกการแก้โจทย์สมการไป
แล้วก่อนทีจ่ ะเรียนการแก้โจทย์สมการเศษส่วน ซึง่ ในแต่ละเรือ่ งทีน่ กั เรียนผ่านมานักเรียนจะได้การ
แก้โจทย์สมการ ตามกระบวนการมาแล้ววิธกี ารจะเหมือนเดิม เพียงแต่ครูเปลีย่ นโจทย์สมการจาก
แบบเดิมมาเป็ นแบบเศษส่วน จึงไม่มปี ญั หาในการแสดงวิธกี ารแก้ปญั หาโจทย์ สมการเศษส่วน
นักเรียนส่วนใหญ่สามารถวิเคราะห์โจทย์ และเข้าสู่กระบวนการแก้ปญั หาได้ จะมีเพียงไม่กค่ี นทีย่ งั
เรียนรูไ้ ด้ชา้ มาตัง้ แต่ตน้ จึงทาให้กระบวนการแก้ปญั หาเป็นไปได้ชา้ ครูตอ้ งคอยแนะนาทีละขัน้ ตอน
จึงจะสามารถผ่านการฝึกในแต่ละแบบฝึกได้

ปญั หาและอุปสรรค
ยังมีนกั เรียนบางคนทีย่ งั ต้องคอยให้คาแนะนาขัน้ ตอนในการแก้ปญั หาจากแบบฝึกที่
ครูให้ยงั ต้องให้ครูคอยช่วยเหลือในการลาดับขัน้ ตอนการแก้ปญั หาให้ครูคอยแนะนาเป็นรายบุคคล

แนวทางแก้ไข
ครูนานักเรียนกลุ่มนี้มาสอนนอกเวลาเพิม่ เติมในช่วงกลางวันโดยนาตัวอย่างโจทย์
สมการแบบง่ายมาฝึกให้นกั เรียนวิเคราะห์หาวิธแี ก้และเขียนประโยคสัญลักษณ์ของสมการก่อนทีจ่ ะ
ให้นกั เรียนแสดงวิธที าตามกระบวนการทีค่ รูสอนในชัวโมงเรี
่ ยน

ลงชื่อ ……………………………………………
( นางสาววชิราภรณ์ ชานิ )
98

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
รหัสวิชา ค 21101 กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปี ท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2554
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกีย่ วกับสมการระคน จานวน 2 ชัวโมง

**********************************************************************************************************
1.สาระ
สาระที่ 4 พีชคณิต
สาระที่ 6 ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟและแบบจาลองทางคณิตศาสตร์
อื่นๆแทนสถานการณ์ต่างๆตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปญั หา
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปญั หา

3. ตัวชี้วดั
แก้โจทย์ปญั หาเกีย่ วกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวอย่างง่ายพร้อมทัง้ ตระหนักถึง
ความสมเหตุสมผลของคาตอบ

4. สาระสาคัญ
การแก้โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกีย่ วกับสมการระคน เป็นการแก้ปญั หา
ทางคณิตศาสตร์ ตามขัน้ ตอน/กระบวนการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ ดังนี้
1. ขัน้ ทาความเข้าใจปญั หา เป็นขัน้ ของการวิเคราะห์โจทย์ปญั หา ซึง่ ผูแ้ ก้ปญั หาจะต้อง
อ่านโจทย์ปญั หา เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์หรือปญั หาทีโ่ จทย์กาหนดให้ได้ว่า อะไรคือสิง่ ทีโ่ จทย์
กาหนดและอะไรคือสิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการ
2. ขัน้ วางแผนแก้ปญั หา เป็นขัน้ ของการเสนอแนวคิดหรือสร้างทางเลือกในการแก้โจทย์
ปญั หา ซึง่ นักเรียนจะต้องประมวลสิง่ ต่างๆทีไ่ ด้ในขัน้ ที่ 1 และ 2 เพื่อวางแผนแนวทางในการ
แก้ปญั หาว่าจากสิง่ ทีโ่ จทย์กาหนดและจากสิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการ นักเรียนจะสามารถเขียนสิง่ เหล่านี้
ออกมาในรูปของสมการได้อย่างไรและจะมีสตู ร ทฤษฎี ข้อเท็จจริงหรือข้อมูลใดทีโ่ จทย์ไม่ได้
กาหนดแต่ตอ้ งนามาใช้เพื่อนามาใช้ในการแก้ปญั หานัน้
3. ขัน้ ดาเนินการตามแผน เป็นขัน้ ทีน่ กั เรียนลงมือปฏิบตั ติ ามแผนทีไ่ ด้วางไว้
4. ขัน้ ตรวจคาตอบ เป็นขัน้ ของการตรวจคาตอบทีไ่ ด้ว่า คาตอบทีไ่ ด้นนั ้ มีความ
สอดคล้องกับสถานการณ์ทโ่ี จทย์กาหนดให้หรือไม่
99

5. จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ : นักเรียนสามารถ
1. แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์เรือ่ งโจทย์สมการเกีย่ วกับสมการระคนได้
ด้านทักษะ/กระบวนการ : นักเรียนมีความสามารถ (k)
1. ในการแก้ปญั หา (p )
2. ในการให้เหตุผล (p )
3. ในการสื่อสาร การสื่อความหมายและการนาเสนอข้อมูล (p )
ด้านคุณลักษณะ : นักเรียน
1. มีความรับผิดชอบ (A )
2. มีระเบียบวินยั (A )
3. ทางานเป็นระบบ (A )

6. สาระการเรียนรู้
การแก้โจทย์ปญั หาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกีย่ วกับสมการระคน มีหลักการ
วิเคราะห์โจทย์ดงั นี้
ห้าเท่าของจานวนๆหนึ่งน้อยกว่า 85 อยู่ 15 จงหาจานวนนัน้
วิธีทำ
1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ จานวนนัน้ คือ
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ ห้าเท่าของจานวนๆหนึ่งน้อยกว่า 85 อยู่ 15
2. ขัน้ วางแผน
จากการวิเคราะห์โจทย์ จะได้ว่า ให้จานวนนัน้ คือ x
ดังนัน้ ห้าเท่าของจานวนๆนัน้ คือ 5x
มีค่าน้อยกว่า 85 อยู่ 15 จะได้ 5x + 85 = 15
3. ขัน้ ดาเนิ นการตามแผน
สมการทีไ่ ด้ คือ 5x - 85 = 15
นา 85 บวกทัง้ สองข้างของสมการ
5x - 85 + 85 = 15 + 85
5x = 100
นา 5 หารทัง้ สองข้างของสมการ
5x ÷ 5 = 100 ÷ 5
X = 20
100

ดังนัน้ จานวนนัน้ คือ 20


4. ขัน้ ตรวจสอบ
จานวนนัน้ คือ 20
ห้าเท่าของจานวนๆ นัน้ คือ 5 x 20 = 100
นันคื
่ อ 100 น้อยกว่า 85 อยู่ 15 เป็นจริงตามทีก่ าหนด

7. กิ จกรรมการเรียนรู้
คาบที่ 7-8
ขัน้ นาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูทบทวนการแก้โจทย์ปญั หาสมการ การบวก ลบ คูณ หาร เพื่อให้
นักเรียนทาความเข้าใจก่อนทีจ่ ะเข้าสู่การแก้โจทย์ปญั หาสมการเกีย่ วกับการหาอายุ (k)

แมวซื้อปากกามาจานวนหนึ่ งด้ามละ 15 บาทและซื้อสีอีก 100 บาท ต้อง


จ่ายเงิ น 700 บาทอยากทราบว่าแมวซื้อปากกามากี่ด้าม

2. จากสถานการณ์ทก่ี าหนดให้นกั เรียนช่วยกันพิจารณาและฝึกวิเคราะห์โจทย์


เพื่อแสดงวิธคี ดิ หาคาตอบตามขัน้ ตอนทีเ่ รียนไปแล้วในคาบทีผ่ ่านมา
1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด 1. แมวซือ้ ปากกามาจานวนหนึ่งด้ามละ 15 บาท
และซือ้ สีอกี 100 บาท
2. ต้องจ่ายเงิน 700 บาท
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ แมวซือ้ ปากกามากีด่ า้ ม
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
วิธที ใ่ี ช้ในการคิดคานวณ กาหนดตัวแปรจากสิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ
ให้ แมวซือ้ ปากกาจานวน x ด้าม
แมวซือ้ ปากกามาด้ามละ 15 บาท และซือ้ สีอกี 100 บาท
จะได้ว่า 15x + 100
ต้องจ่ายเงิน 700 บาท จะได้ว่า 15x + 100 = 700
ประโยคสมการ คือ 15x + 100 = 700
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
ให้ แมวซือ้ ปากกา แทนด้วย x ด้าม
แมวซือ้ ปากกามาด้ามละ 15 บาท และซือ้ สีอกี 100 บาท
จะได้ว่า 15x + 100
101

ต้องจ่ายเงิน 700 บาท จะได้ว่า 15x + 100 = 700


ประโยคสมการ คือ 15x + 100 = 700
นา 100 ลบออกทัง้ สองข้างของสมการ
15x + 100 – 100 = 700 - 100
15x = 600
นา 15 หารออกทัง้ สองข้างของสมการ
15x ÷ 15 = 600 ÷ 15
X = 40
ดังนัน้ แมวซือ้ ปากกามา 40 ด้าม
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
ให้ แมวซือ้ ปากกามา 40 ด้าม
ซือ้ ปากกาด้ามละ 15 บาท และซือ้ สี 100 บาท
จะได้ว่า 15(40) + 100
จ่ายเงินไป 5(40) + 100 = 700
ดังนัน้ 700 = 700 สมการเป็นจริง

ขัน้ สอน
1. ครูอธิบายเพิม่ เติมโดยยกสถานการณ์ทเ่ี ป็นโจทย์สมการเกีย่ วกับสมการระคน
ทีซ่ บั ซ้อนขึน้ มาให้นกั เรียนช่วยกันพิจารณาแล้วฝึกแก้โจทย์จนเกิดความชานาญ (p),(k)

จานวนเต็มสามจานวนซึ่งมีค่าเรียงกัน ผลรวมของจานวนทัง้ สามจานวนมีค่า


เท่ากับ 114 จานวนน้ อยที่สดุ มีค่าเท่ าไร

1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด 1. จานวนต็มสามจานวนซึง่ มีค่าเรียงกัน
2.ผลรวมของจานวนทัง้ สามจานวนมีค่าเท่ากับ
114
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ จานวนน้อยทีส่ ุดมีค่าเท่าไร
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
วิธที ใ่ี ช้ในการคิดคานวณ กาหนดตัวแปรจากสิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ
ให้ จานวนนัน้ แทนด้วย x
จานวนเต็มสามจานวนซึง่ มีค่าเรียงกัน x , x+1 , x+2
ผลรวมของจานวนทัง้ สามจานวนมีค่าเท่ากับ 114
102

จะได้ว่า x + x+1 + x+2 = 114


ประโยคสมการ คือ x + x+1 + x+2 = 114
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
ให้ จานวนนัน้ แทนด้วย x
จานวนเต็มสามจานวนซึง่ มีค่าเรียงกัน x , x+1 , x+2
ผลรวมของจานวนทัง้ สามจานวนมีค่าเท่ากับ 114
จะได้ว่า x + x+1 + x+2 = 114
ประโยคสมการ คือ x + x+1 + x+2 = 114
x + x+1 + x+2 = 114
3x + 3 = 114
นา 3 ลบออกทัง้ สองข้างของสมการ
3x + 3 – 3 = 114 - 3
3x = 111
นา 3 หารทัง้ สองข้างของสมการ
3x ÷ 3 = 111 ÷ 3
x = 37
ดังนัน้ จานวนน้อยทีส่ ุดมีค่า 37
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
ให้ จานวนน้อยทีส่ ุดมีค่า 37
จานวนเต็มสามจานวนซึง่ มีค่าเรียงกัน 37 + ( 37+1) + ( 37+ 2)
ผลรวมของจานวนทัง้ สามจานวนมีค่าน้อยกว่า 37 + ( 37+1) + ( 37+ 2) = 114
ดังนัน้ 114 = 114 สมการเป็นจริง

2. เมือ่ นักเรียนได้วเิ คราะห์ตามขัน้ ตอนของแบบฝึกแล้วครูเปิดโอกาสให้นกั เรียน


ซักถามข้อสงสัย (k)
3. ครูแจกใบงานการวิเคราะห์โจทย์ปญั หาให้นกั เรียนลองฝึกทาโดยพิจารณาจาก
ตัวอย่างทีก่ าหนดให้บนกระดาน (p)
ขัน้ สรุป
ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปลาดับขัน้ ตอนการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์เรือ่ งโจทย์
สมการ:การใช้สญ ั ลักษณ์ (ตัวแปร)ในสมการระคน ว่ามีลาดับขัน้ ตอนอย่างไร

8.ภาระ/ ชิ้ นงาน


- แบบฝึก การแก้โจทย์ปญั หาสมการระคน 4 ข้อ
103

9. สื่อการเรียนรู้
1. แบบฝึกการแก้สมการเกี่ยวกับสมการระคน
2. หนังสือเรียนคณิตศาสตร์
3. โจทย์ปญั หาสมการเกีย่ วกับสมการระคน

10. แหล่งการเรียนรู้
ห้องเรียน/ห้องสมุด

11. การวัดและประเมิ นผลการเรียนรู้

การวัดผล วิ ธีการวัดผล เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิ น


ด้านความรู้ - ตรวจจากแบบฝึก -แบบฝึกที่ 4 โจทย์ -นักเรียนร้อยละ 60
- แก้ปญั หาทาง -การถาม/ตอบ สมการเกีย่ วกับการ ผ่านเกณฑ์ขนั ้ ต่าของ
คณิตศาสตร์เรือ่ ง หาเศษส่วน การประเมินชิน้ งาน
โจทย์สมการเกีย่ วกับ -คาถาม
เศษส่วนได้

ด้านทักษะ/ -การร่วมกิจกรรม -แบบวัดและ -นักเรียนร้อยละ 60


กระบวนการ -ตรวจผลงาน ประเมินผล ผ่านเกณฑ์ตามแบวัด
-การแก้ปญั หา คณิตศาสตร์ดา้ น และประเมินผล
-การให้เหตุผล ทักษะ/กระบวนการ คณิตศาสตร์ดา้ น
-การสื่อสาร การสื่อ ทักษะ/กระบวนการ
ความหมายและการ
นาเสนอข้อมูล

ด้านคุณลักษณะ -การส่งงานตาม -บันทึกการส่งงาน -นักเรียนร้อยละ 60


- มีความรับผิดชอบ กาหนด ผ่านเกณฑ์การส่งงาน
- มีระเบียบวินัย -ความสะอาดของ
-ทางานเป็ นระบบ สมุดและแบบฝึก
104

12. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการสอน
นักเรียนสามารถวิเคราะห์โจทย์สมการได้ถูกต้องตามกระบวนการแก้ปญั หา 4 ขัน้
ลาดับขัน้ ตอนได้และแสดงวิธกี ารดาเนินการได้ถูกต้องเนื่องจากนักเรียนได้ฝึกการแก้โจทย์สมการไป
แล้วก่อนทีจ่ ะเรียนการแก้โจทย์สมการเศษส่วน ซึง่ ในแต่ละเรือ่ งทีน่ กั เรียนผ่านมานักเรียนจะได้การ
แก้โจทย์สมการตามกระบวนการมาแล้ว วิธกี ารจะเหมือนเดิมเพียงแต่ครูเปลีย่ นโจทย์สมการจาก
แบบเดิม มาเป็ นแบบสมการระคนจึงไม่มปี ญั หาในการแสดงวิธกี ารแก้ปญั หา โจทย์สมการระคน
นักเรียนส่วนใหญ่สามารถวิเคราะห์โจทย์ และเข้าสู่กระบวนการแก้ปญั หาได้ จะมีเพียงไม่กค่ี นทีย่ งั
เรียนรูไ้ ด้ชา้ มาตัง้ แต่ตน้ จึงทาให้กระบวนการแก้ปญั หาเป็นไปอย่างช้า ครูตอ้ งคอยแนะนาทีละ
ขัน้ ตอนจึงจะสามารถผ่านการฝึกในแต่ละแบบฝึกได้

ปญั หาและอุปสรรค
ยังมีนกั เรียนบางคนทีย่ งั ต้องคอยให้คาแนะนาขัน้ ตอนในการแก้ปญั หาจากแบบฝึกที่
ครูให้ยงั ต้องให้ครูคอยช่วยเหลือในการลาดับขัน้ ตอนการแก้ปญั หาให้ครูคอยแนะนาเป็นรายบุคคล

แนวทางแก้ไข
ครูนานักเรียนกลุ่มนี้มาสอนนอกเวลาเพิม่ เติมในช่วงกลางวันโดยนาตัวอย่างโจทย์
สมการแบบง่ายมาฝึกให้นกั เรียนวิเคราะห์หาวิธแี ก้และเขียนประโยคสัญลักษณ์ของสมการก่อนทีจ่ ะ
ให้นกั เรียนแสดงวิธที าตามกระบวนการทีค่ รูสอนในชัวโมงเรี
่ ยน

ลงชื่อ ……………………………………………
( นางสาววชิราภรณ์ ชานิ )
105

แบบทดสอบ ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์


เรื่อง โจทย์สมการเชิ งเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1
คาชี้แจง
แบบทดสอบฉบับนี้เป็ นแบบทดสอบทีก่ าหนดให้ผเู้ ข้าสอบได้แสดงความสามารถในการ
แก้ปญั หาโจทย์สมการโดยเขียนคาตอบลงบนกระดาษคาตอบตามกระบวนการแก้ปญั หา ดังนี้
1) ขัน้ ทาความเข้าใจในปญั หา เป็นขัน้ ทีน่ กั เรียนต้องตอบคาถามให้ได้ว่า สิง่ ทีโ่ จทย์ถามคืออะไร
และสิง่ ทีโ่ จทย์กาหนดให้มอี ะไรบ้าง
2) ขัน้ การวางแผน เป็นขัน้ ทีน่ กั เรียนต้องวิเคราะห์และประมวล ข้อมูล ความรูต้ ่างๆทีเ่ รียนมาเพื่อ
หาว่าจากสิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด สิง่ ทีโ่ จทย์ถามและจากตัวแทนทีน่ กั เรียนสร้างขึน้ นัน้ สิง่ เหล่านี้ม ี
ความสัมพันธ์กนั อย่างไรและจะเขียนโจทย์ปญั หานัน้ ในรูปสมการเพื่อนาไปใช้ในการแก้ปญั หาได้
อย่างไร
3) ขัน้ การดาเนินการ เป็นขัน้ ทีน่ กั เรียนดาเนินการแก้สมการหรือดาเนินการตามทีไ่ ด้วางแผนนัน้
4) ขัน้ การตรวจสอบคาตอบ เป็นขัน้ ทีน่ กั เรียนจะต้องแสดงการตรวจสอบคาตอบทีไ่ ด้นนั ้ ว่า คาตอบ
ทีไ่ ด้นนั ้ มีความสอดคล้องกับสิง่ ทีโ่ จทย์กาหนดให้หรือไม่

เกณฑ์การให้คะแนน
เกณฑ์ คะแนน ผลการทาข้อสอบทีป่ รากฏให้เห็น
2 แสดงวิธกี ารคิดชัดเจน ครบถ้วน
ทาความเข้าใจในปญั หา 1 แสดงวิธกี ารคิดไม่ชดั เจนหรือถูกต้องบางส่วน
0 ไม่แสดงวิธกี ารการคิดหรือแสดงวิธกี ารคิดไม่ถูกต้อง
2 แสดงความสัมพันธ์การแก้ปญั หาถูกต้องทัง้ หมด
วางแผนการแก้ปญั หา 1 แสดงความสัมพันธ์การแก้ปญั หาถูกต้องบางส่วน
0 แสดงความสัมพันธ์การแก้ปญั หาไม่ถูกต้อง
2 วิธกี ารแก้ปญั หาถูกต้องทัง้ หมด
ดาเนินการแก้ปญั หา 1 วิธกี ารแก้ปญั หาถูกต้องบางส่วน
0 วิธกี ารแก้ปญั หาไม่ถูกต้อง
1 เมือ่ ตอบถูกต้อง
ตรวจสอบคาตอบ
0 เมือ่ ตอบผิดหรือไม่ตอบ
106

เกณฑ์การประเมิ นผล
เกณฑ์การประเมินความสามารถในการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์เรือ่ งโจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปร
เดียว ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 มีดงั นี้
ได้ช่วงคะแนนร้อยละ 80 – 100 อยูใ่ นระดับดีเยีย่ ม
ได้ช่วงคะแนนร้อยละ 75 – 79 อยูใ่ นระดับดีมาก
ได้ช่วงคะแนนร้อยละ 70 – 74 อยูใ่ นระดับดี
ได้ช่วงคะแนนร้อยละ 65 – 69 อยูใ่ นระดับค่อนข้างดี
ได้ช่วงคะแนนร้อยละ 60 – 64 อยูใ่ นระดับปานกลาง
ได้ช่วงคะแนนร้อยละ 55 – 59 อยูใ่ นระดับพอใช้
ได้ช่วงคะแนนร้อยละ 50 – 54 อยูใ่ นระดับผ่านเกณฑ์ขนั ้ ต่ า
ได้ช่วงคะแนนร้อยละ 0 – 49 อยูใ่ นระดับต่ากว่าเกณฑ์
107

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์เรือ่ งโจทย์สมการระคน


เพื่อพัฒนาสติปญั ญาด้านการคิดวิเคราะห์
1.นิ ชามีส้มอยู่จานวนหนึ่ ง ซื้อมาเพิ่ มอีก 15 ผล นิ ชานาส้มมารวมกันแล้วแบ่งให้แม่
ครึ่งหนึ่ ง ทาให้ นิชาเหลือส้มอยู่ 25 ผล จงหาว่าเดิ มนิ ชามีส้มกี่ผล
วิ ธีทา
1.ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
……….…………………................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………...................
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ...............................................................................................
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
สมการ คือ .............................................................................................................
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………….
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ผลพิจารณา ข้อเสนอแนะ……………………………………………………...
-1 0 +1 …………………………………………………………………….
…………………………………………………………………….
108

เฉลยแบบทดสอบ

1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ นิชามีสม้ อยูจ่ านวนหนึ่ง ซือ้ มาเพิม่ อีก 15 ผล
นิชานาส้มมารวมกันแล้วแบ่งให้แม่ครึง่ หนึ่ง ทาให้นิชาเหลือส้มอยู่ 25 ผล
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ เดิ มนิ ชามีส้มกี่ผล
2. การวางแผน กาหนดให้ นิชามีสม้ x ผล
นิชาซือ้ มาเพิม่ อีก x + 15
โจทย์กาหนดว่าแบ่งให้แม่ครึง่ หนึ่ง เท่ากับ
และเหลือส้มอยูอ่ กี 25 ผล
สมการที่ได้กค็ ือ = 25
3. การดาเนิ นการตามแผน
จากสมการ = 25

นา 2 คูณจานวนทัง้ สองข้างของสมการ
× 2 = 25 × 2
X +15 = 50
นา -15 บวกจานวนทัง้ สองข้างของสมการ
X + 15 + (-15) = 50 + (-15)
X = 35

ดังนัน้ เดิมนิชามีสม้ 35 ผล

4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
สมการ = 25

แทนค่า = 25

25 = 25 สมการเป็นจริง
109

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์เรือ่ งโจทย์สมการระคน


เพื่อพัฒนาสติปญั ญาด้านการคิดวิเคราะห์
3
2. ของผลไม้ตระกร้าหนึ่ง เมือ่ เพิม่ อีก 12 ผล ก็จะครบ 51 ผล ผลไม้ในตระกร้ามีทงั ้ สิน้ กีผ่ ล
4
วิ ธีทา
1.ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
…………….………………….........................................................................................................
....................................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………...................
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ...............................................................................................
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
....................................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………….
สมการ คือ ...............................................................................................................
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………………………….
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
ผลพิจารณา ข้อเสนอแนะ……………………………………………………...
-1 0 +1 …………………………………………………………………….
…………………………………………………………………….
110

เฉลยแบบทดสอบ

1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ 3
ของผลไม้ตระกร้าหนึ่ง เมือ่ เพิม่ อีก 12 ผล ก็จะครบ 51 ผล
4
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ มีผลไม้ทงั ้ สิน้ กีผ่ ล

2. การวางแผน กาหนดให้ ให้ผลไม้ตระกร้าหนึ่ง เป็น x


3 3
ดังนัน้ ของผลไม้ในตระกร้า เท่ากับ x
4 4
โจทย์กาหนดว่า เมือ่ ซือ้ มาเพิม่ อีก 12 ผล จะครบ 51 ผล
จะได้ว่า 3 x + 12 = 51
4
3. การดาเนิ นการตามแผน
จากสมการ 3
x + 12 = 51
4
นา -12 บวกจานวนทัง้ สองข้างของเครือ่ งหมายเท่ากับของสมการ
3
x + 12 +(-12 ) = 51 + (-12 )
4
3 x = 39
4
นา คูณจานวนทัง้ สองข้างของสมการ
3
× = 39×
4

X = 52
มีผลไม้ในตระกร้า 52 ผล
4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
3
สมการ x + 12 = 51
4

3
แทนค่า ( 52 ) + 12 = 51
4

51 = 51 สมการเป็ นจริง
111

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์เรือ่ งโจทย์สมการการหาอายุ


เพื่อพัฒนาสติปญั ญาด้านการคิดวิเคราะห์
3. ปัจจุบนั พ่อมีอายุเป็ น 3 เท่าของอายุบตุ ร อีก 10 ปี ข้างหน้ าพ่อจะมีอายุครบ 61 ปี พอดี
จงหาว่าปัจจุบนั บุตรมีอายุกี่ปี
วิ ธีทา
1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
.…………………........................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………….
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ.............................................................................................
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
สมการ คือ ...........................................................................................................
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ผลพิจารณา ข้อเสนอแนะ……………………………………………………...
-1 0 +1 …………………………………………………………………….
…………………………………………………………………….
…………………………………………………………………….
112

เฉลยแบบทดสอบ

1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ - ปจั จุบนั พ่อมีอายุเป็ น 3 เท่าของอายุบุตร
- อีก 10 ปีขา้ งหน้าพ่อจะมีอายุครบ 61 ปีพอดี
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ ปจั จุบนั บุตรมีอายุ กี่ ปี

2. การวางแผน กาหนดให้ อายุของบุตร แทนด้วย x ปี


พ่อมีอายุเป็น 3 เท่าของบุตร แทนด้วย 3x ปี
อีก 10 ปีขา้ งหน้าพ่อจะมีอายุครบ 61 ปี
ปจั จุบนั พ่อมีอายุ 61 - 10 = 51 เท่ากับ 3x = 51
3. การดาเนิ นการตามแผน
จากสมการ 3x = 51
นา 3 หารจานวนทัง้ สองข้างของสมการ
3x ÷ 3 = 51 ÷ 3
X = 17
ปจั จุบนั บุตรมีอายุ 17 ปี

4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
สมการ 3x = 51
แทนค่า 3 (17 ) = 51
อีก 10 ปี พ่อจะมีอายุ 51 + 10 = 61
61 = 61 สมการเป็นจริง
113

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์เรือ่ งโจทย์สมการการหาอายุ


เพื่อพัฒนาสติปญั ญาด้านการคิดวิเคราะห์
4. ปัจจุบนั พ่อมีอายุ 41 ปี ลูกมีอายุ 9 ปี อีกกี่ปีพ่อจะมีอายุเป็ น 3 เท่าของลูก
วิ ธีทา
1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
.………………….......................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ.................................................................................................
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
.................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
สมการ คือ ...............................................................................................................
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ผลพิจารณา ข้อเสนอแนะ……………………………………………………...
-1 0 +1 …………………………………………………………………….
…………………………………………………………………….
…………………………………………………………………….
114

เฉลยแบบทดสอบ

1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ - ปจั จุบนั พ่อมีอายุ 41 ปี
- ลูกมีอายุ 9 ปี
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ อีกกีป่ ีพ่อจะมีอายุเป็ น 3 เท่าของลูก

2. การวางแผน กาหนดให้ x ปีขา้ งหน้าพ่อมีอายุเป็ น 3 เท่าของลูก


ปจั จุบนั พ่อมีอายุ 41 ปี = 41 + x
และอีก x ปี ลูกอายุ 9 ปี เท่ากับ 9 + x
โจทย์กาหนดว่า อีกกีป่ ีพ่อจะมีอายุเป็ น 3 เท่าของลูก
สมการทีไ่ ด้กค็ อื 41 + x = 3(9 + x)

3. การดาเนิ นการตามแผน
จากสมการ 41 + x = 3(9 + x)
41 + x = 27 + 3x
41 - 27 = 3x - x
14 = 2x

นา 2 หารจานวนทัง้ สองข้างของสมการ
14 = 2x
14 ÷ 2 = 2x ÷ 2
7 = x
อีก 7 ปีพ่อจะมีอายุเป็ น 3 เท่าของลูก

5. ขัน้ ตรวจคาตอบ
สมการ 41 + x = 3(9 + x)
แทนค่า 41 + 7 = 3(9+7)
48 = 48 สมการเป็ นจริง
115

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์เรือ่ งโจทย์สมการการ


เปรียบเทียบจานวน
เพือ่ พัฒนาสติปญั ญาด้านการคิดวิเคราะห์
5. 10 เท่าของเงิ นจานวนหนึ่ งมีค่ามากกว่า 450 บาท อยู่ 50 จงหาเงิ นจานวนนัน้
วิ ธีทา
1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
.………………….......................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………………………...
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ...............................................................................................
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
สมการ คือ ..............................................................................................................
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ผลพิจารณา ข้อเสนอแนะ……………………………………………………...
-1 0 +1 …………………………………………………………………….
…………………………………………………………………….
…………………………………………………………………….
116

เฉลยแบบทดสอบ

1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ 10 เท่าของเงินจานวนหนึ่งมีค่ามากกว่า 450 บาท อยู่ 50
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ เงินจานวนนัน้ มีค่าเท่าไร

2. การวางแผน กาหนดให้ เงินจานวนนัน้ แทนด้วย x


ดังนัน้ 10 เท่าของเงินจานวนหนึ่งเท่ากับ 10 x
โจทย์กาหนดว่า มากกว่า 450 อยู่ 50
ดังนัน้ 10x – 450 = 50
สมการทีไ่ ด้กค็ อื 10x – 450 = 50
3. การดาเนิ นการตามแผน
จากสมการ 10x – 450 = 50
นา 450 บวกจานวนทัง้ สองข้างของของสมการ
10x – 450 + 450 = 50 + 450
10x = 500
นา 10 หารจานวนทัง้ สองข้างของสมการ
10x ÷ 10 = 500 ÷10
x = 50
เงินจานวนนัน้ คือ 50

4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
สมการ 10x – 450 = 50
แทนค่า 10(50) – 450 = 50
50 = 50 สมการเป็ นจริง
117

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์เรือ่ งโจทย์สมการการ


เปรียบเทียบจานวน
เพือ่ พัฒนาสติปญั ญาด้านการคิดวิเคราะห์
6. ตู่มีเงิ นจานวนหนึ่ ง เต๋ามีเงิ นเป็ น 3 เท่าของตู่ รวมเงิ นทัง้ สองคนเป็ น 648 บาท ตู่และ
เต๋ามีเงิ นคนละกี่บาท
วิ ธีทา
1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
.…………………........................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ................................................................................................
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
สมการ คือ ............................................................................................................
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
. 4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................
ผลพิจารณา ข้อเสนอแนะ……………………………………………………...
-1 0 +1 …………………………………………………………………….
…………………………………………………………………….
…………………………………………………………………….
118

เฉลยแบบทดสอบ

1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ - ตู่มเี งินจานวนหนึ่ง เต๋ามีเงินเป็น 3 เท่าของตู่
- รวมเงินทัง้ สองคนเป็น 648 บาท
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ ตู่และเต๋ามีเงินคนละกีบ่ าท

2. การวางแผน กาหนดให้ ตู่และเต๋ามีเงินแทน ด้วย x บาท


เต๋ามีเงินเป็น 3 เท่าของตู่ จะได้ 3x บาท
โจทย์กาหนดว่า ตู่และเต๋ามีเงิน x + 3x = 648
สมการทีไ่ ด้กค็ อื x + 3x = 648
3. การดาเนิ นการตามแผน
จากสมการ x + 3x = 648
4x = 648
นา 4 หารจานวนทัง้ สองข้างของของสมการ
4x ÷ 4 = 648 ÷ 4
X = 162
ตู่มเี งินอยู่ 162 บาท และเต๋ามีเงิน ( 648 – 162 = 486 )

4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
สมการ x + 3x = 648
แทนค่า 162+(3×162) = 648
648 = 648 สมการเป็นจริง
119

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์เรือ่ งโจทย์สมการเศษส่วน


เพือ่ พัฒนาสติปญั ญาด้านการคิดวิเคราะห์
7. ห้าเท่าของจานวนจานวนหนึ่ งรวมกับ 1 ของจานวนนัน้ มีค่าเท่ากับ 126 จงหาเลข
4
จานวนนัน้
วิ ธีทา
1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
.………………….......................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ................................................................................................
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
สมการ คือ ...............................................................................................................
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
................................................................................................................................................
ผลพิจารณา ข้อเสนอแนะ……………………………………………………...
-1 0 +1 …………………………………………………………………….
…………………………………………………………………….
…………………………………………………………………….
120

เฉลยแบบทดสอบ

1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ ห้าเท่าของจานวนจานวนหนึ่งรวมกับ 1 ของเลขจานวนนัน้ มีค่า
4
เท่ากับ 126
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ เลขจานวนนัน้ มีค่าเท่าไร

2. การวางแผน กาหนดให้ เลขจานวนนัน้ แทนด้วย x


ดังนัน้ ห้าเท่าของจานวนหนึ่งแทนด้วย 5x
ห้าเท่าของจานวนจานวนหนึ่งรวมกับ 1 ของเลขจานวนนัน้
4
เลขจานวนนัน้ มีค่า 126 จะได้ 5x + 1 x = 126
4
สมการทีไ่ ด้กค็ อื 5x + 1
x = 126
4
3. การดาเนิ นการตามแผน
จากสมการ 5x + 1 x = 126
4

นา 4 คูณจานวนทัง้ สองข้างของสมการ
4 ( 5x) +( 1 x) × 4 = 126 × 4
4

= 504

นา 21 หารจานวนทัง้ สองข้างของสมการ

÷ 21 = 504 ÷ 21
X = 24
จานวนนัน้ มีค่า 24
4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
สมการ 5x + 1 x = 126
4
แทนค่า 5(24) + 1 (24) = 126
4

126 = 126 สมการเป็นจริง


121

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์เรือ่ งโจทย์สมการเศษส่วน


เพื่อพัฒนาสติปญั ญาด้านการคิดวิเคราะห์
8. เศษสามส่วนห้าของจานวนจานวนหนึ่ งมากกว่า 15 อยู่ 60 จงหาจานวนนัน้
วิ ธีทา
1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
.………………….......................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ................................................................................................
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
สมการ คือ ..............................................................................................................
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
.................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................
ผลพิจารณา ข้อเสนอแนะ……………………………………………………...
-1 0 +1 …………………………………………………………………….
…………………………………………………………………….
…………………………………………………………………….
122

เฉลยแบบทดสอบ

1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ เศษสามส่วนห้าของจานวนจานวนหนึ่งมากกว่า 15 อยู่ 60
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ จงหาจานวนนัน้

2. การวางแผน ให้ จานวนนัน้ แทนด้วย x


ดังนัน้ เศษสามส่วนห้าของจานวนจานวนหนึ่ง คือ x

โจทย์กาหนดว่า x มากกว่า 15 อยู่ 60


สมการทีไ่ ด้กค็ อื x - 15 = 60
3. การดาเนิ นการตามแผน
จากสมการ x - 15 = 60

นา 15 บวกจานวนทัง้ สองข้างของสมการ

x - 15 + 15 = 60 + 15

x = 75

นา คูณจานวนทัง้ สองข้างของเครือ่ งหมายเท่ากับของสมการ


X × = 75×

X = 125
เลขจานวนนัน้ คือ 125
4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
สมการ คือ ( × 125 ) – 15 = 60
60 = 60 สมการเป็ นจริ ง
123

แบบฝึ กการแก้โจทย์ปัญหา
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวที่มีต่อความสามารถ
ในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์

โดย

นางสาววชิราภรณ์ ชานิ
ครู โรงเรี ยนพระหฤทัยคอนแวนต์
เขตคลองเตย จังหวัดกรุ งเทพมหานคร
124

คานา

แบบฝึ กแก้โจทย์ปัญหาสมการเชิ งเส้นตัวแปรเดียวที่มีต่อความสามารถในการ


แก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์นี้ เป็ นแบบฝึ กที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนเกี่ยวกับการแก้
สมการเชิ งเส้นตัวแปรเดียว ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหา
ทางคณิ ตศาสตร์ มีทงั ้ หมด 4 ชุด ชุดละ 4 ข้อ ดังนี้

แบบฝึ กชุดที่ 1 การแก้โจทย์ปัญหาสมการเกี่ยวกับการ


เปรียบเทียบจานวน
แบบฝึ กชุดที่ 2 การแก้โจทย์ปัญหาสมการเกี่ยวกับอายุ
แบบฝึ กชุดที่ 3 การแก้โจทย์ปัญหาสมการเกี่ยวกับเศษส่วน
แบบฝึ กชุดที่ 4 การแก้โจทย์ปัญหาสมการระคน

ผูจ้ ดั ทาหวังเป็ นอย่างยิ่ งว่าแบบฝึ กที่จดั ทาจะเป็ นประโยชน์ อย่างสูงสุดในการที่


จะทาให้ผเ้ ู รียน บรรลุจดุ มุ่งหมายการเรียนการสอนคณิ ตศาสตร์ ซึ่งจะช่วยยกระดับ
คุณภาพการศึกษาในชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ให้มีคณ ุ ภาพและมีประสิ ทธิ ภาพยิ่ งขึ้น
125

คาชี้แจงแบบฝึ ก

1. ให้นักเรียนอ่านคาชี้แจงอย่างละเอียดจนเข้าใจดี
2. แบบฝึ กที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิ ตศาสตร์ เรื่อง
สมการเชิ งเส้นตัวแปรเดียว มีทงั ้ หมด 4 ชุด แบ่งออกเป็ นชุดละ 4 ข้อ
3. ให้นักเรียนพิ จารณาโจทย์ปัญหาสมการเชิ งเส้นตัวแปรเดียวที่กาหนดให้
คิ ดวิ เคราะห์โจทย์ปัญหา เขียนสมการ หาคาตอบ ด้วยความระมัดระวัง
และมีความตัง้ ใจ โดยทาลงในแบบฝึ กนี้
4. ตรวจทานความถูกต้องให้ดี ตรวจคาตอบว่ามีอะไรผิดพลาดหรือไม่
ถ้ามีให้ย้อนกลับไปคิ ดวิ เคราะห์ใหม่ให้ถกู ต้องอีกครัง้
126

จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ นักเรียนสามารถ
 บอกสิง่ ทีโ่ จทย์กาหนดได้ถูกต้อง

 บอกสิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบได้ถูกต้อง

 เลือกวิธกี ารคิดคานวณและเขียนประโยคสัญลักษณ์ได้ถูกต้อง

 แสดงวิธหี าคาตอบได้ถูกต้อง

 ตรวจคาตอบได้ถูกต้อง

ด้านทักษะ/กระบวนการ
 มีความสามารถในการแก้ปญั หา

 มีความสามารถในการให้เหตุผล

ด้านคุณลักษณะ
 มีความรับผิดชอบ

 มีการทางานอย่างเป็นระบบ

 มีระเบียบวินยั ในการปฏิบตั งิ าน
127

เวลา ใช้เวลาในการทากิจกรรม 50 นาที


สื่อการเรียนการสอน
1. แบบฝึกโจทย์ปญั หาสมการเกีย่ วกับการเปรียบเทียบจานวน
2. แบบประเมินผลการปฏิบตั กิ จิ กรรม
เนื้ อหา
1.อ่านโจทย์ปญั หาและทาความเข้าใจโจทย์
2.จับใจความสาคัญของโจทย์ปญั หา
3.บอกสิง่ ทีโ่ จทย์กาหนดและสิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ
4.เปลีย่ นประโยคภาษาเป็นประโยคสัญลักษณ์
5.แสดงวิธกี ารคิดคานวณเพื่อหาคาตอบ
6.สรุปคาตอบด้วยการตรวจสอบคาตอบทีห่ าได้
การประเมิ นผล
1.ตรวจแบบฝึก
2.สังเกตการปฏิบตั กิ จิ กรรม
128

แบบฝึ กชุดที่ 1 การแก้โจทย์ปัญหาสมการเกี่ยวกับการ


เปรียบเทียบจานวน
129

ชุดที่ 1 โจทย์ปัญหาสมการเกี่ยวกับการเปรียบเทียบจานวน

1. ฝ่ ายจัดซื้อจะจัดซื้อลูกบอลให้ห้องพละ เมื่อคานวณเงิ นแล้วพบว่า ถ้าซื้อ


ฟุตบอล 8 ลูก บาสเกตบอล 5 ลูก เป็ นเงิ น 2,955 บาท ถ้าซื้อฟุตบอล 5
ลูก บาสเกตบอล 8 ลูก เป็ นเงิ น 2,877 บาท ต้องการทราบว่าลูกฟุตบอล
แพงกว่าลูกบาสเกตบอลกี่บาท

1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
ประโยคสัญลักษณ์………………………………………………………………………………
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
130

2.ทีมฟุตบอลเด็กดีลงแข่งขันชิ งถ้วยเยาวชนรุ่นเล็ก ทัง้ หมด 24 ครัง้ โดย ชนะ


มากกว่าแพ้ 6 ครัง้ จงหาจานวนครัง้ ที่ทีมฟุตบอลเด็กดีแข่งชนะ

1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………...
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
ประโยคสัญลักษณ์……………………………………………………………………….
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
……………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
131

3.สามเท่าของจานวนหนึ่ งบวกกับสามเท่าของอีกจานวนหนึ่ งมีค่า 21 ข้อใดคือ


ผลบวกของจานวนทัง้ สองนี้ ถ้าผลต่างของจานวนทัง้ สองคือ 3

1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
……………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………..
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ
……………………………………………………………………………………………
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
ประโยคสัญลักษณ์………………………………………………………………………
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………

4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
132

4. สมุดราคาแพงกว่าดิ นสอ 4 บาท ถ้าสมุดและดิ นสอมีราคารวมกัน 100


บาท จงหาราคาของสมุดและดิ นสอ

1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ
…………………………………………………………………………………………….
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
ประโยคสัญลักษณ์………………………………………………………………………..
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………….
.
133

แบบฝึ กชุดที่ 2 การแก้โจทย์ปัญหาสมการเกี่ยวกับเศษส่วน


134

แบบฝึ กชุดที่ 2 การแก้โจทย์ปัญหาสมการเกี่ยวกับเศษส่วน

1. แม่ซื้อส้มมาจานวนหนึ่ ง แบ่งให้เด็กไป 2 ใน 3 ของจานวนส้มที่มีอยู่


ปรากฏว่ายังมีส้มเหลืออีก 6 ผล อยากทราบว่าแม่มีส้มทัง้ หมดเท่าไร

1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ
……………………………………………………………………………………………….
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
ประโยคสัญลักษณ์…………………………………………………………………………
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
135

2. สมชายวิ่ งได้ x กิ โลเมตรในวันศุกร์ วันต่อมาวิ่ งได้น้อยกว่าวันแรกอยู่


2 กิ โลเมตร ต่อมาวันอาทิ ตย์ระยะทางที่เขาวิ่ งได้เป็ นครึ่งหนึ่ งของผลรวมที่เขาวิ่ ง
ใน 2 วันก่อนหน้ านี้

1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ
……………………………………………………………………………………………….
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
ประโยคสัญลักษณ์…………………………………………………………………………..
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
136

2. เจ้าสัวต้ องการแบ่งเงิ น 28 ล้านบาทให้ลูกสามคนโดยให้ลูกคนแรกเป็ นสองเท่า


ของคนที่สองและลูกคนแรกได้เป็ นครึ่งหนึ่ งของคนที่สามจงหาว่าคนที่ได้ส่วนแบ่ง
มากที่สดุ กับน้ อยที่สดุ ได้แตกต่ างกันเท่าไร

1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ
……………………………………………………………………………………………….
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
ประโยคสัญลักษณ์…………………………………………………………………………
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
…………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
137

3. ค่าเฉลี่ยคะแนนสอบของนักเรียน 4 คน คือ ส้ม ดา เขียวและแดง เป็ น 20


คะแนนถ้าเขียวและดาสอบได้คะแนนเท่ากันและส้มสอบได้คะแนนเป็ นสอง
เท่าของเขียว และแดงสอบได้คะแนนเป็ นครึ่งหนึ่ งของส้มแล้วส้มสอบได้
คะแนนเท่าใด

1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ
……………………………………………………………………………………………….
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………..
ประโยคสัญลักษณ์……………………………………………………………………………
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
138

แบบฝึ กชุดที่ 3 การแก้โจทย์ปัญหาสมการเกี่ยวกับอายุ


139

แบบฝึ กชุดที่ 3 การแก้โจทย์ปัญหาสมการเกี่ยวกับอายุ

1 .เมื่อ 16 ปี ก่อนปรานี มีอายุเป็ นครึ่งหนึ่ งของโสภา ปัจจุบนั ปรานี และโสภามีอายุ


รวมกันได้ 62 ปี พอดี จงหาว่าในปัจจุบนั ปรานี มีอายุเท่าไร

1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ
……………………………………………………………………………………………….
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
……………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………..
ประโยคสัญลักษณ์………………………………………………………………………….
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
140

2. ปี นี้ คณ
ุ ยายอายุ 60 ปี หลานสาวอายุ 12 ปี อีกกี่ปีอายุของคุณยายจะเป็ น 3 เท่า
ของอายุหลาน

1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ
……………………………………………………………………………………………….
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
ประโยคสัญลักษณ์…………………………………………………………………………………
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
………………………………………………………………………………………
141

3 .นักเรียนจานวน 4 คน มีอายุ 10,11,14,15 ปีและมีฝาแฝดอีก 2 คน อายุเฉลีย่ ของเด็ก


กลุ่มนี้ เป็น 13 ปี ฝาแฝด สองคน มีอายุรวมกันกีป่ ี

1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ
……………………………………………………………………………………………….
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
ประโยคสัญลักษณ์………………………………………………………………………………
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
142

4. ปัจจุบนั พ่อมีอายุเป็ น 3 เท่าของอายุบตุ ร อีก 10 ปี ข้างหน้ าพ่อจะมีอายุครบ


61 ปี พอดีจงหาว่าปัจจุบนั บุตรมีอายุกี่ปี

1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ
……………………………………………………………………………………………….
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
ประโยคสัญลักษณ์…………………………………………………………………………..
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
…………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
143

แบบฝึ กชุดที่ 4 การแก้โจทย์ปัญหาสมการระคน


144

แบบฝึ กชุดที่ 4 การแก้โจทย์ปัญหาสมการระคน

1.โรงงานแห่งหนึ่ งมีพนักงานฝ่ ายผลิ ต 200คน มีคนที่ไม่สบู บุหรี่และไม่ดื่มสุรา 60


คน มีคนสูบบุหรี่ 70 คน มีคนดื่มสุรา 100 คน มีคนที่ทงั ้ สูบบุหรี่และดื่มสุรากี่คน

1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ
……………………………………………………………………………………………….
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
ประโยคสัญลักษณ์……………………………………………………………………………
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
145

2. ฝรัง่ 2 ผลมีน้าหนักเท่ากับ 1 ใน 4 ของแตงโมผลหนึ่ ง ถ้าแตงโมผลนัน้


หนัก 2,400 กรัม จงหาว่าฝรั ่งแต่ละผลหนักเท่าไร

1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ
……………………………………………………………………………………………….
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
…………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
ประโยคสัญลักษณ์……………………………………………………………………………
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
5.ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
146

3. ครูมีหนังสือจานวนหนึ่ งแจกให้นักเรียนจานวน 2 ใน 5 ของจานวนหนังสือที่มีอยู่


ปรากฏว่ายังมี หนังสือเหลืออยู่จานวน 60 เล่ม จงหาว่าเดิ มครูมีหนังสือกี่เล่ม

1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ
……………………………………………………………………………………………….
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
ประโยคสัญลักษณ์…………………………………………………………………………..
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
4 .ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
147

4. มีเป็ ดและหมูอยู่ในเล้า นับหัวรวมกันได้ 12 หัว ขาของเป็ ดมากกว่าขาของ


หมู 6 ขาอยากทราบว่ามีหมูอยู่กี่ตวั

1. ขัน้ ทาความเข้าใจในปัญหา
สิง่ ทีโ่ จทย์กาหนด
……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….
สิง่ ทีโ่ จทย์ตอ้ งการทราบ
……………………………………………………………………………………………….
2. ขัน้ วางแผนการแก้ปัญหา
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
ประโยคสัญลักษณ์……………………………………………………………………………
3. ขัน้ ดาเนิ นการแก้ปัญหา
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
4. ขัน้ ตรวจสอบคาตอบ
……………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
148

เฉลยแบบฝึ กชุดที่ 1
( ข้อ 1. )
1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ ต้องการทราบว่าลูกฟุตบอลแพงกว่าลูกบาสเกตบอลกีบ่ าท
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ - ฝา่ ยจัดซือ้ จะจัดซือ้ ลูกบอลให้หอ้ งพละ เมือ่ คานวณ
เงินแล้วพบว่า ถ้าซือ้ ฟุตบอล 8 ลูก บาสเกตบอล
5 ลูก เป็นเงิน 2,955 บาท
- ถ้าซือ้ ฟุตบอล 5 ลูก บาสเกตบอล 8 ลูก เป็นเงิน
2,877 บาท
2. การวางแผน กาหนดให้
กาหนดให้ลูกบอลราคาลูกละ x บาท
บาสเกตบอลราคาลูกละ y บาท
ซื้อฟุตบอล 8x
ซื้อบาสเกตบอล 5y
ทั้งสองอย่างรวมกัน 8x + 5y = 2,955 สมการ 
5x + 8y = 2,811 สมการ 
3. การดาเนิ นการตามแผน
ซื้อฟุตบอล 8x
ซื้อบาสเกตบอล 5y
ทั้งสองอย่างรวมกัน 8x + 5y = 2,955 สมการ 
5x + 8y = 2,811 สมการ 
สมการ  + 
8x + 5y + 5x + 8y = 2,955 + 2,811
13x + 13y = 5,772 
นา 13 หารสมการ 

แทนค่า ในสมการ 
8x + 5 (444 - x) = 2,955
8x + 2,220 - 5x = 2,955
3x = 735
149

X = = 245
แทนค่า x ในสมการ  y = 444 - 245
y = 199
ราคาลูกฟุตบอลแพงกว่าลูกบาสเกตบอล = 245 - 199 = 46 บาท
4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
8 (245) + 5 (199) = 2,955
5 (245) + 8 (199) = 2,817 ( เป็ นจริ งตามที่กาหนด )
150

( ข้อ 2. )
1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ จงหาจานวนครัง้ ทีท่ มี ฟุตบอลเด็กดีแข่งชนะ
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ - ทีมฟุตบอลเด็กดีลงแข่งขันชิงถ้วยเยาวชนรุ่นเล็ก
ทัง้ หมด 24 ครัง้
- โดยชนะ มากกว่าแพ้ 6 ครัง้

2. การวางแผน กาหนดให้
แข่งขันจานวน 24 ครั้ง กาหนดให้ชนะ x ครั้ง
แข่งขันแพ้ 24 - x
เนื่องจากแข่งขันชนะมากกว่าแพ้ 6 ครั้ง
จะได้วา่ X - ( 24 - x ) = 6

3. การดาเนิ นการตามแผน
X - ( 24 - x ) = 6
X - 24 + x = 6
2x = 6 + 24
X =
X = 15
4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
15 - ( 24 – 15 ) = 6
15 - 11 = 6 ( เป็ นจริ งตามที่กาหนด )
151

( ข้อ 3. )
1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ จานวนใดคือผลบวกของจานวนทัง้ สองนี้ ถ้าผลต่าง
ของจานวนทัง้ สองคือ 3
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ สามเท่าของจานวนหนึ่งบวกกับสามเท่าของอีก
จานวนหนึ่งมีค่า 21
2. การวางแผน กาหนดให้
จานวนสองจานวนมีผลต่างของจานวนทั้งสอง คือ 3
ให้จานวนหนึ่งเป็ น x อีกจานวนหนึ่งเป็ น x + 3
จากโจทย์สามเท่าของจานวนหนึ่งบวกกับสามเท่าของอีกจานวนหนึ่ งมีค่า
เท่ากับ 21 สมการ คือ 3 x + 3 ( x + 3 ) = 21
3. การดาเนิ นการตามแผน
สมการ คือ 3 x + 3 ( x + 3 ) = 21
3 x + 3 x + 9 = 21
6 x = 21 – 9
X =
X =2
ดังนั้นผลบวกของจานวนทั้งสอง x + (x + 3) = 2x + 3
= (2 2 ) + 3 = 7
4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
3( 2 ) + 3(2+3) = 21
6+9 = 21 ( เป็ นจริ งตามที่กาหนด )
152

( ข้อ 4. )
1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่ โจทย์ถาม คือ หาราคาของสมุดและดินสอ
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ - สมุดราคาแพงกว่าดินสอ 4 บาท
- ถ้าสมุดและดินสอมีราคารวมกัน 100 บาท
2. การวางแผน กาหนดให้
ดินสอราคา x บาท
สมุดราคา x+4 บาท
สมุดและดินสอราคารวมกัน x+(x+4) = 100
จะได้ว่า 2x + 4 = 100
3. การดาเนิ นการตามแผน
สมการคือ 2x + 4 = 100
นา 4 ลบทัง้ สองข้างของสมการ
2x + 4 – 4 = 100 - 4
2x = 96
นา 2 หารทัง้ สองข้างของสมการ
2x ÷ 2 = 96 ÷ 2
X = 48
ดังนัน้ ดินสอราคา 48 บาท และสมุดราคา 48+4 = 52 บาท

4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
สมการคือ 2x + 4 = 100
แทนค่า 2(48) + 4 = 100
100 = 100 สมการเป็นจริง
153

เฉลยแบบฝึ กชุดที่ 2
( ข้อ 1. )
1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ แม่มสี ม้ ทัง้ หมดเท่าไร
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ - แม่ซอ้ื ส้มมาจานวนหนึ่ง แบ่งให้เด็กไป 2 ใน 3
ของจานวนส้มทีม่ อี ยู่
- ปรากฏว่ายังมีสม้ เหลืออีก 6 ผล

2. การวางแผน กาหนดให้
สมมติแม่มสี ม้ x ผล
แบ่งให้เด็กไป ผล

เหลือส้มอยู่ ผล

3. การดาเนิ นการตามแผน
สมการคือ = 6
= 6
นา 3 คูณทัง้ สองข้าง ของสมการ
×3 = 6×3

X = 18
ดังนัน้ แม่มสี ม้ ทัง้ หมด 18 ผล
4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
สมการคือ = 6
แทนค่า

6 = 6 สมการเป็นจริ’ง
154

( ข้อ 2. )
1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ สมชายวิง่ ได้กก่ี โิ ลเมตร
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ - สมชายวิง่ ได้ x กิโลเมตรในวันศุกร์
- วันต่อมาวิง่ ได้น้อยกว่าวันแรกอยู่ 2 กิโลเมตร
- ต่อมาวันอาทิตย์ระยะทางทีเ่ ขาวิง่ ได้เป็นครึง่ หนึ่ง
ของผลรวมทีเ่ ขาวิง่ ใน 2 วันก่อนหน้านี้

2. การวางแผน กาหนดให้ วันศุกร์สมชายวิง่ ได้ระยะทาง x กม.


วันเสาร์สมชายวิง่ ได้ระยะทาง x – 2 กม.
วันต่อมาวิง่ ได้น้อยกว่าวันแรกอยู่ 2 กิโลเมตร ( x + x - 2 ) กม.
ต่อมาวันอาทิตย์ระยะทางทีเ่ ขาวิง่ ได้เป็ นครึง่ หนึ่งของผลรวมทีเ่ ขาวิง่ ใน
2 วันก่อนหน้านี้ เท่ากับ ( x + x - 2 ) กม.

3. การดาเนิ นการตามแผน
วันศุกร์สมชายวิง่ ได้ระยะทาง x กม.
วันเสาร์สมชายวิง่ ได้ระยะทาง x – 2 กม.
วันอาทิตย์สมชายวิง่ ได้ระยะทาง ( x + x - 2 ) กม.
= (2x - 2)
= x 2 x - x2
= x - 1 กม.
155

( ข้อ 3. )
1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ คนทีไ่ ด้ส่วนแบ่งมากทีส่ ุดกับน้อยทีส่ ุดได้แตกต่างกันเท่าไร
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ - เจ้าสัวต้องการแบ่งเงิน 28 ล้านบาทให้ลกู สามคน
- ให้ลกู คนแรกเป็นสองเท่าของคนทีส่ อง
- ลูกคนแรกได้เป็นครึง่ หนึ่งของคนทีส่ าม

2. การวางแผน กาหนดให้
สมมติลกู คนแรกได้ส่วนแบ่ง x ล้านบาท
จากโจทย์แสดงว่าลูกคนทีส่ องได้ส่วนแบ่ง
จากโจทย์แสดงว่าลูกคนทีส่ ามได้ส่วนแบ่ง 2 x
สมการ คือ

3. การดาเนิ นการตามแผน

(x+2) + + ( 2 x + 2 ) = 28

X =
X =8
4. ขัน้ ตรวจคาตอบ 8 + + ( 2×8) = 28

12 + 16 = 28 ( เป็ นจริ งตามที่กาหนด )

ลูกคนแรกได้ส่วนแบ่ง 8 ล้านบาท คนทีส่ องได้ส่วนแบ่ง 4 ล้านบาท คนทีส่ ามได้ส่วนแบ่ง


16 ล้านบาท ดังนัน้ คนทีไ่ ด้ส่วนแบ่งมากทีส่ ุดกับน้อยทีส่ ุด ได้แตกต่างกัน 12 ล้านบาท
156

( ข้อ 4. )
1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ ส้มสอบได้คะแนนเท่าใด
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ - ค่าเฉลีย่ คะแนนสอบของนักเรียน 4 คน คือ ส้ม
ดา เขียวและแดง เป็น 20
- คะแนนถ้าเขียวและดาสอบได้คะแนนเท่ากันและ
ส้มสอบได้คะแนนเป็นสองเท่าของเขียว
- แดงสอบได้คะแนนเป็นครึง่ หนึ่งของส้ม
2. การวางแผน กาหนดให้
สมมติสม้ สอบได้ P คะแนน
แดงสอบได้ คะแนน (แดงสอบได้ครึง่ หนึ่งของส้ม)

เขียวสอบได้ คะแนน (ส้มสอบได้สองเท่าของเขียว)

ดาสอบได้ คะแนน (เขียวและดาได้คะแนนเท่ากัน)

สมการ คือ

2. การดาเนิ นการตามแผน

4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
32 + + + = 80
32 + 16 + 16 + 16 = 80 ( เป็ นจริ งตามที่กาหนด )
157

เฉลยแบบฝึ กชุดที่ 3
( ข้อ 1. )
1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ ปจั จุบนั ปรานีมอี ายุเท่าไร
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ - เมือ่ 16 ปีก่อนปรานีมอี ายุเป็นครึง่ หนึ่งของโสภา
- ปจั จุบนั ปรานีและโสภามีอายุรวมกันได้ 62 ปีพอดี

2. การวางแผน กาหนดให้ โสภาอายุ x ปี


เมือ่ 16 ปีก่อนปราณีอายุเป็น ของโสภา - 16
สมการ x+ - 16 = 62
3. การดาเนิ นการตามแผน
x+ - 16 = 62

X + - 16 + 16 = 62 + 16

= 78 x

X = 52
ดังนั้นโสภามีอายุ 52 ปี
จะได้วา่ ปราณี อายุ - 16 = 10 ปี

4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
52 + - 16 = 62

62 = 62 ( เป็ นจริ งตามที่กาหนด )


158

( ข้อ 2. )
1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ อีกกีป่ ีอายุของคุณยายจะเป็น 3 เท่าของอายุ
หลาน
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ - ปีน้คี ุณยายอายุ 60 ปี หลานสาวอายุ 12 ปี

2. การวางแผน กาหนดให้
ให้ว่าอีก x ปี อายุคุณยายเป็ น 3 เท่า ของอายุหลาน = 3 ( 12 + x )
ปีน้คี ุณยายอายุ 60 ปี หลานสาวอายุ 12 ปี = 60 + x

3. การดาเนิ นการตามแผน
สมการ 60 + x = 3 ( 12 + x )
60 + x = 36 + 3x
3x - x = 60 + 36
x = = 12
ดังนัน้ อีก 12 ปี คุณยายอายุเป็ น 3 เท่าของหลาน

4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
60 + 12 = 3 ( 12 + 12 ) ( เป็นจริงตามทีก่ าหนด )
159

( ข้อ 3. )
1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ ฝาแฝด สองคน มีอายุรวมกันกีป่ ี
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ - นักเรียนจานวน 4 คน มีอายุ 10,11,14,15 ปี
- มีฝาแฝดอีก 2 คน อายุเฉลีย่ ของเด็กกลุ่มนี้เป็น 13 ปี

2. การวางแผน กาหนดให้
ให้ฝาแฝดแต่ละคนอายุ x ปี
ค่าเฉลีย่ เลขคณิต =
นักเรียนจานวน 4 คน มีอายุ 10,11,14,15 ปี
มีฝาแฝดอีก 2 คน อายุเฉลีย่ ของเด็กกลุ่มนี้เป็ น 13 ปี

3. การดาเนิ นการตามแผน
แทนค่า 13 =

13 =
2x = ( 13 6) – 50
X = 78 - 50
ฝาแฝด 2 คนอายุรวมกัน = 28 ปี

4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
แทนค่า 13 =

13 = 13 ( เป็นจริงตามทีก่ าหนด )
160

( ข้อ 4. )
1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ ปจั จุบนั บุตรมีอายุกป่ี ี
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ - ปจั จุบนั พ่อมีอายุเป็ น 3 เท่าของอายุบุตร
- อีก 10 ปีขา้ งหน้าพ่อจะมีอายุครบ 61 ปี พอดี

2. การวางแผน กาหนดให้
โจทย์กาหนดว่าอีก 10 ปีขา้ งหน้าพ่อจะมีอายุครบ 61 ปี
ดังนัน้ ปจั จุบนั พ่อมีอายุ 61 - 10 = 51 ปี
แต่ ปจั จุบนั พ่อมีอายุเป็น 3 เท่าของบุตร 3x ปี
สมการทีไ่ ด้กค็ อื 3x = 51

3. การดาเนิ นการตามแผน
สมการทีไ่ ด้กค็ อื 3x = 51
นา 3 หารทัง้ สองข้างของสมการ
3x ÷ 3 = 51 ÷ 3
X = 17
นัน่ คือ ปจั จุบนั บุตรมีอายุ 17 ปี

4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
3( 17 ) = 51
51 = 51 ( เป็นจริงตามทีก่ าหนด )
161

เฉลยแบบฝึ กชุดที่ 4
( ข้อ 1. )
1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ มีคนทีท่ งั ้ สูบบุหรีแ่ ละดื่มสุรากีค่ น
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ - โรงงานแห่งหนึ่งมีพนักงานฝา่ ยผลิต 200 คน
- มีคนทีไ่ ม่สบู บุหรีแ่ ละไม่ด่มื สุรา 60 คน มีคนสูบ
บุหรี่ 70 คน มีคนดื่มสุรา 100 คน

2. การวางแผน กาหนดให้
คนที่สูบบุหรี่ และดื่มสุ รามี x คน
สู บบุหรี่ อย่างเดียว 70 – x คน
ดื่มสุ ราอย่างเดียว 100 – x คน
และไม่สูบบุหรี่ และดื่มสุ รา 60 คน
มีคนทั้งหมด 200 คน
สมการ คือ x + (70-x) + (100-x)+60 = 200

3. การดาเนิ นการตามแผน
สมการ คือ x + (70-x) + (100-x)+60 = 200
X = 30
คนที่ดื่มสุ ราและสู บบุหรี่ = 30 คน

4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
30 + ( 70 – 30 ) + ( 100 – 30 ) + 60 = 200
200 = 200 ( เป็นจริงตามทีก่ าหนด )
162

( ข้อ 2. )
1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ ฝรังแต่ ่ ละผลหนักเท่าไร
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ - ฝรัง่ 2 ผลมีน้าหนักเท่ากับ 1ใน 4 ของแตงโมผลหนึ่ง
- ถ้าแตงโมผลนัน้ หนัก 2,400 กรัม
2. การวางแผน กาหนดให้
สมมติฝรังแต่
่ ละผลหนัก x กรัม
ฝรัง่ 2 ผลหนัก ของแตงโมผลหนึ่ง

แตงโมผลหนึ่งหนัก 2,400 กรัม

จะได้ว่า ฝรัง่ 2x =

3. การดาเนิ นการตามแผน
2x =
จะได้ 2x = 600
นา 2 หารทัง้ สองข้างของสมการ
2x ÷ 2 = 600 ÷ 2
X = 300
ดังนัน้ ฝรังแต่
่ ละผลหนัก 300 กรัม

4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
สมการคือ

แทนค่า

600 = 600 ( เป็นจริงตามทีก่ าหนด )


163

( ข้อ 4. )
1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ เดิมครูมหี นังสือกีเ่ ล่ม
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ - ครูมหี นังสือจานวนหนึ่งแจกให้นกั เรียนจานวน 2
ใน 5 ของจานวนหนังสือทีม่ ี
- ปรากฏว่ายังมีหนังสือเหลืออยูจ่ านวน 60 เล่ม
2. การวางแผน กาหนดให้
เดิมครูมหี นังสือ x เล่ม

แจกให้นกั เรียนไป ของหนังสือทีม่ ี จะได้

มีหนังสือเหลืออยูจ่ านวน 60 เล่ม ดังนัน้ x -

3. การดาเนิ นการตามแผน
สมการคือ x -

นา 5 คูณทัง้ สองข้างของสมการ

3x = 300
นา 3 หารทัง้ สองข้างของสมการ
3x ÷ 3 = 300 ÷ 3
X = 100
ดังนัน้ เดิมครูมหี นังสือ 100 เล่ม
4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
สมการคือ x-

แทนค่า 100 -

60 = 60 ( เป็นจริงตามทีก่ าหนด )
164

( ข้อ 4. )
1. ขัน้ ทาความเข้าใจ
สิ่ งที่โจทย์ถาม คือ อยากทราบว่ามีหมูอยูก่ ต่ี วั
สิ่ งที่โจทย์กาหนด คือ - มีเป็ดและหมูอยูใ่ นเล้า นับหัวรวมกันได้ 12 หัว
- ขาของเป็ดมากกว่าขาของหมู 6 ขา

2. การวางแผน กาหนดให้ กาหนดให้ เป็ด = x


หมู = y
นับรวมกันได้ 12 หัว
X + y = 12 
ขาของเป็ดมากกว่าขาของหมู 6 ขา จะได้ว่า
2x - 4 y = 6 

3. การดาเนิ นการตามแผน
นาสมการ  x 2 2 x - 4 y = 24 
นา  -  ( 2 x + 2 y ) - ( 2 x - 4 y ) = 24 - 6
6 y = 18
y = = 3
4. ขัน้ ตรวจคาตอบ
9 + 3 = 12 เป็ด
2 (9) - 4 (3) = 6 หมู
165

ภาคผนวก ง
รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ
166

รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ

1. อาจารย์ศกั ดา ลาวัง ผูอ้ านวยการโรงเรียนสุเหร่าคลอง 11


จังหวัดกรุงเทพมหานคร

2. อาจารย์กนกทิพย์ ทองศรีจนั ทร์ ครูชานาญการพิเศษ


โรงเรียนมัธยมวัดธาตุทอง
จังหวัดกรุงเทพมหานคร

3.อาจารย์วรรณรัตน์ โปษกานนท์ ครูชานาญการพิเศษ


โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม
จังหวัดนนทบุร ี
ประวัติย่อผู้ทำสำรนิพนธ์
168

ประวัตยิ อ่ ผูท้ ำสำรนิพนธ์

ชื่อ ชื่อสกุล วชิรำภรณ์ ชำนิ


วัน เดือน ปีเกิด 23 สิงหำคม 2515
สถำนทีเ่ กิด อำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ
สถำนทีอ่ ยูป่ จั จุบนั 137/15 ถนนสวนสยำม แขวงบึงกุ่ม
เขตคันนำยำว จังหวัดกรุงเทพฯ 10230
สถำนทีท่ ำงำนปจั จุบนั โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ 94
ถนนสุนทรโกษำ เขตคลองเตย
จังหวัดกรุงเทพฯ 10110
ประวัตกิ ำรศึกษำ
พ.ศ. 2534 มัธยมศึกษำตอนปลำย
จำกโรงเรียนผักไห่สุทธำประมุข
อำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ
พ.ศ. 2538 ศึกษำศำสตร์บณ ั ฑิต สำขำวิทยำศำสตร์
ทัวไปจำกสถำบั
่ นรำชภัฎเพชรบุรวี ทิ ยำ
ลงกรณ์ในพระบรมรำชูปถัมภ์
พ.ศ. 2555 กำรศึกษำมหำบัณฑิต สำขำกำร
มัธยมศึกษำจำกมหำวิทยำลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ

You might also like