You are on page 1of 135

หนานี้ใชเปนหนาวาง

แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
สารบัญ
สารบัญ
0. บทนํา ..................................................................................................................................................... 0-1
ความเปนมา .................................................................................................................................. 0-1
วัตถุประสงค ................................................................................................................................. 0-1
ขอบเขตของแนวปฏิบัติ ................................................................................................................. 0-1
วันที่มีผลบังคับใช .......................................................................................................................... 0-1
กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ หรือเอกสารที่ใชอางอิง ................................................ 0-2
1. โครงสรางองคกร หนาที่ความรับผิดชอบ ................................................................................................ 1-1
กฎหมาย/ระเบียบ/คําสั่ง ที่เกี่ยวของ............................................................................................. 1-1
สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย (กพท.) ....................................................................... 1-1
ความเปนมาของการจัดตั้งสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย (กพท.) ...........................1-1
วัตถุประสงคของสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย (กพท.)..........................................1-2
อํานาจหนาที่ของสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย (กพท.) .........................................1-2
การจัดตั้งกองเวชศาสตรการบิน .................................................................................................... 1-3
อํานาจหนาที่ของกองเวชศาสตรการบิน .................................................................................... 1-3
การแตงตั้งนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส .................................................................. 1-3
การแตงตั้งนายแพทยผูตรวจสอบ .................................................................................................. 1-3
การแตงตั้งศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน.................1-3
แผนผังแสดงการเชื่อมโยงการทํางานดานเวชศาสตรการบิน .......................................................... 1-4
2. นายแพทยผูตรวจ, นายแพทยผูตรวจอาวุโส, นายแพทยผูตรวจสอบ ...................................................... 2-1
กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ ที่ใชอางอิง ................................................................... 2-1
บทนํา............................................................................................................................................ 2-1
วัตถุประสงค ................................................................................................................................. 2-1
คํานิยาม ........................................................................................................................................ 2-1
คุณสมบัติและการยื่นเอกสาร ........................................................................................................ 2-2
ระยะเวลาการประกาศแตงตั้ง ....................................................................................................... 2-3
การขอรับการแตงตั้งตอ ................................................................................................................ 2-3
การจัดทําบัญชีรายชื่อนายแพทยผูตรวจและนายแพทยผูตรวจอาวุโสที่ไดรับการแตงตั้ง................2-3
นายแพทยผูตรวจและนายแพทยผูตรวจอาวุโสมีหนาที่และขอหาม ดังตอไปนี้ ..............................2-4
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
สารบัญ
การพิจารณาพักใช เพิกถอน หรือไมตออายุการแตงตั้งใหเปนนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจ
อาวุโส ..................................................................................................................................................... 2-4
การแตงตั้งนายแพทยผูตรวจสอบ (Medical Assessor) ............................................................... 2-4
นายแพทยผูตรวจสอบมีหนาที่ดังตอไปนี้ ......................................................................................... 2-4
3. ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน และสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน .........................................3-1
กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ ที่ใชอางอิง ................................................................... 3-1
บทนํา............................................................................................................................................ 3-1
วัตถุประสงค ................................................................................................................................. 3-1
คํานิยาม ........................................................................................................................................ 3-1
คุณสมบัติและการยื่นเอกสาร ........................................................................................................ 3-2
ระยะเวลาการประกาศแตงตั้ง ....................................................................................................... 3-3
การขอรับการแตงตั้งตอ ................................................................................................................ 3-3
การจัดทําบัญชีรายชื่อศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน ....
..................................................................................................................................................... 3-3
ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือนมีหนาที่และขอหาม
ดังตอไปนี้ ..................................................................................................................................................... 3-3
การพิจารณาพักใช เพิกถอน หรือไมตออายุ .................................................................................. 3-4
4. การขอและการออกใบสําคัญแพทย (Application and Issuance of Medical Certificate).....................4-1
กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ ที่ใชอางอิง ................................................................... 4-1
บทนํา............................................................................................................................................ 4-1
บทนิยาม ....................................................................................................................................... 4-1
หามมิใหบุคคลใดปฏิบัติหนาที่ในฐานะผูประจําหนาที่ .................................................................. 4-2
มาตรฐานในการพิจารณาออกหรือตอใบสําคัญแพทยแตละประเภทและระยะเวลาการตรวจ
สุขภาพ ..................................................................................................................................................... 4-2
ในกรณีที่ผูมีใบอนุญาตผูประจําหนาที่ไมไปรับการตรวจสุขภาพเพื่อตอใบสําคัญแพทยตามระยะเวลา
ที่กําหนดไวในขอ 4.5.................................................................................................................................... 4-4
ในกรณีที่ผูมีใบอนุญาตผูประจําหนาที่ดังกลาว มีอายุครบ ดังตอไปนี้ ............................................4-4
การยื่นขอใบสําคัญแพทย .............................................................................................................. 4-4
การขอออกใบสําคัญแพทยครั้งแรก (Initial issuance).............................................................. 4-4
การขอตอใบสําคัญแพทย (Renewal) ....................................................................................... 4-4
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
สารบัญ
ในการตรวจเพื่อตออายุใบสําคัญแพทย ...................................................................................... 4-5
ในการพิจารณาออกหรือตออายุใบสําคัญแพทยตามขอ 4.8.3.................................................... 4-5
การตรวจรางกายผูขอใบสําคัญแพทย ............................................................................................ 4-5
การดําเนินการของนายแพทยผูตรวจ ............................................................................................ 4-5
การขอมีสิทธิอุทธรณ ..................................................................................................................... 4-5
การกําหนดระยะเวลามีผลบังคับใชใบสําคัญแพทย ....................................................................... 4-6
ในกรณีที่ผูรองขอมีสุขภาพไมเปนไปตามมาตรฐานทางการแพทย ................................................. 4-6
ใบสําคัญแพทยเปนอันใชไมไดชั่วคราวในกรณีดังตอไปนี้ ............................................................... 4-6
ผูอํานวยการอาจพิจารณาสั่งพักใชใบสําคัญแพทยในกรณีดังตอไปนี้.............................................. 4-7
ผูอํานวยการอาจพิจารณาสั่งเพิกถอนใบสําคัญแพทยในกรณีดังตอไปนี้ .........................................4-7
การทําการตรวจและออกใบสําคัญแพทยแทนใหได ....................................................................... 4-7
ในกรณีที่ใบสําคัญแพทยสูญหาย ถูกทําลาย หรือชํารุด.................................................................. 4-7
คณะกรรมการแพทยเวชศาสตรการบินผูทรงคุณวุฒิ (Board of Aeromedical Specialist - BAS) .4-8
รายชื่อคณะกรรมการแพทยเวชศาสตรการบินผูทรงคุณวุฒิ........................................................... 4-8
พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 หมวด 5 ผูประจําหนาที่ ที่เกี่ยวของกับเวชศาสตรการบิน
..................................................................................................................................................... 4-8
มาตรา 50/7.......................................................................................................................... 4-8
มาตรา 50/8.......................................................................................................................... 4-9
มาตรา 50/9.......................................................................................................................... 4-9
มาตรา 50/10 ....................................................................................................................... 4-9
มาตรา 50/11 ....................................................................................................................... 4-9
มาตรา 67/19 ....................................................................................................................... 4-9
มาตรา 64/6....................................................................................................................... 4-10
มาตรา 64/15 .................................................................................................................... 4-10
มาตรา 108 ........................................................................................................................ 4-10
5. ระยะเวลาในการตรวจสุขภาพ (Period of Validity of Medical Assessment) ..................................5-1
กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ ที่ใชอางอิงในการออกใบอนุญาต .................................5-1
กําหนดระยะเวลาตรวจสุขภาพ ..................................................................................................... 5-1

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
สารบัญ
6. มาตรฐานในการออกใบสําคัญแพทยแตละชั้น (Medical Class Standards) .........................................6-1
กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ ที่ใชอางอิง ................................................................... 6-1
มาตรฐานทางแพทย (Medical standards) ................................................................................. 6-1
ใบสําคัญแพทย ชั้นหนึ่ง (Class 1 Medical Assessment) .......................................................... 6-1
ใบสําคัญแพทย ชั้นสอง (Class 2 Medical Assessment)........................................................... 6-1
ใบสําคัญแพทยชั้นสาม (Class 3 Medical Assessment) ............................................................ 6-2
ใบสําคัญแพทยชั้นสี่ (Class 4 Medical Assessment) ................................................................ 6-2
คําแนะนําในการพิจารณาการออกใบสําคัญแพทย ใหเปนไปตามผนวก 5 .....................................6-2
7. ภาคผนวก............................................................................................................................................... 7-1
ผนวกทั่วไป (General) ....................................................................................................................................... 7-2
ขอกําหนดการตรวจวัดระดับการมองเห็น (Visual Acuity Test Requirements) .......................7-3
ขอกําหนดการมองเห็นสี (Color Perception Requirements)................................................... 7-3
ขอกําหนดการตรวจวัดการไดยินเสียง (Hearing Test Requirements).......................................7-4
ผนวก 1 มาตรฐานในการออกใบสําคัญแพทย ชั้นหนึ่ง........................................................................................ 7-5
ขอ 1.1 ระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular System)............................................................... 7-5
1.1.1 การตรวจรางกาย (Examination) ......................................................................................... 7-5
1.1.2 ความดันโลหิต (Blood Pressure) ........................................................................................ 7-5
1.1.3 โรคของหลอดเลือดแดงโคโรนารี (Coronary Artery Disease).............................................7-5
1.1.4 จังหวะการเตนและการนําไฟฟาหัวใจ (Rhythm/Conduction Disturbances) ...................7-6
1.1.5 ทั่วไป (General) ................................................................................................................... 7-6
ขอ 1.2 ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory System) ............................................................................... 7-7
1.2.1 ทั่วไป (General) ................................................................................................................... 7-7
1.2.2 ความผิดปกติ (Disorder) ...................................................................................................... 7-7
ขอ 1.3 ระบบทางเดินอาหาร (Digestive System)................................................................................... 7-8
1.3.1 ทั่วไป (General) ................................................................................................................... 7-8
1.3.2 ความผิดปกติ (Disorder) ...................................................................................................... 7-8
ขอ 1.4 โรคทางระบบเมตาโบลิซึม โภชนาการ และระบบตอมไรทอ (Metabolic, Nutritional and
Endocrine Diseases) ................................................................................................................................. 7-9
ขอ 1.5 โลหิตวิทยา (Haematology) ..................................................................................................... 7-10

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
สารบัญ
ขอ 1.6 ระบบทางเดินปสสาวะ (Urinary System) ................................................................................ 7-10
ขอ 1.7 โรคติดตอทางเพศสัมพันธและโรคติดเชื้ออยางอื่น (Sexually Transmitted Diseases and Other
Infections) ............................................................................................................................................... 7-11
ขอ 1.8 สูติศาสตรและนรีเวชวิทยา (Gynaecology and Obstetrics)................................................... 7-12
ขอ 1.9 ระบบกลามเนื้อและกระดูก (Musculoskeletal System) ........................................................ 7-12
ขอ 1.10 จิตเวชการบิน (Aviation Psychiatry) ........................................................................................ 7-12
ขอ 1.11 โรคทางระบบประสาท (Neurological Disorders) .................................................................... 7-13
ขอ 1.12 จักษุวิทยา (Ophthalmology) ................................................................................................... 7-14
ขอ 1.13 ขอกําหนดระดับการมองเห็น (Visual Requirements).............................................................. 7-14
ขอ 1.14 ขอกําหนดการมองเห็นสี (Color Perception Requirements) ................................................ 7-15
ขอ 1.15 โสต ศอ นาสิกวิทยา (Otorhinolaryngology) ........................................................................... 7-15
ขอ 1.16 ขอกําหนดการไดยินเสียง (Hearing Requirements) ................................................................ 7-16
ขอ 1.17 จิตวิทยาการบิน (Aviation Psychology) .................................................................................. 7-17
ขอ 1.18 ตจวิทยา (Dermatology)........................................................................................................... 7-17
ขอ 1.19 มะเร็งวิทยา (Oncology)............................................................................................................ 7-17
ผนวก 2 มาตรฐานในการออกใบสําคัญแพทย ชั้นสอง ..................................................................................... 7-18
ขอ 2.1 ระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular System)............................................................ 7-18
2.1.1 การตรวจรางกาย (Examination) ...................................................................................... 7-18
2.1.2 ความดันโลหิต (Blood Pressure) ..................................................................................... 7-18
2.1.3 โรคของหลอดเลือดแดงโคโรนารี (Coronary Artery Disease).......................................... 7-18
2.1.4 จังหวะการเตนและสื่อไฟฟาหัวใจ (Rhythm/Conduction Disturbance)........................ 7-19
2.1.5 ทั่วไป (General) ................................................................................................................ 7-19
ขอ 2.2 ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory System) ............................................................................ 7-20
2.2.1 ทั่วไป (General) ................................................................................................................ 7-20
2.2.2 ความผิดปกติ (Disorder) ................................................................................................... 7-21
ขอ 2.3 ระบบทางเดินอาหาร (Digestive System)................................................................................ 7-22
2.3.1 ทั่วไป (General) ................................................................................................................ 7-22
2.3.2 ความผิดปกติ (Disorder) ................................................................................................... 7-22

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
สารบัญ
ขอ 2.4 โรคทางระบบเมตาโบลิซึม โภชนาการ และระบบตอมไรทอ (Metabolic, Nutritional and
Endocrine Diseases) .............................................................................................................................. 7-23
ขอ 2.5 โลหิตวิทยา (Haematology) ..................................................................................................... 7-23
ขอ 2.6 ระบบทางเดินปสสาวะ (Urinary System) ................................................................................ 7-24
ขอ 2.7 โรคติดตอทางเพศสัมพันธและโรคติดเชื้ออยางอื่น (Sexually Transmitted Diseases and Other
Infections) ............................................................................................................................................... 7-25
ขอ 2.8 สูติศาสตรและนรีเวชวิทยา (Gynaecology and Obstetrics)................................................... 7-25
ขอ 2.9 ระบบกลามเนื้อและกระดูก (Musculoskeletal System) ........................................................ 7-26
ขอ 2.10 จิตเวชการบิน (Aviation Psychiatry) ....................................................................................... 7-26
ขอ 2.11 โรคทางระบบประสาท (Neurological Disorders) ................................................................... 7-27
ขอ 2.12 จักษุวิทยา (Ophthalmology) .................................................................................................. 7-28
ขอ 2.13 ขอกําหนดระดับการมองเห็น (Visual Requirements) ............................................................. 7-28
ขอ 2.14 ขอกําหนดการมองเห็นสี (Color Perception Requirements) ................................................ 7-29
ขอ 2.15 มาตรฐานทางโสต ศอ นาสิกวิทยา (Otorhinolaryngology) ..................................................... 7-29
ขอ 2.16 ขอกําหนดการไดยินเสียง (Hearing Requirements) ................................................................ 7-30
ขอ 2.17 จิตวิทยาการบิน (Aviation Psychology) .................................................................................. 7-31
ขอ 2.18 ตจวิทยา (Dermatology) .......................................................................................................... 7-31
ขอ 2.19 มะเร็งวิทยา (Oncology) ........................................................................................................... 7-31
ผนวก 3 มาตรฐานการออกใบสําคัญแพทย ชั้นสาม ......................................................................................... 7-32
ขอ 3.1 ระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular System)............................................................ 7-32
ขอ 3.2 ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory System) ............................................................................ 7-34
ขอ 3.3 ระบบทางเดินอาหาร (Digestive System)................................................................................ 7-35
ขอ 3.4 โรคทางระบบเมตาโบลิซึม โภชนาการ และระบบตอมไรทอ (Metabolic, Nutritional and
Endocrine Diseases) .............................................................................................................................. 7-36
ขอ 3.5 โลหิตวิทยา (Haematology) ..................................................................................................... 7-36
ขอ 3.6 ระบบทางเดินปสสาวะ (Urinary System) ................................................................................ 7-37
ขอ 3.7 โรคติดตอทางเพศสัมพันธและโรคติดเชื้ออยางอื่น (Sexually Transmitted Diseases and Other
Infections) ............................................................................................................................................... 7-38
ขอ 3.8 สูติศาสตรและนรีเวชวิทยา (Gynaecology and Obstetrics)................................................... 7-38
ขอ 3.9 ระบบกลามเนื้อและกระดูก (Musculoskeletal System) ........................................................ 7-38
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
สารบัญ
ขอ 3.10 จิตเวชการบิน (Aviation Psychiatry) ....................................................................................... 7-39
ขอ 3.11 โรคทางระบบประสาท (Neurological Disorders) ................................................................... 7-40
ขอ 3.12 จักษุวิทยา (Ophthalmology) .................................................................................................. 7-40
ขอ 3.13 ขอกําหนดระดับการมองเห็น (Visual Requirements) ............................................................. 7-41
ขอ 3.14 ขอกําหนดการมองเห็นสี (Color Perception Requirements)................................................ 7-41
ขอ 3.15 โสต ศอ นาสิกวิทยา (Otorhinolaryngology) .......................................................................... 7-41
ขอ 3.16 ขอกําหนดการไดยินเสียง (Hearing Requirements) ................................................................ 7-42
ขอ 3.17 จิตวิทยาการบิน (Aviation Psychology) .................................................................................. 7-43
ขอ 3.18 ตจวิทยา (Dermatology) .......................................................................................................... 7-43
ขอ 3.19 มะเร็งวิทยา (Oncology Requirements)................................................................................. 7-43
ผนวก 4 มาตรฐานการออกใบสําคัญแพทย ชั้นสี่ ............................................................................................. 7-44
ขอ 4.1 ระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular System)............................................................ 7-44
ขอ 4.2 ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory System) ............................................................................ 7-45
ขอ 4.3 ระบบทางเดินอาหาร (Digestive System)................................................................................ 7-45
ขอ 4.4 โรคทางระบบเมตาโบลิซึม โภชนาการ และระบบตอมไรทอ (Metabolic, Nutritional and
Endocrine Diseases) .............................................................................................................................. 7-46
ขอ 4.5 โลหิตวิทยา (Haematology) ..................................................................................................... 7-47
ขอ 4.6 ระบบทางเดินปสสาวะ (Urinary System) ................................................................................ 7-47
ขอ 4.7 โรคติดตอทางเพศสัมพันธและโรคติดเชื้ออยางอื่น (Sexually Transmitted Diseases and Other
Infections) ............................................................................................................................................... 7-48
ขอ 4.8 สูติศาสตรและนรีเวชวิทยา (Gynaecology and Obstetrics) ..................................................... 7-48
ขอ 4.9 ระบบกลามเนื้อและกระดูก (Musculoskeletal System) ........................................................ 7-49
ขอ 4.10 จิตเวชการบิน (Aviation Psychiatry) ....................................................................................... 7-49
ขอ 4.11 โรคทางระบบประสาท (Neurological Disorders) ................................................................... 7-50
ขอ 4.12 จักษุวิทยา (Ophthalmology) .................................................................................................. 7-51
ขอ 4.13 ขอกําหนดระดับการมองเห็น (Visual Requirements) ............................................................. 7-51
ขอ 4.14 ขอกําหนดการมองเห็นสี (Colour Perception Requirements) ............................................. 7-52
ขอ 4.15 โสต ศอ นาสิกวิทยา (Otorhinolaryngology) .......................................................................... 7-52
ขอ 4.16 ขอกําหนดการไดยินเสียง (Hearing Requirements) ................................................................ 7-53

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
สารบัญ
ขอ 4.17 จิตวิทยาการบิน (Aviation Psychology) .................................................................................. 7-53
ขอ 4.18 ตจวิทยา (Dermatology) .......................................................................................................... 7-53
ขอ 4.19 มะเร็งวิทยา (Oncology) ........................................................................................................... 7-53
ผนวก 5 คําแนะนําในการพิจารณาออกใบสําคัญแพทย และการกําหนดขอจํากัดทางการแพทย (Limitation) 7-55
ขอ 5.1 แนวทางในการออกใบสําคัญแพทย ............................................................................................ 7-55
ขอ 5.2 การตรวจระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular System)............................................. 7-55
ขอ 5.3 ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory System) ............................................................................ 7-63
ขอ 5.4 ระบบทางเดินอาหาร (Digestive System)................................................................................ 7-65
ขอ 5.5 โรคทางระบบเมตาโบลิซึม โภชนาการ และระบบตอมไรทอ (Metabolic, Nutritional and
Endocrine Disorder) .............................................................................................................................. 7-67
ขอ 5.6 โลหิตวิทยา (Haematology) ..................................................................................................... 7-70
ขอ 5.7 ระบบทางเดินปสสาวะ (Urinary System) ................................................................................ 7-73
ขอ 5.8 โรคติดตอทางเพศสัมพันธและโรคติดเชื้ออยางอื่น (Sexually Transmitted Diseases and Other
Infections) ............................................................................................................................................... 7-76
ขอ 5.9 สูติศาสตรและนรีเวชวิทยา (Gynaecology and Obstetrics)................................................... 7-77
ขอ 5.10 ระบบกลามเนื้อและกระดูก (Musculoskeletal System) ........................................................ 7-78
ขอ 5.11 จิตเวชการบิน (Aviation Psychiatry) ....................................................................................... 7-80
ขอ 5.12 โรคทางระบบประสาท (Neurological Disorders) ................................................................... 7-84
ขอ 5.13 จักษุวิทยา (Ophthalmology) .................................................................................................. 7-88
ขอ 5.14 ขอกําหนดระดับการมองเห็น (Visual Requirements) ............................................................. 7-89
ขอ 5.15 ขอกําหนดการมองเห็นสี (Color Perception Requirements)................................................ 7-90
ขอ 5.16 โสต ศอ นาสิกวิทยา (Otorhinolaryngology) .......................................................................... 7-90
ขอ 5.17 ขอกําหนดการไดยินเสียง (Hearing Requirements) ................................................................ 7-91
ขอ 5.18 จิตวิทยาการบิน (Aviation Psychology) .................................................................................. 7-92
ขอ 5.19 ตจวิทยา (Dermatology) .......................................................................................................... 7-92
ขอ 5.20 มะเร็งวิทยา (Oncology) ........................................................................................................... 7-93
ขอ 5.21 การกําหนดขอจํากัดทางการแพทย (Limitation) ....................................................................... 7-93
5.21.1 OML - Class 1 only (Operational Multi-Pilot Limitation) ............................................. 7-93
5.21.2 OSL - Class 2 (Operational Safety Pilot Limitation) ..................................................... 7-94

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
สารบัญ
5.21.3 Valid Only When Another Air Traffic Controller Available and Competent to Assume
Your Duties ....................................................................................................................................... 7-94
5.21.4 VDL (Valid Only With Correction for Defective Distant Vision) .................................. 7-94
5.21.5 VML (Valid Only With Correction for Defective Distant, Intermediate and Near Vision)
............................................................................................................................................................ 7-94
5.21.6 VNL (Valid Only With Correction for Defective Near Vision) ...................................... 7-94
5.21.7 CCL (Correction by Means of Contact Lenses) ............................................................. 7-94
5.21.8 VCL (Valid by Day Only) .................................................................................................... 7-94
5.21.9 AHL (Valid Only With Approved Hand Controls) .......................................................... 7-94
5.21.10 SSL (Special Restriction(s) as Specified) ....................................................................... 7-95

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
บทนํา

0. บทนํา
ความเปนมา
กองเวชศาสตรการบิน (Aeromedical Division) ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือน
แหงประเทศไทย มีหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานเวชศาสตรการบินพลเรือน ไดแก ศึกษาและเสนอแนะนโยบาย
แผน ขั้นตอนการปฏิบัติ มาตรฐานทางแพทยที่ใชในการตรวจ การศึกษา ฝกอบรมเกี่ยวกับเวชศาสตรการบิน
นิรภัยเวชกรรมการบิน และการวิจัยพัฒนาในเรื่องที่กลาวมา โดยเฉพาะการกํากับดูแลการใหคําปรึกษาแนะนําใน
เรื่องมาตรฐานในการแตงตั้งแพทยเวชศาสตรการบิน มาตรฐานทางแพทยที่ใชในการตรวจ การเก็บรักษา วิเคราะห
วิจัย พัฒนาผลการตรวจและมาตรฐานดังกลาว ซึ่งจะตองไดตามมาตรฐานไมต่ํากวาที่กําหนดไวใน ภาคผนวก 1
แหงอนุสัญญาวาดวยการบินพลเรือนระหวางประเทศ ซึ่งประเทศไทยเปนภาคีสมาชิก และเพื่อใหเปนไปตาม
พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 และกฎหมายที่เกี่ยวของ จึงไดจัดทําแนวทางการปฏิบัติงานสําหรับ
นายแพทยผูตรวจฉบับนี้ขึ้น ใหมีรูปแบบมาตรฐาน งายตอการนํามาใชงานและทันสมัยตอกฎเกณฑ ระเบียบตางๆ
เพื่อใหนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโสยึดถือเปนแนวทาง ในการปฏิบัติงานเปนมาตรฐานเดียวกัน
หวังเปนอยางยิ่งวาคูมือฉบับนี้ จะเปนประโยชนตอนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส นายแพทยผู
ตรวจสอบ ศูนยเวชศาสตรการบิน สถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน และผูที่เกี่ยวของยึดถือเปนแนวทางใน
การปฏิบัติงานเปนมาตรฐานเดียวกัน และประชาชนสามารถใชเปนมาตรฐานในการติดตอขอรับบริการตางๆ ที่
เกี่ยวของกับมาตรฐานทางการแพทยในการออกใบสําคัญแพทย และในหนาที่ความรับผิดชอบของกองเวชศาสตร
การบิน
วัตถุประสงค
เพื่อใหเปนไปตามพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 และกฎหมายที่เกี่ยวของ จึงไดจัดทําแนวทาง
การปฏิบัติงานสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโสฉบับนี้ขึ้น ใหมีรูปแบบมาตรฐาน งายตอการ
นํามาใชงานและทันสมัยตอกฎเกณฑ ระเบียบตางๆ เพื่อใหนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส นายแพทย
ผูตรวจสอบ ยึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติงานเปนมาตรฐานเดียวกัน และประชาชนสามารถใชเปนแนวทางใน
การติดตอขอรับบริการตางๆ ที่เกี่ยวของกับมาตรฐานในการออกใบสําคัญแพทย และในหนาที่ความรับผิดชอบของ
กองเวชศาสตรการบิน
ขอบเขตของแนวปฏิบัติ
ทางในการปฏิบัติงานเลมนี้ เพื่อใหนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโสยึดถือเปนแนวทางในการ
ปฏิบัติงานเปนมาตรฐานเดียวกัน และใหเปนไปตาม กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ หรือเอกสารที่ใช
อางอิง ในการแตงตั้งแตงตั้งเปนนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส นายแพทยผูตรวจ อํานาจหนาที่ของ
นายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส การออกหรือตอใบสําคัญแพทยใหแกผูประจําหนาที่ใหเปนไปตาม
มาตรฐานที่กําหนด
วันที่มีผลบังคับใช
แนวปฏิบัตินี้ไดจัดทําขึ้นเปนครั้งแรก (ฉบับที่ 01) และไดรับการอนุมัติการใชงาน ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2564

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 0-1


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
บทนํา
กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ หรือเอกสารที่ใชอางอิง
 พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 หมวด 5 ผูประจําหนาที่

 กฎกระทรวง วาดวยใบอนุญาตผูประจําหนาที่ พ.ศ. 2550 ใหไว ณ วันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2550

 กฎกระทรวง วาดวยใบอนุญาตผูประจําหนาที่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 ใหไว ณ วันที่ 2 มีนาคม 2559

 ขอบังคับของคณะกรรมการการบิน พลเรือน ฉบับที่ 89 วาดวยคุณสมบัติของผูขออนุญาตเปนผูป ระจํา

หนาที่ ประกาศ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ พ.ศ. 2556


 ขอบังคับของสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย ฉบับที่ 6 วาดวยคุณสมบัติของผูขออนุญาตเปน

ผูประจําหนาที่ ประกาศ ณ วันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2560


 ระเบียบสํานักงานการบิน พลเรือนแหงประเทศไทย วาดวยนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโ ส

ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน และสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน พ.ศ. 2560 ใหไว ณ วันที่ 4 สิงหาคม


พ.ศ. 2560
 ประกาศสํ านั กงานการบิ นพลเรื อนแหงประเทศไทย เรื่อง การขอและการออกใบสํ าคั ญแพทย พ.ศ. 2560

ประกาศ ณ วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2560


 ประกาศสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย เรื่อง การขอและการออกใบสําคัญแพทย (ฉบับที่ 2)

พ.ศ. 2562 ประกาศ ณ วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2562


 ประกาศสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทยเรื่อง มาตรฐานในการออกใบสําคัญแพทยแตล ะชั้น

พ.ศ. 2562 ประกาศ ณ วันที่ 26 ธันวาคม 2562


 คําสั่งสํานักงานการบิน พลเรือนแหงประเทศไทย ที่ 192/2563 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการแพทยเวช

ศาสตรการบินผูทรงคุณวุฒิ (Board of Aeromedical Specialist: BAS) สั่ง ณ วันที่ 4 สิงหาคม 2563

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 0-2


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
โครงสรางองคกร หนาที่ความรับผิดชอบ

1. โครงสรางองคกร หนาที่ความรับผิดชอบ
กฎหมาย/ระเบียบ/คําสั่ง ที่เกี่ยวของ
♦ พระราชกําหนดการบินพลเรือนแหงประเทศไทย พ.ศ. 2558
♦ ระเบียบคณะกรรมการกํากับสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทยวาดวยการแบงสวนงานภายใน
ของสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย พ.ศ. 2560
สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย (กพท.)
ความเปนมาของการจัดตั้งสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย (กพท.)
จากการที่ประเทศไทยไดรับการตรวจสอบติดตามการดําเนินการภายใตโครงการตรวจสอบการกํากับ
ดูแลดานความปลอดภัยสากล (Universal Safety Oversight Audit Program ; USOAP) ขององคการการบินพล
เรือนระหวางประเทศ (ICAO) โดยองคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ ไดเปลี่ยนวิธีการตรวจสอบจากเดิมในป
พ.ศ. 2539 ที่ใชวิธีการตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรฐานและขอพึงปฏิบัติระหวางประเทศ (SARPs) เฉพาะใน
ภาคผนวกที่ 1 ภาคผนวกที่ 6 และภาคผนวกที่ 8 แหงอนุสัญญาวาดวยการบินพลเรือนระหวางประเทศ และในป
พ.ศ. 2548 ที่ใชวิธีการตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรฐานและขอพึงปฏิบัติระหวางประเทศในทุกภาคผนวกที่
เกี่ยวของกับความปลอดภัย (All Safety-related annex) มาเปนวิธีการตรวจสอบแบบเฝาตรวจตราอยางตอเนื่อง
(Continuous Monitoring Approach ; CMA) ตั้งแตป พ.ศ. 2554 เปนตนมา ซึ่งการตรวจสอบดังกลาวปรากฏผล
ของการขาดประสิทธิผลในการดําเนินการ (Lack of Effective Implementation ; LEI) ที่เกี่ยวของกับการกํากับ
ดูแลความปลอดภัยการบินพลเรือนที่สําคัญรวม 8 ดาน ซึ่งมีผลทําใหองคการการบินพลเรือนระหวางประเทศได
ประกาศการพบขอบกพรองที่มีนัยสําคัญตอความปลอดภัย (SSC) ของประเทศไทย และโดยเฉพาะอยางยิ่งการที่
องค ก ารการบิ น พลเรื อ นระหว า งประเทศได ป ระกาศในวั น ที่ 18 มิ ถุ น ายน 2558 ไม เ ห็ น ชอบกั บ แผนแก ไ ข
ขอบกพรองดังกลาวที่ประเทศไทยไดจัดทําเสนอดวยเหตุนี้ จึงเปนกรณีที่มีความจําเปนรีบดวน เพื่อมิใหผลของการ
ประกาศพบขอบกพรองที่มีนัยสําคัญตอความปลอดภัยขางตนสงผลตอการถูกปรับลดระดับมาตรฐานการบินพล
เรือนของประเทศไทยจากองคการบริหารการบินอื่น รวมถึงการพิจารณาสิทธิการบินและการทําการบินของไทย
อันจะสงผลเสียหายอยางรุนแรงตออุตสาหกรรมการบิน ผลกระทบตอประโยชนและความปลอดภัยสาธารณะ และ
ความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ และตองปรับปรุงรูปแบบ โครงสราง และอํานาจหนาที่ของหนวยงานดาน
การบินพลเรือนของประเทศไทยใหสอดคลองกับมาตรฐานสากล รวมทั้งใหเปนไปตามขอกําหนดและขอเสนอแนะ
ขององคการการบินพลเรือนระหวางประเทศ จึงจําเปนตองตราพระราชกําหนดนี้
ใหจัดตั้งสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทยขึ้น เรียกโดยยอวา “กพท.” และใหใชชื่อเปน
ภาษาอังกฤษวา “The Civil Aviation Authority of Thailand” เรียกโดยยอวา “CAAT” เปนหนวยงานของรัฐที่
ไมเปนสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ หรือกฎหมายอื่น และมีฐานะเปนนิติ
บุคคล
กิจการของสํานักงานไมอยูภายใตบังคับแหงกฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงาน กฎหมายวาดวย
แรงงานสัมพันธ กฎหมายวาดวยการประกันสังคม และกฎหมายวาดวยเงินทดแทน แตพนักงานและลูกจางของ
สํานักงานตองไดรับประโยชนตอบแทนไมนอยกวาที่กําหนดไวในกฎหมายวาดวยการคุมครองแรงงาน กฎหมายวา
ดวยการประกันสังคม และกฎหมายวาดวยเงินทดแทน
(อางอิง : พระราชกําหนดการบินพลเรือนแหงประเทศไทย พ.ศ. 2558)

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 1-1


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
โครงสรางองคกร หนาที่ความรับผิดชอบ
วัตถุประสงคของสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย (กพท.)
(1) กํากับ ดูแล ควบคุม สงเสริม และพัฒนา กิจการการบินพลเรื อน ทั้งในดานนิรภัย การรักษา
สิ่งแวดลอม การรักษาความปลอดภัย การอํานวยความสะดวกในการขนสงทางอากาศ เศรษฐกิจการขนสงทางอากาศ
และดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับกิจการการบินพลเรือนใหเปนไปตามกฎหมายและมาตรฐานสากล
(2) ดําเนินการใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยความผิดบางประการตอการเดินอากาศ
(3) สงเสริม และพัฒนาเครือขายระบบการขนสงทางอากาศ อุตสาหกรรมการบินและกิจการการบิน
พลเรือนใหมีประสิทธิภาพและไดมาตรฐานสากล
(4) เปนศูนยกลางในการใหบริการและเผยแพรขอมูลขาวสารและประชาสัมพันธเกี่ยวกับกิจการการบิน
พลเรือนใหสามารถดําเนินการและแขงขันไดในระดับสากล
อํานาจหนาที่ของสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย (กพท.)
(1) ศึกษา วิเคราะห และพัฒนา กิจการการบินพลเรือน ทั้งในดานนิรภัย การรักษาสิ่งแวดลอม การ
รักษาความปลอดภัย การอํานวยความสะดวกในการขนสงทางอากาศ เศรษฐกิจการขนสงทางอากาศ ตลอดจน
ระบบโครงสรางพื้นฐานการบินพลเรือนของประเทศ
(2) เสนอแนะนโยบายตอคณะกรรมการการบินพลเรือนเกี่ยวกับกิจการการบินพลเรือนและการขนสง
ทางอากาศ
(3) เสนอแนะตอรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวงตามกฎหมายวาดวยการเดินอากาศ
(4) ทํ าหน าที่ เป นหน วยงานธุ รการให กับคณะกรรมการการบิ นพลเรื อนตามกฎหมายวาดวยการ
เดินอากาศ และปฏิบัติงานอื่นตามที่คณะกรรมการการบินพลเรือนมอบหมาย
(5) ดําเนินการจัดทําแผนอํานวยความสะดวก แผนรักษาความปลอดภัย และแผนนิรภัยในการบินพล
เรือนแหงชาติ รวมทั้งแผนแมบทการจัดตั้งสนามบินพาณิชยของประเทศ เพื่อเสนอใหคณะกรรมการการบินพลเรือน
พิจารณาอนุมัติ รวมทั้งกํากับดูแลและควบคุมการดําเนินการใหเปนไปตามแผนดังกลาว
(6) ดําเนินการจัดระเบียบการบินพลเรือน รวมทั้งกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับการ
ใชนานฟาใหเกิดความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสูงสุด
(7) ตรวจสอบ ติดตาม ควบคุม รวมทั้งสงเสริมใหผูที่เกี่ยวของในอุตสาหกรรมการบินและกิจการการ
บินพลเรือนปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ และมาตรฐานสากล
(8) กํากับดูแลกิจการสนามบินและสนามบินอนุญาตที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายวาดวยการเดินอากาศ
หรือตามกฎหมายอื่นใหเกิดความปลอดภัยและไดมาตรฐานสากล
(9) ใหความรวมมือและสนับสนุนคณะกรรมการการบินพลเรือนและสวนราชการในการประสานงาน
หรือเจรจากับองคการระหวางประเทศหรือตางประเทศเกี่ยวกับสิทธิในการบิน หรือการทําความตกลงใดๆเกี่ยวกับ
การบินพลเรือนอันอยูในอํานาจหนาที่ของสวนราชการอื่น
(10) รวมมือและประสานงานกับองคการหรือหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งในประเทศและตางประเทศใน
ดานการบินพลเรือนตามพันธกรณีที่ประเทศไทยมีอยูตามอนุสัญญาหรือความตกลงระหวางประเทศที่ประเทศไทย
เปนภาคี
(11) สงเสริมและสนับสนุนใหมีการวิจัยและพัฒนากิจการการบินพลเรือน
(12) ใหการรับรองหลักสูตรและสถาบันฝกอบรมผูประจําหนาที่ตามกฎหมายวาดวยการเดินอากาศ
และกําหนดคุณสมบัติและความรูของบุคลากรดานการบินอื่นที่พึงตองมี
(13) กําหนดมาตรฐานการทํางานของผูประจําหนาที่ตามกฎหมายวาดวยการเดินอากาศ
(14) จัดทําทะเบียนอากาศยาน รวมทั้งทะเบียนผูประจําหนาที่และบุคคลอื่นที่เกี่ยวของกับการบินพล
เรือน
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 1-2
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
โครงสรางองคกร หนาที่ความรับผิดชอบ
(15) จัดทําและเผยแพรความรูและขาวสารเกี่ยวกับการบินพลเรือน
(16) ดําเนินการอื่นใดที่จําเปนหรือตอเนื่องใหบรรลุวัตถุประสงคของสํานักงาน หรือตามที่กฎหมาย
กําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของสํานักงานหรือตามที่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
การจัดตั้งกองเวชศาสตรการบิน
สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย มีหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการออกใบอนุญาตผูประจําหนาที่
การตรวจติดตามผูไดรับใบอนุญาตผูประจําหนาที่ ซึ่งการสั่งใหผูมีใบอนุญาตผูประจําหนาที่เขารับการตรวจสุขภาพ
รางกาย และการสอบสวนอากาศยานประสบอุบัติเหตุ จะตองมีมาตรฐานในการแตงตั้งแพทยเวชศาสตรการบิน
มาตรฐานทางแพทยที่ใชในการตรวจ การเก็บรักษา วิเคราะห วิจัย พัฒนาผลการตรวจและมาตรฐานดังกลาว ซึ่ง
จะตองไมต่ํากวาที่กําหนดไวใน ภาคผนวก 1 ของอนุสัญญาวาดวยการบินพลเรือนระหวางประเทศ สํานักงานการ
บินพลเรือนแหงประเทศไทย จึงออกคําสั่งใหจัดตั้งกองเวชศาสตรการบิน (Aeromedical Division)
อํานาจหนาที่ของกองเวชศาสตรการบิน
(1) ศึกษาวิเคราะหและพัฒนามาตรฐาน กฎหมาย กฎ ระเบียบ และจัดทําขอเสนอแนะเพื่อกําหนด
มาตรฐานและกฎเกณฑ รวมถึงจัดทําหลักเกณฑ คูมือและวิธีปฏิบัติในดานเวชศาสตรการบิน
(2) พิจารณาและเสนอขอคิดเห็นเกี่ยวกับขอกําหนดขององคการการบินพลเรือนระหวางประเทศวา
ดวยการดําเนินการดานเวชศาสตรการบิน
(3) เสนอแนะใหมีการกําหนดนโยบาย แผน กฎเกณฑ ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับมาตรฐานทาง
การแพทยที่ใชในการตรวจ การศึกษาและฝกอบรม ใหคําแนะนําปรึกษาในเรื่องตางๆเกี่ยวกับเวชศาสตรการบิน
อนามัยและสิ่งแวดลอมของทาอากาศยานตางๆ
(4) กํากับดูแลและตรวจสอบดานเวชศาสตรการบินพลเรือนของประเทศ
(5) พิจารณาและดําเนินการเกี่ยวกับการแตงตั้ง การสิ้นสุดของนายแพทยผูตรวจเวชศาสตรการบิน
และศูนยเวชศาสตรการบิน
(6) ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานที่เกี่ยวของหรือที่ไดรับมอบหมาย
การแตงตั้งนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
การแตงตั้งนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส ดูในขอ 2.5
อํานาจหนาที่ของนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส ดูในขอ 2.9
การแตงตั้งนายแพทยผูตรวจสอบ
การแตงตั้งนายแพทยผูตรวจสอบ ดูในขอ 2.11
อํานาจหนาที่ของนายแพทยผูตรวจสอบ ดูในขอ 2.12
การแตงตั้งศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน
การแตงตั้งศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน ดูในขอ 3
อํานาจหนาที่ของศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน ดูในขอ 3.9

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 1-3


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
โครงสรางองคกร หนาที่ความรับผิดชอบ
แผนผังแสดงการเชื่อมโยงการทํางานดานเวชศาสตรการบิน

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 1-4


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
นายแพทยผูตรวจ, นายแพทยผูตรวจอาวุโส, นายแพทยผูตรวจสอบ

2. นายแพทยผูตรวจ, นายแพทยผูตรวจอาวุโส, นายแพทยผูตรวจสอบ


กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ ที่ใชอางอิง
 พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 หมวด 5 ผูประจําหนาที่

 ขอบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือน ฉบับที่ 89 วาดวยคุณสมบัติของผูขออนุญาตเปนผูป ระจํา

หนาที่ ประกาศ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ พ.ศ. 2556


 ระเบี ย บสํ า นั ก งานการบิ น พลเรื อ นแห ง ประเทศไทย ว า ด ว ยนายแพทย ผู  ต รวจ นายแพทย ผู  ต รวจ

อาวุโ ส ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน และสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน พ.ศ. 2560 ใหไว ณ วันที่ 4


สิงหาคม พ.ศ. 2560
บทนํา
เพื่อใหการตรวจเพื่อออกหรือตออายุใบสําคัญแพทยใหแกผูขออนุญาตเปนผูประจําหนาที่ ดําเนินการโดย
นายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสที่มีคุณสมบัติตามที่ผูอํานวยการกําหนด และเพื่อใหผูประจําหนาที่
ซึ่งพนักงานเจาหนาที่เห็นวาหยอนคุณสมบัติเกี่ยวกับสุขภาพใหรับการทดสอบโดยการตรวจทางการแพทย และ
ผูป ระจําหนาที่ในอากาศยานที่เจ็บปวยหรือบาดเจ็บ เปน ระยะเวลาตั้งแต 7 วันขึ้นไป จะปฏิบัติหนาที่ตอไปได
เมื่อนายแพทยที่พนักงานเจาหนาที่กําหนดจะไดตรวจและออกใบรับ รองวา ผูป ระจํา หนา ที่นั้น ไดห ายจากการ
เจ็บ ปว ยหรือบาดเจ็บ และพนักงานเจาหนาที่ไดอนุญาตใหผูประจําหนาที่นั้นปฏิบัติหนาที่ตอไป ผูอํานวยการ
สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย จึงออกระเบียบสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย วาดวย
นายแพทยผูต รวจ นายแพทยผู ตรวจอาวุโส ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน และสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบิน
พลเรือน พ.ศ. 2560 ไวดังตอไปนี้
วัตถุประสงค
เพื่อใหการบริหารระบบนายแพทยผูตรวจดานเวชศาสตรการบินพลเรือน ขั้นตอนในการแตงตั้งและสิ้นสุด
ของนายแพทยผูตรวจ การตรวจสุขภาพทางเวชศาสตรการบินพลเรือนของแพทยที่พนักงานเจาหนาที่กําหนด และ
การอุทธรณเปนไปโดยมี ระเบียบและอยูในมาตรฐานเดี ยวกัน เปนไปตามระเบี ยบสํานักงานการบินพลเรื อนแห ง
ประเทศไทย วาดวยนายแพทยผูตรวจดานเวชศาสตรการบินพลเรือน ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและสถานที่
ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน พ.ศ. 2560
คํานิยาม
(1) “นายแพทยผูตรวจ” (Authorized Medical Examiner – AME) หมายความวา นายแพทยเวชศาสตร
การบินที่ผูอํานวยการแตงตั้งใหมีสิทธิตรวจทางแพทยแกผูขอตออายุใบสําคัญแพทยทุกชั้น
(2) “นายแพทย ผู ต รวจอาวุ โ ส” (Senior Authorized Medical Examiner – SAME) หมายความว า
นายแพทยเวชศาสตรการบินที่ผูอํานวยการแตงตั้งใหมีสิทธิตรวจทางแพทยแกผูขอรับหรือ ตออายุใบสําคัญแพทย
ทุกชั้น
(3) “นายแพทยผูตรวจสอบ” (Medical Assessor) หมายความวา นายแพทยเวชศาสตรการบินที่ดํารง
ความรูและประสบการณดานเวชศาสตรการบินอยูเสมอ ซึ่งผูอํานวยการแตงตั้งใหทําหนาที่ตรวจสอบรายงานผล
การตรวจสุขภาพ (Medical Examination Report) ของนายแพทยผูตรวจและนายแพทยผูตรวจอาวุโสที่สงให
กองเวชศาสตรการบิน

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 2-1


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
นายแพทยผูตรวจ, นายแพทยผูตรวจอาวุโส, นายแพทยผูตรวจสอบ
(4) “กองเวชศาสตรการบิน” (Aeromedical Division - MD) หมายความวา กองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐาน
ผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
(5) “ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน” (Aeromedical Center - AMC) หมายความวา โรงพยาบาลหรือ
สถานพยาบาลที่มีนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสที่ผูอํานวยการแตงตั้งใหทําการตรวจเพื่อออกหรือ
ตรวจเพื่อตออายุใบสําคัญแพทยทุกชั้น และจะตองมีกิจกรรมทางแพทยเวชศาสตรการบิน ดานเวชศาสตรปองกัน
และเวชศาสตรการบินคลินิก การศึกษาและฝกอบรมนิรภัยการบินและวิจัยพัฒนา
(6) “สถานที่ ตรวจเวชศาสตร การบิ น พลเรื อน” หมายความวา โรงพยาบาลที่มีน ายแพทยผู ตรวจหรื อ
นายแพทยผูตรวจอาวุโสที่ผูอํานวยการแตงตั้งใหทําหนาที่ตรวจเพื่อตออายุใบสําคัญแพทยทุกชั้น และทําการตรวจ
เพื่อออกใบสําคัญแพทยไดเฉพาะใบสําคัญแพทยชั้นสองและชั้นสี่
(7) “ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
(8) “สํานักงาน” หมายความวา สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
คุณสมบัติและการยื่นเอกสาร
ผูที่ประสงคจะขอรับการแตงตั้งเปนนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน
หรื อสถานที่ ต รวจเวชศาสตร การบิ น พลเรื อน จะต องมี คุ ณสมบั ติ และยื่ น คํ าขอ พร อ มด ว ยเอกสารหลั ก ฐาน
ดังตอไปนี้
(1) นายแพทยผูตรวจ
(ก) คุณสมบัติ
1) ตองไดรับใบประกอบวิชาชีพเวชกรรมจากแพทยสภา
2) ตองผานการอบรมหลักสูตรแพทยเวชศาสตรการบินที่ผูอํานวยการรับรอง
3) ตองมีสุขภาพรางกายสมบูรณแข็งแรง
4) ตองไมเปนผูอยูระหวางถูกพักใชการแตงตั้งเปนนายแพทยผูตรวจ หรือถูกเพิกถอนการแตงตั้ง
เปนนายแพทยผูตรวจมายังไมครบ 2 ป
(ข) เอกสารที่ตองยื่น
1) สําเนาปริญญาบัตรแพทยศาสตรบัณฑิต
2) สําเนาใบประกอบวิชาชีพเวชกรรมจากแพทยสภา
3) สํ า เนาวุ ฒิ บั ตรหรือประกาศนีย บัตรหลักสูตรแพทยเวชศาสตรการบินที่ผูอํานวยการ
รับรอง หรือสําเนาวุฒิบัตรหรืออนุมัติบัตรผูเชี่ยวชาญสาขาเวชศาสตรปองกัน แขนงเวชศาสตรการบินจากแพทย
สภา
4) ใบรับรองแพทย
5) หนังสือยินยอมจากสถานที่ที่จะใชทําการตรวจ หากไมใชศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน
หรือสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือนที่ผูอํานวยการแตงตั้ง จะตองระบุรายการและจํานวนเครื่องมือที่จะใช
ในการตรวจโดยละเอียดดวย
6) เอกสารอื่นตามที่ผูอํานวยการกําหนด
(2) นายแพทยผูตรวจอาวุโส
(ก) คุณสมบัติ
1) ตองไดรับการแตงตั้งใหเปนและทําหนาที่นายแพทยผูตรวจมาแลวอยางนอย 5 ป

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 2-2


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
นายแพทยผูตรวจ, นายแพทยผูตรวจอาวุโส, นายแพทยผูตรวจสอบ
2) ตองไดรับวุฒิบัตรหรืออนุมัติบัตรผูเชี่ยวชาญสาขาเวชศาสตรปองกันแขนงเวชศาสตรการ
บินจากแพทยสภา
3) ตองไดรับการอบรมการศึกษาตอเนื่ องดานเวชศาสตร การบิน (Continuing Medical
Education – CME) ตามที่ผูอํานวยการกําหนด
4) ตองมีประสบการณและความคุนเคยกับการปฏิบัติหนาที่ของผูขอรับการตรวจสุขภาพ
5) ตองมีสุขภาพรางกายสมบูรณแข็งแรง
6) ตองไมเปนผูอยูระหวางถูกพักใชใบสําคัญการแตงตั้งเปนนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทย
ผูตรวจอาวุโส หรือถูกเพิกถอนใบสําคัญการแตงตั้งเปนนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสมายังไมครบ
2 ป
เมื่ อ มี เ หตุ ผ ลและความจํ า เป น ผู อํ า นวยการอาจพิ จ ารณาลดหรื อ ยกเว น คุ ณ สมบั ติ ข อง
นายแพทยผูตรวจอาวุโสตามที่กําหนดใน (ก) ไดตามที่เห็นสมควร
(ข) เอกสารที่ตองยื่น
1) สําเนาวุฒิบัตรหรืออนุมัติบัตรผูเชี่ยวชาญสาขาเวชศาสตรปองกัน แขนงเวชศาสตรการ
บินจากแพทยสภา
2) สําเนาเอกสารหรือหลักฐานที่แสดงวาไดรับการอบรมศึกษาตอเนื่องดานเวชศาสตรการ
บิน (Continuing Medical Education – CME)
3) สําเนาเอกสารหลักฐานที่แสดงวาผูขอมีประสบการณและคุนเคยดานการปฏิบัติหนาที่
ของผูขอรับการตรวจสุขภาพ
4) ใบรับรองแพทย
5) หนังสือยินยอมจากสถานที่ที่จะใชทําการตรวจ หากไมใชศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน
หรือสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือนที่ผูอํานวยการแตงตั้ง จะตองระบุรายการและจํานวนเครื่องมือที่จะใช
ในการตรวจโดยละเอียดดวย
6) เอกสารอื่นตามที่ผูอํานวยการกําหนด
ระยะเวลาการประกาศแตงตั้ง
ผูอํานวยการจะประกาศแตงตั้งนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส โดยมีวาระคราวละ 3 ป
การขอรับการแตงตั้งตอ
นายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส ที่ประสงคจะขอรับการแตงตั้งตอ ใหยื่นคําขอตอสํานักงาน กอน
ครบกําหนดอายุในประกาศแตงตั้งไมนอยกวา 90 วัน สําหรับนายแพทยผูตรวจและ นายแพทยผูตรวจอาวุโสใหแนบ
เอกสารที่แสดงประสบการณดานเวชศาสตรการบินเพิ่มเติมจากครั้งกอน (ถามี) เชน สําเนารายงานการศึกษา
การประชุมทางวิชาการ การดูงาน เปน ตน พรอมทั้งเอกสารหลักฐานแสดงการผานการฝกอบรมหลักสูตรทบทวน
(Refresher Training) (ถามี)
การจัดทําบัญชีรายชื่อนายแพทยผูตรวจและนายแพทยผูตรวจอาวุโสที่ไดรับการแตงตั้ง
กองเวชศาสตรการบินจัดทําบัญชีรายชื่อนายแพทยผูตรวจและนายแพทยผูตรวจอาวุโสที่ไดรับการแตงตั้ง
เพื่อใหบุคคลทั่วไปทราบอยางนอยปละครั้ง

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 2-3


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
นายแพทยผูตรวจ, นายแพทยผูตรวจอาวุโส, นายแพทยผูตรวจสอบ
นายแพทยผูตรวจและนายแพทยผูตรวจอาวุโสมีหนาที่และขอหาม ดังตอไปนี้
(1) ทําการตรวจ ณ สถานที่ที่ผูอํานวยการกําหนด
(2) ตรวจทางการแพทยเพื่อใหมั่นใจวาผูขอรับการตรวจสุขภาพเปนผูมีสุขภาพรางกายและจิตใจพรอมที่
จะปฏิบัติหนาที่ตามมาตรฐานทางการแพทยที่สํานักงานกําหนด และออกใบสําคัญแพทยตามสิทธิที่ตนไดรับ
(3) สงรายงานผลการตรวจสุขภาพ (Medical Examination Report) ที่ตนวินิจฉัยแลววาจะไมออกใบสํา คัญ
แพทยไปยังกองเวชศาสตรการบินเพื่อพิจารณาตามอํานาจหนาที่
(4) สงสํ าเนาคํ าร องขอตรวจสุขภาพและรายงานผลการตรวจสุ ขภาพ (Medical Examination Report)
รวมทั้งสําเนาใบสําคัญแพทยที่ออกไปยังกองเวชศาสตรการบินเปนรายเดือนโดยไมชักชา
(5) เก็ บ รั กษาข อมู ล และเอกสารต า ง ๆ ที่ เกี่ ย วข อง ตลอดจนรายงานผลการตรวจสุข ภาพ (Medical
Examination Report) ของผูขอรับการตรวจสุขภาพทุกรายไวเปนความลับ
(6) คงความรูและศึกษาเพิ่มเติมทางแพทยที่เกี่ยวของกับดานเวชศาสตรการบิน
(7) เขารับการฝกอบรมหลักสูตรทบทวน (Refresher Training) ที่จัดโดยกองเวชศาสตรก ารบิน หรือโดย
หนวยงานที่ไดรับการรับรองจากผูอํานวยการ อยางนอย 1 ครั้งภายในระยะเวลา 4 ป
(8) ศึกษาและพัฒนาความรูความเขาใจอยางละเอียดในกฎ ระเบียบ นโยบาย และขั้นตอนการปฏิบัติของ
สํานักงานที่เกี่ยวกับการออกใบสําคัญแพทยตามที่ผูอํานวยการกําหนด
(9) ทํ า ความคุ น เคยและหาประสบการณด า นการบิน และการปฏิบ ัต ิห นา ที ่ข องผู ป ระจํ า หนา ที ่แ ละ
เจาหนาที่ประจําอากาศยาน
(10) หามออกใบสําคัญแพทยใหแกตนเอง
(11) หามทําการตรวจทางการแพทย เมื่อไมมีประสบการณลาสุดในการทําหนาที่ตามที่ผูอํานวยการกําหนด
(12) ปฏิบัติตามหนาที่และขอหามอื่นตามที่ผูอํานวยการกําหนด
การพิจารณาพักใช เพิกถอน หรือไมตออายุการแตงตั้งใหเปนนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจ
อาวุโส
ผูอํานวยการอาจพิจารณาพักใช เพิกถอน หรือไมตออายุการแตงตั้งใหเปนนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทย
ผูตรวจอาวุโส เมื่อปรากฏขอเท็จจริงวาผูไดรับการแตงตั้งขาดคุณสมบัติ ตามขอ 2.5 หรือฝาฝนไมปฏิบัติตาม
หนาที่หรือขอหามตามที่กําหนดไวใน ขอ 2.9
การแตงตั้งนายแพทยผูตรวจสอบ (Medical Assessor)
ใหผูอํานวยการแตงตั้งนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูต รวจอาวุโสที่ดํารงความรูและประสบการณ
ดานการบินอยูเสมอเปนนายแพทยผูตรวจสอบ (Medical Assessor) พรอมออกใบสําคัญการแตงตั้งและบัตร
ประจําตัวนายแพทยผูตรวจสอบ ใหผูไดรับแตงตั้งเปนนายแพทยผูตรวจสอบอยูกอนวันที่ระเบียบนี้มีผลใชบังคับ
เปนนายแพทยผูตรวจสอบ
นายแพทยผูตรวจสอบมีหนาที่ดังตอไปนี้
ใหนายแพทยผูตรวจสอบทําหนาที่ตรวจสอบรายงานผลการตรวจสุขภาพ (Medical Examination Report) ที่
นายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสสงใหกองเวชศาสตรการบินวามีความถูกตองครบถวนและเปนไป
ตามมาตรฐานทางการแพทย รวมทั้งตรวจสอบการฝาฝน หรือไมปฏิบัติตามหนาที่และขอหามของนายแพทย

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 2-4


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
นายแพทยผูตรวจ, นายแพทยผูตรวจอาวุโส, นายแพทยผูตรวจสอบ
ผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน ตามที่
กําหนดไวใน ขอ 2.9 หรือ ขอ 3.9 แลวแตกรณี
หากมีขอเท็จจริงปรากฏแกนายแพทยผูตรวจสอบวานายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส ศูนยเวชศาสตร
การบินพลเรือน หรือสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน ฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามหนาที่และขอหามตามที่
กําหนดไวใน ขอ 2.9 หรือ ขอ 3.9 แลวแตกรณี ใหร ายงานผลการตรวจสอบพรอมความเห็น เปนลายลักษณ
อักษรมายังสํานักงาน

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 2-5


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน และสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน

3. ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน และสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน
กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ ที่ใชอางอิง
 พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 หมวด 5 ผูประจําหนาที่

 ขอบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือน ฉบับที่ 89 วาดวยคุณสมบัติของผูขออนุญาตเปนผูป ระจํา

หนาที่ ประกาศ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ พ.ศ. 2556


 ระเบียบสํานักงานการบิน พลเรือนแหงประเทศไทย วาดวยนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโ ส

ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน และสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน พ.ศ. 2560 ใหไว ณ วันที่ 4 สิงหาคม


พ.ศ. 2560
บทนํา
เพื่อใหการตรวจเพื่อออกหรือตออายุใบสําคัญแพทยใหแกผูขออนุญาตเปนผูประจําหนาที่ ดําเนินการโดย
นายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสที่มีคุณสมบัติตามที่ผูอํานวยการกําหนด และเพื่อใหผูประจําหนาที่
ซึ่งพนักงานเจาหนาที่เห็นวาหยอนคุณสมบัติเกี่ยวกับสุขภาพใหรับการทดสอบโดยการตรวจทางการแพทย และ
ผูป ระจําหนาที่ในอากาศยานที่เจ็บปวยหรือบาดเจ็บ เปน ระยะเวลาตั้งแต 7 วันขึ้นไป จะปฏิบัติหนาที่ตอไปได
เมื่อนายแพทยที่พนักงานเจาหนาที่กําหนดจะไดตรวจและออกใบรับ รองวา ผูป ระจํา หนา ที่นั้น ไดห ายจากการ
เจ็บปวยหรือบาดเจ็บและพนักงานเจาหนาที่ไดอนุญาตใหผูประจําหนาที่นั้นปฏิบัติหนาที่ตอไป
วัตถุประสงค
เพื่ อใหการบริ ห ารระบบงานด า นเวชศาสตรการบิน พลเรือนเปนไปโดยมีร ะเบียบ และอยูในมาตรฐาน
เดียวกัน ผูอํานวยการจึงไดแตงตั้งใหมีศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน และสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน ซึ่ง
มีคุณสมบัติตามที่ผูอํานวยการกําหนด ตามระเบียบสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย วาดวยนายแพทย
ผูตรวจดานเวชศาสตรการบินพลเรือน ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน
พ.ศ. 2560
คํานิยาม
(1) “กองเวชศาสตรการบิน” (Aeromedical Division - MD) หมายความวา กองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐาน
ผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
(2) “ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน” (Aeromedical Center - AMC) หมายความวา โรงพยาบาลหรือ
สถานพยาบาลที่มีนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสที่ผูอํานวยการแตงตั้งใหทําการตรวจเพื่อออกหรือ
ตรวจเพื่อตออายุใบสําคัญแพทยทุกชั้น และจะตองมีกิจกรรมทางแพทยเวชศาสตรการบิน ดานเวชศาสตรปองกัน
และเวชศาสตรการบินคลินิก การศึกษาและฝกอบรมนิรภัยการบินและวิจัยพัฒนา
(3) “สถานที่ ตรวจเวชศาสตร การบิ น พลเรื อน” หมายความวา โรงพยาบาลที่มีน ายแพทยผู ตรวจหรื อ
นายแพทยผูตรวจอาวุโสที่ผูอํานวยการแตงตั้งใหทําหนาที่ตรวจเพื่อตออายุใบสําคัญแพทยทุกชั้น และทําการตรวจ
เพื่อออกใบสําคัญแพทยไดเฉพาะใบสําคัญแพทยชั้นสองและชั้นสี่
(4) “ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
(5) “สํานักงาน” หมายความวา สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 3-1


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน และสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน
คุณสมบัติและการยื่นเอกสาร
โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลใดประสงคจะขอรับการแตงตั้งเปน ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนหรือสถานที่
ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน จะตองมีคุณสมบัติและยื่นคําขอตามแบบแนบทายระเบียบนี้ ตอตอสํานักงาน พรอม
ดวยเอกสารหลักฐาน ดังตอไปนี้
(1) ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน
(ก) คุณสมบัติ
1) มีสถานพยาบาลที่เหมาะสม
2) มีนายแพทยผูตรวจและนายแพทยผูตรวจอาวุโสในจํานวนที่เพียงพอ
3) มีเครื่องมือที่ใชในการตรวจดานเวชศาสตรการบินครบถวนเพียงพอในการใหบริการ
4) เปดสอนหรือฝกอบรมดานเวชศาสตรการบิน
5) ทําการศึกษา วิจัย และพัฒนาทางดานเวชศาสตรการบิน
6) ตองไมเปนผูอยูระหวางถูกพักใชใบสําคัญการแตงตั้งใหเ ปนศูนยเวชศาสตรการบินพล
เรือน หรือถูกเพิกถอนใบสําคัญการแตงตั้งใหเปนศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนมายังไมครบ 2 ป
(ข) เอกสารที่ตองยื่น
1) สํ าเนาใบอนุ ญาตให ประกอบกิ จการสถานพยาบาลหรื อสํ าเนาใบอนุ ญาตให ดํ าเนิ นการ
สถานพยาบาล
2) สําเนาใบสําคัญการแตงตั้งเปนนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสของหัวหนา
ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน
3) รายชื่อนายแพทยผูตรวจและนายแพทยผูตรวจอาวุโสประจําที่ปฏิบัติงานอยู
4) รายการและจํานวนเครื่องมือที่ใชในการตรวจดานเวชศาสตรการบิน
5) หลักสูตรดานเวชศาสตรการบินที่เปดสอนหรือฝกอบรม
6) เอกสารแสดงการศึกษา วิจัย และพัฒนาดานเวชศาสตรการบิน
7) แผนผังพรอมภาพถายสวนตาง ๆ ของสถานที่ทําการ
8) เอกสารอื่นตามที่ผูอํานวยการกําหนด
(2) สถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน
(ก) คุณสมบัติ
1) มีสถานพยาบาลที่เหมาะสม
2) มีนายแพทยผูตรวจและนายแพทยผูตรวจอาวุโสในจํานวนที่เพียงพอ
3) มีเครื่องมือที่ใชในการตรวจดานเวชศาสตรการบินครบถวนเพียงพอในการใหบริการ
4) ตองไมเปนผูอยูระหวางถูกพักใชการแตงตั้งใหเปนสถานที่ตรวจเวชศาสตร การบินพล
เรือนหรือถูกเพิกถอนการแตงตั้งใหเปนสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือนมายังไมครบ 2 ป
(ข) เอกสารที่ตองยื่น
1) สํ า เนาใบอนุ ญ าตให ป ระกอบกิ จ การสถานพยาบาลหรื อ ใบอนุ ญ าตให ดํ า เนิ น การ
สถานพยาบาล
2) สําเนาใบสําคัญการแตงตั้งเปนนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสของหัวหนา
สถานที่เวชศาสตรการบินพลเรือน
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 3-2
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน และสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน
3) รายชื่อนายแพทยผูตรวจและนายแพทยผูตรวจอาวุโสประจําที่ปฏิบัติงานอยู
4) รายการและจํานวนเครื่องมือที่ใชในการตรวจดานเวชศาสตรการบิน
5) แผนผังพรอมภาพถายสวนตาง ๆ ของสถานที่ทําการ
6) เอกสารอื่นตามที่ผูอํานวยการกําหนด
ระยะเวลาการประกาศแตงตั้ง
ผูอํานวยการจะประกาศแตงตั้งศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรื อน
โดยมีวาระคราวละ 3 ป
การขอรับการแตงตั้งตอ
ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือนประสงคจะขอรับการแตงตั้งตอ ให
ยื่นคําขอตอสํานักงาน กอนครบกําหนดอายุในประกาศแตงตั้งไมนอยกวา 90 วัน สําหรับศูนยเวชศาสตรการบินพล
เรือน และสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือนใหแนบเอกสารแสดงการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติตาม ขอ 3.5 (1)
หรือ 3.5 (2) แลวแตกรณี (ถามี) โดยละเอียด
ผูอํานวยการจะออกใบสําคัญการแตงตั้ง ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพล
เรือน ใหแกผูไดรับการแตงตั้ง
ใหกองเวชศาสตรการบินจัดทําบัญชีรายชื่อศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพล
เรือน พรอมทั้งวันที่ไดรับการแตงตั้งและวันครบกําหนดอายุการแตงตั้ง เพื่อใหบุคคลทั่วไปทราบ
การจัดทําบัญชีรายชื่อศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน
ใหกองเวชศาสตรการบินจัดทําบัญชีรายชื่อรายชื่อศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและสถานที่ตรวจเวช
ศาสตรการบินพลเรือนพรอมทั้งวันที่ไดรับการแตงตั้ง เพื่อใหบุคคลทั่วไปทราบอยางนอยปละครั้ง

ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือนมีหนาที่และขอหาม
ดังตอไปนี้
(1) ควบคุมดูแลใหนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสปฏิบัติตามหนาที่หรือ ขอหามตามที่กําหนด
ไวในขอ 2.9
(2) กําหนดมาตรการและวิธีการรักษาความลับของขอมูลและเอกสารตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับผูขอรับการ
ตรวจสุขภาพ เชน บันทึกการตรวจสุขภาพ รายงานผลการตรวจสุขภาพ (Medical Examination Report) โดย
จัดเก็บรักษาขอมูลและเอกสารไวในที่ปลอดภัย และจํากัดการเขาถึงขอมูลและเอกสารไวสําหรับเจาหนาที่ที่ไดรับ
มอบหมายเทานั้น
(3) แตงตั้งนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสคนหนึ่งเปนผูรับผิดชอบในการตรวจสอบความ
ถูกตองของรายงานผลการตรวจสุขภาพ (Medical Examination Report) ของนายแพทยผูต รวจหรือนายแพทย
ผูตรวจอาวุโสกอนสงรายงานผลการตรวจสุขภาพ (Medical Examination Report) ใหกองเวชศาสตรการบินพรอม
ทั้งแจงชื่อนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสที่แตงตั้งใหก องเวชศาสตรก ารบิน ทราบ ในกรณีที่ศูนย
เวชศาสตรการบินพลเรือนหรือสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือนมีนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจ
อาวุโสในสังกัดตั้งแตสองคนขึ้นไป

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 3-3


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน และสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน
(4) จั ดให นายแพทย ผู ตรวจหรื อนายแพทย ผู ตรวจอาวุ โสในสั งกั ดเข ารั บการฝ กอบรมหลั กสู ตรทบทวน
(Refresher Training) ที่จัดโดยกองเวชศาสตรการบินหรือโดยหนวยงานที่ไดรับการรับรองจากผูอํานวยการ
(5) ปฏิบัติตามหนาที่และขอหามอื่นตามที่ผูอํานวยการกําหนด
การพิจารณาพักใช เพิกถอน หรือไมตออายุ
การพิจารณาพักใช เพิกถอน หรือไมตออายุการแตงตั้งใหเปนศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนหรือสถานที่
ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน เมื่อปรากฏขอเท็จจริงวาผูไดรับการแตงตั้งขาดคุณสมบัติตาม ขอ 3.5 หรือฝาฝน
ไมปฏิบัติตามหนาที่และขอหามตามที่กําหนดไวใน ขอ 3.9

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 3-4


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
การขอและการออกใบสําคัญแพทย (Application and Issuance of Medical Certificate)

4. การขอและการออกใบสําคัญแพทย (Application and Issuance of Medical Certificate)


กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ ที่ใชอางอิง
 พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 หมวด 5 ผูประจําหนาที่

 กฎกระทรวง วาดวยใบอนุญาตผูประจําหนาที่ พ.ศ. 2550 ใหไว ณ วันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2550

 กฎกระทรวง วาดวยใบอนุญาตผูประจําหนาที่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 ใหไว ณ วันที่ 2 มีนาคม 2559

 ขอบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือน ฉบับที่ 89 วาดวยคุณสมบัติของผูขออนุญาตเปนผูป ระจํา

หนาที่ ประกาศ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ พ.ศ. 2556


 ประกาศสํ า นั ก งานการบิ น พลเรื อ นแห ง ประเทศไทย เรื่ อ ง การขอและการออกใบสํ า คั ญ แพทย พ.ศ.

2560 ประกาศ ณ วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2560


 ประกาศสํานักงานการบิน พลเรือนแหงประเทศไทย เรื่อง การขอและการออกใบสําคัญแพทย (ฉบับ ที่

2) พ.ศ. 2562 ประกาศ ณ วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2562


 คําสั่งสํานักงานการบิน พลเรือนแหงประเทศไทย ที่ 192/2563 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการแพทยเวช

ศาสตรการบินผูทรงคุณวุฒิ (Board of Aeromedical Specialist: BAS)


บทนํา
เพื่อใหการขอและการออกใบสําคัญแพทยมีหลักเกณฑไปในแนวทางเดียวกันและสอดคลองกับมาตรฐาน
ทางการแพทย อาศัยอํานาจตามความใน ขอ 4 แหงขอบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือน ฉบับที่ 89 วา
ด ว ยคุ ณสมบั ติ ของผู ป ระจํ า หน า ที่ ผู อํา นวยการสํานักงานการบิน พลเรือนแห งประเทศไทย จึงออกประกาศ
สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย เรื่อง การขอและการออกใบสําคัญแพทย พ.ศ. 2560 ประกาศ ณ วันที่
15 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้
บทนิยาม
(1) “ใบสํ า คั ญ แพทย ” (Medical Certificate) หมายความวา ใบสําคัญ ที่รับ รองวา มีรา งกายแข็ ง แรง
สมบูรณตามมาตรฐานทางการแพทยและมีกําหนดระยะเวลาการรับรอง
(2) “มาตรฐานทางการแพทย ” (Medical Standard or Medical Assessment) หมายความว า
มาตรฐานทางการแพทย ตามประกาศสํ านั กงานการบิน พลเรื อนแหงประเทศไทย เรื่อง มาตรฐานในการออก
ใบสําคัญแพทยแตละชั้น
(3) “ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน” (Aeromedical Center - AMC) หมายความวา โรงพยาบาลหรือ
สถานพยาบาลที่ มีนายแพทย ผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสทําการตรวจเพื่อออกหรือตรวจเพื่อตออายุ
ใบสําคัญแพทยทุกชั้นและจะตองมีกิจกรรมทางแพทยเวชศาสตรการบิน ดานเวชศาสตรปองกัน และเวชศาสตร
การบินคลินิก การศึกษาและฝกอบรม นิรภัยการบินและวิจัยพัฒนา
(4) “สถานที่ตรวจเวชศาสตร การบิน พลเรือน” หมายความวา โรงพยาบาลที่มีนายแพทยผูตรวจหรื อ
นายแพทยผูตรวจอาวุโสทําหนาที่เพื่อตออายุใบสําคัญแพทยทุกชั้นและทําการตรวจเพื่อออกใบสําคัญแพทย ได
เฉพาะชั้นสองและชั้นสี่
(5) “นายแพทยผูตรวจสอบ” (Medical Assessor) หมายความวา นายแพทยเวชศาสตรการบินที่ดํารง
ความรูและประสบการณดานเวชศาสตรการบินอยูเสมอ ซึ่งผูอํานวยการแตงตั้งใหทําหนาที่ตรวจสอบรายงานผล
การตรวจสุขภาพ (Medical Examination Report) ของนายแพทยผูตรวจและนายแพทยผูตรวจอาวุโสที่สงให
กองเวชศาสตรการบิน
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 4-1
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
การขอและการออกใบสําคัญแพทย (Application and Issuance of Medical Certificate)
(6) “นายแพทยผูตรวจ” (Authorized Medical Examiner – AME) หมายความวา นายแพทยเวชศาสตร
การบินที่ผูอํานวยการแตงตั้งใหมีสิทธิตรวจทางแพทยแกผูขอตอใบสําคัญแพทยทุกชั้น
(7) “นายแพทย ผู ต รวจอาวุ โ ส” (Senior Authorized Medical Examiner – SAME) หมายความว า
นายแพทยเวชศาสตรการบินที่ผูอํานวยการแตงตั้งใหมีสิทธิตรวจทางแพทยแกผูขอรับหรือตออายุใบสําคัญแพทย
ทุกชั้น
(8) “นายแพทยผูเชี่ยวชาญ” (Medical Specialist) หมายความวา นายแพทยที่มีความเชี่ยวชาญทาง
แพทยในสาขาตาง ๆ ที่หัวหนากองเวชศาสตรการบินแตงตั้งใหเปนที่ปรึกษาปญหาทางการแพทยเฉพาะทางใหแก
กองเวชศาสตรการบิน นายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส หรือคณะกรรมการแพทยเวชศาสตรการบิน
ผูทรงคุณวุฒิ
(9) “ผูเชี่ยวชาญดานการบิน” (Aviation Specialist) หมายความวา บุคคลที่มีความรูความเชี่ย วชาญ
ทางดานการบินที่หัวหนากองเวชศาสตรการบินแตงตั้งใหเปนที่ปรึกษาปญหาทางดานการบินใหแกกองเวชศาสตร
การบิน นายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส หรือคณะกรรมการแพทยเวชศาสตรการบินผูทรงคุณวุฒิ
(10) “คณะกรรมการแพทยเวชศาสตรการบินผูทรงคุณวุฒิ” (Board of Aeromedical Specialist – BAS)
หมายความวา คณะนายแพทยที่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณสูงทางดานเวชศาสตรการบินที่ผูอํานวยการ
แตงตั้ง
(11) “ผูรองขอ” (Applicant) หมายความวา ผูประจําหนาที่ที่มีความประสงคที่จะขอรับการตรวจเพื่อรับ
หรือตออายุใบสําคัญแพทยชั้นตาง ๆ
(12) “ขอสรุปทางการแพทย” (Accredited Medical Conclusion) หมายความวา ขอสรุปทางการแพทย
ที่ไดพิจารณาโดยคณะกรรมการแพทยเวชศาสตรการบินผูทรงคุณวุฒิ และไดลงมติโดยเสียงขางมากไมต่ํากวาสาม
ในสี่ของจํานวนเสียงทั้งหมด
(13) “เงื่อนไขและขอจํากัด” (Condition & Limitation) หมายความวา ขอความที่ประกอบในใบสําคัญ
แพทยเปนขอกําหนดที่ตองปฏิบัติหรือหามปฏิบัติระหวางการปฏิบัติหนาที่ของผูประจําหนาที่เนื่องจากเหตุผล
ทางการแพทย
(14) “สารที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท” (Psychoactive Substance) หมายความวา แอลกอฮอล ฝน กัญชา
ยากดประสาทและยานอนหลับ โคเคน สารกระตุนดานจิตประสาทตัวอื่น สารที่ทําใหเกิดภาพหลอนและสาร
ระเหย แตไมรวมถึงกาแฟและบุหรี่
(15) “สํานักงาน” หมายความวา สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
(16) “ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
(17) “กองเวชศาสตรการบิน” (Aeromedical Division - MD) หมายความวา หนวยงานในสังกัดสํานักงาน
การบินพลเรือนแหงประเทศไทย โดยมีหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานเวชศาสตรการบินพลเรือน
หามมิใหบุคคลใดปฏิบัติหนาที่ในฐานะผูประจําหนาที่
นักบินและพนักงานควบคุมจราจรทางอากาศ หรือผูประจําหนาที่อื่นที่ผูอํานวยการแตงตั้งเพิ่มเติม เวนแต
มี ใบสํ าคั ญแพทย ที่ อ อกหรื อ ต อโดยนายแพทยผู ตรวจดา นเวชศาสตร ก ารบิ น พลเรื อ นที่ ไ ดรับ การแต งตั้ ง จาก
สํานักงาน
มาตรฐานในการพิจารณาออกหรือตอใบสําคัญแพทยแตละประเภทและระยะเวลาการตรวจสุขภาพ
ใหเปนไปตามประกาศที่ผูอํานวยการกําหนด โดยมีรายละเอียดการออกใหสําหรับผูถือหรือผูขอใบอนุญาต
เปนผูประจําหนาที่ และมีระยะเวลาในการตรวจสุขภาพ ดังนี้

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 4-2


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
การขอและการออกใบสําคัญแพทย (Application and Issuance of Medical Certificate)
ก. ใบสําคัญแพทย ชั้นหนึ่ง (Class 1 Medical Certificate) ออกใหสําหรับผูถือหรือ
ผูขอใบอนุญาตเปนผูประจําหนาที่ในตําแหนง และมีระยะเวลาในการตรวจสุขภาพทุก 12 เดือน ดังนี้
(1) นักบินพาณิชยเอกเครื่องบิน
(2) นักบินพาณิชยเอกเฮลิคอปเตอร
(3) นักบินพาณิชยเอกอากาศยานขึ้นลงทางดิ่ง
(4) นักบินผูชวยเครื่องบิน
(5) นักบินพาณิชยตรีเครื่องบิน
(6) นักบินพาณิชยตรีเฮลิคอปเตอร
(7) นักบินพาณิชยตรีอากาศยานขึ้นลงทางดิ่ง
(8) นักบินพาณิชยนาวาอากาศ
(9) ตนหน
(10) นายชางประจําอากาศยาน
ในการณีที่ผูประจําหนาที่ตาม (1) – (8) ซึ่งจะทําหนาที่บินขนสงทางอากาศเพื่อการ
พาณิชย มีอายุครบ 60 ปบริบูรณ ใหไปตรวจสุขภาพทุก 6 เดือน
ในการณี ที่ผู ประจําหนาที่ตาม (1) – (3) และ (5) – (8) ซึ่งจะทําหนาที่บินขนส งทาง
อากาศเพื่อการพาณิชยและไดรับการรับรองจากสํานักงาน ใหใชนักบินเพียงคนเดียว มีอายุครบ 40 ปบริบูรณ
ใหไปตรวจสุขภาพทุก 6 เดือน
ข. ใบสําคัญแพทย ชั้นสอง (Class 2 Medical Certificate) ออกใหสําหรับผูถือหรือผู
ขอใบอนุญาตเปนผูประจําหนาที่ในตําแหนง และมีระยะเวลาในการตรวจสุขภาพทุก 24 เดือน ในกรณีที่มีอายุครบ
50 ปบริบูรณ ใหไปตรวจสุขภาพทุก 12 เดือน
(1) นักบินสวนบุคคลเครื่องบิน
(2) นักบินสวนบุคคลเฮลิคอปเตอร
(3) นักบินสวนบุคคลอากาศยานขึ้นลงทางดิ่ง
(4) นักบินสวนบุคคลนาวาอากาศ
(5) นักบินเครื่องรอน
(6) นักบินบัลลูน
(7) นักบินศิษยการบิน
ค. ใบสําคัญแพทย ชั้นสาม (Class 3 Medical Certificate) ออกใหสําหรับผูถือหรือ
ผูขอใบอนุญาตเปนผูประจําหนาที่ในตําแหนงพนักงานควบคุมการจราจรทางอากาศและตําแหนงศิษยพนักงาน
ควบคุ มการจราจรทางอากาศ และมี ร ะยะเวลาในการตรวจสุขภาพทุก 24 เดือน ในการณีที่มีอายุครบ 50 ป
บริบูรณ ใหไปตรวจสุขภาพทุก 12 เดือน
ง. ใบสําคัญแพทย ชั้นสี่ (Class 4 Medical Certificate) ออกใหสําหรับผูถือหรือผูขอ
ใบอนุญาตเปนผูประจําหนาที่ในตําแหนงนักบินอากาศยานเบาพิเศษและตําแหนงนักบินศิษยการบินของอากาศ
ยานเบาพิเศษ และมีระยะเวลาในการตรวจสุขภาพทุก 24 เดือน ในการณีที่มีอายุครบ 50 ปบริบูรณ ใหไปตรวจ
สุขภาพทุก 12 เดือน

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 4-3


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
การขอและการออกใบสําคัญแพทย (Application and Issuance of Medical Certificate)
ในกรณีที่ผูมีใบอนุญาตผูประจําหนาที่ไมไปรับการตรวจสุขภาพเพื่อตอใบสําคัญแพทยตามระยะเวลา
ที่กําหนดไวในขอ 4.5
หรื อ ไปรั บ การตรวจสุ ข ภาพแล ว แต ผ ลการตรวจสุ ข ภาพปรากฏว าสุ ข ภาพร างกายไม ส มบู ร ณ และ
นายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสไมออกใบสําคัญแพทยให ใหใบอนุญาตผูประจําหนาที่เปนอันใช
ไมไดชั่วคราวจนกวาจะไปรับการตรวจสุขภาพ และผลการตรวจสุขภาพปรากฏวามีสุขภาพรางกายสมบูรณ และ
นายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสออกใบสําคัญแพทยใหได
ในกรณีที่ผูมีใบอนุญาตผูประจําหนาที่ดังกลาว มีอายุครบ ดังตอไปนี้
สี่สิบปบริบูรณ หาสิบปบริบูรณ หรือหกสิบปบริบูรณ แลวแตกรณี ใหผูมีใบอนุญาตผูประจําหนาที่ดังกลาว
ไปรับการตรวจสุขภาพครั้งใหมตามระยะเวลาที่กําหนดไว สําหรับผูมีใบอนุญาตผูประจําหนาที่ในตําแหนงเดียวกัน
ซึ่งมีอายุเกินสี่สิบปบริบูรณ หาสิบปบริบรู ณ หรือหกสิบปบริบูรณตามขอ 4.5 แลวแตกรณี และใหนําขอ 4.6 มาใช
บังคับโดยอนุโลม
การยื่นขอใบสําคัญแพทย
การขอใบสําคัญแพทย ผูใดประสงคจะขอรับหรือตออายุใบสําคัญแพทย ใหยื่นคําขอตามแบบพิมพของ
สํานักงาน ตอศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนหรือสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน
ผูรองขอตามวรรคหนึ่งตองไมเปนผูอยูระหวางถูกพักใชใบสําคัญแพทย หรือถูกเพิกถอนใบสําคัญแพทย
มายังไมครบสองป
ในกรณีที่ผูรองขอเคยมีใบสําคัญแพทยมากอน แตพนระยะเวลามีผลใชบังคับไปเกินหนึ่งปจะตองรับการ
ตรวจใหมเชนเดียวกับการตรวจครั้งแรก
การขอออกใบสําคัญแพทยครั้งแรก (Initial issuance)
จะตองดําเนินการตรวจสุขภาพโดยนายแพทยผูตรวจอาวุโส จากศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน
หรือสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน แลวแตกรณี ดังนี้
(1) ใบสําคัญแพทย ชั้น 1 จะตองออกโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน ในกรณีที่มีการรองขอ
จากนักบินศิษยการบินเพื่อขอรับใบสําคัญแพทย ชั้น 1 ใหผูรองขอแจงความประสงคเปนลายลักษณอักษรตอศูนย
เวชศาสตรการบินพลเรือน
(2) ใบสําคัญแพทย ชั้น 2 จะตองออกโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือสถานที่ตรวจเวช
ศาสตรการบินพลเรือน
(3) ใบสําคัญแพทย ชั้น 3 จะตองออกโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน
(4) ใบสําคัญแพทย ชั้น 4 จะตองออกโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือสถานที่ตรวจเวช
ศาสตรการบินพลเรือน
ในการตรวจเพื่อออกใบสําคัญแพทยในครั้งแรก ใหนายแพทยผูตรวจอาวุโสออกใบสําคัญแพทย
ฉบับใหม โดยเริ่มมีผลในวันตรวจสุขภาพ
การขอตอใบสําคัญแพทย (Renewal)
ใหผูรองขอที่ประสงคจะขอตออายุใบสําคัญแพทยยื่นคําขอตอศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนหรือ
สถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือนภายใน 30 วัน กอนใบสําคัญแพทยสิ้นอายุ

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 4-4


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
การขอและการออกใบสําคัญแพทย (Application and Issuance of Medical Certificate)
ในการตรวจเพื่อตออายุใบสําคัญแพทย
ใหนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโส ออกใบสําคัญแพทยฉบับใหมโดยใหมีผลใชบังคับ
ตอเนื่องจากใบสําคัญแพทยฉบับเดิม ทั้งนี้หากมาขอรับการตรวจหลังจากวันที่ใบสําคัญแพทยฉบับเดิมสิ้นอายุ
นายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสจะออกใบสําคัญแพทยฉบับใหมโดยใหมีผลในวันที่ตรวจ
ในการพิจารณาออกหรือตออายุใบสําคัญแพทยตามขอ 4.8.3
นายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโส อาจขอความเห็นจากนายแพทยผูเชี่ยวชาญในเรื่อง
ที่เกี่ยวของกับโรคเฉพาะทางหรื อจากผูเชี่ ยวชาญด านการบิน ในเรื่องที่เ กี่ยวข องกั บ การบิน เพื่อประกอบการ
พิจารณาของนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสแลวแตกรณีก็ได
การตรวจรางกายผูขอใบสําคัญแพทย
ในการตรวจรางกายผูรองขอจะตองรับการตรวจความสมบูรณของรางกายทั่วไป เอ็กซเรยปอด ตรวจเลือด
ตรวจปสสาวะ ตรวจหัวใจ ตรวจการไดยิน และอื่น ๆ ตามที่นายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส ศูนยเวชศาสตร
การบิ น พลเรื อ นหรื อสถานที่ ตรวจเวชศาสตร ก ารบิน พลเรื อน เห็น สมควรตามข อ กํา หนดของมาตรฐานทาง
การแพทย
การดําเนินการของนายแพทยผูตรวจ
ใหนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสทําการตรวจใหเปนไปตามรายการในใบรายงานผลการ
ตรวจสุขภาพ (Medical Examination Report) โดยนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโส แลวแตกรณี
จะออกหรือตออายุใบสําคัญแพทย เมื่อปรากฏวาผูรองขอมีสุขภาพสมบูรณตามเกณฑที่กําหนดไวในมาตรฐานทาง
การแพทยในการออกใบสําคัญแพทยแตละชั้นใหแกผูรองขอภายในเวลาสิบหาวันทําการนับแตวันตรวจสุขภาพ
เสร็จสิ้น โดยเริ่มมีผลในวันตรวจสุขภาพ
ในกรณีนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโส ไมออกหรือไมตออายุใบสําคัญแพทยใหผูร องขอ
เพราะเหตุที่มีสุขภาพหรือรางกายไมเปนไปตามมาตรฐานทางการแพทย ใหนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทย
ผูตรวจอาวุโสแจงเหตุดังกลาวใหผูรองขอทราบภายในสิบหาวันทําการนับแตวันตรวจสุขภาพเสร็จสิ้น
ในการตรวจเพื่อตออายุใบสําคัญแพทย ใหนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโส ออกใบสําคัญ
แพทยฉบับใหมโดยใหมีผลใชบังคับตอเนื่องจากใบสําคัญแพทยฉบับเดิม ทั้งนี้ หากมาขอรับการตรวจหลังจากวันที่
ใบสําคัญแพทยฉบับเดิมสิ้นอายุ นายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสจะออกใบสําคัญแพทยฉบับใหมโดย
ใหมีผลในวันที่ตรวจ
ในการพิจารณาออกหรือตออายุใบสําคัญแพทยตามวรรคหนึ่ง นายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจ
อาวุโสอาจขอความเห็นจากนายแพทยผูเชี่ยวชาญในเรื่องที่เกี่ยวของกับโรคเฉพาะทางหรือจากผูเชี่ยวชาญดานการ
บินในเรื่องที่เกี่ยวของกับการบิน เพื่อประกอบการพิจารณาของนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโส
แลวแตกรณีก็ได

การขอมีสิทธิอุทธรณ
ถานายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสไมออกหรือตออายุใบสําคัญแพทยภายในกําหนดเวลาตาม
ขอ 4.10 วรรคหนึ่ง หรือไมออกหรือไมตออายุใบสําคัญแพทยใหเพราะเหตุที่มีสุขภาพหรือรางกายไมเปนไปตาม
มาตรฐานทางการแพทยตามขอ 4.10 วรรคสอง ผูรองขอมีสิทธิอุทธรณตอกองเวชศาสตรการบินไดภายในสามสิบ

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 4-5


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
การขอและการออกใบสําคัญแพทย (Application and Issuance of Medical Certificate)
วันนับแตวันครบกําหนดเวลาตามขอ 4.10 วรรคหนึ่ง หรือวันที่ไดรับแจงผลการตรวจตามขอ 4.10 วรรคสอง แลวแต
กรณี
เมื่อกองเวชศาสตรการบินไดรับคําอุทธรณตามวรรคหนึ่งแลว ใหหัวหนากองเวชศาสตรการบินพิจารณาและ
แจงผลการพิจารณาอุทธรณใหผูรองขอทราบภายในสามสิบวันนับแตไดรับอุทธรณ ทั้งนี้ ผลการพิจารณาของ
หัวหนากองเวชศาสตรการบินใหถือเปนที่สุด
ในกรณีที่หัวหนากองเวชศาสตรการบินพิจารณาคําอุทธรณของผูรองขอแลวเห็นวาเปนเรื่องที่มีความยุงยาก
ซับซอน หรือเปนเรื่องที่อาจจะมีผลกระทบในวงกวาง หรือกรณีอื่น ๆ ที่เห็นสมควรตองพิจารณาอยางรัดกุมและ
รอบคอบ ใหหั ว หน า กองเวชศาสตร การบิ น เสนอคํ า อุ ทธรณนั้ น เขา สูก ารพิ จ ารณาของคณะกรรมการแพทย
เวชศาสตรการบินผูทรงคุณวุฒิ และใหคณะกรรมการแพทยเวชศาสตรการบินผูทรงคุณวุฒิพิจารณาคําอุทธรณ
ใหแลวเสร็จภายในสามสิบวันนับแตวันเริ่มตนพิจารณา
การกําหนดระยะเวลามีผลบังคับใชใบสําคัญแพทย
ใหนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสกําหนดระยะเวลามีผลใชบังคับใบสําคัญ แพทยไ ดต าม
ระยะเวลาที ่เ ห็น สมควรตามขอ บง ชี ้ท างการแพทยแ ละอายุข องผู ร อ งขอ ทั ้ง นี ้ต อ งไมเกิน ระยะเวลาที่ผูถือ
ใบอนุญาตผูประจําหนาที่ตองไปรับการตรวจสุขภาพตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวงวาดวยใบอนุญาตผูป ระจํา
หนาที่ (ขอ 4.5)
ในกรณีที่ผูรองขอมีสุขภาพไมเปนไปตามมาตรฐานทางการแพทย
ในกรณีที่ปรากฏขอเท็จจริงวาผูรองขอมีสุขภาพหรือรางกายไมเปนไปตามมาตรฐานทางการแพทย กองเวช
ศาสตรการบิน ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน สถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือนหรือคณะกรรมการแพทย
เวชศาสตรการบินผูทรงคุณวุฒิ แลวแตกรณี อาจพิจารณาผอนผันโดยกําหนดเงื่อนไขและขอจํากัดในใบสําคัญแพทย
ทั้งนี้ ตองไมกระทบตอความปลอดภัยในการบิน

ใบสําคัญแพทยเปนอันใชไมไดชั่วคราวในกรณีดังตอไปนี้
(1) การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลกอนปฏิบัติหนาที่แปดชั่วโมง การรับยาดมสลบกอนปฏิบัติหนาที่ยี่สิบ
สี่ชั่วโมง และการฉีดยาเขาไขสันหลังรวมทั้งการเจาะน้ําไขสันหลังกอนปฏิบัติหนาที่สี่สิบแปดชั่วโมง หรือเมื่อผูถือ
ใบสําคัญแพทยอยูภายใตฤทธิ์ของสารที่ออกฤทธิ์ตอจิตประสาท
(2) ผูถือใบสําคัญแพทยชั้นหนึ่ง ชั้นสองหรือชั้นสี่ ทําการดําน้ํา (Scuba Diving) ภายในเวลาไมเกินยี่สิบสี่
ชั่วโมงกอนปฏิบัติหนาที่
(3) เมื่อผูถือใบอนุญาตนักบินประสบอุบัติเหตุทางการบิน
(4) ระหวางที่ผูถือใบสําคัญแพทยมีอาการเจ็บปวยหรือไดรับบาดเจ็บซึ่งอาจทําใหเสื่อมสมรรถภาพในการ
ปฏิบัติหนาที่ หรือเขารับการรักษาในโรงพยาบาลมีระยะเวลาตั้งแต 7 วันขึ้นไป
(5) เมื่อผูถือใบสําคัญแพทยไดรับการผาตัดใหญ
(6) เมื่อผูถือใบสําคัญแพทยตั้งครรภ ตามระยะเวลาที่กําหนดไวในมาตรฐานทางการแพทยที่ใชในการ
ตรวจเพื่อออกใบสําคัญแพทย
กรณีตาม (1) และ (2) ใบสําคัญแพทยจะใชไดเมื่อพนระยะเวลาตามที่กําหนดไว และกรณีตาม (3) ถึง (6)
ใบสําคัญแพทยจะใชไดเมื่อไดใหนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสทําการตรวจและออกใบรับรองวา
ผูประจําหนาที่นั้นหายจากการเจ็บปวยหรือบาดเจ็บหรือมีสุขภาพรางกายสมบูรณและสามารถปฏิบัติหนาที่ได

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 4-6


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
การขอและการออกใบสําคัญแพทย (Application and Issuance of Medical Certificate)
ใหผูถือใบสําคัญแพทยหรือตนสังกัดแจงใหสํานักงานและศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน ทราบถึงการประสบ
อุบัติเหตุทางการบิน การเจ็บปวยหรือบาดเจ็บหรือการตั้งครรภตาม (3) (4) (5) หรือ (6) โดยไมชักชา หากไมปฏิบัติ
ตามจะมีผลตอการพิจารณาออกใบสําคัญแพทย

ผูอํานวยการอาจพิจารณาสั่งพักใชใบสําคัญแพทยในกรณีดังตอไปนี้
(1) เมื่ อข อเท็ จ จริ ง ปรากฏว า ผู ถือใบสําคัญ แพทยจ งใจปกป ดหรื อ แจง ข อมูล อั น เป น เท็จ ในการยื่ น ขอ
ใบสําคัญแพทย
(2) เมื่อผูถือใบสําคัญแพทยจงใจปกปดหรือไมแจงใหสํานักงานทราบถึงการประสบอุบัติเหตุทางการบิน การ
เจ็บปวยหรือบาดเจ็บตามขอ 4.14 (3) (4) และ (5)
(3) เมื่อผูถือใบสําคัญแพทยฝาฝนเงื่อนไขและขอจํากัดที่กําหนดไวในใบสําคัญแพทย หรือขอกําหนดอื่นใดของ
นายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสที่ออกใบสําคัญแพทยให

ผูอํานวยการอาจพิจารณาสั่งเพิกถอนใบสําคัญแพทยในกรณีดังตอไปนี้
(1) ผูถือใบสําคัญแพทยเคยถูกพักใชใบสําคัญแพทยมาแลวสองครั้ง และมีเหตุที่จะตองถูกพักใชใบสําคัญ
แพทยอีก
(2) มีการเจ็บปวยทางรางกายหรือจิตใจจนไมสามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางถาวร
การทําการตรวจและออกใบสําคัญแพทยแทนใหได
ในกรณีที่มีความจําเปนหรือมีเหตุผลอันควรซึ่งไมสามารถใหนายแพทยผูตรวจหรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสทํา
การตรวจและออกใบสําคัญแพทยใหได ผูถือใบสําคัญแพทยอาจใหนายแพทยดังตอไปนี้ทําการตรวจและออก
ใบสําคัญแพทยใหได
(1) นายแพทยเวชศาสตรการบินที่ไดรับการแตงตั้งจากหนวยงานผูมีอํานาจของรัฐภาคีแหงอนุสัญญาวาดวย
การบินพลเรือนระหวางประเทศ ซึ่งทําขึ้นที่เมืองชิคาโก เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2489 หรือ
(2) นายแพทยเวชศาสตรการบินของรัฐที่มีความตกลงกับประเทศไทยในการยอมรับใบสําคัญแพทยซึ่งกันและกัน
ผู ถือใบสํ า คั ญ แพทย จ ะต อ งส งผลการตรวจรา งกายของนายแพทย ตาม (1) หรื อ (2) พรอมดว ยสําเนา
ใบสําคัญแพทยและเหตุผลความจําเปน มายังกองเวชศาสตรการบินภายในสามสิบวัน นับจากวันที่ไดรับการตรวจ
ตามวรรคหนึ่ ง เพื่ อ พิ จ ารณาความถู ก ต อ งเหมาะสม ทั้ ง นี้ สํ า นั ก งานจะผอ นผัน ใหไ มเ กิน หนึ ่ง ครั ้ง ในรอบ
ระยะเวลาของการตรวจรางกายเพื่อขอรับใบสําคัญแพทย หากกองเวชศาสตรการบินพิจารณาแลวเห็นวาไมมี
ความจําเปนหรือเหตุผลอันควร ใหถือวาใบสําคัญแพทยของผูนั้นเปนอันใชไมได

ในกรณีที่ใบสําคัญแพทยสูญหาย ถูกทําลาย หรือชํารุด


ในกรณีที่ใบสําคัญแพทยสูญหาย ถูกทําลาย หรือชํารุดในสาระสําคัญ ใหผูถือใบสําคัญแพทยยื่นขอรับใบแทนตอ
ศูน ยเ วชศาสตรการบินพลเรือนหรือสถานที่ตรวจเวชศาสตรการบินพลเรือน ที่ออกใบสําคัญแพทยนั้น พรอม
ดวยเอกสารและหลักฐานการรับแจงความหรือใบสําคัญแพทยฉบับเดิมที่ถูกทําลายหรือชํารุด
การออกใบแทนใบสําคัญแพทยตามวรรคหนึ่ง ใหกําหนดอายุและขอความ รวมทั้งเงื่อนไขและขอจํากัด ตาม
ใบสําคัญแพทยฉบับเดิม โดยใหเขียนหรือประทับคําวา “ใบแทน” ดวยหมึกสีแดงไวดานหนาของใบสําคัญแพทยนั้น
และใหระบุวัน เดือน ปที่ออกใบแทน พรอมทั้งลงลายมือชื่อผูรับรองกํากับไว

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 4-7


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
การขอและการออกใบสําคัญแพทย (Application and Issuance of Medical Certificate)
คณะกรรมการแพทยเวชศาสตรการบินผูทรงคุณวุฒิ (Board of Aeromedical Specialist - BAS)
ใหมีคณะกรรมการแพทยเวชศาสตรการบินผูทรงคุณวุฒิคณะหนึ่ง ประกอบดวยนายแพทยเวชศาสตรการบิน
ที่ มีความเชี่ ยวชาญไม น อยกว าห าคนที่ ผู อํานวยการแต งตั้ ง และใหหัวหน ากองเวชศาสตร การบิ นเป น ประธาน
กรรมการ โดยมีอํานาจหนาที่ ดังตอไปนี้
(1) รับปรึกษาและใหคําแนะนําแกผูอํานวยการ ในการพิจารณาพักใช หรือเพิกถอนใบสําคัญแพทยตามขอ
4.11 และขอ 4.12
(2) พิจารณาและตัดสินเมื่อมีปญหาทางการแพทยในการออก ระงับ วางเงื่อนไขและขอจํากัด ในการออก
ใบสําคัญแพทย รวมตลอดทั้งการพิจารณาและกําหนดขอสรุปทางการแพทย ทั้งนี้ ผลการพิจารณาตัดสินและ
ขอสรุปทางการแพทยของคณะกรรมการแพทยเวชศาสตรการบินผูทรงคุณวุฒิ ใหถือเปนที่สุด
(3) พิจารณาคําอุทธรณของผูรองขอเมื่อไดรับเรื่องจากหัวหนากองเวชศาสตรการบิน ตามขอ 4.7 วรรค
สาม ทั้งนี้ ผลการพิจารณาอุทธรณของคณะกรรมการแพทยเวชศาสตรการบินผูทรงคุณวุฒิใหถือเปนที่สุด

รายชื่อคณะกรรมการแพทยเวชศาสตรการบินผูทรงคุณวุฒิ
1. พล.อ.ท. มานพ จิตตจรัส ประธานกรรมการ
2. ผูอํานวยการสถาบันเวชศาสตรการบินพลเรือน กองทัพอากาศ กรรมการ
3. พล.อ.ต. สุทัสพันธุ ขจรบุญ กรรมการ
4. พล.อ.ท. จงสวัสดิ์ ภูติรัตน กรรมการ
5. พล.อ.ต. ทวีศักดิ์ ขันติรัตน กรรมการ
6. พ.อ. โชคชัย ขวัญพิชิต กรรมการ
7. น.อ. ขจิตร อุษณียสวัสดิ์ชัย ร.น. กรรมการ
8. น.อ. กมลศักดิ์ ตางใจ ร.น. กรรมการ
9. น.อ. ศุภชัย สินธวาลัย กรรมการการ
10. หัวหนากองเวชศาสตรการบิน กรรมการและ
ผูชวยเลขานุการ
11. พนักงานกองเวชศาสตรการบิน ผูชวยเลขานุการ

ทั้งนี้ ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป

สั่ง ณ วันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2563


พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 หมวด 5 ผูประจําหนาที่ ที่เกี่ยวของกับเวชศาสตรการบิน
มาตรา 50/7
ผู ป ระจํ า หน า ที่ ที่ ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ใ นหรื อ เกี่ ย วกั บ อากาศยานต า งประเทศที่ ทํ า การบิ น อยู ใ น
ราชอาณาจักร ตองมีใบอนุญาตผูประจําหนาที่ที่ออกใหหรือรับรองตามกฎหมายของประเทศผูจดทะเบียนอากาศ
ยานนั้นซึ่งเปนรัฐภาคีแหงอนุสัญญาหรือเปนประเทศที่ไดทําความตกลงกับประเทศไทย ทั้งนี้ การออกใบอนุญาตผู
ประจําหนาที่ของประเทศดังกลาวตองมีมาตรฐานไมต่ํากวามาตรฐานที่กําหนดไวในภาคผนวก หรือมีใบอนุญาต
ผูประจําหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 4-8
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
การขอและการออกใบสําคัญแพทย (Application and Issuance of Medical Certificate)
เพื่อประโยชนในการบังคับการตามพระราชบัญญัตินี้ ใหถือวาใบอนุญาตผูประจําหนาที่ที่ปฏิบัติ
หนาที่ตามวรรคหนึ่งที่ออกใหหรือรับรองตามกฎหมายของประเทศผูจดทะเบียนอากาศยานเปนใบอนุญาตตาม
พระราชบัญญัตินี้ หากปรากฏวาการออกหรือการรับรองใบอนุญาตผูประจําหนาที่ของประเทศที่เปนรัฐภาคีแหง
อนุสัญญาประเทศใดไมเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนดไวในภาคผนวกในเรื่องใด ใหผูอํานวยการมีอํานาจประกาศไม
ยอมรับหรือยอมรับโดยมีเงื่อนไขสําหรับใบอนุญาตผูประจําหนาที่ที่ออกโดยประเทศนั้นในเรื่องนั้นได และในกรณีที่
ประเทศที่ทําความตกลงกับประเทศไทย ความตกลงดังกลาวจะตองมีขอกําหนดวา การออกใบอนุญาตผูประจํา
หนาที่ของประเทศคูสัญญาจะตองเปนไปตามมาตรฐานและเงื่อนไขที่อยูในกรอบของอนุสัญญาดวย
มาตรา 50/8
ผู ป ระจํ า หน า ที่ ที่ ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ใ นหรื อ เกี่ ย วกั บ อากาศยานต า งประเทศที่ ทํ า การบิ น อยู ใ น
ราชอาณาจักรตามมาตรา 50/7 ตองมีใบรับรองทางการแพทยสําหรับผูประจําหนาที่ดังกลาวที่ออกใหหรือรับรอง
โดยประเทศผู จ ดทะเบี ย นอากาศยานนั้ น ทั้งนี้ การออกใบรับ รองทางการแพทย ข องประเทศดั ง กลาวต อ งมี
มาตรฐานไมต่ํากวามาตรฐานที่กําหนดไวในภาคผนวก
มาตรา 50/9
ห า มมิ ใ ห บุ ค คลใดปฏิ บั ติ ห น า ที่ ใ นฐานะผู ป ระจํ า หน า ที่ เว น แต มี ใ บสํ า คั ญ แพทย ที่ อ อกโดย
นายแพทยผูตรวจดานเวชศาสตรการบินพลเรือนที่ไดรับการแตงตั้งจากสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
ประเภทผู ป ระจํ า หน า ที่ หลักเกณฑ วิธีการในการขอ การออก การตออายุใ บสํา คัญ แพทย
คุณสมบัติและลักษณะของผูขอใบสําคัญ อายุใบสําคัญ การเพิกถอนใบสําคัญ แบบใบสําคัญ และเงื่อนไขแนบทาย
ใบสําคัญแพทย ใหเปนไปตามระเบียบที่ผูอํานวยการกําหนด
มาตรา 50/10
เพื่อวัตถุประสงคในการคุมครองประโยชนสาธารณะ ใหเอกสาร รายงานผลที่เกี่ยวกับการตรวจ
สภาพรางกายและจิตใจของผูขอรับใบสําคัญแพทยที่อยูในความครอบครองของศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน
หรือสถานที่ตรวจทางการแพทย หรือสถานพยาบาลใดเปนเอกสารที่เปดเผยตอสํานักงานการบินพลเรือน
มาตรา 50/11
ในการปฏิบัติหนาที่ตามหมวดนี้ ใหนายแพทยผูตรวจเปนเจาพนักงานตามประมวลกฎหมาย
อาญา
มาตรา 67/19
ผูใดกระทําการอยางใดอยางหนึ่งดังตอไปนี้ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกิน
แปดหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
(8) เปนผูประจําหนาที่โดยไมไดรับใบอนุญาตจากพนักงานเจาหนาที่ หรือใบรับรองใบอนุญาต
ผูประจําหนาที่ซึ่งออกใหโดยรัฐภาคีแหงอนุสัญญาหรือรัฐที่ไดทําความตกลงกับประเทศไทยตามมาตรา 42 หรือ
ใบอนุญาตผูประจําหนาที่ที่มาจากการเทียบโอนตามมาตรา 50/6 หรือใบอนุญาต ผูประจําหนาที่ที่ออกใหหรือ
รับรองตามกฎหมายของประเทศผูจดทะเบียนอากาศยานตามมาตรา 50/7
(9) ปฏิบัติหนาที่ในฐานะผูประจําหนาที่โดยไมมีใบสําคัญแพทยตามมาตรา 50/9

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 4-9


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
การขอและการออกใบสําคัญแพทย (Application and Issuance of Medical Certificate)
มาตรา 64/6
เพื่อประโยชนในการสอบสวนอุบัติเหตุหรืออุบัติการณรุนแรง ให กสอ. มีอํานาจดังตอไปนี้ดวย
(6) สั่งใหบุคคลที่เกี่ยวของใหถอยคํา หรือสงเอกสารหรือวัตถุใดอันเปนหลักฐานที่เกี่ยวของ
มาตรา 64/15
ในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุหรืออุบัติการณรุนแรง ใหผูประจําหนาที่ที่เกี่ยวของกับการเกิดอุบัติเหตุหรือ
อุบัติการณรุนแรงนั้นเขารับการตรวจทางการแพทยโดยเร็ว หากผูประจําหนาที่ดังกลาวไมเขารับการตรวจ ให
กสอ. หรือผูซึ่ง กสอ. มอบหมายมีอํานาจควบคุมผูประจําหนาที่นั้นเพื่อนนําตัวไปรับการตรวจทางการแพทย ได
ทั้ งนี้ ต ามหลั กเกณฑ และวิ ธี การที่ กํา หนด ในขอบังคับ กสอ. และใหผูป ระจําหนาที่นั้น นําสงผลการตรวจทาง
การแพทยให กสอ. โดยไมชักชา
มาตรา 108
ผูประจําหนาที่ผูใดกระทําการอยางใดอยางหนึ่งดังตอไปนี้ ตองระวางโทษปรับไมเกินหาหมื่นบาท
(1) ปฏิบัติหนาที่โดยไมมีสิทธิทําการตามที่กําหนดในขอบังคับที่ออกตามมาตรา 45
(2) ไมปฏิบัติตามวินัยที่กําหนดในขอบังคับที่ออกตามมาตรา 49
(3) ปฏิบัติหนาที่โดยฝาฝนมาตรา 50

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 4-10


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ระยะเวลาการตรวจสุขภาพ (Period of Validity of Medical Assessment)

5. ระยะเวลาในการตรวจสุขภาพ (Period of Validity of Medical Assessment)


กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ ที่ใชอางอิงในการออกใบอนุญาต
 กฎกระทรวง วาดวยใบอนุญาตผูประจําหนาที่ พ.ศ. 2550 ใหไว ณ วันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2550

 กฎกระทรวง วาดวยใบอนุญาตผูประจําหนาที่ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 ใหไว ณ วันที่ 2 มีนาคม 2559

 ขอบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือน ฉบับที่ 89 วาดวยคุณสมบัติของผูขออนุญาตเปนผูป ระจํา

หนาที่ ประกาศ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ พ.ศ. 2556


กําหนดระยะเวลาตรวจสุขภาพ
ผูมีใบอนุญาตผูประจําหนาที่ดังตอไปนี้ ตองไปรับการตรวจสุขภาพจากแพทยที่ผูอํานวยการสํานักงานการ
บินพลเรือนแหงประเทศไทยประกาศกําหนด ตามระยะเวลา ดังตอไปนี้
(1) ทุกยี่สิบสี่เดือน สําหรับผูมีใบอนุญาตผูประจําหนาที่ ดังตอไปนี้
(ก) นักบินศิษยการบิน
(ข) นักบินสวนบุคคลประเภทเครื่องบิน นาวาอากาศ เฮลิคอปเตอร หรืออากาศยานขึ้นลงทางดิ่ง
(ค) นักบินเครื่องรอน
(ง) นักบินบัลลูน
(จ) นักบินอากาศยานเบาพิเศษ
(ฉ) พนักงานควบคุมการจราจรทางอากาศ
(ช) ศิษยพนักงานควบคุมการจราจรทางอากาศ
(2) ทุกสิบสองเดือน สําหรับผูมีใบอนุญาตผูประจําหนาที่ ดังตอไปนี้
(ก) นักบินพาณิชยตรีประเภทเครื่องบิน นาวาอากาศ เฮลิคอปเตอร หรืออากาศยานขึ้นลงทางดิ่ง
(ข) นักบินผูชวยเครื่องบิน
(ค) นักบินพาณิชยเอกประเภทเครื่องบิน เฮลิคอปเตอร หรืออากาศยานขึ้นลงทางดิ่ง
(ง) ตนหนประจําอากาศยาน
(จ) นายชางประจําอากาศยาน
(ฉ) ผูมีใบอนุญาตผูประจําหนาที่ตาม (1) มีอายุครบหาสิบปบริบูรณ
(3) ทุกหกเดือน สําหรับผูมีใบอนุญาตผูประจําหนาที่ ดังตอไปนี้
(ก) ผูมีใบอนุญาตผูประจําหนาที่ตาม (2) (ก) (ข) และ (ค) ซึ่งจะทําหนาที่บินขนสงทางอากาศเพื่อ
การพาณิชย มีอายุครบหกสิบปบริบูรณ
(ข) ผูมีใบอนุญาตผูประจําหนาที่ตาม (2) (ก) และ (ค) ซึ่งจะทําหนาที่บินขนสงทางอากาศเพื่อการ
พาณิชยและไดรับการรับรองจากสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทยใหใชนักบินเพียงคนเดียวมีอายุครบสี่สิบ
ปบริบูรณ
(4) ใหไปรับการตรวจสุขภาพครั้งใหมตามระยะเวลาที่กําหนดไว สําหรับผูมีใบอนุญาตผูประจํา
หนาที่ดังตอไปนี้ เมื่อมีอายุครบสี่สิบปบริบูรณ หาสิบปบริบูรณ หรือหกสิบปบริบูรณ
(ก) ผูมีใบอนุญาตผูประจําหนาที่ตาม (1)
(ข) ผูมีใบอนุญาตผูประจําหนาที่ตาม (2) (ก) (ข)และ (ค)
ในกรณีที่ผูมีใบอนุญาตผูประจําหนาที่ไมไปรับการตรวจสุขภาพตามระยะเวลาที่กําหนดไว หรือไปรับการ
ตรวจสุ ขภาพแล ว แต ผลการตรวจสุ ขภาพปรากฏว าสุ ขภาพร างกายไมสมบู รณ ตามที่ กํ าหนดไว ในข อบั งคั บของ
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 5-1
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ระยะเวลาการตรวจสุขภาพ (Period of Validity of Medical Assessment)
คณะกรรมการการบินพลเรือน ใหใบอนุญาตผูประจําหนาที่เปนอันใชไมไดชั่วคราวจนกวาจะไปรับการตรวจสุขภาพ
และผลการตรวจสุขภาพปรากฏวามีสุขภาพรางกายสมบูรณตามขอบังคับดังกลาว
ระยะเวลาการตรวจสุขภาพครั้งใหมตามวรรคหนึ่ง ใหคํานวณโดยเริ่มนับตั้งแตวันที่ผูมีใบอนุญาตผู
ประจําหนาที่นั้น มีอายุครบสี่สิบปบริบูรณ หาสิบปบริบูรณ หรือหกสิบปบริบูรณ แลวแตกรณี เวนแตกําหนด
ระยะเวลาการตรวจสุขภาพของผูมีใบอนุญาตผูประจําหนาที่ครั้งสุดทายกอนมีอายุครบสี่สิบปบริบูรณ หาสิบป
บริบูรณ หรือหกสิบปบริบูรณ แลวแตกรณี จะถึงกําหนดกอนครบระยะเวลาการตรวจสุขภาพครั้งใหม ใหถือวันที่
ครบกําหนดดังกลาวเปนวันสุดทายสําหรับการไปรับการตรวจสุขภาพครั้งใหม

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 5-2


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
มาตรฐานในการออกใบสําคัญแพทยแตละชั้น (Medical Class Standards)

6. มาตรฐานในการออกใบสําคัญแพทยแตละชั้น (Medical Class Standards)


กฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ ที่ใชอางอิง
 ขอบังคับของคณะกรรมการการบินพลเรือน ฉบับที่ 89 วาดวยคุณสมบัติของผูขออนุญาตเปนผูป ระจํา

หนาที่ ประกาศ ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ พ.ศ. 2556


 ประกาศสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทยเรื่อง มาตรฐานในการออกใบสําคัญแพทยแตละชั้น

พ.ศ. 2562 ประกาศ ณ วันที่ 26 ธันวาคม 2562


 ขอบังคับ ของสํานักงานการบิน พลเรือนแหงประเทศไทย ฉบับ ที่ 6 วาดว ยคุณสมบัติของผูขออนุญาต

เปนผูประจําหนาที่ ประกาศ ณ วันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2560

มาตรฐานทางแพทย (Medical standards)


“มาตรฐานทางการแพทย” (Medical Standards) หมายความวา มาตรฐานทางแพทยของสํานักงานการ
บินพลเรือนแหงประเทศไทยที่ใชเปนแนวทางทั่วไปในการพิจารณาออกใบสําคัญแพทย โดยแพทยผูตรวจหรื อ
แพทย ผู ต รวจอาวุ โ สที่ ไ ด รั บ การแต ง ตั้ ง จากสํ า นั ก งานการบิ น พลเรื อ นแห ง ประเทศไทยสํ า หรั บ ผู ร อ งขอเพื่ อ
ประกอบการออกใบอนุญาตผูประจําหนาที่ที่ออกโดยสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
มาตรฐานการออกใบสําคัญแพทย ใหเปนไปตามผนวกทั่วไปในบทที่ 7
ใบสําคัญแพทย ชั้นหนึ่ง (Class 1 Medical Assessment)
ออกใหสําหรับผูถือหรือผูขอใบอนุญาตเปน ผูประจําหนาที่ในตําแหนง
(1) นักบินพาณิชยเอกเครื่องบิน
(2) นักบินพาณิชยเอกเฮลิคอปเตอร
(3) นักบินพาณิชยเอกอากาศยานขึ้นลงทางดิ่ง
(4) นักบินผูชวยเครื่องบิน
(5) นักบินพาณิชยตรีเครื่องบิน
(6) นักบินพาณิชยตรีเฮลิคอปเตอร
(7) นักบินพาณิชยตรีอากาศยานขึ้นลงทางดิ่ง
(8) นักบินพาณิชยตรีนาวาอากาศ
(9) นักบินศิษยการบิน (ที่ประสงคขอออกใบสําคัญแพทย ชั้นหนึ่ง)
(10) ตนหน
(11) นายชางประจําอากาศยาน
 มาตรฐานในการออกใบสําคัญแพทย ชั้นหนึ่ง ใหเปนไปตามผนวก 1
ใบสําคัญแพทย ชั้นสอง (Class 2 Medical Assessment)
ออกใหสําหรับผูถือหรือผูขอใบอนุญาตเปนผูประจําหนาที่ในตําแหนง
(1) นักบินสวนบุคคลเครื่องบิน
(2) นักบินสวนบุคคลเฮลิคอปเตอร
(3) นักบินสวนบุคคลอากาศยานขึ้นลงทางดิ่ง
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 6-1
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
มาตรฐานในการออกใบสําคัญแพทยแตละชั้น (Medical Class Standards)
(4) นักบินสวนบุคคลนาวาอากาศ
(5) นักบินเครื่องรอน
(6) นักบินบัลลูน
(7) นักบินศิษยการบิน
 มาตรฐานในการออกใบสําคัญแพทย ชั้นสอง ใหเปนไปตามผนวก 2
ใบสําคัญแพทยชั้นสาม (Class 3 Medical Assessment)
ออกใหสํ า หรับ ผู ถือ หรือ ผูขอใบอนุญาตเปนผูประจําหนาที่ในตําแหน งพนักงานควบคุ มการจราจรทาง
อากาศและตําแหนงศิษยพนักงานควบคุมการจราจรทางอากาศ
 มาตรฐานในการออกใบสําคัญแพทย ชั้นสาม ใหเปนไปตามผนวก 3
ใบสําคัญแพทยชั้นสี่ (Class 4 Medical Assessment)
ออกใหสําหรับผูถือหรือผูขอใบอนุญาตเปนผูประจําหนาที่ในตําแหนงนักบินอากาศยานเบาพิเศษและ
ตําแหนงนักบินศิษยการบินของอากาศยานเบาพิเศษ
 มาตรฐานในการออกใบสําคัญแพทยชั้นสี่ ใหเปนไปตามผนวก 4
คําแนะนําในการพิจารณาการออกใบสําคัญแพทย ใหเปนไปตามผนวก 5

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 6-2


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก

7. ภาคผนวก
ผนวกทั่วไป (General)
ผนวก 1 มาตรฐานในการออกใบสําคัญแพทย ชั้นหนึ่ง
ผนวก 2 มาตรฐานในการออกใบสําคัญแพทย ชั้นสอง
ผนวก 3 มาตรฐานการออกใบสําคัญแพทย ชั้นสาม
ผนวก 4 มาตรฐานการออกใบสําคัญแพทย ชั้นสี่
ผนวก 5 คําแนะนําในการพิจารณาออกใบสําคัญแพทย และการกําหนดขอจํากัดทางการแพทย (Limitation)

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-1


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก

ผนวกทั่วไป (General)
มาตรฐานและข อ พึ ง ปฏิ บั ติ ท างการแพทย (Medical Standards and Recommended Practices)
ที่กําหนดไว ในผนวกแนบท ายประกาศสํ านั กงานการบิน พลเรื อนแห งประเทศไทย เรื่อง มาตรฐานในการออก
ใบสําคัญแพทยแตละชั้น เปนแนวทางเบื้องตนในการตรวจรางกายใหกับผูรองขอรับใบสําคัญแพทย (Applicant) จึงอาจ
ไมสามารถครอบคลุมรายละเอี ยดข อมูลสุ ขภาพของแตละบุ คคลอยางเพี ยงพอ และจําเปนที่นายแพทยผู ตรวจ
นายแพทยผูตรวจอาวุโส หรือนายแพทยผูตรวจสอบ จะตองพิจารณาตัดสินใจอยางดีในการตรวจและประเมินผล
ความสมบู รณของร างกายและจิ ตใจ (Medical Fitness) ของผู ร องขอให เปนไปตามมาตรฐานสู งสุ ดทางการแพทย
เพื่อความปลอดภัยในการบิน
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยแตละชั้นตองผานการตรวจทางการแพทยตามขอกําหนดดานตาง ๆ เชน
การตรวจรางกายและสุขภาพจิต ความสามารถในการมองเห็นและการมองเห็นสี ความสามารถในการไดยิน เปนตน
ในการตรวจรางกายทั่วไปและสุขภาพจิต ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยชั้นใดก็ตาม ตองปราศจากสภาวะ
ดังตอไปนี้
(1) ความผิดปกติใด ๆ ทั้งที่เปนแตกําเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลัง
(2) ความเจ็บปวยและความพิการ ทั้งที่เปนอยู ที่ซอนเรนอาการ เปนอยางเฉียบพลันหรือเปนแบบ
เรื้อรัง
(3) การเปนแผล การบาดเจ็บ หรือรอยโรคที่ติดตามมาหลังจากการผาตัด
(4) ผลกระทบหรือผลขางเคียงจากการรักษาทางการแพทยแผนปจจุบันหรือการรักษาอื่น ๆ รวมทั้งจาก
การวินิจฉัยหรือมาตรการการปองกันโรคที่ผูรองขอไดรับ
ซึง่ อาจมีผลกระทบตอความสามารถในการควบคุมอากาศยานหรือการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
หมายเหตุ – การใชยาสมุนไพรหรือการรักษาดวยการแพทยทางเลือกตองไดรับการพิจารณาเปนพิเศษ
ถึงผลขางเคียงที่อาจเกิดขึ้น
การตรวจสุขภาพจะตรวจความแข็งแรงสมบูรณของรางกายและจิตใจทั่วไป ตรวจหัวใจ ปอด ศีรษะ ตา
ปาก หู คอ จมูก แขนขา การเคลื่อนไหวขอตาง ๆ ผิวหนัง ตอมน้ําเหลืองและระบบอื่น ๆ ของรางกายที่จําเปน
ตรวจการไดยิน ตรวจสายตา การเห็นสี คลื่นไฟฟาหัวใจ X-ray ปอด ตรวจเลือด ตรวจปสสาวะ ตรวจสารออกฤทธิ์ตอ
จิตประสาท (Psychoactive Substance) หรือปญหาการใชสารบางชนิด (Problematic use of substance) และ
การตรวจอื่น ๆ ที่จําเปน ตลอดจนการทดสอบและการตรวจทางจิตวิทยา
วาระในการตรวจทดสอบตาง ๆ นี้ สามารถตรวจทดสอบกอนเปนผูถือใบอนุญาตผูประจําหนาที่ หรือ
เมื่อมีอากาศยานประสบเหตุ หรือเปนการสุมตรวจตามระยะเวลา หรือเมื่อมีเหตุอันสมควรขณะเปนผูถือใบอนุญาต ผู
ประจําหนาที่แลว
ทั้งนี้ นอกจากการตรวจตามรายละเอียดดังกลาวขางตนแลว จะตองดําเนินการตรวจตามรายการที่ระบุไว
ในแบบฟอรมรายงานผลการตรวจสุขภาพ (Medical Examination Report) ซึ่งสํานักงานการบินพลเรือนแหง
ประเทศไทยกําหนดไวอีกดวย
ปจจัยเสี่ยงที่อาจทําใหเกิดโรค เชน ความอวน การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล หรือการใชสารเสพติด
เปนปจจัยสําคัญที่ตองนํามาพิจารณาเปนราย ๆ ไป วามีความจําเปนหรือไมในการตรวจประเมินหรือวิเคราะห
เพิ่มเติมตอไป
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีหนาที่รับผิดชอบในการแจงขอมูลทางการแพทยที่จําเปนอยางครบถวนและ
ถู กตองให นายแพทย ผู ตรวจได รั บทราบ เช น ประวัติ การเจ็ บปวยหรื อได รั บบาดเจ็บ การเสื่อมสมรรถภาพใด ๆ

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-2


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
สถานภาพบังคับของใบสําคัญแพทย ประวัติเกี่ยวกับสุขภาพของบุคคลในครอบครัว และประวัติโรคทางพันธุกรรมโดย
เฉพาะที่อาจสงผลตอสุขภาพของผูรองขอรับใบสําคัญแพทย
เมื่อพบวาผูรองขอรับใบสําคัญแพทยแจงขอมูลทางการแพทยที่จําเปนไมครบถวน ไมถูกตอง จงใจปกปด
ขอมูล หรือใหขอมูลอันเปนเท็จ (False declaration) แกนายแพทยผูตรวจ ใหนายแพทยผูตรวจ หรือสถานที่ ตรวจ
เวชศาสตรการบิน หรือศูนยเวชศาสตรการบิน รายงานไปยังกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่
สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย เพื่อการพิจารณาดําเนินการที่เหมาะสมตอไป
ระดับความสมบูรณของสุขภาพของผูรองขอรับใบสําคัญแพทยในกรณีการขอตออายุใบสําคัญแพทย
ตองอยูในระดับเดียวกันกับกรณีการขอรับใบสําคัญแพทยครั้งแรก
ทั้งนี้ ผูถือใบอนุญาตผูประจําหนาที่ตองไมปฏิบัติงานในตําแหนงที่กําหนดมาตรฐานทางการแพทยสูงกวา
มาตรฐานทางการแพทยที่ตนเองมีอยู
ในกรณีที่ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีสุขภาพไมเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนดไว นายแพทยผูตรวจหรือ
นายแพทยผูตรวจอาวุโสจะตองไมออกหรือตออายุใบสําคัญแพทยใหกับผูรองขอรับใบสําคัญแพทยนั้นนอกจากจะมี
การดําเนินการตามเงื่อนไขดังตอไปนี้
(1) มีการตรวจประเมิน และวิเ คราะห เ พิ่มเติ มแลว ได ขอสรุปทางการแพทย (Accredited Medical
Conclusion) ที่ ชั ดเจนว า ผู ร องขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทยซึ่ ง มีผ ลการตรวจสุ ขภาพไม ไ ดม าตรฐานตามข อ กํ า หนด
ทางการแพทยนั้น สามารถปฏิบัติหนาที่ตามประเภทของใบอนุญาตที่รองขอหรือถืออยูไดโดยไมเปนอันตรายตอ
ความปลอดภัยทางการบิน
(2) ความรูความสามารถ ความชํานาญ ประสบการณของผูรองขอรับใบสําคัญแพทย สภาวะแวดลอม
และเงื่อนไขในการปฏิบัติงาน ไดถูกนํามาใชเพื่อการพิจารณาดวยแลว
(3) ใบอนุญาตผูประจําหนาที่ไดมีการระบุขอจํากัด (Limitation) เพื่อแสดงวาผูถือใบอนุญาตผูประจํา
หนาที่นั้นจะสามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางปลอดภัยเฉพาะเมื่อปฏิบัติตามขอจํากัดที่ระบุไวอยางเครงครัด
ขอกําหนดการตรวจวัดระดับการมองเห็น (Visual Acuity Test Requirements)
(1) วิธีการที่ใชตรวจวัดระดับการมองเห็นแตละวิธีอาจมีกระบวนการแตกตางกัน แตตองสามารถใหผล
การประเมินที่มีความสมมูลกันได
(2) การตรวจวัดระดับการมองเห็น ควรกระทําในสถานที่ที่มีความสวางของแสงอยูในระดับใกลเคียงกับ
ความสวางของหองสํานักงานโดยปกติทั่วไป (30-60 cd/m2)
(3) ระดับการมองเห็น ควรตรวจวัดดวย Series of Landolt rings หรือ similar optotypes โดยวาง
ระยะหางจากผูขอรับการตรวจตามความเหมาะสมกับแตละวิธีที่เลือกใชในการตรวจ
ขอกําหนดการมองเห็นสี (Color Perception Requirements)
(1) การตรวจวัดการมองเห็นสีตองใชวิธีการที่เชื่อถือได
(2) ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองแสดงความสามารถในการมองเห็นสีซึ่งมีความจําเปนตอการ
ปฏิบัติหนาที่ดวยความปลอดภัยไดอยางถูกตอง
(3) ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไดรับการทดสอบความสามารถในการมองเห็นสีดวยเครื่องมือชุด
แผนตรวจตาบอดสี (a series of pseudoisochromatic plates) ภายใตแสงอาทิตยธรรมชาติ (daylight) หรือ
แสงประดิ ษฐ (artificial light) ที่ อุณหภู มิสี (color temperature) เดีย วกัน เชน ที่กําหนดโดย CIE standard
illuminants C or D65 ตามมาตรฐานของ International Commission on Illumination (CIE)

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-3


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
(4) ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ผานการทดสอบตามมาตรฐานที่กําหนดโดยสํานักงานการบินพลเรือน
แหงประเทศไทย จะไดรับการประเมินวา “สมบูรณ” สวนผูที่ไมผานการทดสอบดังกลาวจะไดรับการประเมินวา
“ไมสมบูรณ” นอกจากจะสามารถแยกสีที่ใชในการเดินอากาศ (colours used in air navigation) และสามารถ
ระบุสีที่ใชในการบิน (aviation coloured lights) ไดอยางถูกตอง ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไมผานการทดสอบ
ขางตนจะไดรับการประเมินวา “ไมสมบูรณ” ยกเวน กรณีใบสําคัญแพทยชั้น 2 (Class 2) โดยตองระบุขอจํากัด
“Valid daytime only”
ขอแนะนํา แวนกันแดดที่สวมใสขณะปฏิบัติหนาที่ควรเปนแบบ non-polarizing และเปนสี neutral
grey tint
ขอกําหนดการตรวจวัดการไดยินเสียง (Hearing Test Requirements)
(1) การตรวจวัดการไดยินเสียงตองใชวิธีการที่เชื่อถือได
(2) ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองมีความสามารถในการไดยินเสียงที่เพียงพอสําหรับการปฏิบัติหนาที่
อยางปลอดภัยตามประเภทของใบอนุญาตผูประจําหนาที่และสิทธิทําการที่ถืออยู
(3) การตรวจวัดการไดยินเสียงดวยวิธี Pure-tone audiometry จะตองทําการตรวจในการตรวจรางกาย
เพื่อออกใบสําคัญแพทยครั้งแรก (first issue of the medical certificate) และทุก 2 ป หลังจากนั้น
และทุกครั้งที่มีการตรวจรางกายเพื่ อออกใบสําคั ญแพทย หรือเมื่อแพทยผูเชี่ยวชาญดานโสต ศอ
นาสิกวิทยา เห็นสมควร
(4) การสอบเทียบมาตรวัดคา 0 dB ของเครื่องมือ Pure-tone audiometers ใหเปนไปตามมาตรฐาน
ฉบับที่เปนป จจุ บั นของวิธี ตรวจวัดการไดยินเสียง (Audiometric Test Methods) ที่กําหนดโดย
International Organization for Standardization (ISO)
(5) หากไมใชวิธีการตรวจวัดการไดยินเสียงดวย Pure-tone audiometry อาจพิจารณาใชวิธีการอื่นที่
ให ผ ลสมมู ล กั น ได เช น การทดสอบการไดยิน เสีย งพูดและการไดยิน เสียงกระซิบ (whispered
and spoken voice tests) ในหองที่เงียบ (quiet room)
(6) หอ งเงีย บ (quiet room) ซึ ่ง มีจ ุด ประสงคสํ า หรับ ใชใ นการตรวจวัด การไดย ิน เสีย ง หมายถึง
หองซึ่งมีความเขมของเสียง background noise นอยกวา 35 dB(A)
(7) สําหรับการตรวจวัดการไดยินเสียงนี้ กําหนดระดับความดังเฉลี่ยสําหรับ เสียงสนทนาตามปกติ
(conversational voice) ที่ ร ะยะ 1 เมตร จากต น กํ า เนิ ด เสี ย ง (ริ ม ฝ ป ากล า งของผู พู ด ) อยู ที่
c.60 dB(A) และสําหรับเสียงกระซิบ (whispered voice) อยูที่ c. 45dB(A) สวนที่ระยะหาง 2 เมตร
จากผูพูด ระดับความดังของเสียงจะลดลงไปอีก 6 dB(A)

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-4


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก

ผนวก 1 มาตรฐานในการออกใบสําคัญแพทย ชั้นหนึ่ง


ขอ 1.1 ระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular System)
ผู ร องขอรั บ ใบสํ าคั ญ แพทยตองไมมีความผิดปกติของหัวใจ ทั้งที่เปน มาแตกําเนิดหรือเปนภายหลัง
ซึ่งอาจมีผลตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
1.1.1 การตรวจรางกาย (Examination)
1.1.1.1 ในการตรวจรางกายใหตรวจหัวใจดวยคลื่นไฟฟาขณะพัก โดยทําการตรวจครบ 12 ลีด
(Standard 12-lead resting ECG) ในครั้ ง แรก หลั ง จากนั้ น ทํ า การตรวจทุ ก ป จ นถึ ง อายุ 60 ป หลั ง จากนั้ น
ทุก 6 เดือน หรือเมื่อแพทยผูตรวจเห็นสมควร แพทยผูอานผลคลื่นไฟฟาหัวใจจะตองเปนผูเชี่ยวชาญดานโรคหัวใจ
ขอสังเกต - จุดหมายของการตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจเปนประจําเพื่อการตรวจคัดกรองสุขภาพ
1.1.1.2 การตรวจหัวใจดวยคลื่นไฟฟาขณะออกกําลังกาย (Exercise electrocardiography) ให
กระทําเมื่อมีขอบงชี้ทางการแพทย
1.1.1.3 การเจาะเลือดหาระดับไขมันในเลือดจะกระทําในทุกครั้งที่มารับการตรวจ เมื่อตรวจ
พบระดับไขมันในเลือด (Cholesterol) ที่มากกวา 8 mmol/L (320 mg/dL) ใหดําเนินการรักษาดวยยาลดระดับ
ไขมันที่เหมาะสม ไมวาจะมีปจจัยเสี่ยงอื่น ๆ รวมดวยหรือไม ในกลุมผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีโรคหัวใจจาก
หลอดเลื อ ด เป า หมายของระดั บ ไขมั น คื อ total cholesterol <5 mmol/l (<190 mg/dL) and LDL
cholesterol <3 mmol/L (<115 mg/dL) ในผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีโรคเบาหวาน เปาหมายคือ <4.5
mmol/L (<175 mg/dL) and <2.5 mmol/L (<100 mg/dL) ตามลําดับ
1.1.2 ความดันโลหิต (Blood Pressure)
1.1.2.1 การวัดความดันโลหิตใหใชวิธีตรวจตามคําแนะนําในผนวก 5
1.1.2.2 ถาวัดความดันได 160/95 มม.ปรอท ขึ้นไป ไมวาจะกําลังรักษาหรือไมไดรักษาก็ตาม ให
ถือวา “ไมสมบูรณ”
1.1.2.3 การใชยารักษาความดันโลหิตสูงตองปลอดภัย ไมมีผลขางเคียงที่อาจกระทบกระเทือนตอ
การปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย การเริ่มตนรักษาดวยยาตองพักการใชใบสําคัญแพทยชั่วคราวเพื่อแนใจว าไม มี
ผลขางเคียงจากการใชยา ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.4
1.1.2.4 ผูที่มีอาการเนื่องจากความดันโลหิตต่ํา ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
1.1.3 โรคของหลอดเลือดแดงโคโรนารี (Coronary Artery Disease)
1.1.3.1 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ มี ข อ บ ง ชี้ ส งสั ย ว า จะเป น โรคหลอดเลื อ ดหั ว ใจ
ตองไดรับการตรวจโดยละเอียดตอไป ในรายที่เปนชนิดเริ่มตนแบบไมรายแรงและไมมีอาการอาจพิจารณาว า
“สมบู ร ณ ” ได หลั ง จากได รั บ การประเมิ น โดยศู น ย เ วชศาสตร ก ารบิ น พลเรื อ น หรื อ กองเวชศาสตร ก ารบิ น
ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.5
1.1.3.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีอาการของโรคหลอดเลือดหัวใจ ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
1.1.3.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เกิดภาวะกลามเนื้อหัวใจตาย ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
การประเมินความสมบูรณหลังจากเกิดโรคกลามเนื้อหัวใจตายนั้น จะตองทําโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน
หรื อ กองเวชศาสตร ก ารบิ น ฝ า ยมาตรฐานผู ป ระจํ า หน า ที่ สํ า นั ก งานการบิ น พลเรื อ นแห ง ประเทศไทย
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.6

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-5


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
1.1.3.4 ผูที่ไดรับการผาตัดเกี่ยวกับหลอดเลือดแดงโคโรนารี (Coronary by-pass surgery or
Coronary angioplasty/Stenting) ตองงดปฏิบัติหนาที่อยางนอย 6 เดือน เมื่อหายเปนปกติแลว กอนจะกลับมา
ทําหนาที่ใหทําการประเมินผลตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.7
1.1.4 จังหวะการเตนและการนําไฟฟาหัวใจ (Rhythm/Conduction Disturbances)
1.1.4.1 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ หั ว ใจห อ งบนเต น ผิ ด จั ง หว ะอย า งชั ด เจน
Supraventricular rhythm รวมทั้ง Sinoatrial dysfunction ไมวาจะเปนแบบ Intermittent หรือ Established ให
ถือวา “ไมสมบูรณ” จนกวาจะไดรับการประเมินหัวใจตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.8
1.1.4.2 ผูรองขอรับใบสํ าคั ญแพทยที่อัตราการเตน ของหัวใจชาหรือเร็ว (Asymptomatic
sinus tachycardia or Sinus bradycardia) อาจอนุโลมวา “สมบูรณ” ถาไมมีอาการและไมมีความผิดปกติของ
หัวใจ
1.1.4.3 ผูรองขอรับใบสําคั ญแพทยที่หัวใจเตนผิด จังหวะที่เปน Asymptomatic isolated
uniform atrial or ventricular ectopic complexes อาจอนุโลมวา “สมบูรณ” แตถาเปนการเตนผิดจั งหวะ
แบบ frequent or complex จะตองไดรับการประเมินหัวใจตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.8
1.1.4.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไมมีความผิดปกติอื่น ๆ นอกจากการมี Incomplete
bundle branch block หรือ Stable left axis deviation อาจอนุโลมวา “สมบูรณ”
1.1.4.5 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ มี Complete right or left bundle branch block
จะตองไดรับการประเมินหัวใจเมื่อตรวจพบ ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.8
1.1.4.6 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มี Broad and/or Narrow complex tachycardia ให
ถือวา “ไมสมบูรณ” จนกวาจะไดรับการประเมินหัวใจโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและกองเวชศาสตรการ
บิ น ฝ า ยมาตรฐานผู ป ระจํ า หน า ที่ สํ า นั ก งานการบิ น พลเรื อ นแห ง ประเทศไทย ตามคํ า แนะนํ า ในผนวก 5
ขอ 5.2.8
1.1.4.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไดรับการจี้ทางลัดไฟฟาของหัวใจดวยคลื่นวิทยุความถี่สูง
(Ablation) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.8
1.1.4.8 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยหรือผูถือใบสําคัญแพทยชั้น 1 ที่ติดตั้งเครื่องควบคุมการ
ทํางานของหัวใจแบบอัตโนมัติ (Endocardial Pacemaker) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” จนกวาจะไดรับการประเมินหัวใจ
โดยศู น ย เ วชศาสตร ก ารบิ น พลเรื อ นและกองเวชศาสตร ก ารบิ น ฝ า ยมาตรฐานผู ป ระจํ า หน า ที่ สํ า นั ก งาน
การบินพลเรือนแหงประเทศไทย ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.8
1.1.5 ทั่วไป (General)
1.1.5.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคของเสนเลื อดสวนปลาย (Peripheral arterial
disease) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ทั้งกอนและหลังไดรับการผาตัด นอกเสียจากวาไมมีการเสียหนาที่อยางชัดเจน
รวมทั้งไมมีโรคของหลอดเลือดโคโรนารี หรืออาการแข็งตัวของผนังเสนเลือดอื่น ๆ การพิจารณาความ “สมบูรณ” ให
พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.5 และ 5.2.6
1.1.5.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีการโปงพองของหลอดเลื อดแดงใหญ (Aneurysm of
the thoracic or Abdominal aorta) ทั้งกอนและหลังผาตัด ใหถือวา “ไมสมบูรณ” การมีหลอดเลือดแดงใหญโปง
พองในชองทองระดับต่ํากวาไต (Infra-renal abdominal aortic aneurysm) ใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก
5 ขอ 5.2.9
1.1.5.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีความผิดปกติของลิ้นหัวใจลิ้นใดลิ้นหนึ่งอยางชัดเจนให
ถือวา “ไมสมบูรณ”

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-6


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
1.1.5.3.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีความผิดปกติของลิ้นหัวใจเพียงเล็กนอยอาจ
อนุโลมวา “สมบูรณ” โดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่
สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย หลังจากการประเมินหัวใจตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.10
1.1.5.3.2 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ ไ ด รั บ การเปลี่ ย นหรื อ แก ไ ขลิ้ น หั ว ใจ
(Cardiac valve replacement/Repair) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ในบางรายอาจอนุโลมวา “สมบูรณ” โดยศูนย
เวชศาสตรการบินพลเรือนและกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหง
ประเทศไทย หลังจากการประเมินหัวใจตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.10
1.1.5.4 การรักษาดวยยาตานการแข็งตัวของเลือด (Systemic anticoagulant therapy) จะ
ไมไดรับการยอมรับ หลังจากการใชยาไประยะหนึ่ง อาจอนุโลมวา “สมบูรณ” โดยการพิจารณาของศูนยเวชศาสตรการ
บินพลเรือนและกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.11 และ ขอ 5.6.6
1.1.5.5 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ มี ค วามผิ ด ปกติ ข องเยื่ อ หุ ม หั ว ใจทั้ ง ด า นนอก
(Pericardium) ดานใน (Endocardium) รวมทั้งกลามเนื้อหัวใจ (Myocardium) ถือวา “ไมสมบูรณ” จนกวาจะ
หายเปนปกติ หรือไดรับการประเมินหัวใจ ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.12
1.1.5.6 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีหัวใจพิการมาแตกําเนิด ทั้งกอนและหลังผาตัด ใหถือ
วา“ไมสมบูรณ” โดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่
สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย หลังจากการประเมินหัวใจตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.13
1.1.5.7 ก า ร เ ป ลี่ ย น หั ว ใ จ ห รื อ ก า ร เ ป ลี่ ย น หั ว ใ จแ ล ะ ป อ ด ( heart or heart/ lung
transplantation) ใหประเมินวา “ไมสมบูรณ”
1.1.5.8 ผู ร องขอรั บ ใบสําคัญ แพทยที่มีป ระวัติอาการหมดสติแบบ Recurrent vasovagal
syncope ใหประเมินวา“ไมสมบูรณ” การประเมินความสมบูรณตองพิจารณาโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนหรือ
กองเวชศาสตร การบิน ฝายมาตรฐานผู ประจําหน าที่ สํานักงานการบินพลเรือนแห งประเทศไทย หลังจากการ
ประเมินหัวใจตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.14
ขอ 1.2 ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory System)
1.2.1 ทั่วไป (General)
1.2.1.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ ไมวาจะ
เปนมาแตกําเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลัง ซึ่งอาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
1.2.1.2 ในการตรวจรางกายตองมีการทํา Chest x-ray ในทาตรง (Posterior - anterior) ป
ละ 1 ครั้ง หากมีเหตุผลทางการแพทยหรือการระบาดของโรคทางเดินหายใจอาจตรวจไดมากกวา 1 ครั้ง
1.2.1.3 ในการตรวจรางกายครั้งแรกควรมีการตรวจหนาที่การทํางานของปอด (Pulmonary
function test) ทําการตรวจเมื่อมีขอบงชี้ทางคลินิก ผูที่มีความผิดปกติชัดเจน จะถือวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําใน
ผนวก 5 ขอ 5.3.1
1.2.2 ความผิดปกติ (Disorder)
1.2.2.1 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ เ ป น โรคปอดอุ ด กั้ น เรื้ อ รั ง (Chronic obstructive
airway disease) ให ถือว า “ไม ส มบู ร ณ ” เวน แตส ภาวะของผูรองขอรับ ใบสํา คัญ แพทยไ ดรับ การตรวจ และ
ประเมิ น ทางการแพทย อย า งดี ที่สุ ดแลว เชื่ อไดวาไมกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย ประเมิน ตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.3.2

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-7


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
1.2.2.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคหืด (Bronchial asthma) ระยะมีอาการและ
ตองการการรักษา (Requiring medication) และนาจะเกิดภาวะไรความสามารถ (incapacitation) ในระหวางการ
ปฏิบัติหนาที่หรือภาวะฉุกเฉิน ใหประเมินวา “ไมสมบูรณ” เวนแตสภาวะของผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไดรับการ
ตรวจและประเมินทางการแพทยอยางดีที่สุดแลว เชื่อไดวาไมกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัยใหประเมิน
ความสมบูรณเพิ่มเติม ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.3.3
1.2.2.3 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ มี โ รคจากการอั ก เสบที่ กํ า ลั ง แสดงอาการ (Active
inflammatory disease) ของระบบทางเดินหายใจจะถือวา “ไมสมบูรณ” แบบชั่วคราว
1.2.2.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคซารคอยโดซิส (Sarcoidosis) ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.3.4
1.2.2.5 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ มี ล มในช อ งปอดที่ เ กิ ด ขึ้ น เอง (Spontaneous
Pneumothorax) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” การประเมินความสมบูรณตองพิจารณาโดยศูนยเวชศาสตรการบินพล
เรื อนและกองเวชศาสตร การบิ น ฝ ายมาตรฐานผู ประจํ าหน าที่ สํ านั กงานการบิ นพลเรื อนแห งประเทศไทย ตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.3.6
1.2.2.6 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ ไ ด รั บ การผ า ตั ด ใหญ ใ นช อ งทรวงอก ให ถื อ ว า
“ไมสมบูรณ” อยางนอย 3 เดือน หลังจากนั้น ถามีผลการตรวจรางกายแสดงวาจะไมกระทบตอการปฏิบัติหนาที่
จึงถือวา “สมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.3.7
1.2.2.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ปวยเปนวัณโรคระยะที่โรคยังดําเนินอยูใหประเมิ นวา
“ไมสมบูรณ” ใหประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.3.5
1.2.2.8 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เคยปวยเปนวัณโรคและไดรับการรักษาจนหายแลว อาจ
มีรองรอยโรคเหลืออยู อาจไดรับการประเมินวา “สมบูรณ” ใหประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.3.5
1.2.2.9 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ผลการรักษาการหยุดการหายใจขณะนอนหลับ (Sleep
apnea) ไดผลไมดีใหประเมินวา “ไมสมบูรณ”
ขอ 1.3 ระบบทางเดินอาหาร (Digestive System)
1.3.1 ทั่วไป (General)
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะต องไมมีความผิดปกติ ในการทํางาน (Functional) หรือโครงสราง
(Structural) ของระบบทางเดินอาหารที่อาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
1.3.2 ความผิดปกติ (Disorder)
1.3.2.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทย ที่มีอาการปวดท อง ทองอืดเปนประจําจากธาตุ พิก าร,
อาหารไมยอย (Dyspeptic disorders) โรคลําไสแปรปวน (Irritable Bowel Syndrome; IBS) การบีบตัวผิดปกติ
อื่น ๆ (Motility disorder) ภาวะตับออนอักเสบ (Pancreatitis) ที่มีอาการมาก สงผลกระทบผลตอคุณภาพชีวิต
หรือตองรักษาดวยยา จะถือวา “ไมสมบูรณ” จนกวาจะไดรับการตรวจและประเมินผลเพิ่มเติมตามคําแนะนํ า
ในผนวก 5 ขอ 5.4.1
1.3.2.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ตรวจพบนิ่วในถุงน้ํ าดีที่ไม มีอาการ (Asymptomatic
gallstones) ใหประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.4.2
1.3.2.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนนิ่วในถุงน้ําดีหลายกอนหรือมีกอนเดียวขนาดใหญ
และมีอาการ ใหถือวา “ไมสมบูรณ” จนกวาจะไดรับการรักษา ใหประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.4.2
1.3.2.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีประวัติทางการแพทยหรือแสดงอาการลําไสอักเสบ
เรื้อรัง (Chronic inflammatory bowel disease) ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-8
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
1.3.2.5 ผู ร องขอรั บใบสําคัญแพทยที่เกิดภาวะลําไสอักเสบเรื้อรั ง (Chronic inflammatory
bowel disease) ใหประเมินผลตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.4.3
1.3.2.6 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยต องไมเปนไส เลื่ อน (Hernia) ซึ่งอาจกอให เกิดการพร อง
สมรรถภาพอยางกะทันหัน (Incapacitation)
1.3.2.7 ผลที่ ต ามมาจากโรคหรื อ จากการผ า ตั ด ในช อ งท อ ง (Sequelae of disease or
surgical intervention) ซึ่งอาจเปนสาเหตุใหเกิดการพรองสมรรถภาพขณะทําหนาที่ (Incapacitation) เชน การ
อุดตัน หรือตีบแคบ หรือกดทับของทางเดินอาหาร ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
1.3.2.8 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไดรับการผาตัดใหญในชองทองที่ตองตัดทางเดินอาหาร
ออกไปทั้งหมดหรือสวนหนึ่งสวนใด รวมทั้งอวัยวะอื่น ๆ ภายในชองทองดวย ใหถือวา “ไมสมบูรณ” อยางนอย 3
เดือน หลังจากนั้นเมื่อผลของการผาตัดแสดงวาจะไมกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัยจึงถือวา “สมบูรณ”
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.4.4
1.3.2.9 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีอาการของตับอักเสบหรือตรวจพบวามีตับอักเสบเรื้อรังไม
วาชนิดใดหรือการตรวจพบวาอยูในระยะแพรกระจายโรคได ใหถือวา “ไมสมบูรณ” หากไดรับการรักษาจนหายดี
ตับทําหนาที่ปกติ มีการฟนตัวอยางสมบูรณ ตรวจไมพบเชื้อ และไมมีอาการหรือพบวามีภูมิคุมกัน (Antibody) ใหถือวา
“สมบูรณ” ใหประเมินผลตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.4.6
ขอ 1.4 โรคทางระบบเมตาโบลิ ซึ ม โภชนาการ และระบบต อ มไร ท อ (Metabolic, Nutritional and
Endocrine Diseases)
1.4.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีความผิดปกติในการทํางาน (Functional) หรือโครงสราง
(Structural) ของระบบเมตาโบลิซึม (Metabolic) ระบบโภชนาการ (Nutritional) หรือตอมไรทอ (Endocrine) ที่
อาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
1.4.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีความผิดปกติของระบบเมตาโบลิซึม ระบบโภชนาการหรือระบบ
ตอมไรทอ อาจพิจารณาวา “สมบูรณ” ถาไมมีอาการและไดรับการดูแลจากแพทยผูเชี่ยวชาญอยางสม่ําเสมอ
1.4.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคเบาหวาน อาจอนุโลมวา “สมบูรณ” แตตองอยูในเกณฑตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.5.2 และ ขอ 5.5.3
1.4.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคเบาหวานและตองรับการรักษาดวยอินซูลิน (Insulin) ให
ถือวา “ไมสมบูรณ”
1.4.5 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่อวนมาก (Extreme obesity) มีดัชนีมวลกายเทากับหรือมากกวา 35
(Body Mass Index ≥ 35) อาจอนุโลมวา “สมบูรณ” ถาน้ําหนักที่เกินนั้นไมมีผลเสียตอความปลอดภัย ใหประเมิน
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.10.1
1.4.6 Addison’s disease ถือวา “ไมสมบูรณ” ใหประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.5.4
1.4.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยท่ีมีภาวะตอมไทรอยดทํางานมากไปหรือเปนพิษ (Hyperthyroidism -
Thyrotoxicosis) ใหประเมินวา “ไมสมบูรณ” ใหประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.5.5
1.4.8 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ มี ภ าวะต อ มไทรอยด ทํ า งานน อ ยเกิ น ไป (Hypothyroidism)
ใหประเมินวา “ไมสมบูรณ” ใหประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.5.6

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-9


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ขอ 1.5 โลหิตวิทยา (Haematology)
1.5.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีโรคทางโลหิตที่อาจสงผลกระทบตอการปฏิบัติ ห น าที่
อยางปลอดภัย
1.5.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองเขารับการตรวจหาระดับความเขมของฮีโมโกลบิน (Haemoglobin)
และฮีมาโตคริต (Haematocrit) ทุกครั้ง ในรายที่มีโลหิตจางอยางชัดเจน คือ คาฮีมาโตคริตต่ํากวารอยละ 32
(Haematocrit below 32%) จะไดรับการประเมินวา “ไมสมบูรณ” ตามผนวก 5 ขอ 5.6.1
1.5.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคเลือดซิกเคิลเซลล (Sickle cell disease) อาจประเมิ นวา
“สมบูรณ”ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.1 วรรคสองและวรรคสาม
1.5.4 ผูรองขอรับใบสํ าคั ญแพทยที่มีต อมน้ํ าเหลื องโต (Enlargement of lymphatic gland) เฉพาะที่
หรือกระจัดกระจายอยางชัดเจน และมีโรคทางโลหิต ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.2
1.5.5 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคลิวคีเมียชนิดเฉียบพลัน (Acute leukaemia) ใหถือวา “ไม
สมบูรณ” สวนผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคลิวคีเมียชนิดเรื้อรัง (Chronic leukaemia) ในการตรวจครั้ง
แรกให ถื อ ว า “ไม ส มบู ร ณ ” แต ถ า เป น การตรวจเพื่ อ ขอต อ ใบอนุ ญ าตให พิ จ ารณาตามคํ า แนะนํ า ในผนวก 5
ขอ 5.6.3
1.5.6 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ ม า มโต (Enlargement of spleen) อย า งชั ด เจน ให ถื อ ว า
“ไมสมบูรณ” โดยประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.4
1.5.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะเลือดขนแบบโพลี่ไซทีเมีย (Polycythaemia) อยางชัดเจน
ใหถือวา “ไมสมบูรณ” โดยประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.5
1.5.8 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะผิดปกติ ของการแข็งตัวของเลื อดชา (Coagulation defect)
อยางชัดเจน ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ใหพิจารณาการรับประทานยาตานการแข็งตัวของเลือดดวย โดยประเมินผล
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.6
1.5.9 ในกรณีที่มีเกล็ดเลือดต่ํา (Thrombocytopenia) ที่ต่ํากวา 75,000/mm3 (75×109/L) ใหถือ
วา “ไมสมบูรณ” โดยประเมินผลตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.7
ขอ 1.6 ระบบทางเดินปสสาวะ (Urinary System)
1.6.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีความผิดปกติในการทํางาน (Functional) หรือโครงสราง
(Structural) ของระบบทางเดินปสสาวะหรืออวัยวะขางเคียง (Adnexa) ที่อาจสงผลกระทบตอการปฏิบัติหนาที่
อยางปลอดภัย
1.6.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่แสดงอาการของการมีพยาธิสภาพของไต (Kidney) และระบบ
ทางเดินปสสาวะ ใหถือวา “ไมสมบูรณ” การตรวจปสสาวะใหกระทําทุกครั้งที่มีการตรวจรางกายและตองไมพบสิ่ง
ใดที่แสดงความผิดปกติทางพยาธิสภาพของไต โรคที่เกี่ยวกับทางเดินปสสาวะและอวัยวะสืบพันธุ พิจารณาตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.3 ถึง 5.7.10
1.6.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีน่ิวในทางเดินปสสาวะ (Urinary calculi) ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.2
1.6.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะปสสาวะเปนเลือด (Haematuria of urological origin)
ใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.3
1.6.5 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะกลั้นปสสาวะไมอยู (Urinary incontinence) การมีภาวะ
สูญเสียความสามารถอยางเฉียบพลันในระหวางบิน (Incapacitation) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําใน
ผนวก 5 ขอ 5.7.4

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-10


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
1.6.6 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะป ญหาถุงอัณฑะ (Scrotal problems) ถือวา “ไมสมบู รณ ”
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.5
1.6.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีโรคติดเชื้อระบบทางเดินปสสาวะ (Urological Infection) ถือวา
“ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.6
1.6.8 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะโรคไตแตกําเนิดและถุงน้ําในไต (Congenital and Renal
Cystic Diseases) ใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.7
1.6.9 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคของเนื้อไต (Medullary sponge kidney) ใหพิจารณาวา
“ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.8
1.6.10 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคถุงน้ําในไตหลายถุง (Adult polycystic kidney disease) ให
พิจารณาวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.9
1.6.11 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะตอมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia) การมี
ภาวะอุดตันจากตอมลูกหมากโต ใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.10
1.6.12 ผูรองขอรับ ใบสํ าคัญแพทย ที่มีผลแทรกซอน (Sequelae) จากการผาตัดโรคไตและระบบ
ทางเดินปสสาวะจนอาจเปนสาเหตุการเจ็บปวยเฉียบพลันจนไมสามารถปฏิบัติงานได (Incapacitation) โดยเฉพาะ
การอุดตันหรือการตีบแคบจากการกดทับใหประเมินวา “ไมสมบูรณ” อยางนอย 3 เดือน หลังจากนั้น ถาไมมี
อาการหรือโรคแทรกซอนจะไดรับการพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.11 กอนจะถือวา “สมบูรณ”
1.6.13 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไดรับการผาตัดใหญในระบบทางเดินปสสาวะรวมทั้งการตัดไตออกและ
การเปลี่ยนทางเดินปสสาวะถือวา “ไมสมบูรณ” อยางนอย 12 เดือน หลังจากนั้น ถาไมมีอาการหรือโรคแทรกซอนจะไดรับ
การพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.12 กอนจึงจะถือวา “สมบูรณ”
1.6.14 ผูรองขอรับใบสําคั ญแพทย ที่ใชยาซิเ ดอนาฟล (Sildenafil) ตองไมใชยาก อนปฏิ บัติ ห น า ที่
อยางนอย 24 ชั่วโมง
1.6.15 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ รั บ การรั ก ษาด ว ยฮอร โ มนเทสโทสเตอโรน (Testosterone
replacement) ใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.13
1.6.16 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะมะเร็งทางเดินปสสาวะ (Urological malignancy) ให
พิจารณาวา “ไมสมบูรณ” ใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.14
ขอ 1.7 โรคติดตอทางเพศสัมพันธและโรคติดเชื้ออยางอื่น (Sexually Transmitted Diseases and Other
Infections)
1.7.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไมมีประวัติหรือไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคติดตอทางเพศสัมพันธ
หรือโรคติดเชื้ออื่น ๆ ซึ่งอาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
1.7.2 ภาวะหรือโรคที่จะตองใหความสนใจพิเศษ ไดแก อาการหรืออาการแสดง ดังตอไปนี้
1.7.2.1 ผลเลือดบวกของไวรัสภูมิคุมกันบกพรอง (HIV positivity) ตามคําแนะนําในผนวก 5
ขอ 5.8.2
1.7.2.2 ระบบภูมิคุมกันบกพรอง (Immune system impairment) เชน SLE
1.7.2.3 ตั บ อั ก เสบจากการติ ด เชื้ อ (Infectious hepatitis) ตามคํ า แนะนํ า ในผนวก 5
ขอ 5.8.4
1.7.2.4 โรคซิฟลิส (Syphilis) ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.8.3

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-11


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ขอ 1.8 สูติศาสตรและนรีเวชวิทยา (Gynaecology and Obstetrics)
1.8.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมเปนโรคหรือมีพยาธิสภาพทางสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา ซึ่ง
อาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
1.8.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีความผิดปกติของการมีประจําเดือนอยางมาก (Severe menstrual
disturbance) โดยไมสนองตอบอยางดีตอการรักษา ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ
5.9.2 หรือ 5.9.3
1.8.3 การตั้งครรภถือวา “ไมสมบูรณ” แตในกรณีที่สูตินรีแพทยตรวจอยางละเอียดแลว หากพบวาการ
ตั้งครรภเปนไปอยางปกติ อาจอนุโลมวา “สมบูรณ” จนกระทั่งอายุครรภ 26 สัปดาห ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ
5.9.1 เมื่อสิ้นสุดการตั้งครรภ พิจารณากลับไปทําหนาที่ใหมหลังจาก 6 สัปดาหหลังการคลอดบุตรตามปกติ หรือ 2
สัปดาหหลังการแทงบุตร สามารถกลับมาทําหนาที่ไดเมื่อมีการตรวจรางกายและประเมินผลแลววาเปนปกติ
1.8.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไดรับการผาตัดใหญเกี่ยวกับระบบสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา ให
ถือวา “ไมสมบูรณ” เปนระยะเวลาไมน อยกวา 2 เดือน และในบางชนิดของการผ าตั ด เชน การผาตัดมดลูก
(Hysterectomy) อาจตองใชเวลามากกวานั้น หลังจากผาตัดใหกลับมาทําหนาที่ได ถาผลของการผาตัดไมกระทบ
ตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัยตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.9.4
ขอ 1.9 ระบบกลามเนื้อและกระดูก (Musculoskeletal System)
1.9.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไมมีความผิดปกติของกระดูก (Bones) ขอตอ (Joints) กลามเนื้อ
(Muscles) และเสนเอ็น (Tendons) ไมวาเปนมาแตกําเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลัง ซึ่งอาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่
อยางปลอดภัย
1.9.2 ผูร องขอรับใบสําคัญแพทยตองมีขนาดของความสูงขณะนั่ง ความยาวของ แขน ขา ความแข็งแรงของ
กลามเนื้อ เพียงพอตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัยตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.10.1
1.9.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองมีการทํางานของระบบกลามเนื้อและกระดูกเปนปกติ ผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยที่มีผลตามมาหลังจากการเปนโรค การบาดเจ็บหรือความผิดปกติแตกําเนิดของกระดูก ขอต อ
กลามเนื้อและเสนเอ็น โดยมีการผาตัดหรือไมมี จะตองไดรับการพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.10.2
1.9.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยท่ีมีผลที่ตามมาจากการเจ็บปวยหรื อการรั กษาในดานกระดูก ขอต อ
กล า มเนื้ อ เสน เอ็ น และความผิ ดปกติ ทางกายวิภ าค ตองไดรับ การประเมิน ความพร อมในการปฏิบัติ ห น า ที่
พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.10.3 ถึง 5.10.7
ขอ 1.10 จิตเวชการบิน (Aviation Psychiatry)
1.10.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีประวัติทางการแพทย หรือไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรค
หรือมีความบกพรองหรือความผิดปกติทางจิตเวช ทั้งเฉียบพลันหรือเรื้อรัง เปนแตกําเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลัง
ซึ่งอาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
1.10.2 อาการทางจิ ต เวชที่ เ กิ ด จากโรคทางกาย (Organic mental disorder) พิ จ ารณาตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.2
1.10.3 การมี อ าการของโรคทางจิ ต เวชที่ เ กิ ด จากโรคทางกายจากสมองเสื่ อ ม (Dementias)
ใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ” พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.3
1.10.4 ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรมอันเนื่องมาจากการใชวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท
รวมทั้งกลุมอาการติดยาที่เกิดจากการใชแอลกอฮอลหรือวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาทชนิดอื่น ๆ (Mental
and behavioural disorder due to psychoactive substances use; this includes dependence syndrome
induced by alcohol or other psychoactive substances) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.11
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-12
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
1.10.5 โรคจิตเภท หรือบุคลิกภาพแบบจิตเภท หรือโรคหลงผิด (Schizophrenia or a schizotypal or
delusional disorder) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.4
1.10.6 โรคผิดปกติทางอารมณ (A mood (affective) disorder) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก
5 ขอ 5.11.5
1.10.7 โรคประสาท โรคทางกายที่เกิดจากภาวะทางจิตใจหรือสัมพันธกับความเครียด (A neurotic,
stress-related or somatoform disorder) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.6
1.10.8 พฤติ กรรมที่ สั มพั น ธ กับความผิดปกติทางสรีรวิทยาหรือปจ จัย ทางกาย (A behavioural
syndrome associated with physiological disturbances or physical factors) พิจารณาตามคํ าแนะนํ า ใน
ผนวก 5 ขอ 5.11.7
1.10.9 ความผิดปกติทางบุคลิกภาพในวัยผูใหญหรือพฤติกรรมโดยเฉพาะที่มีการแสดงออกมาก
เกิ น ไปและซ้ํ า ซาก (A disorder of adult personality or behaviour, particularly if manifested by repeated
overt acts) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.7 และ 5.11.8
1.10.10 ภาวะปญญาออน (Mental retardation)
1.10.11 ความผิดปกติที่เกิดจากการพัฒนาทางจิตใจ (A disorder of psychological development)
1.10.12 ความผิดปกติทางพฤติกรรมหรืออารมณที่เริ่มตั้งแตวัยเด็กหรือในวัยรุน (A behavioural or
emotional disorder, with onset in childhood or adolescence)
1.10.13 ความผิดปกติทางจิตใจอื่น ๆ (A mental disorder not otherwise specified)
1.10.14 สภาวการณนอนไมหลับ (Sleep disorders) ซึ่งทําใหผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไมสามารถ
ปฏิบัติภารกิจไดอยางปลอดภัย พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.9
คําแนะนํา - ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ปวยเปนโรคซึมเศราซึ่งไดรับการรักษาดวยยารักษาโรคซึมเศรา
ควรได รั บ การประเมิ น ว า “ไม ส มบู ร ณ ” เว น แต จ ะได รั บ การประเมิ น จากนายแพทย ผู ต รวจสอบ (Medical
Assessor) ในรายละเอียดแลวเห็นวา สภาวะของผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไมมีแนวโนมที่จะสงผลกระทบตอการ
ปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
ขอสังเกต - ปญหาทางจิตเวชและพฤติกรรมไดรับการกําหนดไวในแนวทางการวินิจฉัยทางคลินิกของ
องคการอนามัยโลก (WHO) พิมพครั้งที่ 10 ป 1992 ที่จะใหขอมูลทางสถิติการจัดแบงประเภทของโรคที่เกี่ยวของ
กับปญหาทางสุขภาพในเรื่องปญหาทางจิตเวชและพฤติกรรม ในเอกสารนี้ประกอบดวยรายละเอียด ที่ใชในการ
วินิจฉัยที่ชวยในการประเมินทางการแพทย (International Statistical Classification of Diseases and Related
Health Problems, 10th Edition - Classification of Mental and Behavioural Disorders, WHO 1992.)
ขอ 1.11 โรคทางระบบประสาท (Neurological Disorders)
1.11.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีประวัติทางการแพทยหรือไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรค
ระบบประสาทซึ่งอาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
1.11.2 ตองพิจารณาเปนพิเศษ ในกรณีตอไปนี้ ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.12
1.11.2.1 โรคทางระบบประสาท (Nervous system) ที่ยังมีการดําเนินโรคอยางต อเนื่ อง
(Progressive) หรื อคงที่ แล ว (Non-progressive) ซึ่ งมี ผ ลกระทบต อการปฏิ บั ติ ห น าที่ อย างปลอดภั ย ของผู ถื อ
ใบอนุญาตผูประจําหนาที่ พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.12.1 ถึง 5.12.4
1.11.2.2 โรคลมชัก (Epilepsy) หรือการชักจากสาเหตุอื่น ๆ ที่เปนสาเหตุใหสูญเสียความ
รูสึกตัว (Cause of disturbance of consciousness) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.12.5 ถึง 5.12.8

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-13


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
1.11.2.3 สภาวะต า ง ๆ ที่ มี ผ ลต อ ความบกพร อ งในการทํ า งานของสมอง (High
propensity for cerebral dysfunction) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.12.9, 5.12.13, 5.12.14 และ
5.12.15
1.11.2.4 การหมดสติหรือการไมรูตัวโดยไมมีเหตุผลอธิบายได (Loss of consciousness)
1.11.2.5 การบาดเจ็บ ที่ศีรษะ (Head injury) พิจ ารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ
5.12.10
1.11.2.6 การบาดเจ็ บที่ไขสั นหลั งหรื อระบบประสาทสวนปลาย (Spinal or peripheral
nerve injury) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.12.11
1.11.2.7 ภาวะเนื้ อ งอกในสมอง (Neoplasms) พิ จ ารณาตามคํ า แนะนํ า ในผนวก 5
ขอ 5.12.12
1.11.3 การตรวจสมองดวยคลื่นไฟฟาจะกระทําเมื่อมีขอบงชี้จากประวัติหรืออาการ
ขอ 1.12 จักษุวิทยา (Ophthalmology)
1.12.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีความผิดปกติในการทํางานของตาและสวนประกอบ ไม
มีพยาธิสภาพที่กําลังเปนอยู ความผิดปกติที่เปนมาแตกําเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลัง ทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง ผล
จากการผาตัดทางจักษุ (Sequelae of eye surgery) หรือการบาดเจ็บซึ่งอาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยาง
ปลอดภัยพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.13.1
1.12.2 ตองทําการตรวจทางจักษุวิทยาอยางครบถวนสมบูรณในการตรวจครั้งแรก
1.12.3 ใหทําการตรวจทางจักษุวิทยาทุกครั้ง เมื่อมารับการตรวจรางกายสําหรับการตออายุใบสําคัญแพทย
1.12.4 การตรวจอยางละเอียดทางจักษุวิทยา เมื่อมาตรวจรางกายตามวาระ ใหกระทําดังนี้
1.12.4.1 ทุก 5 ป จนอายุครบ 40 ป
1.12.4.2 หลังจาก 40 ป ทําการตรวจทุก 2 ป
(รายละเอียดการตรวจทางจักษุวิทยาตามขอ 1.12.2 ขอ 1.12.3 และขอ 1.12.4 ใหดูคําแนะนําในผนวก 5
ขอ 5.13.2 และ 5.14)
ขอ 1.13 ขอกําหนดระดับการมองเห็น (Visual Requirements)
1.13.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยสามารถมองเห็นระยะไกล (Distant Visual Acuity) ทั้งตาเปลาหรือ
สวมอุปกรณชวยในแตละขางตองไมเกิน 20/30 (6/9) และไมเกิน 20/20 (6/6) ในการมองดวยตาทั้งสองขาง ไมมี
ขอจํากัดของการมองเห็นดวยตาเปลา (No limits apply to uncorrected visual acuity) และไมมีขอจํากัดของ
ความบกพรองของการหักเหของแสง (Refractive errors)
1.13.2 ความบกพรองของการหักเหแสง (Refractive errors) หมายถึง การเบี่ยงเบนไปจากภาวะ
สายตาปกติ (Emmetropia) ของแสงที่ ไ ม ต กยั งจอตา (Ametropic meridian) ที่วัดออกมาเป น ไดออพเตอร
(Diopters) การวัดการหักเหของแสงตองกระทําอยางไดมาตรฐาน
1.13.2.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เริ่มมีสายตาเปลี่ยนตามอายุ (Presbyopia) จะตอง
ไดรับการตรวจสายตาทุกครั้งที่มารับการตรวจรางกาย
1.13.2.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองสามารถอานขอความในแผนตรวจแบบ น.5 (N5
chart) หรือแผนที่ใชแทนกันไดระยะหาง 30 - 50 เซนติเมตร และตองสามารถอานแผนตรวจแบบ น.14 (N14
chart) หรือแผนที่ใชทดแทนกันไดที่ระยะหาง 100 เซนติเมตร ดวยตาเปลาหรือสวมอุปกรณชวย
1.13.3 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ มี ค วามบกพร อ งของการมองเห็ น ด ว ยสองตา (Binocular
vision) อยางชัดเจน ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-14
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
1.13.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มองเห็นภาพซอน (Diplopia) ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
1.13.5 ผูร องขอรับใบสําคัญแพทยที่มีความผิดปกติของ Convergence ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
1.13.6 ผูรอ งขอรับใบสําคัญแพทยที่กลามเนื้อตาไมสมดุล (Heterophorias) เกินกวาที่กําหนด ดังนี้
2.0 ปริซึม ไดออพเตอร ใน Hyperphoria ที่ระยะ 6 เมตร
10.0 ปริซึม ไดออพเตอร ใน Esophoria ที่ระยะ 6 เมตร
8.0 ปริซึม ไดออพเตอร ใน Exophoria ที่ระยะ 6 เมตร
1.0 ปริซึม ไดออพเตอร ใน Hyperphoria ที่ระยะ 33 เซนติเมตร
8.0 ปริซึม ไดออพเตอร ใน Esophoria ที่ระยะ 33 เซนติเมตร
12.0 ปริซึม ไดออพเตอร ใน Exophoria ที่ระยะ 33 เซนติเมตร
ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ยกเวนถามี Fusional reserve เพียงพอสําหรับการปองกันความออนเพลียงายของ
นัยนตา (Asthenopia) และการเห็นภาพซอน (Diplopia)
1.13.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีขอบเขตการมองเห็น (Visual fields) ผิดปกติใหถือวา “ไม
สมบูรณ”
1.13.8 กรณีการใชแวนหรือเลนสสัมผัส
1.13.8.1 ถาการมองเห็นโดยตองใชแวนหรือเลนสสัมผัสชวยตองมีไวพรอมใชเสมอในการ
ปฏิบัติหนาที่
1.13.8.2 หามใชแวนหรือเลนสสัมผัสมากกวา 1 ขนาด และแวนหรือเลนสสัมผัสนั้นตอง
สามารถมองเห็นไดตามมาตรฐานจักษุวิทยา ทั้งระยะไกล (Distant) และใกล (Near)
1.13.8.3 ต องมี แว น หรือเลนสสั มผัส ที่มี ขนาดเดีย วกัน สํา รองเพื่ อ พร อ มใช ในระหว า ง
ปฏิบัติหนาที่
1.13.8.4 ผูที่ไดรับการผาตั ดเพื่ อแกไขสายตาถื อวา “ไมสมบูรณ” ชั่วคราว จนกวาจะ
ไดรับการพิจารณาภายหลัง ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.14.3
ขอ 1.14 ขอกําหนดการมองเห็นสี (Color Perception Requirements)
1.14.1 การเห็นสีปกติ หมายถึง การผานการทดสอบแบบทดสอบอีชิฮารา (Ishihara) หรือแบบนา
เจล (Nagel’s anomaloscope)
1.14.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองสามารถแยกสีไดในระดับปลอดภัย (be color safe)
1.14.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไมผานการทดสอบแบบอีชิฮาราจะตองไดรับการประเมินโดยวิธี
ที่ไดรับการยอมรับจากศูนยเวชศาสตร การบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่
สํานักงานการบินพลเรื อนแห งประเทศไทยจนมั่น ใจไดวาสามารถแยกสีไดโ ดยปลอดภัย (Anomaloscopy or
color lanterns) ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.15
1.14.4 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ ไ ม ผ า นการทดสอบดั ง กล า ว ให ถื อ ว า “ไม ส มบู ร ณ ” ตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.15
ขอ 1.15 โสต ศอ นาสิกวิทยา (Otorhinolaryngology)
1.15.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไมมีความผิดปกติในการทํางานของหู คอ จมูก โพรงกระดู ก
(รวมทั้งชองปาก ฟนและกลองเสียง) โรคใด ๆ ที่เปนมาแตกําเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลัง ทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง
ผลที่ตามมาหลังจากการผาตัดหรือการกระทบ ซึ่งอาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
1.15.2 การตรว จทางระบบโสต ศอ นาสิ ก วิ ท ยา อย า งล ะเอี ย ด (A comprehensive
otorhinolaryngological examination) จะตองทําการตรวจในการตรวจรางกายครั้งแรกและตอมาทุก 5 ป
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-15
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ภายหลังอายุเกิน 40 ป ใหทําการตรวจทุก 2 ป หรือเมื่อผูเชี่ยวชาญดานโสต ศอ นาสิกวิทยา เห็นสมควรตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.16
1.15.3 การตรวจทางระบบหู คอ จมูกตามปกติ (Routine Ear-Nose-Throat examination) ให
ตรวจทุกครั้งในการตรวจรางกาย (Revalidation and renewal)
1.15.4 การตรวจพบสิ่งผิดปกติตอไปนี้ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
1.15.4.1 พยาธิ ส ภาพที่กําลังเปน อยูของหูชั้น ในหรือหูชั้น กลาง (Internal or middle
ears) ไมวาจะเปนแบบเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
1.15.4.2 แกวหู (Tympanic membranes) ทะลุที่ยังไมหายหรือแกวหูที่เสียหนาที่ ตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.16.3
1.15.4.3 มี ก ารทํ า งานของระบบการทรงตั ว ผิ ด ปกติ (Disturbance of vestibular
function) ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.16.4
1.15.4.4 มีการอุดกั้นของชองทางเดินหายใจ (Nasal air passage) ขางใดขางหนึ่งหรือ
โพรงไซนัส (sinuses) เสียหนาที่
1.15.4.5 การผิ ด รู ป (Malformation) อย า งเห็ น ได ชั ด การติ ด เชื้ อ (Infection) อย า ง
เฉียบพลันหรือเรื้อรังของชองปากหรือทางเดินหายใจสวนบน
1.15.4.6 เสียงและคําพูด (Speech or voice) มีความผิดปกติจนไมสามารถติดตอสื่อสารได
อยางปกติ
1.15.4.7 ความผิดปกติดานการทํางานของทอยูสเทเชี่ยน (Eustachian tubes)
1.15.4.8 การผ า ตั ดทาง ระบบ หู คอ จมูก (Post-surgical assessment) ผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยที่ไดรับการผาตัดทางระบบ หู คอ จมูก ถือวา “ไมสมบูรณ” การประเมินการกลับไปทําหนาที่ ให
ประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.16.5
ขอ 1.16 ขอกําหนดการไดยินเสียง (Hearing Requirements)
1.16.1 ใหมีการทดสอบการไดยินทุกครั้งที่มีการตรวจรางกาย ผูรับการตรวจตองเขาใจการสนทนา
อยางถูกตอง โดยทดสอบดวยคําพูดที่กระทําตอหูแตละขาง โดยผูรับการตรวจอยูหางจากผูทําการตรวจ 2 เมตร
และหันหลังใหผูตรวจ
1.16.2 ในการตรวจรางกายครั้งแรกใหทดสอบดวยวิธี Pure tone audiometry ตอมาใหตรวจทุกครั้ง
1.16.3 ในการตรวจครั้งแรกสําหรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 จะตองไมมีการสูญเสียการไดยินในหูแตละ
ขางที่ทดสอบแยกกันเกินกวา 20 เดซิเบล ที่ความถี่ 500, 1000, 2000 เฮิรตซ หรือเกิน 35 เดซิเบลที่ความถี่ 3000
เฮิรตซ ผูที่สูญเสียการไดยินตามมาตรฐานนี้เกิน 5 เดซิเบล ตั้งแตสองความถี่ขึ้นไป ถือวา “ไมสมบูรณ”
1.16.4 การตรวจรางกายเพื่อตอใบสําคัญแพทยจะตองไมมีการสูญเสียการไดยินในหูแตละข างที่
ทดสอบแยกกันเฉลี่ยเกินกวา 25 เดซิเบล ที่ความถี่ 500, 1000, 2000 เฮิรตซ หรือเกิน 50 เดซิเบลที่ความถี่ 3000
เฮิรตซ ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่สูญเสียการไดยินตามมาตรฐานนี้ไมเกิน 5 เดซิเบล ในสองความถี่หรือมากกวา
ใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.17.2.2
1.16.5 การตรวจรางกายเพื่อตอใบสําคัญแพทย ถามีการสูญเสียการไดยิน (Hypoacusis) อาจจะ
“สมบูรณ” ได ถามีการทดสอบแยกเสียง (Speech discrimination test) ไดผลเปนที่นาพอใจ เชน การไดยิน
เสียงพูด หรือ Beacon signal ในหองนักบินอยางชัดเจน โดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและกองเวชศาสตรการบิน
ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทยเปนผูพิจารณา

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-16


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
1.16.6 การใชเครื่องชวยการไดยิน (Personal hearing aids) ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ตองใช
เครื่องชวยการไดยิน ถือวา “ไมสมบูรณ” การพิจารณาการกลับไปทําหนาที่ใหมใหประเมินตามคําแนะนํา ใน
ผนวก 5 ขอ 5.17.4
ขอ 1.17 จิตวิทยาการบิน (Aviation Psychology)
1.17.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีความบกพรองทางจิตวิทยา ความถนัดแหงอาชีพและ
บุคลิกภาพที่กระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย การทดสอบทางจิตวิทยาเปนสวนหนึ่งของการตรวจใหครบถวน
ของการตรวจทางจิตเวชหรือการตรวจทางประสาทวิทยา ในการตรวจครั้งแรกใหทําการทดสอบทางจิตวิทยา สวนใน
การตรวจเพื่อตออายุใบสําคัญแพทย แพทยผูตรวจอาจพิจารณาใหทําการทดสอบทางจิตวิทยา เมื่อมีขอบงชี้วา
สมควร เพื่อประกอบการตรวจรางกายของจิตแพทยหรือแพทยผูเชี่ยวชาญดานประสาทวิทยา รายละเอียดตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.18
1.17.2 เมื่อจําเปนตองมีการทดสอบตามผนวก 1 ขอ 1.17.1 ใหใชจิตแพทยและนักจิตวิทยาการบินผูมี
ความรูและประสบการณเหมาะสม
ขอ 1.18 ตจวิทยา (Dermatology)
1.18.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไมมีความผิดปกติของผิวหนังซึ่งอาจมีผลเสียตอการปฏิบัติหนาที่
อยางปลอดภัย หรือเปนที่นารังเกียจตอผูอื่น
1.18.2 ใหพิจารณาเปนพิเศษในกรณีดังตอไปนี้ ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.19
1.18.2.1 ผิวหนังอักเสบ (Eczema exogenous and endogenous)
1.18.2.2 เรื้อนกวางหรือสะเก็ดเงิน (Severe psoriasis)
1.18.2.3 การติดเชื้อโรคแบคทีเรีย (Bacterial infections)
1.18.2.4 ผื่นเนื่องจากการแพยา (Drug induced eruptions)
1.18.2.5 ผื่นพุพอง (Bullous eruptions)
1.18.2.6 มะเร็งที่ผิวหนัง (Malignant condition of the skin)
1.18.2.7 ลมพิษ (Urticaria)
ขอ 1.19 มะเร็งวิทยา (Oncology)
1.19.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีอาการของโรคมะเร็ง ไมวาจะเปนขั้นเริ่มตนหรือมีการกระจาย
ของโรคและมีสุ ขภาพของร างกายเสื่ อมโทรมเปน สาเหตุทําใหความปลอดภัย ในการทําหนาที่เสีย ไป ใหถือวา
“ไมสมบูรณ”
1.19.2 หลังจากไดรับการรักษามะเร็งแลว อาจพิจารณาใหทําหนาที่ไดโดยอาศัยเกณฑการพิจารณา
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.20

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-17


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ผนวก 2 มาตรฐานในการออกใบสําคัญแพทย ชั้นสอง
ขอ 2.1 ระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular System)
ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ต อ งไม มี ค วามผิ ด ปกติ ข องหั ว ใจทั้ ง ที่ เ ป น มาแต กํ า เนิ ด หรื อ เป น ภายหลั ง
ซึ่งอาจมีผลตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
2.1.1 การตรวจรางกาย (Examination)
2.1.1.1 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย จ ะต อ งไม มี ค วามผิ ด ปกติ ท างหั ว ใจและหลอดเลื อ ด
ทั้งโดยกําเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลัง ซึ่งจะมีผลตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
2.1.1.2 ในการตรวจรางกายครั้งแรก ตองมีการตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจตามมาตรฐานขณะพั ก
(Standard 12-lead resting ECG) หลังจากนั้นตรวจทุกครั้ง เพื่อตอใบสําคัญแพทย
2.1.1.3 การตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจขณะออกกําลังกาย (Exercise electrocardiograph) ให
กระทําเมื่อมีขอบงชี้ทางการแพทย ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2
2.1.1.4 แพทยผูอานผลคลื่นไฟฟาหัวใจตองเปนผูเชี่ยวชาญดานโรคหัวใจ
ขอสังเกต - จุดหมายของการตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจเปนประจําเพื่อการตรวจคัดกรองสุขภาพ
2.1.1.5 ถาผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีปจจัยเสี่ยง 2 อยางหรือมากกวา (ไดแก การสูบบุหรี่
ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน อวน และอื่น ๆ) จะตองตรวจไขมันคอเลสเตอรอลชนิดตาง ๆ เพื่อประเมินความเสี่ยงของ
โรคหัวใจทุกครั้งที่มารับการตรวจ เมื่อตรวจพบระดับไขมันในเลือด (Cholesterol) ที่มากกวา 8 mmol/L (320
mg/dL) ใหดําเนินการรักษาดวยยาลดระดับไขมันที่เหมาะสม ไมวาจะมีปจจัยเสี่ยงอื่น ๆ รวมดวยหรือไม ในผูรอง
ขอรับใบสําคัญแพทยที่มีโรคหัวใจจากหลอดเลือด เปาหมายระดับไขมั นคื อ total cholesterol <5 mmol/l (<190
mg/dL) and LDL cholesterol <3 mmol/L (<115 mg/dL) ในผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีโรคเบาหวาน เปาหมาย
คือ <4.5 mmol/L (<175 mg/dL) and <2.5 mmol/L (<100 mg/dL) ตามลําดับ
2.1.2 ความดันโลหิต (Blood Pressure)
2.1.2.1 การวัดความดันโลหิตใหใชวิธีตรวจตามคําแนะนําในผนวก 5
2.1.2.2 เมื่อความดันโลหิต 160/95 มม.ปรอท ขึ้นไป ไมวาจะกําลังรักษาหรือไมไดรักษาก็
ตาม ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
2.1.2.3 ยารักษาความดันโลหิตสูงที่ใชตองเลือกที่มีความปลอดภัยสูงและไมมีผลขางเคียง
การเริ่มตนรักษาตองใชใบอนุญาตชั่วคราวเพื่อใหแนใจวาไมมีผลขางเคียงจากการใชยา ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ
5.2.4
2.1.2.4 ผู ที่มีอาการเนื่ องจากความดั นโลหิ ตต่ํ า (Symptomatic hypotension) ถือว า “ไม
สมบูรณ”
2.1.3 โรคของหลอดเลือดแดงโคโรนารี (Coronary Artery Disease)
2.1.3.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีขอบงชี้สงสัยวาจะเปนโรคหลอดเลือดหัวใจ ตองไดรับ
การตรวจโดยละเอียดตอไป ในรายที่เปนชนิดเริ่มตนแบบไมรายแรงและไมมีอาการอาจพิจารณาวา “สมบูรณ” ได
หลังจากไดรับการประเมินโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่
สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.5
2.1.3.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีอาการของโรคหลอดเลือดหัวใจ ถือวา “ไมสมบูรณ”
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-18
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
2.1.3.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เกิดภาวะกลามเนื้อหัวใจตาย ถือวา “ไมสมบูรณ” การ
ประเมินความสมบูรณหลังจากเกิดโรคกลามเนื้อหัวใจตายนั้น ตองทําโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกอง
เวชศาสตร การบิ น ฝ า ยมาตรฐานผูป ระจํ าหนาที่ สํานักงานการบิน พลเรือนแหงประเทศไทย ตามคํ าแนะนํา
ในผนวก 5 ขอ 5.2.6
2.1.3.4 ผูที่ไดรับการผาตัดเกี่ยวกับหลอดเลือดแดงโคโรนารี (Coronary by-pass surgery or
Coronary angioplasty/Stenting) ตองงดปฏิบัติหนาที่อยางนอย 6 เดือน และเมื่อหายเปนปกติแลวกอนจะกลับมา
ทําหนาที่ใหทําการประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.7
2.1.4 จังหวะการเตนและสื่อไฟฟาหัวใจ (Rhythm/Conduction Disturbance)
2.1.4.1 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ หั ว ใจห อ งบนเต น ผิ ด จั ง หว ะอย า งชั ด เจน
Supraventricular rhythm รวมทั้ง Sinoatrial dysfunction ไมวาจะเปนแบบ Intermittent หรือ Established ให
ถือวา “ไมสมบูรณ” จนกวาจะไดรับการประเมินหัวใจตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.8
2.1.4.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่อัตราการเตนของหัวใจเต นชาหรือเร็ว (Asymptomatic
sinus tachycardia or Sinus bradycardia) อาจอนุโลมวา “สมบูรณ” ถาไมมีอาการและไมมีความผิดปกติของ
หัวใจ
2.1.4.3 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ หั ว ใจเต น ผิ ด จั ง หวะที่ เ ป น Asymptomatic isolate
uniform atrial or ventricular ectopic complexes) อาจอนุโลมวา “สมบูรณ” แตถาเปนการเตนผิดจังหวะแบบ
Frequent to complex จะตองไดรับการประเมินหัวใจตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.8
2.1.4.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไมมีความผิดปกติอื่น ๆ นอกจากการมี Incomplete
bundle branch block หรือ Stable left axis deviation อาจอนุโลมวา “สมบูรณ”
2.1.4.5 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ มี Complete right or left bundle branch block
จะตองไดรับการประเมินหัวใจเมื่อตรวจพบ ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.8
2.1.4.6 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มี Broad and/or narrow complex tachycardia ให
ถื อ ว า “ไม ส มบู ร ณ ” จนกว าจะได รั บการประเมิ นหั วใจโดยศู นย เวชศาสตร การบิ นพลเรื อน หรื อกองเวชศาสตร
การบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.8
2.1.4.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไดรับการจี้ทางลัดไฟฟาของหัวใจดวยคลื่นวิทยุความถี่สูง
(Ablation) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.8
2.1.4.8 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยหรือผูถือใบสําคัญแพทยชั้น 2 ที่ติดตั้งเครื่องควบคุมการ
ทํางานของหัวใจแบบอัตโนมัติ (Endocardial pacemaker) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” จนกวาจะไดรับการประเมินหัวใจ
โดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือน
แหงประเทศไทย ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.8
2.1.5 ทั่วไป (General)
2.1.5.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคของเสนเลื อดสวนปลาย (Peripheral arterial
disease) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ทั้งกอนและหลังไดรับการผาตัด นอกเสียจากวา ไมมีการเสียหนาที่อยางชัดเจน
รวมทั้งไมมีโรคของหลอดเลื อดโคโรนารี หรือการแข็งตัวของผนังเส นเลือดอื่น ๆ การพิจารณาวา “สมบูร ณ ”
ใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.5 และขอ 5.2.6

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-19


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
2.1.5.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีการโปงพองของหลอดเลือดแดงใหญ (Aneurysm of
the thoracic or abdominal aorta) ทั้งกอนและหลังการผาตัด ใหถือวา “ไมสมบูรณ” การมีหลอดเลือดแดง
ใหญ โ ป ง พองในช อ งท อ งต่ํ า กว า ไต (Infra-renal abdominal aortic aneurysm) ให พิ จ ารณาตามคํ า แนะนํ า
ในผนวก 5 ขอ 5.2.9
2.1.5.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีความผิดปกติของลิ้นหัวใจลิ้นใดลิ้นหนึ่งอยางชัดเจน ให
ถือวา “ไมสมบูรณ”
2.1.5.3.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีความผิดปกติของลิ้นหัวใจเพียงเล็กนอยอาจ
อนุโลมวา “สมบูรณ” โดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่
สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย หลังจากการประเมินหัวใจตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.10
2.1.5.3.2 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ ไ ด รั บ การเปลี่ ย นหรื อ แก ไ ขลิ้ น หั ว ใจ
(Cardiac valve replacement/Repair) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ในบางรายอาจอนุโลมวา “สมบูรณ” โดยศูนย
เวชศาสตรการบินพลเรือนและกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรื อน
แหงประเทศไทย หลังจากการประเมินหัวใจ ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.10
2.1.5.4 การรักษาดวยยาตานการแข็งตัวของเลือด (Systemic anticoagulant therapy) จะ
ไมไดรับการยอมรับ หลังจากการใชยาไประยะหนึ่ง อาจอนุโลมวา “สมบูรณ” โดยการพิจารณาของศูนยเวชศาสตร
การบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.11 ขอ 5.6.6
2.1.5.5 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ มี ค วามผิ ด ปกติ ข องเยื่ อ หุ ม หั ว ใจทั้ ง ด า นนอก
(Pericardium) ดานใน (Endocardium) รวมทั้งกลามเนื้อหัวใจ (Myocardium) ถือวา “ไมสมบูรณ” จนกวาจะ
หายเปนปกติหรือไดรับการประเมินหัวใจ ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.12
2.1.5.6 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีหัวใจพิการมาแตกําเนิดทั้งกอนและหลังผาตัด ใหถือวา
“ไมสมบูรณ” ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีความผิดปกติเพียงเล็กนอยอาจไดรับการอนุโลมวา “สมบูรณ” โดยศูนย
เวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหง
ประเทศไทย หลังจากการประเมินหัวใจ ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.13
2.1.5.7 ก า ร เ ป ลี่ ย น หั ว ใ จ หรื อ ก าร เป ลี่ ย นหั ว ใ จแ ล ะ ป อ ด ( Heart or heart/ lung
transplantation) ใหประเมินวา “ไมสมบูรณ”
2.1.5.8 ผู ร องขอรั บใบสําคัญแพทยที่มีประวัติอาการหมดสติแบบ (Recurrent vasovagal
syncope) ใหประเมินวา “ไมสมบูรณ” การประเมินความสมบูรณตองพิจารณาโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนหรือ
กองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย ตามคําแนะนํา
ในผนวก 5 ขอ 5.2.14
ขอ 2.2 ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory System)
2.2.1 ทั่วไป (General)
2.2.1.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจไมวาจะ
เปนมาแตกําเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลัง ซึ่งกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-20


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
2.2.1.2 ในการตรวจรางกายตองมีการทํา Chest x-ray ในทาตรง (Posterior - anterior) ป
ละ 1 ครั้ง หากมีเหตุผลทางการแพทยหรือการระบาดของโรคทางเดินหายใจอาจตรวจไดมากกวา 1 ครัง้
2.2.1.3 ในการตรวจรางกายครั้งแรกควรมีการตรวจหนาที่การทํางานของปอด (Pulmonary
function test) ทําการตรวจเมื่อมีขอบงชี้ทางคลินิก ผูที่มีความผิดปกติชัดเจน จะถือวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําใน
ผนวก 5 ขอ 5.3.1
2.2.2 ความผิดปกติ (Disorder)
2.2.2.1 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ เ ป น โรคปอดอุ ด กั้ น เรื้ อ รั ง (Chronic obstructive
airway disease) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” เวนแตสภาวะของผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไดรับการตรวจและประเมิน
ทางการแพทยอยางดีที่สุดแลว เชื่อไดวาไมกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย ตามคําแนะนําในผนวก 5
ขอ 5.3.2
2.2.2.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคหอบหืด (Bronchial asthma) ระยะมีอาการและ
ตองการการรักษา (Requiring medication) และนาจะเกิดภาวะไรความสามารถ (incapacitating) ในระหวางการ
ปฏิบัติหนาที่หรือภาวะฉุกเฉิน ใหประเมินวา “ไมสมบูรณ” เวนแตสภาวะของผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไดรับการ
ตรวจและประเมิ น ทางการแพทย อย า งดี ที่สุดแลว เชื่อไดวาไมกระทบตอการปฏิบัติห นาที่อยางปลอดภัย ให
ประเมินความสมบูรณเพิ่มเติม ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.3.3
2.2.2.3 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ มี โ รคจากการอั ก เสบที่ กํ า ลั ง แสดงอาการ (Active
inflammatory disease) ของระบบทางเดินหายใจจะถือวา “ไมสมบูรณ” แบบชั่วคราว
2.2.2.4 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ เ ป น โรคซาคอยโดซิ ส (Sarcoidosis) ให ถื อ ว า
“ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.3.4
2.2.2.5 ผู ร องขอรั บใบสํ าคั ญแพทย ที่ มี ลมในช องเยื่ อหุ มปอดที่ เกิ ดขึ้ นเอง (Spontaneous
pneumothorax) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” การประเมินความสมบูรณตองพิจารณาโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน
หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย ตามคําแนะนําใน
ผนวก 5 ขอ 5.3.6
2.2.2.6 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ ไ ด รั บ การผ า ตั ด ใหญ ใ นช อ งทรวงอก ให ถื อ ว า
“ไมสมบูรณ” อยางนอย 3 เดือน หลังจากนั้น ถามีผลการตรวจรางกายแสดงวาจะไมกระทบตอการปฏิบัติหนาที่
จึงถือวา “สมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.3.7
2.2.2.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ปวยเปนวัณโรคระยะที่โรคยังดําเนินอยูใหประเมิ นวา
“ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.3.5
2.2.2.8 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เคยปวยเปนวัณโรคและไดรับการรักษาจนหายแลว อาจ
มีรองรอยโรคเหลืออยูบางอาจไดรับการประเมินวา “สมบูรณ” ใหประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.3.5
2.2.2.9 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ ผ ลการรั ก ษาการหยุ ด การหายใจขณะนอนหลั บ
(Sleep apnoea) ไดผลไมดีใหประเมินวา “ไมสมบูรณ”

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-21


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ขอ 2.3 ระบบทางเดินอาหาร (Digestive System)
2.3.1 ทั่วไป (General)
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจ ะต องไม มีความผิ ดปกติ ในหนาที่ (Functional) หรือโครงสร าง
(Structural) ของระบบทางเดินอาหารที่อาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
2.3.2 ความผิดปกติ (Disorder)
2.3.2.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทย ที่มีอาการปวดท อง ทองอืดเปนประจําจากธาตุ พิก าร,
อาหารไมยอย (Dyspeptic disorders) โรคลําไสแปรปวน (Irritable Bowel Syndrome; IBS) การบีบตัวผิดปกติ
อื่น ๆ (Motility disorder) ภาวะตับออนอักเสบ (Pancreatitis) ที่มีอาการมาก สงผลกระทบผลตอคุณภาพชีวิต
หรือตองรักษาดวยยา จะถือวา “ไมสมบูรณ” จนกวาจะไดรับการตรวจและประเมินผลเพิ่มเติม ตามคําแนะนําใน
ผนวก 5 ขอ 5.4.1
2.3.2.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ตรวจพบวานิ่วในถุงน้ําดีที่ไมมีอาการ (Asymptomatic
gallstones) ใหประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.4.2
2.3.2.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีนิ่วในถุงน้ําดีหลายกอนหรือมีกอนเดียวขนาดใหญและมี
อาการใหถือวา “ไมสมบูรณ” จนกวาจะไดรับการรักษาจนหาย ใหประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.4.2
2.3.2.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีประวัติทางการแพทยหรือแสดงอาการลําไสอักเสบ
เรื้อรัง (Chronic inflammatory bowel disease) ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
2.3.2.5 ผู ร องขอรั บใบสําคัญแพทยที่เกิดภาวะลําไสอักเสบเรื้อรัง (Chronic inflammatory
bowel disease) ใหประเมินผลตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.4.3
2.3.2.6 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไมเปนโรคไสเลื่อน (Hernia) ซึ่งอาจกอใหเกิดการพร อง
สมรรถภาพอยางกะทันหัน (Incapacitation)
2.3.2.7 ผลที่ ต ามมาจากโรคหรื อ จากการผ า ตั ด ในช อ งท อ ง (Sequelae of disease or
surgical intervention) ซึ่งอาจเปนสาเหตุใหเกิดการพรองสมรรถภาพขณะทําหนาที่ (Incapacitation) เชน การ
อุดตัน ตีบแคบ หรือกดทับของทางเดินอาหาร ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
2.3.2.8 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไดรับการผาตัดใหญในชองทองที่ตองตัดทางเดินอาหาร
ออกไปทั้งหมดหรือสวนหนึ่งสวนใด รวมทั้งอวัยวะอื่น ๆ ภายในชองทองดวย ใหถือวา “ไมสมบูรณ” อยางนอย 3
เดือนหลังจากนั้นเมื่อผลของการผาตัดแสดงวาจะไมกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย จึงถือวา“สมบูรณ”
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.4.4
2.3.2.9 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีอาการของตับอักเสบหรือตรวจพบวามีตับอักเสบเรื้อรังไม
วาชนิดใดหรือการตรวจพบวาอยูในระยะแพรกระจายโรคได ใหถือวา “ไมสมบูรณ” หากไดรับการรักษาจนหายดี
ตับทําหนาที่ปกติ มีการฟนตัวอยางสมบูรณ ตรวจไมพบเชื้อ และไมมีอาการหรือพบวามีภูมิคุมกัน (Antibody) ใหถือวา
“สมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.4.6

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-22


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ขอ 2.4 โรคทางระบบเมตาโบลิซึม โภชนาการ และระบบตอมไรทอ (Metabolic, Nutritional and
Endocrine Diseases)
2.4.1 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ต อ งไม มี ค วามผิ ด ปกติ ใ นหน า ที่ (Functional) หรื อ โครงสร า ง
(Structural) ของระบบเมตาโบลิซึม (Metabolic) ระบบโภชนาการ (Nutritional) หรือตอมไรทอ (Endocrine) ที่
อาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
2.4.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีความผิดปกติของระบบเมตาโบลิซึม ระบบโภชนาการหรือระบบ
ตอมไรทอ อาจพิจารณาวา “สมบูรณ” ถาไมมีอาการและไดรับการดูแลจากแพทยผูเชี่ยวชาญอยางสม่ําเสมอ
2.4.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคเบาหวาน อาจอนุโลมวา “สมบูรณ” แตตองอยูในเกณฑตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.5.2 และ 5.5.3
2.4.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคเบาหวานและตองรับการรักษาดวยอินซูลิน (Insulin) ให
ถือวา “ไมสมบูรณ”
2.4.5 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่อวนมาก (Extreme obesity) มีดัชนีมวลกายเทากับหรือมากกวา 35
(Body Mass Index ≥ 35) อาจอนุโลมวา “สมบูรณ” ถาน้ําหนักที่เกินนั้นไมมีผลเสียตอความปลอดภัยใหประเมินตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.10.1
2.4.6 Addison’s disease ถือวา “ไมสมบูรณ” ใหประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.5.4
2.4.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะตอมไทรอยดทํางานมากไปหรือเปนพิษ (Hyperthyroidism -
Thyrotoxicosis) ใหประเมินวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.5.5
2.4.8 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ มี ภ าวะต อ มไทรอยด ทํ า งานน อ ยเกิ น ไป (Hypothyroidism)
ใหประเมินวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.5.6
ขอ 2.5 โลหิตวิทยา (Haematology)
2.5.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีโรคทางโลหิตที่อาจสงผลกระทบตอการปฏิบัติ ห น าที่
อยางปลอดภัย
2.5.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองเขารับการตรวจหาระดับความเขมของฮีโมโกลบิน (Haemoglobin)
และฮีมาโตคริต (Haematocrit) ทุกครั้ง ในรายที่มีโลหิตจางอยางชัดเจน คือ คาฮีมาโตคริตต่ํากวารอยละ 32
(Haematocrit below 32%) จะไดรับการประเมินวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.1
2.5.3 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ พ บลั ก ษณะโรคเลื อ ดซิ ก เคิ ล เซลล (Sickle cell) ให ถื อ ว า
“ไมสมบูรณ” อาจประเมินวา “สมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.1 วรรคสองและวรรคสาม
2.5.4 ผูรองขอรั บใบสํ าคั ญแพทยที่มีตอมน้ําเหลืองโต (Enlargement of lymphatic gland) เฉพาะที่
หรือกระจัดกระจายอยางชัดเจน และมีโรคทางโลหิต ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.2
2.5.5 ผูรองขอรับ ใบสํ า คัญ แพทยที่เปนโรคลิวคีเมียชนิดเฉียบพลัน (Acute leukaemia) ใหถือว า
ไมสมบูรณ” สวนผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคลิวคีเมียชนิดเรื้อรัง (Chronic leukaemia) ในการตรวจครั้ง
แรกใหถือวา “ไมสมบูรณ” แตถาเปนการตรวจเพื่อขอตอใบอนุญาตใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ
5.6.3
2.5.6 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ ม า มโต (Enlargement of spleen) อย า งชั ด เจน ให ถื อ ว า
“ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.4

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-23


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
2.5.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะเลือดขนแบบโพลี่ไซทีเมีย (Polycythaemia) อยางชัดเจน ให
ถือวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.5
2.5.8 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะผิดปกติ ของการแข็งตัวของเลื อดชา (Coagulation defect)
อยางชัดเจน ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ใหพิจารณาการรับประทานยาตานการแข็งตัวของเลือดดวย โดยประเมินผล
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.6
2.5.9 ในกรณีที่มีเกล็ดเลือดต่ํา (Thrombocytopenia) ที่ต่ํากวา 75,000/mm3 (75×109/L) ใหถือ
วา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.7
ขอ 2.6 ระบบทางเดินปสสาวะ (Urinary System)
2.6.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีความผิดปกติในการทํางาน (Functional) หรือโครงสราง
(Structural) ของระบบทางเดินปสสาวะหรืออวัยวะขางเคียง (Adnexa) ที่อาจสงผลกระทบตการปฏิบัติหนาที่
อยางปลอดภัย
2.6.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่แสดงอาการของการมีพยาธิสภาพของไต (Kidney) ใหถือวา “ไม
สมบูรณ” การตรวจปสสาวะใหกระทําทุกครั้งที่มีการตรวจรางกาย และตองไมพบสิ่งใดที่แสดงความผิดปกติ ทาง
พยาธิสภาพของไต โดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวกับทางเดินปสสาวะและอวัยวะสืบพันธุ โรคที่เกี่ยวกับทางเดินปสสาวะและ
อวัยวะสืบพันธุ ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.3 ถึง 5.7.10
2.6.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีอาการแสดงนิ่วในทางเดินปสสาวะ (Urinary calculi) ใหถือวา
“ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.2
2.6.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะปสสาวะเปนเลือด (Haematuria of urological origin) ให
พิจารณาวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.3
2.6.5 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะกลั้นปสสาวะไม อยู (Urinary incontinence) การมีภาวะ
สูญเสียความสามารถอยางเฉียบพลันในระหวางบิน (Incapacitation) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําใน
ผนวก 5 ขอ 5.7.4
2.6.6 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะป ญหาถุงอัณฑะ (Scrotal problems) ถือวา “ไมสมบู รณ ”
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.5
2.6.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีโรคติดเชื้อระบบทางเดินปสสาวะ (Urological Infection) ถือวา
“ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.6
2.6.8 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะโรคไตแตกําเนิดและถุงน้ําในไต (Congenital and Renal
Cystic Diseases) ใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.7
2.6.9 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคของเนื้อไต (Medullary sponge kidney) ใหพิจารณาวา
“ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.8
2.6.10 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคถุงน้ําในไตหลายถุง (Adult polycystic kidney disease) ให
พิจารณาวา “ไมสมบูรณ”ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.9
2.6.11 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะตอมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia) การมี
ภาวะอุดตันจากตอมลูกหมากโต ใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.10
2.6.12 ผูรองขอรับ ใบสํ าคัญแพทย ที่มีผลแทรกซอน (Sequelae) จากการผาตัดโรคไตและระบบ
ทางเดินปสสาวะจนอาจเปนสาเหตุการเจ็บปวยเฉียบพลันจนไมสามารถปฏิบัติงานได (Incapacitation) โดยเฉพาะ
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-24
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
การอุดตันหรือการตีบแคบจากการกดทับใหประเมินวา “ไมสมบูรณ” อยางนอย 3 เดือน หลังจากนั้น ถาไมมี
อาการหรือโรคแทรกซอนจะไดรับการพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.11 กอนจะถือวา “สมบูรณ”
2.6.13 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไดรับการผาตัดใหญในระบบทางเดินปสสาวะรวมทั้งการตัดไตออกและ
การเปลี่ยนทางเดินปสสาวะถือวา “ไมสมบูรณ” อยางนอย 12 เดือน หลังจากนั้น ถาไมมีอาการหรือโรคแทรกซอนจะไดรับ
การพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.12 กอนจึงจะถือวา “สมบูรณ”
2.6.14 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ใชยาซิเดอนาฟล (Sildenafil) ตองไมใชยากอนปฏิบัติหนาที่อยาง
นอย 24 ชั่วโมง
2.6.15 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ รั บ การรั ก ษาด ว ยฮอร โ มนเทสโทสเตอโรน (Testosterone
replacement) ใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.13
2.6.16 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะมะเร็งทางเดินปสสาวะ (Urological malignancy) ให
พิจารณาวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.14
ขอ 2.7 โรคติดตอทางเพศสัมพันธและโรคติดเชื้ออยางอื่น (Sexually Transmitted Diseases and Other
Infections)
2.7.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไมมีประวัติหรือไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคติดตอทางเพศสัมพันธ
หรือโรคติดเชื้ออื่น ๆ ซึ่งอาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
2.7.2 ใหพิจารณาเปนพิเศษถามีประวัติหรืออาการบงชี้ภาวะหรือโรคที่จะตองใหความสนใจพิเศษ
ไดแก อาการหรืออาการแสดง ดังตอไปนี้
2.7.2.1 ผลเลือดบวกของไวรัสภูมิคุมกันบกพรอง (HIV positivity) ตามคําแนะนําในผนวก 5
ขอ 5.8.2
2.7.2.2 ระบบภูมิคุมกันบกพรอง (Immune system impairment) เชน SLE

2.7.2.3 ตับ อักเสบจากการติดเชื้อ (Infectious hepatitis) ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ


5.8.4
2.7.2.4 โรคซิฟลิส (Syphilis) ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.8.3
ขอ 2.8 สูติศาสตรและนรีเวชวิทยา (Gynaecology and Obstetrics)
2.8.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมเปนโรคหรือมีพยาธิสภาพทางสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา ซึ่ง
อาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัยตามใบอนุญาตผูประจําหนาที่
2.8.2 ผูรองขอรับ ใบสํา คั ญแพทยมีความผิดปกติของการมีป ระจําเดือนมาก (Severe menstrual
disturbance) ซึ่งไมสนองตอบอยางดีตอการรักษา ใหถือวา “ไมสมบูรณ”ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.9.2
หรือ 5.9.3
2.8.3 การตั้งครรภถือวา “ไมสมบูรณ” แตในกรณีที่สูตินรีแพทยตรวจอยางละเอียดแลว หากพบวาการ
ตั้งครรภเปนไปอยางปกติ อาจอนุโลมวา “สมบูรณ” จนกระทั่งอายุครรภ 26 สัปดาห ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ
5.9.1 เมื่อสิ้นสุดการตั้งครรภ พิจารณากลับไปทําหนาที่ใหมหลังจาก 6 สัปดาหหลังการคลอดบุตรตามปกติ หรือ 2
สัปดาหหลังการแทงบุตร สามารถกลับมาทําหนาที่ไดเมื่อมีการตรวจรางกายและประเมินผลแลววา เปนปกติ

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-25


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
2.8.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไดรับการผาตัดใหญเกี่ยวกับระบบสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา ให
ถือวา “ไมสมบูรณ” ไมนอยกวา 2 เดือน หลังจากนั้นใหกลับมาทําหนาที่ไดถาผลของการผาตัดไมกระทบตอการ
ปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.9.4
ขอ 2.9 ระบบกลามเนื้อและกระดูก (Musculoskeletal System)
2.9.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไมมีความผิดปกติของกระดูก (Bones) ขอตอ (Joints) กลามเนื้อ
(Muscles) และเสนเอ็น (Tendons) ไมวาเปนมาแตกําเนิด หรือเกิดขึ้นภายหลังซึ่งอาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่
อยางปลอดภัย
2.9.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองมีขนาดของความสูงขณะนั่ง ความยาวของ แขน ขา ความแข็งแรง
ของกลามเนื้อเพียงพอตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.10.1
2.9.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองมีการทํางานของระบบกลามเนื้อและกระดูกเปนปกติ ผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยที่มีผลตามมาหลังจากการเปนโรค การบาดเจ็บหรือความผิดปกติแตกําเนิดของกระดูก ขอต อ
กลามเนื้อหรือเสนเอ็น โดยมีการผาตัดหรือไมมีจะตองไดรับการพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.10.2
2.9.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีผลตามมาจากการเจ็บปวยหรือการรักษาในดานกระดูก ขอตอ
กล า มเนื้ อ เสน เอ็ น และความผิ ดปกติ ทางกายวิภ าค ตองไดรับ การประเมิน ความพร อมในการปฏิบัติ ห น า ที่
พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.10.3 ถึง 5.10.7
ขอ 2.10 จิตเวชการบิน (Aviation Psychiatry)
2.10.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีประวัติทางการแพทย หรือไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคหรือ
มีความบกพรองหรือความผิดปกติทางจิตเวช ทั้งเฉียบพลันหรือเรื้อรัง เปนแตกําเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลัง ซึ่งอาจ
กระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
2.10.2 อาการทางจิ ต เวชที่ เ กิ ด จากโรคทางกาย (Organic mental disorder) พิ จ ารณาตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.2
2.10.3 การมี อ าการของโรคทางจิ ต เวชที่ เ กิ ด จากโรคทางกายจากสมองเสื่ อ ม (Dementias)
ใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.3
2.10.4 ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรมอันเนื่องมาจากการใชวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท
รวมทั้งกลุมอาการติดยาที่เกิดจากการใชแอลกอฮอลหรือวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาทชนิดอื่น ๆ (Mental
and behavioural disorder due to psychoactive substances use; this includes dependence syndrome
induced by alcohol or other psychoactive substances) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.11
2.10.5 โรคจิตเภท หรือบุคลิกภาพแบบจิตเภท หรือโรคหลงผิด (Schizophrenia or a schizotypal or
delusional disorder) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.4
2.10.6 โรคผิดปกติทางอารมณ (A mood (affective) disorder) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก
5 ขอ 5.11.5
2.10.7 โรคประสาท โรคทางกายที่เกิดจากภาวะทางจิตใจหรือสัมพันธกับความเครียด (A neurotic,
stress-related or somatoform disorder) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.6

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-26


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
2.10.8 พฤติ ก รรมที่ สั ม พั น ธ กั บ ความผิ ด ปกติ ท างสรี ร วิ ท ยาหรื อ ป จ จั ย ทางกาย (A behavioral
syndrome associated with physiological disturbances or physical factors) พิจารณาตามคําแนะนํ า ใน
ผนวก 5 ขอ 5.11.7
2.10.9 ความผิดปกติทางบุคลิกภาพในวัยผูใหญหรือพฤติกรรมโดยเฉพาะที่มีการแสดงออกมากเกินไป
แ ล ะ ซ้ํ า ซ า ก ( A disorder of adult personality or behavior, particularly if manifested by repeated
overt acts) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.7 และ 5.11.8
2.10.10 ภาวะปญญาออน (Mental retardation)
2.10.11 ค ว า ม ผิ ด ป ก ติ ที่ เ กิ ด จ า ก ก า ร พั ฒ น า ท า ง จิ ต ใ จ ( A disorder of psychological
development)
2.10.12 ความผิดปกติทางพฤติกรรมหรืออารมณ ที่เริ่มตั้งแตวัยเด็กหรือในวัยรุน (A behavioral or
emotional disorder, with onset in childhood or adolescence)
2.10.13 ความผิดปกติทางจิตใจอื่น ๆ (A mental disorder not otherwise specified)
2.10.14 สภาวการณนอนไมหลับ (Sleep disorders) ซึ่งทําใหผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไมสามารถ
ปฏิบัติภารกิจไดอยางปลอดภัย พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.9
คําแนะนํา - ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ปวยเปนโรคซึมเศราซึ่งไดรับการรักษาดวยยารักษาโรคซึมเศราควร
ไดรับการประเมินวา “ไมสมบูรณ” เวนแตจะไดรับการประเมินจากนายแพทยผูตรวจสอบ (Medical Assessor)
ในรายละเอียดแลวเห็นวา สภาวะของผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไมมีแนวโนมที่จะสงผลกระทบตอการปฏิบัติ
หนาที่อยางปลอดภัย
ขอสังเกต - ปญหาทางจิตเวชและพฤติกรรมไดรับการกําหนดไวในแนวทางการวินิจฉัยทางคลินิกของ
องคการอนามัยโลก (WHO) พิมพครั้งที่ 10 ป 1992 ที่จะใหขอมูลทางสถิติการจัดแบงประเภทของโรคที่เกี่ยวของ
กับปญหาทางสุขภาพในเรื่องปญหาทางจิตเวชและพฤติกรรม ในเอกสารนี้ประกอบดวยรายละเอียด ที่ใชในการ
วินิจฉัยที่ชวยในการประเมินทางการแพทย (International Statistical Classification of Diseases and Related
Health Problems, 10th Edition - Classification of Mental and Behavioural Disorders, WHO 1992.)
ขอ 2.11 โรคทางระบบประสาท (Neurological Disorders)
2.11.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีประวัติทางการแพทย หรือไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรค
ระบบประสาทซึ่งอาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
2.11.2 ตองพิจารณาเปนพิเศษ ในกรณีตอไปนี้ ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.12
2.11.2.1 โรคทางระบบประสาท (Nervous system) ที่ยังมีการดําเนินโรคอยางต อเนื่ อง
(Progressive) หรื อคงที่ แล ว (Non-progressive) ซึ่ งมี ผ ลกระทบต อการปฏิ บั ติ ห น าที่ อย างปลอดภั ย ของผู ถื อ
ใบอนุญาตผูประจําหนาที่ พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.12.1 ถึง 5.12.4
2.11.2.2 โรคลมชัก (Epilepsy) หรือการชักจากสาเหตุอื่น ๆ ที่เปนสาเหตุใหสูญเสียความ
รูสึกตัว (Cause of disturbance of consciousness) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.12.5 ถึง 5.12.8

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-27


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
2.11.2.3 สภาวะต า ง ๆ ที่ มี ผ ลต อ ความบกพร อ งในการทํ า งานของสมอง (High
propensity for cerebral dysfunction) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.12.9, 5.12.13, 5.12.14 และ
5.12.15
2.11.2.4 การหมดสติหรือการไมรูตัวโดยไมมีเหตุผลอธิบายได (Loss of consciousness)
2.11.2.5 การบาดเจ็บ ที่ศีรษะ (Head injury) พิจ ารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ
5.12.10
2.11.2.6 การบาดเจ็ บที ่ไขสั นหลั งหรื อระบบประสาทส วนปลาย (Spinal or peripheral
nerve injury) พิจารณาตามผนวก 5 ขอ 5.12.11
2.11.2.7 ภาวะเนื้องอกในสมอง (Neoplasms) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ
5.12.12
2.11.3 การตรวจสมองดวยคลื่นไฟฟาจะกระทําเมื่อมีขอบงชี้จากประวัติหรืออาการ
ขอ 2.12 จักษุวิทยา (Ophthalmology)
2.12.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีความผิดปกติในการทํางานของตาและสวนประกอบ
ไมมีพยาธิสภาพที่กําลังเปนอยู ความผิดปกติที่เปนมาแตกําเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลัง ทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง ผล
จากการผาตัดทางจักษุ (Sequelae of eye surgery) หรือการบาดเจ็บซึ่งอาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่ อย าง
ปลอดภัย ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.13.1
2.12.2 ตองทําการตรวจทางจักษุอยางครบถวนสมบูรณในการตรวจครั้งแรก
2.12.3 ให ทํ า การตรวจทางจั ก ษุ วิ ท ยาทุ ก ครั้ ง เมื่ อ มารั บ การตรวจร า งกายสํ า หรั บ การต อ อายุ
ใบสําคัญแพทย
2.12.4 การตรวจอยางละเอียดทางจักษุวิทยา เมื่อมาตรวจรางกายตามวาระ ใหกระทํา ดังนี้
2.12.4.1 ทุก 5 ป จนอายุครบ 40 ป
2.12.4.2 หลังจาก 40 ปทําการตรวจทุก 2 ป
(รายละเอียดการตรวจทางจักษุวิทยา ตาม ขอ 2.12.2 ขอ 2.12.3 และขอ 2.12.4ใหดูคําแนะนําในผนวก
5 ขอ 5.13.2 และ 5.14)
ขอ 2.13 ขอกําหนดระดับการมองเห็น (Visual Requirements)
2.13.1 มาตรฐานการมองเห็นระยะไกล (Distant visual acuity) ทั้งตาเปลาหรือสวมอุปกรณชวย
ในแตละขางตองไมเกิน 20/40 (6/12) และไมเกิน 20/30 (6/9) สําหรับการมองดวยตาทั้งสองขางไมมีขอจํากัด
ของการมองเห็ น ด ว ยตาเปล า (No limits apply to uncorrected visual acuity) และไม มี ข อ จํ า กั ด ของ
ความบกพรองของการหักเหแสง (Refractive errors)
2.13.2 ความบกพรองของการหักเหแสง (Refractive errors) หมายถึง การเบี่ยงเบนไปจากภาวะ
สายตาปกติ (Emmetropia) ของแสงที่ ไ ม ต กยั งจอตา (Ametropic meridian) ที่วัดออกมาเป น ไดออพเตอร
(Diopters) การวัดการหักเหของแสงตองกระทําอยางไดมาตรฐาน
2.13.2.1 การเปลี่ ย นแปลงสายตาตามอายุ (Presbyopia) ต อ งได รั บ การติ ด ตาม
ในการตรวจทางเวชศาสตรการบินเพื่อตอใบอนุญาตทุกครั้ง

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-28


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
2.13.2.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองสามารถอานขอความในแผนตรวจแบบ น.5 (N 5)
หรือแผนที่ใชแทนกันไดที่ระยะ 30-50 เซนติเมตร และตองสามารถอานแผนตรวจแบบ น.14 (N 14) หรือแผนที่ใช
ทดแทนกันไดที่ระยะหาง 100 เซนติเมตรดวยตาเปลาหรือสวมอุปกรณชวย
2.13.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีความผิดปกติของการมองเห็นดวยสองตา (Binocular vision)
อยางชัดเจน ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
2.13.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มองเห็นภาพซอน (Diplopia) ใหประเมินวา “ไมสมบูรณ”
2.13.5 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีลานสายตา (Visual Fields) ผิดปกติใหประเมินวา “ไมสมบูรณ”
2.13.6 ถาไดมาตรฐานการมองเห็นโดยตองใชแวนหรือเลนสสัมผัสชวย จะตองใชแวนหรือเลนส
สัมผัสเพื่อใหการมองเห็นดีที่สุด
2.13.7 ถาใชแวนหรือเลนสสัมผัสในการแกไขการมองเห็น ตองใชแวนหรือเลนสสัมผัสเพียงขนาด
เดียวที่สามารถมองเห็นไดทุกระยะทาง หามใชแวนหรือเลนสสัมผัสมากกวา 1 ขนาด
2.13.8 ตองมีแวนหรือเลนสสัมผัสที่มีขนาดเดียวกันสํารองเพื่อพรอมใชในระหวางปฏิบัติหนาที่
ขอ 2.14 ขอกําหนดการมองเห็นสี (Color Perception Requirements)
2.14.1 การเห็นสีปกติ หมายถึง การผานการทดสอบแบบทดสอบอีชิฮารา (Ishihara’s test) หรือ
แบบนาเจล (Nagel’s anomaloscope)
2.14.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองสามารถแยกสีไดในระดับปลอดภัย (be color safe)
2.14.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไมผานการทดสอบแบบอีชิฮาราจะตองไดรับการประเมินโดยวิธี
ที่ไดรับการยอมรับจากศูนยเวชศาสตร การบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่
สํานักงานการบินพลเรื อนแห งประเทศไทย จนมั่นใจไดวาสามารถแยกสีไดโดยปลอดภัย (Anomaloscopy or
color Lanterns)
2.14.4 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ ไ ม ผ า นการทดสอบดั ง กล า ว ให ถื อ ว า “ไม ส มบู ร ณ ” ตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.15
ขอ 2.15 มาตรฐานทางโสต ศอ นาสิกวิทยา (Otorhinolaryngology)
2.15.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไมมีความผิดปกติในการทํางานของหู คอ จมูก โพรงกระดู ก
(รวมทั้งชองปาก ฟนและกลองเสียง) โรคใด ๆ ที่เปนมาแตกําเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลัง ทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง
ผลที่ตามมาหลังจากการผาตัดหรือการกระทบซึ่งอาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
2.15.2 การตรว จทางระบบโสต ศอ นาสิ ก วิ ท ยา อย า งล ะเอี ย ด (A comprehensive
otorhinolaryngologically examination) จะต องทํ าการตรวจในการตรวจร างกายครั้ งแรกและต อมาทุก 5 ป
ภายหลังอายุเกิน 40 ป ใหทําการตรวจทุก 2 ป หรือเมื่อผูเชี่ยวชาญดานโสต ศอ นาสิกวิทยา เห็นสมควร ตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.16
2.15.3 การตรวจทางระบบหู คอ จมูกตามปกติ (Routine Ear-Nose-Throat examination) ให
ตรวจทุกครั้งในการตรวจรางกาย (Revalidation and renewal)

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-29


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
2.15.4 การตรวจพบสิ่งผิดปกติตอไปนี้ ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
2.15.4.1 พยาธิ ส ภาพที่กําลังเปน อยูของหูชั้น ในหรือหูชั้น กลาง (Internal or middle
ears) ไมวาจะเปนแบบเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
2.15.4.2 แกวหู (Tympanic membranes) ทะลุที่ยังไมหายหรือแกวหูที่เสียหนาที่ ตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.16.3
2.15.4.3 มี ก ารทํ า งานของระบบการทรงตั ว ผิ ด ปกติ (Disturbance of vestibular
function) ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.16.4
2.15.4.4 มีการอุดกั้นของชองทางเดินหายใจ (Nasal air passage) ขางใดขางหนึ่ง หรือ
โพรงไซนัส (sinuses) เสียหนาที่
2.15.4.5 การผิ ด รู ป (Malformation) อย า งเห็ น ได ชั ด การติ ด เชื้ อ (Infection) อย า ง
เฉียบพลันหรือเรื้อรังของชองปาก หรือทางเดินหายใจสวนบน
2.15.4.6 เสียงและคําพูด (Speech or voice) มีความผิดปกติจนไมสามารถติดตอสื่อสารได
อยางปกติ
2.15.4.7 ความผิดปกติดานการทํางานของทอยูสเทเชี่ยน (Eustachian tubes)
2.15.4.8 การผ า ตั ดทางระบบ หู คอ จมูก (Post-surgical assessment) ผูรองขอรั บ
ใบสําคัญแพทยที่ไดรับการผาตัดทางระบบ หู คอ จมูก ถือวา “ไมสมบูรณ” การประเมินการกลับไปทําหนาที่ตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.16.5
ขอ 2.16 ขอกําหนดการไดยินเสียง (Hearing Requirements)
2.16.1 ใหมีการทดสอบการไดยินทุกครั้งที่มีการตรวจรางกาย ผูรับการตรวจตองเขาใจการสนทนา
อยางถูกตอง โดยทดสอบดวยคําพูดที่กระทําตอหูแตละขาง โดยผูรับการตรวจอยูหางจากผูทําการตรวจ 2 เมตร
และหันหลังใหผูตรวจ
2.16.2 ในการตรวจรางกายครั้งแรกใหทดสอบดวยวิธี Pure tone audiometry ตอมาใหตรวจทุกครั้ง
2.16.3 ในการตรวจครั้งแรกสําหรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 จะตองไมมีการสูญเสียการไดยินในหูแตละ
ขางที่ทดสอบแยกกันเกินกวา 20 เดซิเบล ที่ความถี่ 500, 1000, 2000 เฮิรตซ หรือเกิน 35 เดซิเบลที่ความถี่ 3000
เฮิรตซ ผูที่สูญเสียการไดยินตามมาตรฐานนี้เกิน 5 เดซิเบล ตั้งแตสองความถี่ขึ้นไป ถือวา “ไมสมบูรณ”
2.16.4 การตรวจรางกายเพื่อตอใบสําคัญแพทยจะตองไมมีการสูญเสียการไดยินในหูแตละข างที่
ทดสอบแยกกันเฉลี่ยเกินกวา 35 เดซิเบล ที่ความถี่ 500, 1000, 2000 เฮิรตซ หรือเกิน 50 เดซิเบล ที่ความถี่ 3000
เฮิรตซ ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่สูญเสียการไดยินตามมาตรฐานนี้ไมเกิน 5 เดซิเบล ในสองความถี่หรือมากกวา
ใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.17.2.2
2.16.5 การตรวจรางกายเพื่อตอใบสําคัญแพทย ถามีการสูญเสียการไดยิน (Hypoacusis) อาจจะ
“สมบูรณ” ได ถามีการทดสอบแยกเสียง (Speech discrimination test) ไดผลเปนที่นาพอใจ เชน การไดยิน
เสียงพูด หรือ Beacon signal ในหองนักบินอยางชัดเจน โดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและกองเวชศาสตรการ
บิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย เปนผูพิจารณา
2.16.6 การใชเครื่องชวยการไดยิน (Personal hearing aids) ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ตองใช
เครื่องชวยการไดยินถือวา “ไมสมบูรณ” การพิจารณาการกลับไปทําหนาที่ใหม ใหประเมินตามคําแนะนํา ในผนวก 5
ขอ 5.17.4
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-30
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ขอ 2.17 จิตวิทยาการบิน (Aviation Psychology)
2.17.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีความบกพรองทางจิตวิทยา ความถนัดแหงอาชีพและ
บุคลิกภาพที่กระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย การทดสอบทางจิตวิทยาเปนสวนหนึ่งของการตรวจใหครบถวน
ของการตรวจทางจิตเวชหรือการตรวจทางประสาทวิทยา ในการตรวจครั้งแรกใหทําการทดสอบทางจิตวิทยา สวนใน
การตรวจเพื่อตออายุใบสําคัญแพทย แพทยผูตรวจอาจพิจารณาใหทําการทดสอบทางจิตวิทยา เมื่อมี่ขอบงชี้วา
สมควรเพื่อประกอบการตรวจรางกายของจิตแพทยหรือแพทยผูเชี่ยวชาญดานประสาทวิทยา รายละเอียดตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.18
2.17.2 เมื่อจําเปนตองมีการทดสอบตามผนวก 2 ขอ 2.17.1 ใหใชจิตแพทยและนักจิตวิทยาการบินผูมี
ความรูและประสบการณเหมาะสม
ขอ 2.18 ตจวิทยา (Dermatology)
2.18.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไมมีความผิดปกติของผิวหนังซึ่งอาจมีผลเสียตอการปฏิบัติหนาที่
อยางปลอดภัย หรือเปนที่นารังเกียจตอบุคคลอื่น
2.18.2 ใหพิจารณาเปนพิเศษในกรณีตอไปนี้ ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.19
2.18.2.1 ผิวหนังอักเสบ (Eczema exogenous and endogenous)
2.18.2.2 เรื้อนกวางหรือสะเก็ดเงิน (Severe psoriasis)
2.18.2.3 การติดเชื้อโรคแบคทีเรีย (Bacterial infection)
2.18.2.4 ผื่นเนื่องจากการแพยา (Drug induced eruptions)
2.18.2.5 ผื่นพุพอง (Bullous eruptions)
2.18.2.6 มะเร็งของผิวหนัง (Malignant condition of the skin)
2.18.2.7 ลมพิษ (Urticaria)
ขอ 2.19 มะเร็งวิทยา (Oncology)
2.19.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีอาการของโรคมะเร็ง ไมวาจะเปนขั้นเริ่มตนหรือมีการกระจาย
ของโรคและมีสุขภาพของรางกายเสื่อมโทรมเปนสาเหตุทําใหความปลอดภัยในการทําหนาที่เสียไป ใหถือวา “ไม
สมบูรณ”
2.19.2 หลังจากไดรับการรักษามะเร็งแลว อาจพิจารณาใหทําหนาที่ไดโดยอาศัยเกณฑการพิจารณา
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.20

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-31


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ผนวก 3 มาตรฐานการออกใบสําคัญแพทย ชั้นสาม
ขอ 3.1 ระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular System)
ผู ร องขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ตองไมมี ความผิดปกติข องหัว ใจทั้ง ที่เปน มาแตกํา เนิดหรือเปน ภายหลั ง
ซึ่งอาจมีผลตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
3.1.1 การตรวจรางกาย (Examination)
3.1.1.1 ในการตรวจรางกายใหตรวจหัวใจดวยคลื่นไฟฟาขณะพัก โดยทําการตรวจครบ 12 ลีด
(Standard 12-lead resting ECG) ในครั้ ง แรก หลั ง จากนั้ น ทํ า การตรวจทุ ก ครั้ ง จนถึ ง อายุ 60 ป หรื อ
เมื่อแพทยผูตรวจเห็นสมควร
3.1.1.2 การตรวจหัวใจดวยคลื่นไฟฟาของหัวใจตองเปนผูเชี่ยวชาญดานโรคหัวใจ
3.1.1.3 แพทยผูอานผลคลื่นไฟฟาของหัวใจตองเปนผูเชี่ยวชาญดานโรคหัวใจ
ขอสังเกต - จุดหมายของการตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจเปนประจําเพื่อการตรวจคัดกรองสุขภาพ
3.1.1.4 ถ า ผู ร อ งขอรั บ ใบสํา คั ญ แพทย ที่มีปจ จั ย เสี่ ย ง 2 อยา งหรือ มากกว า (ไดแ ก การ
สูบบุหรี่ ความดันโลหิตสู ง โรคเบาหวาน อวน และอื่น ๆ) จะตองตรวจไขมัน คอเลสเตอรอลชนิดตาง ๆ เพื่ อ
ประเมินความเสี่ยงของโรคหัว ใจทุ กครั้งที่ มารับ การตรวจ เมื่อตรวจพบระดับ ไขมัน ในเลือด (Cholesterol) ที่
มากกวา 8 mmol/L (320 mg/dL) ใหดําเนินการรักษาดวยยาลดระดับไขมันที่เหมาะสม ไมวาจะมีปจจัยเสี่ยงอื่น ๆ
รวมดวยหรือไม ในกลุมผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีโรคหัวใจจากหลอดเลือด เปาหมายของระดับไขมันคือ total
cholesterol <5 mmol/l (<190 mg/dL) and LDL cholesterol <3 mmol/L (<115 mg/dL) ในผู ร อ งขอรั บ
ใบสําคัญแพทยที่มีโรคเบาหวาน เปาหมายคือ <4.5 mmol/L (<175 mg/dL) และ <2.5 mmol/L (<100 mg/dL)
ตามลําดับ
3.1.2 ความดันโลหิต (Blood Pressure)
3.1.2.1 การวัดความดันโลหิตใหใชวิธีตรวจตามคําแนะนําในผนวก 5
3.1.2.2 ถาวัดความดันได 160/95 มม.ปรอท ขึ้นไป ไมวาจะกําลังรักษาหรือไมไดรักษาก็ตาม ให
ถือวา “ไมสมบูรณ”
3.1.2.3 การใชยารักษาความดันโลหิตสูงตองปลอดภัย ไมมีผลขางเคียงที่อาจกระทบกระเทือนตอ
ความปลอดภัยในการปฏิบัติหนาที่ การเริ่มตนรักษาดวยยาตองพักการใชใบสําคัญแพทยชั่วคราวเพื่อแนใจวาไมมี
ผลขางเคียงจากการใชยา ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.4
3.1.2.4 ผูที่มีอาการเนื่องจากความดันโลหิตต่ํา ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
3.1.3 โรคของหลอดเลือดแดงโคโรนารี (Coronary Artery Disease)
3.1.3.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีขอบงชี้สงสัยวาจะเปนโรคหลอดเลือดหัวใจ ตองไดรับ
การตรวจโดยละเอียดตอไป ในรายที่เปนชนิดเริ่มตนแบบไมรายแรงและไมมีอาการอาจพิจารณาวา “สมบูรณ” ได
หลังจากไดรับการประเมินโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบินฝายมาตรฐานผูประจํา
หนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.5
3.1.3.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีอาการของหลอดเลือดหัวใจ ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
3.1.3.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เกิดภาวะกลามเนื้อหัวใจตาย ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
การประเมินความสมบูรณหลังจากเกิดโรคกลามเนื้อหัวใจตายนั้น จะตองทําโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน
หรือกองเวชศาสตรการบิน สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.6

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-32


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
3.1.3.4 ผูที่ไดรับการผาตัดเกี่ยวกับหลอดเลือดแดงโคโรนารี (Coronary by-pass surgery or
Coronary angioplasty/Stenting) ตองงดปฏิบัติหนาที่อยางนอย 6 เดือน เมื่อหายเปนปกติแลวกอนจะกลับมา
ทําหนาที่ใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.7
3.1.4 จังหวะการเตนและการนําไฟฟาหัวใจ (Rhythm/Conduction Disturbance)
3.1.4.1 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ หั ว ใจห อ งบนเต น ผิ ด จั ง หว ะอย า งชั ด เจน
Supraventricular rhythmรวมทั้ง Sinoatrial dysfunction ไมวาจะเปนแบบ intermittent หรือ established ให
ถือวา “ไมสมบูรณ”จนกวาจะไดรับการประเมินหัวใจตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.8
3.1.4.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่อัตราการเตนของหัวใจเต นชาหรือเร็ว (Asymptomatic
sinus tachycardia or sinus bradycardia) อาจอนุโลมวา “สมบูรณ” ถาไมมีอาการและไมมีความผิดปกติของ
หัวใจ
3.1.4.3 ผูรองขอรับใบสําคั ญแพทยที่หัวใจเตนผิด จังหวะที่เปน Asymptomatic isolated
uniform atrial or ventricular ectopic complexes อาจอนุโลมวา “สมบูรณ” แตถาเปนการเตนผิดจังหวะ
แบบ frequent or complex จะตองไดรับการประเมินหัวใจตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.8
3.1.4.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไมมีความผิดปกติอื่น ๆ นอกจากการมี Incomplete
bundle branch block หรือ Stable left axis deviation อาจอนุโลมวา “สมบูรณ”
3.1.4.5 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ มี Complete right or left bundle branch block
จะตองไดรับการประเมินหัวใจเมื่อตรวจพบ ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.8
3.1.4.6 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มี Broad and/or narrow complex tachycardia ให
ถือวา “ไมสมบูรณ” จนกวาจะไดรับการประเมินหัวใจโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน
ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.8
3.1.4.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไดรับการจี้ทางลัดไฟฟาของหัวใจดวยคลื่นวิทยุความถี่สูง
(Ablation) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.8
3.1.4.8 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยหรือผูถือใบสําคัญแพทยชั้น 3 ที่ติดตั้งเครื่องควบคุมการ
ทํางานของหัวใจแบบอัตโนมัติ (Endocardial pacemaker) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” จนกวาจะไดรับการประเมินหัวใจ
โดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพล
เรือนแหงประเทศไทย ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.8
3.1.5 ทั่วไป (General)
3.1.5.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคของเสนเลื อดสวนปลาย (Peripheral arterial
disease) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ทั้งกอนและหลังไดรับการผาตัด นอกเสียจากวาไมมีการเสียหนาที่อยางชัดเจน
รวมทั้งไมมีโรคของหลอดเลือดโคโรนารี หรือการแข็งตัวของผนังเสนเลือดอื่น ๆ การพิจารณาความ “สมบูรณ”
ใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.5 และขอ 5.2.6
3.1.5.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีการโปงพองของหลอดเลื อดแดงใหญ (Aneurysm of
the thoracic or abdominal aorta) ทั้งกอนและหลังผาตัด ใหถือวา “ไมสมบูรณ” การมีหลอดเลือดแดงใหญโปง
พองในชองทองระดับต่ํากวาไต (Infra-renal abdominal aortic aneurysm) ใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก
5 ขอ 5.2.9
3.1.5.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีความผิดปกติของลิ้นหัวใจลิ้นใดลิ้นหนึ่งอยางชัดเจนให
ถือวา “ไมสมบูรณ”
3.1.5.3.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีความผิดปกติของลิ้นหัวใจเพียงเล็กนอยอาจ
อนุ โ ลมว า “สมบู ร ณ ” โดยศู น ย เ วชศาสตร ก ารบิ น พลเรื อ น หรื อ กองเวชศาสตร ก ารบิ น ฝ า ยมาตรฐาน
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-33
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย หลังจากการประเมินหัวใจตามคําแนะนําในผนวก 5
ขอ 5.2.10
3.1.5.3.2 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ ไ ด รั บ การเปลี่ ย นหรื อ แก ไ ขลิ้ น หั ว ใจ
(Cardiac valve replacement/Repair) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ในบางรายอาจอนุโลมวา “สมบูรณ” โดยศูนย
เวชศาสตรการบินพลเรือนและกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหง
ประเทศไทย หลังจากการประเมินหัวใจ ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.10
3.1.5.4 การรักษาดวยยาตานการแข็งตัวของเลือด (Systemic anticoagulant therapy) จะ
ไมไดรับการยอมรับ หลังจากการใชยาไประยะหนึ่ง อาจอนุโลมวา “สมบูรณ” โดยการพิจารณาของศูนยเวชศาสตร
การบินพลเรือนและกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.11 และ ขอ 5.6.6
3.1.5.5 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ มี ค วามผิ ด ปกติ ข องเยื่ อ หุ ม หั ว ใจทั้ ง ด า นนอก
(Pericardium) ดานใน (Endocardium) รวมทั้งกลามเนื้อหัวใจ (Myocardium) ถือวา “ไมสมบูรณ” จนกวาจะ
หายเปนปกติ หรือไดรับการประเมินหัวใจตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.12
3.1.5.6 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีหัวใจพิการมาแตกําเนิด ทั้งกอนและหลังผาตัด ใหถือ
วา“ไมสมบูรณ” โดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่
สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย หลังจากการประเมินหัวใจตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.13
3.1.5.7 ก า ร เ ป ลี่ ย น หั ว ใ จ หรื อ ก าร เป ลี่ ย นหั ว ใ จแ ล ะ ป อ ด ( Heart or heart/ lung
transplantation) ใหประเมินวา “ไมสมบูรณ”
3.1.5.8 ผู ร องขอรั บ ใบสําคัญ แพทยที่มีป ระวัติอาการหมดสติแบบ Recurrent vasovagal
syncope ใหประเมินวา “ไมสมบูรณ” การประเมินความสมบูรณตองพิจารณาโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรื อน
หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย หลังจากการ
ประเมินหัวใจตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.14
ขอ 3.2 ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory System)
3.2.1 ทั่วไป (General)
3.2.1.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจไมวาจะ
เปนมาแตกําเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลังซึ่งอาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่
3.2.1.2 ในการตรวจรางกายตองมีการทํา Chest x-ray ในทาตรง (Posterior – anterior) ป
ละ 1 ครั้ง หากมีเหตุผลทางการแพทยหรือการระบาดของโรคทางเดินหายใจอาจตรวจไดมากกวา 1 ครั้ง
3.2.2 ความผิดปกติ (Disorders)
3.2.2.1 การตรวจหนาที่การทํางานของปอดไมผิดปกติ
3.2.2.2 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ เ ป น โรคปอดอุ ด กั้ น เรื้ อ รั ง (Chronic obstructive
airway disease) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” เวนแตสภาวะของผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไดรับการตรวจและประเมิน
ทางการแพทยอยางดีท่ีสุดแลว เชื่อไดวาไมกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ
5.3.2
3.2.2.3 ผูรองขอรับใบสํ าคั ญแพทย ที่มีโรคหอบหืด (Bronchial asthma) ระยะมีอาการและ
ตองการการรักษา (Requiring medication) และนาจะเกิดภาวะไรความสามารถ (incapacitation) ในระหวางการ
ปฏิบัติหนาที่หรือภาวะฉุกเฉิน ใหประเมินวา “ไมสมบูรณ” เวนแตสภาวะของผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไดรับการ

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-34


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ตรวจและประเมิ น ทางการแพทย อย า งดี ที่สุดแลว เชื่อไดวาไมกระทบตอการปฏิบัติห นาที่อยางปลอดภัย ให
ประเมินความสมบูรณเพิ่มเติม ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.3.3
3.2.2.4 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ มี โ รคจากการอั ก เสบที่ กํ า ลั ง แสดงอาการ (Active
inflammatory disease) ของระบบทางเดินหายใจจะถือวา “ไมสมบูรณ” แบบชั่วคราว
3.2.2.5 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคซาคอยโดซิส (Sarcoidosis) ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.3.4
3.2.2.6 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ปวยเปนวัณโรคระยะที่โรคยังดําเนินอยูใหประเมิ นวา
“ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.3.5
3.2.2.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เคยปวยเปนวัณโรคและไดรับการรักษาจนหายแลว อาจ
มีรองรอยโรคเหลืออยู อาจไดรับการประเมินวา “สมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.3.5
3.2.2.8 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไดรับการผาตัดใหญในชองทรวงอก ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
อยางนอย 3 เดือน หลังจากนั้น ถามีผลการตรวจร างกายแสดงว าจะไม กระทบต อการปฏิบัติห นาที่ จึงถื อวา
“สมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.3.7
ขอ 3.3 ระบบทางเดินอาหาร (Digestive System)
3.3.1 ทั่วไป (General)
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะต องไมมีความผิดปกติ ในการทํางาน (Functional) หรือโครงสราง
(Structural) ของระบบทางเดินอาหารที่อาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
3.3.2 ความผิดปกติ (Disorders)
3.3.2.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทย ที่มีอาการปวดท อง ทองอืดเปนประจําจากธาตุ พิก าร,
อาหารไมยอย (Dyspeptic disorders) โรคลําไสแปรปวน (Irritable Bowel Syndrome; IBS) การบีบตัวผิดปกติ
อื่น ๆ (Motility disorder) ภาวะตับออนอักเสบ (Pancreatitis) ที่มีอาการมาก สงผลกระทบผลตอคุณภาพชีวิต
หรือตองรักษาดวยยา จะถือวา “ไมสมบูรณ” จนกวาจะไดรับการตรวจและประเมินผลเพิ่มเติมตามคําแนะนํ า
ในผนวก 5 ขอ 5.4.1
3.3.2.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ตรวจพบนิ่วในถุงน้ํ าดีที่ไม มีอาการ (Asymptomatic
gallstones) ใหประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.4.2
3.3.2.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีนิ่วในถุงน้ําดีหลายกอนหรือกอนเดียวขนาดใหญและมี
อาการ ใหถือวา “ไมสมบูรณ” จนกวาจะไดรับการรักษา ใหประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.4.2
3.3.2.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีประวัติทางการแพทยหรือแสดงอาการลําไสอักเสบ
เรื้อรัง (Chronic inflammatory bowel disease) ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
3.3.2.5 ผู ร องขอรั บใบสําคัญแพทยที่เกิดภาวะลําไสอักเสบเรื้อรัง (Chronic inflammatory
bowel disease) ใหประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.4.3
3.3.2.6 ผลที่ ต ามมาจากโรคหรื อ จากการผ า ตั ด ในช อ งท อ ง (Sequelae of disease or
surgical intervention) ซึ่งอาจเปนสาเหตุใหเกิดการพรองสมรรถภาพขณะทําหนาที่ (Incapacitation) เชน การ
อุดตัน หรือตีบแคบ หรือกดทับของทางเดินอาหาร ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
3.3.2.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไดรับการผาตัดใหญในชองทองที่ตองตัดทางเดินอาหาร
ออกไปทั้งหมดหรือสวนหนึ่งสวนใด รวมทั้งอวัยวะอื่น ๆ ภายในชองทองดวย ใหถือวา “ไมสมบูรณ” อยางนอย 3
เดื อ น หลั ง จากนั้ น เมื่ อ ผลของการผ า ตั ด แสดงว า จะไม ก ระทบต อ การปฏิ บั ติ ห น า ที่ อ ย า งปลอดภั ย จึ ง ถื อ ว า
“สมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.4.4

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-35


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
3.3.2.8 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีอาการของตับอักเสบหรือตรวจพบวามีตับอักเสบเรื้อรัง
ไมวาชนิดใดหรือการตรวจพบวาอยูในระยะแพรกระจายโรคได ใหถือวา “ไมสมบูรณ” หากไดรับการรักษาจนหาย
ดี ตับทําหนาที่ปกติ มีการฟนตัวอยางสมบูรณ ตรวจไมพบเชื้อ และไมมีอาการหรือพบวามีภูมิคุมกัน (Antibody) ใหถือ
วา “สมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.4.6
ขอ 3.4 โรคทางระบบเมตาโบลิซึม โภชนาการ และระบบตอมไรทอ (Metabolic, Nutritional and
Endocrine Diseases)
3.4.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไมมีความผิดปกติในการทํางาน (Functional) หรือโครงสราง
(Structural) ของระบบเมตาโบลิซึม (Metabolic) ระบบโภชนาการ (Nutritional) หรือตอมไรทอ (Endocrine) ที่
อาจจะกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
3.4.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีความผิดปกติของระบบเมตาโบลิซึม ระบบโภชนาการหรือระบบ
ตอมไรทอ อาจพิจารณาวา “สมบูรณ” ถาไมมีอาการและไดรับการดูแลจากแพทยผูเชี่ยวชาญอยางสม่ําเสมอ
3.4.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคเบาหวาน อาจอนุโลมวา “สมบูรณ” แตตองอยูในเกณฑตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.5.2 และ 5.5.3
3.4.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคเบาหวานและตองการการรักษาดวยอินซูลิน (Insulin) ให
ถือวา “ไมสมบูรณ”
3.4.5 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่อวนมาก (Extreme obesity) มีดัชนีมวลกายเทากับหรือมากกวา 35
(Body Mass Index ≥ 35) อาจอนุ โ ลมว า “สมบู ร ณ ” ถ า น้ํ า หนั ก ที่ เ กิ น นั้ น ไม มี ผ ลเสี ย ต อ ความปลอดภั ย
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.10.1
3.4.6 Addison’s disease ถือวา “ไมสมบูรณ” ใหประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.5.4
3.4.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยท่ีมีภาวะตอมไทรอยดทํางานมากไปหรือเปนพิษ (Hyperthyroidism -
Thyrotoxicosis) ใหประเมินวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.5.5
3.4.8 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ มี ภ าวะต อ มไทรอยด ทํ า งานน อ ยเกิ น ไป (Hypothyroidism)
ใหประเมินวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.5.6
ขอ 3.5 โลหิตวิทยา (Haematology)
3.5.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีโรคทางโลหิตที่อาจสงผลกระทบตอการปฏิบัติ ห น าที่
อยางปลอดภัย
3.5.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองเขารับการตรวจหาระดับความเขมของฮีโมโกลบิน (Haemoglobin)
และฮีมาโตคริต (Haematocrit) ทุกครั้ง ในรายที่มีโลหิตจางอยางชัดเจน คือ คาฮีมาโตคริตต่ํากวารอยละ 32
(Haematocrit below 32%) จะไดรับการประเมินวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.1
3.5.3 ผูรองขอรับใบสํ าคั ญแพทยที่มีต อมน้ํ าเหลื องโต (Enlargement of lymphatic gland) เฉพาะที่
หรือกระจัดกระจายอยางชัดเจน และมีโรคของโลหิต ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.2
3.5.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคลิวคีเมียชนิดเฉียบพลัน (Acute leukaemia) ใหถือวา “ไม
สมบูรณ” สวนผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคลิวคีเมียชนิดเรื้อรัง (Chronic leukaemia) ในการตรวจครั้ง
แรกใหถือวา “ไมสมบูรณ” แตถาเปนการตรวจเพื่อขอตอใบอนุญาตใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ
5.6.3
3.5.5 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มามโต (Enlargement of spleen) อยางชัดเจน ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.4

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-36


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
3.5.6 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะเลือดขนแบบโพลี่ไซทีเมีย (Polycythaemia) อยางชัดเจน ให
ถือวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.5
3.5.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะผิดปกติ ของการแข็งตัวของเลื อดชา (Coagulation defect)
อยางชัดเจน ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ใหพิจารณาการรับประทานยาตานการแข็งตัวของเลือดดวย ตามคําแนะนําใน
ผนวก 5 ขอ 5.6.6
3.5.8 ในกรณีที่มีเกล็ดเลือดต่ํา (Thrombocytopenia) ที่ต่ํากวา 75,000/mm3 (75×109/L) ใหถือวา
“ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.7
ขอ 3.6 ระบบทางเดินปสสาวะ (Urinary System)
3.6.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะต องไมมีความผิดปกติในการทํางาน (Functional) หรือโครงสราง
(Structural) ของระบบทางเดินปสสาวะหรืออวัยวะขางเคียง (Adnexa) ที่อาจสงผลกระทบตอการปฏิบัติหนาที่
อยางปลอดภัย
3.6.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่แสดงอาการของการมีพยาธิสภาพของไต (Kidney) และระบบ
ทางเดินปสสาวะ ใหถือวา “ไมสมบูรณ” การตรวจปสสาวะใหกระทําทุกครั้งที่มีการตรวจรางกายและตองไม พบ
ความผิดปกติทางพยาธิสภาพ โดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวกับทางเดินปสสาวะและอวัยวะสืบพันธุ โรคที่เกี่ยวกับทางเดิน
ปสสาวะและอวัยวะสืบพันธุ พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.3 ถึง 5.7.10
3.6.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีนิ่วในทางเดินปสสาวะ (Urinary calculi) ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.2
3.6.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะปสสาวะเปนเลือด (Haematuria of urological origin) ให
พิจารณาวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.3
3.6.5 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะกลั้นปสสาวะไมอยู (Urinary incontinence) การมีภาวะ
สู ญ เสี ย ความสามารถอย า งเฉี ย บพลั น ในระหว า งปฏิ บั ติ ห น า ที่ (Incapacitation) ให ถื อ ว า “ไม ส มบู ร ณ ”
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.4
3.6.6 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะป ญหาถุงอัณฑะ (Scrotal problems) ถือวา “ไมสมบู รณ ”
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.5
3.6.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีโรคติดเชื้อระบบทางเดินปสสาวะ (Urological Infection) ถือวา
“ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.6
3.6.8 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะโรคไตแตกําเนิดและถุงน้ําในไต (Congenital and Renal
Cystic Diseases) ใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.7
3.6.9 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคของเนื้อไต (Medullary sponge kidney) ใหพิจารณาวา
“ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.8
3.6.10 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคถุงน้ําในไตหลายถุง (Adult polycystic kidney disease) ให
พิจารณาวา “ไมสมบูรณ”ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.9
3.6.11 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะตอมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia) การมี
ภาวะอุดตันจากตอมลูกหมากโต ใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.10
3.6.12 ผูรองขอรับ ใบสํ าคัญแพทย ที่มีผลแทรกซอน (Sequelae) จากการผาตัดโรคไตและระบบ
ทางเดินปสสาวะจนอาจเปนสาเหตุการเจ็บปวยเฉียบพลันจนไมสามารถปฏิบัติงานได (Incapacitation) โดยเฉพาะ
การอุดตันหรือการตีบแคบจากการกดทับใหประเมินวา “ไมสมบูรณ” อยางนอย 3 เดือน หลังจากนั้น ถาไมมี
อาการหรือโรคแทรกซอนจะไดรับการพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.11 กอนจะถือวา “สมบูรณ”

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-37


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
3.6.13 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไดรับการผาตัดใหญในระบบทางเดินปสสาวะรวมทั้งการตัดไตออกและ
การเปลี่ยนทางเดินปสสาวะถือวา “ไมสมบูรณ” อยางนอย 12 เดือน หลังจากนั้น ถาไมมีอาการหรือโรคแทรกซอนจะไดรับ
การพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.12 กอนจะถือวา “สมบูรณ”
3.6.14 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ใชยาซิเดอนาฟล (Sildenafil) ตองไมใชยากอนปฏิบัติหนาที่อยาง
นอย 24 ชั่วโมง
3.6.15 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ รั บ การรั ก ษาด ว ยฮอร โ มนเทสโทสเตอโรน (Testosterone
replacement) ใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.13
3.6.16 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะมะเร็งทางเดินปสสาวะ (Urological malignancy) ให
พิจารณาวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.14
ขอ 3.7 โรคติดตอทางเพศสัมพันธและโรคติดเชื้ออยางอื่น (Sexually Transmitted Diseases and Other
Infections)
3.7.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไมมีประวัติหรือไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคติดตอทางเพศสัมพันธ
หรือโรคติดเชื้ออื่น ๆ ซึ่งอาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
3.7.2 ภาวะหรือโรคที่จะตองใหความสนใจพิเศษ ไดแก อาการหรือแสดงอาการ ดังตอไปนี้
3.7.2.1 ผลเลือดบวกของไวรัสภูมิคุมกันบกพรอง (HIV positivity) ตามคําแนะนําในผนวก 5
ขอ 5.8.2
3.7.2.2 ระบบภูมิคุมกันบกพรอง (Immune system impairment) เชน SLE
3.7.2.3 ตั บ อั ก เสบจากการติ ด เชื้ อ (Infectious hepatitis) ตามคํ า แนะนํ า ในผนวก 5
ขอ 5.8.4
3.7.2.4 โรคซิฟลิส (Syphilis) ตามคําแนะนนําในผนวก 5 ขอ 5.8.3
ขอ 3.8 สูติศาสตรและนรีเวชวิทยา (Gynaecology and Obstetrics)
3.8.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไมเปนโรคหรือมีพยาธิสภาพทางสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา ซึ่ง
อาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
3.8.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีความผิดปกติของการมีประจําเดือนอยางมาก (Severe menstrual
disturbance) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.9.2 และ 5.9.3
3.8.3 การตั้งครรภถือวา “ไมสมบูรณ” แตในกรณีที่สูตินรีแพทยตรวจอยางละเอียดแลว หากพบวาการ
ตั้งครรภเปนไปอยางปกติ อาจอนุโลมวา “สมบูรณ” จนกระทั่งอายุครรภ 34 สัปดาห ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ
5.9.1 เมื่อสิ้นสุดการตั้งครรภ พิจารณากลับไปทําหนาที่ใหมหลังจาก 6 สัปดาหหลังการคลอดบุตรตามปกติ หรือ 2
สัปดาหหลังการแทงบุตร สามารถกลับมาทําหนาที่ไดเมื่อมีการตรวจรางกายและประเมินผลแลววาเปนปกติ
3.8.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไดรับการผาตัดใหญเกี่ยวกับระบบสูติศาสตรหรือนรีเวชวิทยา ให
ถือวา “ไมสมบูรณ” ไมนอยกวา 2 เดือน หลังจากนั้นใหกลับมาทําหนาที่ได ถาผลของการผาตัดไมกระทบตอการ
ปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.9.4
ขอ 3.9 ระบบกลามเนื้อและกระดูก (Musculoskeletal System)
ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ต อ งไม มี ค วามผิ ด ปกติ ข องกระดู ก (Bones) ข อ ต อ (Joints) กล า มเนื้ อ
(Muscles) และเสนเอ็น (Tendons) ไมวาเปนมาแตกําเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลัง ซึ่งอาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่
อยางปลอดภัย

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-38


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ขอ 3.10 จิตเวชการบิน (Aviation Psychiatry)
3.10.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีประวัติทางการแพทย หรือไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคหรือ
มีความบกพรองหรือความผิดปกติทางจิตเวช ทั้งเฉียบพลันหรือเรื้อรัง เปนมาแตกําเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลัง ซึ่งอาจ
กระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
3.10.2 อาการทางจิ ต เวชที่ เ กิ ด จากโรคทางกาย (Organic mental disorder) พิ จ ารณา
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.2
3.10.3 การมี อ าการของโรคทางจิ ต เวชที่ เ กิ ด จากโรคทางกายจากสมองเสื่ อ ม (Dementias)
ใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.3
3.10.4 ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรมอันเนื่องมาจากการใชวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท
รวมทั้งกลุมอาการติดยาที่เกิดจากการใชแอลกอฮอลหรือวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาทชนิดอื่น ๆ (Mental
and behavioural disorder due to psychoactive substances use; this includes dependence syndrome
induced by alcohol or other psychoactive substances) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.11
3.10.5 โรคจิตเภท หรือบุคลิกภาพแบบจิตเภท หรือโรคหลงผิด (Schizophrenia or a schizotypal or
delusional disorder) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.4
3.10.6 โรคผิดปกติทางอารมณ (A mood (affective) disorder) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก
5 ขอ 5.11.5
3.10.7 โรคประสาท โรคทางกายที่เกิดจากภาวะทางจิตใจหรือสัมพันธกับความเครียด (A neurotic,
stress-related or somatoform disorder) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.6
3.10.8 พฤติ ก รรมที่ สั ม พั น ธ กั บ ความผิ ด ปกติ ท างสรี ร วิ ท ยาหรื อ ป จ จั ย ทางกาย (A behavioral
syndrome associated with physiological disturbances or physical factors) พิจารณาตามคํ าแนะนํ า ใน
ผนวก 5 ขอ 5.11.7
3.10.9 ความผิดปกติทางบุคลิกภาพในวัยผูใหญหรือพฤติกรรมโดยเฉพาะที่มีการแสดงออกมาก
เกินไปและซ้ําซาก (A disorder of adult personality or behavior, particularly if manifested by repeated
overt acts) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.7 และ 5.11.8
3.10.10 ภาวะปญญาออน (Mental retardation)
3.10.11 ค ว า ม ผิ ด ป ก ติ ที่ เ กิ ด จ า ก ก า ร พั ฒ น า ท า ง จิ ต ใ จ ( A disorder of psychological
development)
3.10.12 ความผิดปกติทางพฤติกรรมหรืออารมณที่เริ่มตั้งแตวัยเด็กหรือในวัยรุน (A behavioral or
emotional disorder, with onset in childhood or adolescence)
3.10.13 ความผิดปกติทางจิตใจอื่น ๆ (A mental disorder not otherwise specified)
3.10.14 สภาวการณนอนไมหลับ (Sleep disorders) ซึ่งทําใหผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไมสามารถ
ปฏิบัติภารกิจไดอยางปลอดภัย พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.9
คําแนะนํา - ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ปวยเปนโรคซึมเศราซึ่งไดรับการรักษาดวยยารักษาโรคซึมเศรา
ควรได รั บ การประเมิ น ว า “ไม ส มบู ร ณ ” เว น แต จ ะได รั บ การประเมิ น จากนายแพทย ผู ต รวจสอบ (Medical
Assessor) ในรายละเอียดแลวเห็นวา สภาวะของผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไมมีแนวโนมที่จะสงผลกระทบตอการ
ปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
ขอสังเกต - ปญหาทางจิตเวชและพฤติกรรมไดรับการกําหนดไวในแนวทางการวินิจฉัยทางคลินิกของ
องคการอนามัยโลก (WHO) พิมพครั้งที่ 10 ป 1992 ที่จะใหขอมูลทางสถิติการจัดแบงประเภทของโรคที่เกี่ยวของ
กับปญหาทางสุขภาพในเรื่องปญหาทางจิตเวชและพฤติกรรม ในเอกสารนี้ประกอบดวยรายละเอียดที่ใชในการ
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-39
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
วินิจฉัยที่ชวยในการประเมินทางการแพทย (International Statistical Classification of Diseases and Related
Health Problems, 10th Edition - Classification of Mental and Behavioural Disorders, WHO 1992.)
ขอ 3.11 โรคทางระบบประสาท (Neurological Disorders)
3.11.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีประวัติทางการแพทย หรือไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรค
ของระบบประสาทซึ่งอาจกระทบการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
3.11.2 ตองพิจารณาเปนพิเศษในกรณีตอไปนี้ ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.12
3.11.2.1 โรคทางระบบประสาท (Nervous system) ที่ยังมีการดําเนินโรคอยางต อเนื่ อง
(Progressive) หรื อคงที่ แล ว (non-progressive) ซึ่งมีผ ลกระทบตอการปฏิบัติห นาที่อยางปลอดภัย ของผู ถื อ
ใบอนุญาตผูประจําหนาที่ พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.12.1 ถึง 5.12.4
3.11.2.2 โรคลมชัก (Epilepsy) หรือการชักจากสาเหตุอื่น ๆที่เปนสาเหตุใหสูญเสียความ
รูสึกตัว (Cause of disturbance of consciousness) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.12.5 ถึง 5.12.8
3.11.2.3 สภาวะต า ง ๆ ที่ มี ผ ลต อ ความบกพร อ งในการทํ า งานของสมอง (High
propensity for cerebral dysfunction) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.12.9, 5.12.13, 5.12.14 และ
5.12.15
3.11.2.4 การหมดสติหรือการไมรูตัวโดยไมมีเหตุผลอธิบายได (Loss of consciousness)
3.11.2.5 การบาดเจ็ บ ที่ ศี ร ษะ (Head injury) พิ จ ารณาตามคํ า แนะนํ า ในผนวก 5
ขอ 5.12.10
3.11.2.6 การบาดเจ็ บที่ ไขสั นหลั งหรื อระบบประสาทส วนปลาย (Spinal or peripheral
nerve injury) พิจารณาตามผนวก 5 ขอ 5.12.11
3.11.2.7 ภาวะเนื้ อ งอกในสมอง (Neoplasms) พิ จ ารณาตามคํ า แนะนํ า ในผนวก 5
ขอ 5.12.12
3.11.3 การตรวจสมองดวยคลื่นไฟฟาจะกระทําเมื่อมีขอบงชี้จากประวัติหรืออาการ
ขอ 3.12 จักษุวิทยา (Ophthalmology)
3.12.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไมมีความผิดปกติในการทํางานของตาและสวนประกอบ ไมมี
พยาธิสภาพที่กําลังเปนอยู ความผิดปกติที่เปนมาแตกําเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลัง ทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง ผล
จากการผาตัดทางจักษุ (Sequelae of eye surgery) หรือการบาดเจ็บซึ่งอาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่ อย าง
ปลอดภัย ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.13
3.12.2 ตองทําการตรวจทางจักษุอยางครบถวนสมบูรณในการตรวจครั้งแรก
3.12.3 ใหทําการตรวจทางจักษุวิทยาทุกครั้งเมื่อมารับการตรวจรางกายสําหรับการตออายุใบสําคัญ
แพทย
3.12.4 การตรวจอยางละเอียดทางจักษุวิทยา เมื่อตรวจรางกายตามวาระ ใหกระทําดังนี้
3.12.4.1 ทุก 5 ป จนอายุครบ 40 ป
3.12.4.2 หลังจากนั้นทําการตรวจทุก 2 ป
(รายละเอียดการตรวจทางจักษุวิทยาตามขอ 3.12.2, 3.12.3 และ 3.12.4 ใหดูคําแนะนําในผนวก 5
ขอ 5.13)

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-40


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ขอ 3.13 ขอกําหนดระดับการมองเห็น (Visual Requirements)
3.13.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยสามารถมองเห็นระยะไกล (Distant visual acuity) ทั้งตาเปลาหรือ
สวมอุปกรณชวยในแตละขางตองไมเกิน 20/30 (6/9) และไมเกิน 20/20 (6/6) สําหรับการมองดวยตาทั้งสองขาง
ไมมีขอจํากัดของการมองเห็นดวยตาเปลา (No limits apply to uncorrected visual acuity) และไมมีขอจํากัด
ของความบกพรองของการหักเหแสง (Refractive errors)
3.13.2 การเปลี่ยนแปลงทางสายตาตามอายุ (Presbyopia) ตองไดรับการติดตามดูในการตรวจทาง
เวชศาสตรการบินเพื่อตอใบอนุญาตทุกครั้ง
3.13.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองสามารถอ านข อความในแผนตรวจแบบ น.5 (N5 Chart)
หรื อ แผ น ที่ ใ ช ท ดแทนกั น ได ที่ ร ะยะห า งระหว า ง 30 - 50 เซนติ เ มตร และต อ งสามารถอ า นแผ น ตรวจแบบ
น.14 (N14 Chart) หรือแผนที่ใชทดแทนกันไดที่ระยะหาง 100 เซนติเมตร ดวยตาเปลาหรือสวมอุปกรณชวย
3.13.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีความผิดปกติของการมองเห็นดวยสองตา (Binocular vision)
อยางชัดเจน ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
3.13.5 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มองเห็นภาพซอน (Diplopia) ใหประเมินวา “ไมสมบูรณ”
3.13.6 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีความผิดปกติของ Convergence ถือวา “ไมสมบูรณ”
3.13.7 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ มี ข อบเขตการมองเห็ น (Visual Fields) ผิ ด ปกติ ถื อ ว า
“ไมสมบูรณ”
3.13.8 กรณีการใช แวน หรื อเลนสสัมผัส ตองมีแวนหรือเลนสสัมผัสที่มีขนาดเดียวกันสํารองเพื่ อ
พรอมใชในระหวางปฏิบัติหนาที่
ขอ 3.14 ขอกําหนดการมองเห็นสี (Color Perception Requirements)
3.14.1 การเห็นสีปกติ หมายถึง การผานการทดสอบแบบทดสอบอีชิฮารา (Ishihara) หรือแบบนาเจล
(Nagel’s anomaloscope)
3.14.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองสามารถแยกสีไดในระดับปลอดภัย (be colour safe)
3.14.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไมผานการทดสอบแบบอีชิฮาราจะตองไดรับการประเมินโดยวิธี
ที่ ไ ด รั บ การยอมรั บจากศู นย เวชศาสตร การบินพลเรื อน หรื อกองเวชศาสตร การบิ น ฝ ายมาตรฐานผูประจําหนาที่
สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย จนมั่นใจไดวาสามารถแยกสีไดโดยปลอดภัย (Anomaloscopy or color
lanterns) ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.15
3.14.4 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ ไ ม ผ า นการทดสอบดั ง กล า ว ให ถื อ ว า “ไม ส มบู ร ณ ” ตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.15
ขอ 3.15 โสต ศอ นาสิกวิทยา (Otorhinolaryngology)
3.15.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีความผิดปกติในการทํางานของหู คอ จมูก โพรงกระดูก
(รวมทั้งชองปาก ฟนและกลองเสียง) หรือมีโรคใด ๆ ไมวาเปนมาแตกําเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลัง ทั้งเฉียบพลันหรือ
เรื้อรัง ผลที่ตามมาหลังการผาตัดหรือการกระทบที่มีผลตอการปฏิบัติหนาที่
3.15.2 ในการตรวจรางกายครั้งแรก ตองมีการตรวจทางระบบโสต ศอ นาสิกวิทยา อยางละเอียด
(A comprehensive otorhinolaryngologically examination)
3.15.3 การตรวจหู คอ จมูก ตามปกติ (Routine Ear-Nose-Throat examination) ใหทําทุกครั้งที่มี
การตรวจรางกาย

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-41


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
3.15.4 การตรวจพบสิ่งผิดปกติดังตอไปนี้ใหประเมินวา “ไมสมบูรณ”
3.15.4.1 พยาธิ ส ภาพที่กําลังเปน อยูของหูชั้น ในหรือหูชั้น กลาง (Internal or middle
ears) ไมวาจะเปนแบบเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
3.15.4.2 แกวหู (Tympanic membranes) ทะลุที่ยังไมหาย หรือแกวหูที่เสียหนาที่ ตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.16.3
3.15.4.3 มี ก ารทํ า งานของระบบการทรงตั ว ผิ ด ปกติ (Disturbance of vestibular
function) ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.16.4
3.15.4.4 มีการอุดกั้นของชองทางเดินหายใจ (Nasal air passage) ขางใดขางหนึ่ง หรือ
โพรงไซนัส (sinuses) เสียหนาที่
3.15.4.5 การผิ ดรู ป (Malformation) อยางเห็น ไดชัด การติดเชื้อ (Infection) อยา ง
เฉียบพลันหรือเรื้อรังของชองปาก หรือทางเดินหายใจสวนบน
3.15.4.6 เสียงและคําพูด (Speech or voice) มีความผิดปกติจนไมสามารถติดตอสื่อสารได
อยางปกติ
3.15.4.7 ความผิดปกติดานการทํางานของทอยูสเทเชี่ยน (Eustachian tubes)
3.15.4.8 การผาตัดทาง ระบบ หู คอ จมูก (Post-surgical assessment) ผูรองขอรั บ
ใบสําคัญแพทยที่ไดรับการผาตัดทางระบบ หู คอ จมูก ถือวา “ไมสมบูรณ” การประเมินการกลับไปทําหนาที่ให
พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5.16.5
ขอ 3.16 ขอกําหนดการไดยินเสียง (Hearing Requirements)
3.16.1 ใหมีการทดสอบการไดยินทุกครั้งที่มีการตรวจรางกาย ผูรับการตรวจจะตองเขาใจการสนทนา
อยางถูกตอง โดยทดสอบดวยคําพูดที่กระทําตอหูแตละขางโดยผูรับการตรวจอยูหางจากผูทําการตรวจ 2 เมตร
และหันหลังใหผูตรวจ
3.16.2 ในการตรวจรางกายครั้งแรกใหทดสอบดวยวิธี Pure tone audiometry ตอมาใหตรวจทุกครั้ง
3.16.3 ในการตรวจครั้งแรกสําหรับใบสําคัญแพทยชั้น 3 ตองไมมีการสูญเสียการไดยินในหูแตละขางที่
ทดสอบแยกกันเกินกวา 20 เดซิเบล ที่ความถี่ 500, 1000 และ 2000 เฮิรตซ หรือเกิน 35 เดซิเบลที่ความถี่ 3000
เฮิรตซ ผูที่สูญเสียการไดยินเกินกวามาตรฐาน 5 เดซิเบล ตั้งแตสองความถี่ขึ้นไป ถือวา“ไมสมบูรณ”
3.16.4 การตรวจรางกายเพื่อตอใบสําคัญแพทยจะตองไมมีการสูญเสียการไดยินในหูแตละข างที่
ทดสอบแยกกันเฉลี่ยเกินกวา 35 เดซิเบล ที่ความถี่ 500, 1000, 2000 เฮิรตซ หรือเกิน 50 เดซิเบลที่ความถี่ 3000
เฮิรตซ ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่สูญเสียการไดยินตามมาตรฐานนี้ไมเกิน 5 เดซิเบล ใน 2 ความถี่หรือมากกวา
ใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.17.2.2
3.16.5 การตรวจรางกายเพื่อตอใบสําคัญแพทย ถามีการสูญเสียการไดยิน (Hypoacusis) อาจจะ
“สมบูรณ” ได ถามีการทดสอบแยกเสียง (Speech discrimination test) ไดผลเปนที่นาพอใจ เชน การไดยิน
เสียงพูด หรือ Beacon signal ในสภาวะแวดลอมการปฏิบัติงานอยางชัดเจน โดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน
และกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทยเปนผูพิจารณา

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-42


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ขอ 3.17 จิตวิทยาการบิน (Aviation Psychology)
3.17.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีความบกพรองทางจิตวิทยา ความถนัดแหงอาชีพและ
บุคลิกภาพที่กระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย การทดสอบทางจิตวิทยาเปนสวนหนึ่งของการตรวจให
ครบถวนของการตรวจทางจิตเวชหรือการตรวจทางประสาทวิทยา ในการตรวจครั้งแรก ใหทําการทดสอบทาง
จิตวิทยา สวนในการตรวจเพื่อตออายุใบสําคัญแพทย แพทยผูตรวจอาจพิจารณาใหทําการทดสอบทางจิตวิทยา
เมื่อมีขอบงชี้วาสมควรเพื่ อประกอบการตรวจร างกายของจิตแพทยหรื อแพทยผูเชี่ยวชาญดานประสาทวิ ทยา
รายละเอียดตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.18
3.17.2 เมื่อจําเปนตองมีการทดสอบตามผนวก 3 ขอ 3.17.1 ใหใชจิตแพทยและนักจิตวิทยาการบิน
ผูมีความรูและประสบการณเหมาะสม
ขอ 3.18 ตจวิทยา (Dermatology)
3.18.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไมมีความผิดปกติของผิวหนังซึ่งอาจกระทบการปฏิบัติหนาที่
อยางปลอดภัย หรือเปนที่นารังเกียจของผูอื่น
3.18.2 ใหพิจารณาเปนพิเศษในกรณีตอไปนี้ ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.19
3.18.2.1 ผิวหนังอักเสบ (Eczema exogenous and endogenous)
3.18.2.2 เรื้อนกวางหรือสะเก็ดเงิน (Severe psoriasis)
3.18.2.3 การติดเชื้อโรคแบคทีเรีย (Bacterial infection)
3.18.2.4 ผื่นเนื่องจากการแพยา (Drug induced eruptions)
3.18.2.5 ผื่นพุพอง (Bullous eruptions)
3.18.2.6 ภาวะโรคมะเร็งของผิวหนัง (Malignant condition of the skin)
3.18.2.7 ลมพิษ (Urticaria)
ขอ 3.19 มะเร็งวิทยา (Oncology Requirements)
3.19.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีอาการของโรคมะเร็ง ไมวาจะเปนขั้นเริ่มตนหรือมีการกระจาย
ของโรคและมีสุขภาพของรางกายเสื่อมโทรมเปนสาเหตุทําใหความปลอดภัยในการทําหนาที่เสียไป ใหถือวา “ไม
สมบูรณ”
3.19.2 หลังจากไดรับการรักษามะเร็งแลว อาจพิจารณาใหทําหนาที่ไดโดยอาศัยเกณฑการพิจารณา
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.20

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-43


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ผนวก 4 มาตรฐานการออกใบสําคัญแพทย ชั้นสี่
ขอ 4.1 ระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular System)
4.1.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไม มีความผิดปกติทางหัว ใจและหลอดเลื อดโดยกําเนิด หรือ
เกิดขึ้นภายหลังซึ่งมีผลตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
4.1.2 ในการตรวจรางกายครั้งแรก ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองเขารับการตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจตาม
มาตรฐานขณะพัก (Standard 12-lead resting ECG) และกรณีขอตอใบสําคัญแพทย ผูรองขอรับใบสําคัญแพทย
จะตองเขารับการตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจเมื่อมีขอบงชี้ทางการแพทย (จุดมุงหมายของการตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจเปน
ประจําเพื่อการตรวจคัดกรองสุขภาพ)
4.1.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะกลามเนื้อหัวใจตาย การผาตัดเกี่ยวกับหัวใจตองหายเปนปกติ
โดยการรับรองของแพทยโรคหัวใจและความดันโลหิตอยูในเกณฑปกติ ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.7 จึงจะถือวา
“สมบูรณ”
4.1.4 ผู ร อ งขอรั บ ใ บสํ า คั ญ แ พท ย ที่ มี จั ง หว ะ การ เต น แล ะ การ นํ า ไ ฟ ฟ าหั ว ใจ ผิ ด ป ก ติ
(Rhythm/Conduction disturbances) ตองไดรับการประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.8
4.1.5 เมื่อความดันโลหิต 160/95 มม.ปรอท ขึ้นไป ไมวาจะกําลังรักษาหรือไมไดรักษาก็ตาม ใหถือวา
“ไมสมบูรณ”
4.1.6 ยาที่ใชรักษาความดันโลหิตสูงตองเปนยาที่ไมกระทบตอการปฏิบัติหนาที่ โดยพิจารณาตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.4
4.1.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ทําจี้ทางลัดไฟฟาของหัวใจดวยคลื่นวิทยุความถี่สูง (Ablation) ให
ถือวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.8
4.1.8 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ ติ ด ตั้ ง เครื่ อ งควบคุ ม การทํ า งานของหั ว ใจแบบอั ต โนมั ติ
(Endocardial Pacemaker) ให ถือว า “ไม สมบูรณ” จนกว าจะได รั บการประเมิ นหั วใจ โดยศู นย เวชศาสตร การบิ น
พลเรื อนและกองเวชศาสตร การบิ น ฝ า ยมาตรฐานผูป ระจํ าหนา ที่ สํานักงานการบิ น พลเรื อ นแห งประเทศไทย
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.8
4.1.9 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีความผิดปกติของลิ้น หัวใจลิ้น ใดลิ้น หนึ่งอยางชัดเจนใหถือวา
“ไมสมบูรณ”
4.1.10 การรักษาดวยยาตานการแข็งตัวของเลือด (Systemic anticoagulant therapy) จะไมไดรับ
การยอมรับ หลังจากการใชยาชั่วคราวไประยะหนึ่ง อาจอนุโลมวา “สมบูรณ” โดยการพิจารณาของศูนยเวชศาสตรการ
บินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.2.11 และขอ 5.6.6
4.1.11 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีประวัติอาการหมดสติแบบ Recurrent vasovagal syncope
ใหถือวา“ไมสมบูรณ” การประเมินความสมบูรณใหพิจารณาโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนหรือกองเวชศาสตรการบิน
ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย หลังจากการประเมินหัวใจตามคําแนะนํา
ในผนวก 5 ขอ 5.2.14

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-44


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ขอ 4.2 ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory System)
4.2.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไมมีความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจทั้งที่เปนมาแตกําเนิด
และเกิดขึ้นภายหลัง ซึ่งอาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
4.2.2 ในการตรวจรางกายตองมี Chest x-ray ในทาตรง (Posterior - anterior) ปละ 1 ครั้ง หากมี
เหตุผลทางการแพทยหรือการระบาดของโรคทางเดินหายใจ อาจตรวจไดมากกวา 1 ครั้ง
4.2.3 ผู ร อ งขอรับ ใบสํ า คัญ แพทยที ่เ ปน โรคปอดอุด กั ้น เรื ้อ รัง (Chronic obstructive airway
disease) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” เวนแตสภาวะของผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไดรับการตรวจและประเมินทาง
การแพทยอยางดีที่สุดแลว มีเหตุผลเชื่อไดวาไมกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัยของผูรองขอรับใบสําคัญ
แพทย โดยประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.3.2
4.2.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคหอบหืด (Bronchial asthma) ระยะมีอาการและจําเปนตอง
ได รั บการรั กษา (Requiring medication) เว น แต ส ภาวะของผูรอ งขอรั บ ใบสํ า คั ญแพทย ไ ด รั บ การตรวจและ
ประเมิ น ทางการแพทย อย า งดี ที่สุ ด แล ว มี เหตุผ ลเชื่อไดวาไมกระทบตอ การปฏิบัติ ห นาที่ อยา งปลอดภั ย ของ
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทย โดยใหประเมินความสมบูรณเพิ่มเติม ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.3.3
4.2.5 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ มี ล มในช อ งเยื่ อ หุ ม ปอดที่ เ กิ ด ขึ้ น เอง (Spontaneous
pneumothorax) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” การประเมินความสมบูรณตองพิจารณาโดยศูนยเวชศาสตรการบินพล
เรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย ตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.3.6
4.2.6 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ปวยเปนวัณโรคระยะที่โรคยังดําเนินอยู ใหประเมินวา“ไมสมบูรณ”
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.3.5
4.2.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เคยปวยเปนวัณโรคและไดรับการรักษาจนหายแลว ซึ่งอาจมีรองรอย
โรคเหลืออยู อาจไดรับการประเมินวา “สมบูรณ” ตามคําแนะนําของผนวก 5 ขอ 5.3.5
4.2.8 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไดรับการผาตัดใหญในชองทรวงอก ใหถือวา “ไมสมบูรณ” อยางนอย
3 เดือน หลังจากนั้น ถามีผลการตรวจรางกายที่แสดงวาจะไมกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย จึงถือวา
“สมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.3.7
ขอ 4.3 ระบบทางเดินอาหาร (Digestive System)
4.3.1 ผู ร องขอรั บใบสํ าคั ญแพทยตองไมมีความผิดปกติในการทํางาน (Functional) หรื อโครงสร าง
(Structural) ของระบบทางเดินอาหารที่อาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
4.3.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีอาการปวดทอง ทองอืดเปนประจําจาก ธาตุพิการ, อาหารไมยอย
(Dyspeptic disorders) โรคลํ า ไส แ ปรปรวน (Irritable bowel syndrome IBS) การบี บ ตั ว ผิ ด ปกติ อื่ น ๆ
(Motility disorder) ภาวะตับออนอักเสบ (Pancreatitis) ที่มีอาการมาก ซึ่งสงผลกระทบผลตอคุณภาพชีวิตหรือ
ตองรักษาดวยยา จะถือวา”ไมสมบูรณ” จนกวาจะไดรับการตรวจและประเมินผลเพิ่มเติม ตามคําแนะนําในผนวก 5
ขอ 5.4.1
4.3.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ตรวจพบนิ่วในถุงน้ําดีที่ไมมีอาการ (Asymptomatic gallstones) ให
ประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.4.2
4.3.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ตรวจพบนิ่วในถุงน้ําดีหลายกอนหรือมีกอนเดียวขนาดใหญและมี
อาการใหถือวา “ไมสมบูรณ” จนกวาจะไดรับการรักษาจนหาย โดยใหประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.4.2
4.3.5 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีประวัติทางการแพทยหรือแสดงอาการของลําไสอักเสบเรื้อรัง
(Chronic inflammatory bowel disease) ใหถือวา “ไมสมบูรณ”

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-45


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
4.3.6 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เกิดภาวะลําไสอักเสบเรื้อรัง (Chronic inflammatory bowel disease)
ใหประเมินตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.4.3
4.3.7 ผู ร องขอรั บใบสํ าคั ญแพทย ต องไม เป นโรคไส เลื่ อน (Hernia) ซึ่ งอาจก อให เกิ ดการพร องของ
สมรรถภาพอยางกะทันหัน (Incapacitation)
4.3.8 ผลที่ ต ามมาจากโรคหรื อ จากการผ า ตั ด ในช อ งท อ ง (Sequelae of disease or surgical
intervention) ซึ่งอาจเปนสาเหตุใหเกิดการพรองของสมรรถภาพขณะทําหนาที่ (Incapacitating) เชน การอุดตัน ตีบ
แคบ หรือกดทับของทางเดินอาหาร ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
4.3.9 ผูรองขอรับใบสําคั ญแพทย ที่ไดรั บการผ าตั ดใหญในช องท องที่ต องตัดทางเดินอาหารออกไป
ทั้ งหมดหรื อส ว นหนึ่ งส วนใด รวมทั้ งอวั ยวะอื่ น ๆ ภายในชองท องดวย ใหถือวา “ไมสมบูรณ” เป นระยะเวลา
อยางนอย 3 เดือนหลังจากนั้ น เมื่อผลของการผาตัดแสดงวาจะไมกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
จึงถือวา “สมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.4.4
4.3.10 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีอาการของตับอักเสบหรือตรวจพบวามีตับอักเสบเรื้อรังไมวา
ชนิดใดหรือตรวจพบวาอยูในระยะแพรกระจายโรคได ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ทั้งนี้ หากไดรับการรักษาจนหายดี
กลาวคือตับทําหนาที่ไดปกติ มีการฟนตัวอยางสมบูรณ ตรวจไมพบเชื้อ และไมมีอาการหรือพบวามีภูมิคุมกั น
(Antibody) ใหถือวา “สมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.4.6
ขอ 4.4 โรคทางระบบเมตาโบลิซึม โภชนาการ และระบบตอมไรทอ (Metabolic, Nutritional and
Endocrine Diseases)
4.4.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไมเปนโรคที่เกี่ยวกับการทํางาน (Functional) หรือโครงสราง
(Structural) ของระบบเมตาโบลิ ซึม (Metabolic) ระบบโภชนาการ (Nutritional) หรื อความผิ ดปกติของต อมไรทอ
(Endocrine) ที่อาจมีผลกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
4.4.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีความผิดปกติของระบบเมตาโบลิซึม ระบบโภชนาการหรือระบบ
ตอมไรทอ อาจไดรับการพิจารณาวา “สมบูรณ” หากไมมีอาการและไดรับการดูแลจากแพทยผูเชี่ยวชาญอย าง
สม่ําเสมอ
4.4.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคเบาหวาน อาจอนุโลมวา “สมบูรณ” แตตองอยูในเกณฑตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.5.2 และ 5.5.3
4.4.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคเบาหวานที่ตองใชอินซูลิน (Insulin) ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
4.4.5 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่อวนมาก (Extreme obesity) มีดัชนีมวลกายเทากับหรือมากกวา
35 (Body Mass Index ≥ 35) อาจอนุโลมวา “สมบูรณ” หากน้ําหนักที่เกินนั้นไมมีผลเสี ยต อความปลอดภั ย
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.10.1
4.4.6 ผู ร อ งขอรับ ใบสํ า คัญ แพทยที ่เ ปน โรค Addison’s disease ถือ วา “ไมส มบูร ณ” ตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.5.4
4.4.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะตอมไทรอยดทํางานมากไปหรือเปนพิษ (Hyperthyroidism –
Thyrotoxicosis) ใหประเมินวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.5.5
4.4.8 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ มี ภ าวะต อ มไทรอยด ทํ า งานน อ ยเกิ น ไป (Hypothyroidism)
ใหประเมินวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.5.6

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-46


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ขอ 4.5 โลหิตวิทยา (Haematology)
4.5.1 ผู ร องขอรั บใบสํ าคั ญแพทย จะต องไม มี โรคทางโลหิ ตที่ อาจส งผลกระทบต อการปฏิ บั ติ หน าที่
อยางปลอดภัย
4.5.2 ผู ร องขอรั บใบสํ าคั ญแพทย ต องตรวจความเข มข นของเลื อด (Haemoglobin) และฮี มาโตคริ ต
(Haematocrit) ทุ กครั้ ง และเมื่ อมี ข อบ งชี้ ทางการแพทย ในรายที่ พบว ามี อาการซี ด (Anaemia) อย างชั ดเจน
Haematocrit ต่ํากวารอยละ 32 (Haematocrit below 32%) ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
4.5.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่พบลักษณะโรคเลือดซิกเคิลเซลล (Sickle Cell) จะไดรับการพิจารณา
วา “ไมสมบูรณ” ทั้งนี้ ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยอาจไดรับการประเมินวา “สมบูรณ” หากประเมินตามคําแนะนําใน
ผนวก 5 ขอ 5.6.1
4.5.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีตอมน้ําเหลืองโต (Enlargement of lymphatic gland) เฉพาะที่ หรือ
กระจัดกระจายอยางชัดเจน และมีโรคของโลหิต ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ตามผนวก 5 ขอ 5.6.2
4.5.5 ผูรองขอรับ ใบสํ า คัญ แพทยที่เปนโรคลิวคีเมียชนิดเฉียบพลัน (Acute leukaemia) ใหถือว า
“ไมสมบูรณ” สวนผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคลิวคีเมียชนิดเรื้อรัง (Chronic leukaemia) ในการตรวจ
ครั้งแรกใหถือวา “ไมสมบูรณ” แตถาเปนการตรวจเพื่อขอตอใบอนุญาตใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.3
4.5.6 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ ม า มโต (Enlargement of spleen) อย า งชั ด เจน ให ถื อ ว า
“ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.4
4.5.7 ผูร อ งขอรับ ใบสํ า คัญ แพทยที่มีภ าวะเลือ ดขน แบบโพลี ่ไ ซทีเ มีย (Polycythaemia) อยา ง
ชัดเจน ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.5
4.5.8 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะผิดปกติของการแข็งตัวของเลือดชา (Coagulation defect)
อยางชัดเจน ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ทั้งนี้ ใหพิจารณาการรับประทานยาตานการแข็งตัวของเลือดประกอบดวย
โดยประเมินผลตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.6
4.5.9 ในกรณีที่มีเกล็ดเลือดต่ํา (Thrombocytopenia) ที่ต่ํากวา 75,000/mm3 (75×109/L) ใหถือวา
“ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.6.7
ขอ 4.6 ระบบทางเดินปสสาวะ (Urinary System)
4.6.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไมมีโรคทางเดินปสสาวะทั้งดานการทําหนาที่ (Functional)
หรือโครงสราง (Structural) หรืออวัยวะขางเคียง (Adnexa) ซึ่งจะมีผลกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
4.6.2 ผู ร องขอรั บ ใบสํ าคั ญแพทย ที่ แสดงอาการของการมี พยาธิ ส ภาพของไต (Kidney) ให ถื อว า
“ไมสมบูรณ” การตรวจปสสาวะใหกระทําทุกครั้งที่มีการตรวจรางกาย และตองไมพบสิ่งใดที่แสดงความผิดปกติ
ทางพยาธิสภาพของไต โดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวกับทางเดินปสสาวะและอวัยวะสืบพันธุ โรคที่เกี่ยวกับทางเดินปสสาวะ
และอวัยวะสืบพันธุ โดยพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.3 ถึง 5.7.10
4.6.3 ผูร องขอรับใบสํ าคั ญแพทย ที่มี อาการแสดงนิ่วในทางเดิ นป สสาวะ (Urinary calculi) ให ถือว า
“ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.2
4.6.4 ภาวะปสสาวะเปน เลื อด (Haematuria of urological origin) ใหพิจารณาว า “ไมสมบูร ณ ”
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.3

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-47


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
4.6.5 ภาวะกลั้นปสสาวะไมอยู (Urinary incontinence) หรือการมีภาวะสูญเสียความสามารถอยาง
เฉียบพลันในระหวางบิน (Incapacitation) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.4
4.6.6 ภาวะปญหาถุงอัณฑะ (Scrotal problems) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5
ขอ 5.7.5
4.6.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคติดเชื้อระบบทางเดินปสสาวะ (Urological Infection) ใหถือวา
“ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.6
4.6.8 ผูรองขอรับใบสํ าคั ญแพทยที่มีภาวะโรคไตแตกําเนิดและถุ งน้ํ าในไต (Congenital and Renal
Cystic Diseases) ใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.7
4.6.9 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคของเนื้อไต (Medullary sponge kidney) ใหพิจารณาวา
“ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.8
4.6.10 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคถุงน้ําในไตหลายถุง (Adult polycystic kidney disease)
ใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.9
4.6.11 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะตอมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia) หรือ มี
ภาวะอุดตันจากตอมลูกหมากโต ใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ”ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.10
4.6.12 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีผลแทรกซอน (Sequelae) จากการผาตัดโรคไตและระบบทางเดิน
ปสสาวะจนอาจเปนสาเหตุการเจ็บปวยเฉียบพลันจนไมสามารถปฏิบัติงานได (Incapacitation) โดยเฉพาะการอุดตันหรือ
การตีบแคบจากการกดทับใหประเมินวา “ไมสมบูรณ” อยางนอย 3 เดือน หลังจากนั้น ถาไมมีอาการหรือโรคแทรกซอน
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.11 กอนจะถือวา “สมบูรณ”
4.6.13 ผู ร องขอรั บใบสํ าคั ญแพทย ที่ มี ภาวะมะเร็ งทางเดิ นป สสาวะ (Urological malignancy) ให
พิจารณาวา “ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.7.14
ขอ 4.7 โรคติดตอทางเพศสัมพันธและโรคติดเชื้ออยางอื่น (Sexually Transmitted Diseases and Other
Infections)
4.7.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไมมีอาการของโรคติดตอทางเพศสัมพันธและโรคติดตออื่น ๆ ซึ่ง
อาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
4.7.2 ใหพิจารณาเปนพิเศษในรายที่มีอาการหรือแสดงอาการดังตอไปนี้
4.7.2.1 ผลเลื อดจากไวรัส ภูมิคุมกัน บกพรองเปน บวก (HIV positivity) ตามคําแนะนําใน
ผนวก 5 ขอ 5.8.2
4.7.2.2 ระบบภูมิคุมกันบกพรอง (Immune system impairment) เชน SLE
4.7.2.3 ตั บ อั ก เสบจากการติ ด เชื้ อ (Infectious hepatitis) ตามคํ า แนะนํ า ในผนวก 5
ขอ 5.8.4
4.7.2.4 โรคซิฟลิส (Syphilis) ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.8.3
ขอ 4.8 สูติศาสตรและนรีเวชวิทยา (Gynaecology and Obstetrics)
4.8.1 ผู ร องขอรั บใบสํ าคั ญแพทย จะต องไม เป นโรคหรื อมี พยาธิสภาพทางสูติ ศาสตรและนรี เวชวิ ทยา
ซึ่งอาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัยตามใบอนุญาตผูประจําหนาที่
4.8.2 ผูรองขอรั บใบสํ าคั ญแพทย ที่มีความผิดปกติในการมีประจําเดือนอยางมาก (Severe menstrual
disturbance) โดยที่ไมสนองตอบตอการรักษาใหถือวา“ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.9.2 และ
5.9.3

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-48


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
4.8.3 การตั ้ง ครรภใ หถ ือ วา “ไมส มบูร ณ” แตใ นกรณีที ่ส ูต ิน รีแ พทยต รวจอยา งละเอีย ดแลว
หากพบวา การตั้ ง ครรภ เ ป น ไปอย า งปกติ อาจอนุ โ ลมว า “สมบู ร ณ ” จนกระทั่ ง อายุ ค รรภ 26 สั ป ดาห
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.9.1 เมื่อสิ้นสุดการตั้งครรภ พิจารณากลับไปทําหนาที่ใหมหลังจาก 6 สัปดาหหลัง
การคลอดบุตรตามปกติ หรือ 2 สัปดาหหลังการแทงบุตร สามารถกลับมาทําหนาที่ไดเมื่อมีการตรวจรางกายและ
ประเมินผลแลววาเปนปกติ
4.8.4 ผู ร องขอรั บ ใบสํ าคั ญแพทย ที่ ได รั บ การผ าตั ด ใหญ เ กี่ ย วกั บ ระบบสู ติ ศาสตร และนรี เวชวิ ท ยา
ใหถือวา “ไมสมบูรณ” มีกําหนดเวลาไมนอยกวา 2 เดือน และในบางชนิดของการผาตัด เชน การผาตัดมดลู ก
(Hysterectomy) อาจกําหนดเวลามากกวานั้นได หลังจากนั้น ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยสามารถกลับมาทําหนาที่
ได หากผลของการผาตัดไมมีผลกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ5.9.4
ขอ 4.9 ระบบกลามเนื้อและกระดูก (Musculoskeletal System)
4.9.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไมมีความผิดปกติของกระดูก (Bones) ขอ (Joints) กลามเนื้อ
(Muscles) และเสนเอ็น (Tendons) ที่เปนมาแตกําเนิดและที่เกิดภายหลัง ซึ่งจะมีผลกระทบตอการปฏิบัติหนาที่
อยางปลอดภัย
4.9.2 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ต อ งมี ข นาดของความสู ง ขณะนั่ ง ความยาวของ แขน ขา
ความแข็งแรงของกลามเนื้อเพียงพอตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัยตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.10.1
4.9.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองมีการทํางานของระบบกลามเนื้อและกระดูกเปนปกติ กรณีผู
รองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีผลตามมาหลังจากการเปนโรค การบาดเจ็บหรือความผิดปกติแตกําเนิดของกระดูก
ขอ กลามเนื้อหรือเสนเอ็น โดยมีการผาตัดหรือไมมี จะตองไดรับการพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.10.2
4.9.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีผลตามมาจากการเจ็บปวยหรื อการรั กษา ในดาน กระดูก ขอตอ
กลามเนื้ อ เส นเอ็ น และความผิ ด ปกติ ท างกายวิ ภ าค ต อ งได รั บ การประเมิ น ความพร อ มในการปฏิ บั ติ ห น าที่
โดยพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.10.3 ถึง 5.10.7
ขอ 4.10 จิตเวชการบิน (Aviation Psychiatry)
4.10.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไมมีประวัติปวยเปนโรคทางจิตเวชหรือความผิดปกติทางจิต
ซึ่ งมี อาการเฉี ยบพลั นหรื อเรื้ อรั งโดยเป น แต กําเนิ ดหรื อภายหลั ง ซึ่งจะมีผ ลกระทบต อ การปฏิบัติห น าที่ อ ย า ง
ปลอดภัย
4.10.2 อาการทางจิ ต เวชที่ เ กิ ด จากโรคทางกาย (Organic mental disorder) ให พิ จ ารณาตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.2
4.10.3 การมีอาการของโรคทางจิตเวชที่เกิดจากโรคทางกายจากสมองเสื่อม (Dementias) ใหพิจารณาวา
“ไมสมบูรณ” ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.3
4.10.4 ความผิดปกติทางจิตและพฤติกรรมอันเนื่องมาจากการใชวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท
รวมทั้งกลุมอาการติดยาที่เกิดจากการใชแอลกอฮอลหรือวัตถุที่ออกฤทธิ์ตอจิตและประสาทชนิดอื่น ๆ (Mental
and behavioural disorder due to psychoactive substances use; this includes dependence syndrome
induced by alcohol or other psychoactive substances) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.11
4.10.5 โรคจิตเภท หรือบุคลิกภาพแบบจิตเภท หรือโรคหลงผิด (Schizophrenia or a schizotypal or
delusional disorder) ใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.4
4.10.6 โรคผิ ด ปกติ ทางอารมณ (A mood (affective) disorder) ให พิ จ ารณาตามคํ าแนะนํ า ใน
ผนวก 5 ขอ 5.11.5

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-49


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
4.10.7 โรคประสาท โรคทางกายที่เกิดจากภาวะทางจิตใจหรือสัมพันธกับความเครียด (A neurotic,
stress-related or somatoform disorder) ใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.6
4.10.8 พฤติ ก รรมที่ สั ม พั น ธ กั บ ความผิ ดปกติ ท างสรีร วิ ท ยาหรื อ ป จ จั ย ทางกาย (A behavioral
syndrome associated with physiological disturbances or physical factors) ใหพิจารณาตามคําแนะนํ า
ในผนวก 5 ขอ 5.11.7
4.10.9 ความผิดปกติทางบุคลิกภาพในวัยผูใหญ หรือพฤติกรรม โดยเฉพาะที่มีการแสดงออกมากเกินไป
และซ้ําซาก (A disorder of adult personality or behavior, particularly if manifested by repeated overt
acts) ใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.7 และ 5.11.8
4.10.10 ภาวะปญญาออน (Mental retardation)
4.10.11 ความผิดปกติที่เกิดจากการพัฒนาทางจิตใจ (A disorder of psychological development)
4.10.12 ความผิดปกติทางพฤติกรรมหรืออารมณ ที่เริ่มตั้งแตวัยเด็กหรือในวัยรุน (A behavioral or
emotional disorder, with onset in childhood or adolescence)
4.10.13 ความผิดปกติทางจิตใจอื่น ๆ (A mental disorder not otherwise specified)
4.10.14 สภาวการณนอนไมหลับ (Sleep disorders) ซึ่งทําใหผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไมสามารถ
ปฏิบัติภารกิจไดอยางปลอดภัย ใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.11.9
คําแนะนํา - ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ปวยเปนโรคซึมเศรา ที่ไดรับการรักษาดวยยารักษาโรคซึมเศราควร
ไดรับการประเมินวา “ไมสมบูรณ” เวนแตจะไดรับการประเมินจากนายแพทยผูตรวจสอบ (Medical Assessor)
ในรายละเอียดแลวเห็นวาสภาวะของผูรองขอรับ ใบสําคัญแพทยไมมีแนวโนมที่จ ะสงผลกระทบตอการปฏิบัติ
หนาที่อยางปลอดภัย
ขอสังเกต - ปญหาทางจิตเวชและพฤติกรรม ไดรับการกําหนดไวในแนวทางการวินิจฉัยทางคลินิกของ
องคการอนามัยโลก (WHO) พิมพครั้งที่ 10 ป 1992 ที่จะใหขอมูลทางสถิติการจัดแบงประเภทของโรค ที่เกี่ยวของ
กับปญหาทางสุขภาพ ในเรื่องปญหาทางจิตเวชและพฤติกรรม ในเอกสารนี้ประกอบดวยรายละเอียดที่ใชในการ
วินิจฉัยที่ชวยในการประเมินทางการแพทย (International Statistical Classification of Diseases and Related
Health Problems, 10th Edition - Classification of Mental and Behavioral Disorders, WHO 1992.)
ขอ 4.11 โรคทางระบบประสาท (Neurological Disorders)
4.11.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีประวัติทางการแพทยของระบบประสาทวิทยา ซึ่งจะมี
ผลกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
4.11.2 ในกรณีตอไปนี้ ตองพิจารณาเปนพิเศษ ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.12
4.11.2.1 โรคทางระบบประสาท (Nervous system) ที่ยัง มีก ารดํา เนิน โรคตอ เนื ่ อ ง
(Progressive) หรื อคงที่ แล ว (non-progressive) ซึ่งมีผ ลกระทบตอการปฏิบัติห นาที่อยางปลอดภัย ของผู ถื อ
ใบสําคัญแพทยพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.12.1 ถึง ขอ 5.12.4
4.11.2.2 โรคลมชั ก (Epilepsy) หรือการชั กจากสาเหตุ อื่น ๆ ที่ เป นสาเหตุ ให สูญเสี ยความ
รู สึ กตั ว (Cause of disturbance of consciousness) ให พิ จารณาตามคํ าแนะนํ าในผนวก 5 ข อ 5.12.5 ถึ ง ข อ
5.12.8
4.11.2.3 สภาวะตาง ๆ ที่มีผลตอความบกพรองในการทํางานของสมอง (High propensity
for cerebral dysfunction) พิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.12.9, 5.12.13, 5.12.14 และ 5.12.15
4.11.2.4 การหมดสติ หรือการไมรูตัว โดยไมมีเหตุผลอธิบายได (Loss of consciousness)

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-50


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
4.11.2.5 การบาดเจ็ บ ที่ ศี ร ษะ (Head injury) ให พิ จ ารณาตามคํ า แนะนํ า ในผนวก 5
ขอ 5.12.10
4.11.2.6 การบาดเจ็ บที่ ไขสั นหลั งหรื อระบบประสาทส วนปลาย (Spinal or peripheral
nerve injury) ใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.12.11
4.11.2.7 ภาวะเนื้องอกในสมอง (Neoplasms) ใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5
ขอ 5.12.12
4.11.3 การตรวจสมองดวยคลื่นไฟฟาจะกระทําเมื่อมีขอบงชี้จากประวัติหรืออาการ
ขอ 4.12 จักษุวิทยา (Ophthalmology)
4.12.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีความผิดปกติในการทํางานของตาและสวนประกอบ
ไมมีพยาธิสภาพที่กําลังเปนอยู ไมมีความผิดปกติแตกําเนิด หรือเกิดขึ้นภายหลัง ทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง ผลจากการ
ผาตัดทางจักษุ (Sequelae of eye surgery) หรือการบาดเจ็บซึ่งอาจกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
ใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.13.1
4.12.2 ตองทําการตรวจทางจักษุอยางครบถวนสมบูรณในการตรวจครั้งแรก
4.12.3 ให ทํ า การตรวจทางจั ก ษุ วิ ท ยาทุ ก ครั้ ง เมื่ อ มารั บ การตรวจร า งกายสํ า หรั บ การต อ อายุ
ใบสําคัญแพทย
(รายละเอี ยดการตรวจทางจั กษุ วิ ทยา ตามข อ 4.12.2 และข อ 4.12.3 ให ดู คํ าแนะนํ าในผนวก 5
ขอ 5.13.2 และ 5.14)
ขอ 4.13 ขอกําหนดระดับการมองเห็น (Visual Requirements)
4.13.1 มาตรฐานการมองเห็นระยะไกล (Distant visual acuity) ทั้งตาเปลาหรือสวมอุปกรณชวย
ในแตละขางตองไมเกิน 20/40 (6/12) และไมเกิน 20/30 (6/9) สําหรับการมองดวยตาทั้งสองขาง ตองไม มี
ขอจํากัดของการมองเห็นดวยตาเปลา (No limits apply to uncorrected visual acuity) และตองไมมีขอจํากัด
ของความบกพรองของการหักเหแสง (Refractive errors)
4.13.2 ความบกพรองของการหักเหแสง (Refractive errors) หมายถึง การเบี่ยงเบนไปจากภาวะ
สายตาปกติ Emmetropia ของแสงที่ ไ ม ต กยั ง จอตา (Ametropic meridian) ที่ วั ด ออกมาเป น ไดออพเตอร
(Diopters) การวัดการหักเหของแสงตองกระทําอยางไดมาตรฐาน
4.13.2.1 การเปลี่ ย นแปลงสายตาตามอายุ (Presbyopia) ต อ งได รั บ การติ ด ตามดู ใ น
การตรวจทางเวชศาสตรการบินเพื่อตอใบอนุญาตทุกครั้ง
4.13.2.2 ผู ร องขอรั บ ใบสําคัญ แพทยตองสามารถอานขอความในแผนตรวจแบบ น.5
(N 5) หรือแผนที่ใชแทนกันไดที่ระยะ 30-50 เซนติเมตร และตองสามารถอานแผนตรวจแบบ น.14 (N 14) หรือ
แผนที่ใชทดแทนกันไดที่ระยะหาง 100 เซนติเมตรดวยตาเปลาหรือสวมอุปกรณชวย
4.13.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีความผิดปกติของการมองเห็นดวยสองตา (Binocular vision)
อยางชัดเจน ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
4.13.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มองเห็นภาพซอน (Diplopia) ใหประเมินวา “ไมสมบูรณ”
4.13.5 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีลานสายตา (Visual Fields) ผิดปกติใหประเมินวา “ไมสมบูรณ”
4.13.6 ถาไดมาตรฐานการมองเห็นโดยตองใชแวนหรือเลนสสัมผัสชวย ผูรองขอรับใบสําคัญแพทย
จะตองใชแวนหรือเลนสสัมผัสเพื่อใหการมองเห็นดีที่สุด

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-51


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
4.13.7 ถาใชแวนหรือเลนสสัมผัสในการแกไขการมองเห็น ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองใชแวนหรือ
เลนสสัมผัสเพียงขนาดเดียวที่สามารถมองเห็นไดทุกระยะทาง หามใชแวนหรือเลนสสัมผัสมากกวา 1 ขนาด
4.13.8 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองมีแวนหรือเลนสสัมผัสที่มีขนาดเดียวกันสํารองเพื่อพรอมใช
ในระหวางปฏิบัติหนาที่
ขอ 4.14 ขอกําหนดการมองเห็นสี (Colour Perception Requirements)
4.14.1 การเห็นสีปกติ หมายถึง การผานการทดสอบแบบทดสอบอีชิฮารา (Ishihara’s test) หรือ
แบบนาเจล (Nagel’s anomaloscope)
4.14.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองสามารถแยกสีไดในระดับปลอดภัย (be colour safe)
4.14.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไมผานการทดสอบแบบอีชิฮารา จะตองไดรับการประเมินโดยวิธีที่
ได รั บการยอมรั บจากศูนยเวชศาสตร การบิ นพลเรื อน หรื อกองเวชศาสตร การบิ น ฝ ายมาตรฐานผู ประจําหน าที่
สํานักงานการบินพลเรื อนแห งประเทศไทย จนมั่นใจไดวาสามารถแยกสีไดโ ดยปลอดภัย (Anomaloscopy or
color lanterns)
4.14.4 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ ไ ม ผ า นการทดสอบดั ง กล า ว ให ถื อ ว า “ไม ส มบู ร ณ ” ตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.15
ขอ 4.15 โสต ศอ นาสิกวิทยา (Otorhinolaryngology)
4.15.1 ผูรองขอรับใบสําคั ญแพทยต องไมมีความผิด ปกติในการทํ างานของหู จมูก โพรงกระดูก
(รวมทั้งชองปาก ฟนและกลองเสียง) โรคใด ๆ ที่เปนมาแตกําเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลัง ทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง ผล
ที่ตามมาหลังจากการผาตัดหรือการกระทบกระเทือน ซึ่งอาจมีผลกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
4.15.2 การตรวจทางระบบหู คอ จมู ก ตามปกติ (Routine Ear-Nose-Throat examination)
ใหตรวจทุกครั้งในการตรวจรางกาย (Revalidation and renewal)
4.15.3 การตรวจพบสิ่งผิดปกติตอไปนี้ ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
4.15.3.1 พยาธิ ส ภาพที่กําลังเปน อยูของหูชั้น ในหรือหูชั้น กลาง (Internal or middle
ears) ไมวาจะเปนแบบเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
4.15.3.2 แกวหู (Tympanic membranes) ทะลุที่ยังไมหาย หรือแกวหูที่เสียหนาที่ ตาม
คําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.16.3
4.15.3.3 มี ก ารทํ า งานของระบบการทรงตั ว ผิ ด ปกติ (Disturbance of vestibular
function) ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.16.4
4.15.3.4 มีการอุดกั้นของชองทางเดินหายใจ (Nasal air passage) ขางใดขางหนึ่ง หรือโพรง
ไซนัส (sinuses) เสียหนาที่
4.15.3.5 การผิดรูป (Malformation) อยางเห็นไดชัด การติดเชื้อ (Infection) อยางเฉียบพลัน
หรือเรื้อรังของชองปาก หรือทางเดินหายใจสวนบน
4.15.3.6 เสียงและคําพู ด (Speech or voice) มีความผิดปกติจนไมสามารถติดต อสื่ อสาร
ไดอยางปกติ
4.15.3.7 การผาตัดทาง ระบบ หู คอ จมูก (Post-surgical assessment) กรณีผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยที่ไดรับการผาตัดทางระบบ หู คอ จมูก ใหถือวา “ไมสมบูรณ” โดยการประเมินการกลับไปปฏิบัติหนาที่
ใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5.16.5

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-52


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ขอ 4.16 ขอกําหนดการไดยินเสียง (Hearing Requirements)
4.16.1 ใหมีการทดสอบการไดยินทุกครั้งที่มีการตรวจรางกาย ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เขารับการ
ตรวจจะตองเขาใจการสนทนาอยางถูกตอง โดยทดสอบดวยคําพูดที่กระทําตอหูแตละขางโดยผูรับการตรวจอยูหาง
จากผูทําการตรวจ 2 เมตร และหันหลังใหผูตรวจ
4.16.2 ในการตรวจการไดยินดวยการทดสอบดวยวิธี Pure tone audiometry ใหทําเมื่อมีขอบงชี้
ทางการแพทย
4.16.3 การตรวจรางกายเพื่อตอใบสําคัญแพทยจะตองไมมีการสูญเสียการไดยินในหูแตละขางที่
ทดสอบแยกกันเฉลี่ยเกินกวา 35 เดซิเบล ที่ความถี่ 500, 1000, 2000 เฮิรตซ หรือเกิน 50 เดซิเบลที่ความถี่
3000 เฮิรตซ ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่สูญเสียการไดยินตามมาตรฐานนี้ไมเกิน 5 เดซิเบล ในสองความถี่หรือ
มากกวาใหพิจารณาตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.17.2.2
4.16.4 การตรวจรางกายเพื่อตอใบสําคัญแพทย ถามีการสูญเสียการไดยิน (Hypoacusis) อาจจะ
“สมบูร ณ” ได ถามีการทดสอบแยกเสีย ง (Speech discrimination test) ไดผ ลเปน ที่นา พอใจ เชน การ
ไดยิน เสีย งพูด หรือ Beacon signal ในหอ งนัก บิน อยา งชัด เจน โดยศูน ยเ วชศาสตรก ารบิน พลเรือ น และ
กองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย เปนผูพิจารณา
4.16.5 การใชเครื่องชวยการไดยิน (Personal hearing aids) ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ตองใช
เครื่องชวยการไดยิน ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ในการพิจารณาการกลับไปทําหนาที่ใหม ใหดําเนินการตามคําแนะนํา
ในผนวก 5.17.4
ขอ 4.17 จิตวิทยาการบิน (Aviation Psychology)
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีความบกพรองทางจิตวิทยา ความถนัดแหงอาชีพและบุคลิกภาพ
ที่มีผลกระทบตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย การทดสอบทางจิตวิทยาใหถือเปนสวนหนึ่งของของการตรวจทาง
จิตเวชหรือการตรวจทางประสาทวิทยาซึ่งจะตองดําเนินการตรวจใหครบถวน ทั้งนี้ ผูรองขอรับใบสําคัญแพทย
ตองเขารับการตรวจทางจิตวิทยาเมื่อมีขอบงชี้ทางการแพทย
ขอ 4.18 ตจวิทยา (Dermatology)
4.18.1 ผูรองขอรับ ใบสําคัญแพทยจ ะตองไมมีความผิด ปกติของผิวหนังซึ่งอาจมีผลเสียตอ การ
ปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย หรือเปนที่นารังเกียจจากบุคคลอื่น
4.18.2 ใหพิจารณาเปนพิเศษในกรณีตอไปนี้ ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.19
4.18.2.1 ผิวหนังอักเสบ (Eczema exogenous and endogenous)
4.18.2.2 เรื้อนกวางหรือสะเก็ดเงิน (Severe psoriasis)
4.18.2.3 การติดเชื้อโรคแบคทีเรีย (Bacterial infection)
4.18.2.4 ผื่นเนื่องจากการแพยา (Drug induced eruptions)
4.18.2.5 ผื่นพุพอง (Bullous eruptions)
4.18.2.6 มะเร็งที่ผิวหนัง (Malignant condition of the skin)
4.18.2.7 ลมพิษ (Urticaria)
ขอ 4.19 มะเร็งวิทยา (Oncology)
4.19.1 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ห รื อ ผู ถื อ ใบสํ า คั ญ แพทย ชั้ น 4 ต อ งไม ป ว ยเป น โรคมะเร็ ง
ทั้งปฐมภูมิและทุติยภูมิ ซึ่งอาจมีผลเสียตอการปฏิบัติหนาที่

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-53


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
4.19.2 หลังจากไดรับการรักษามะเร็งแลว ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยอาจไดรับการประเมินวาสมบูรณ
ตามคําแนะนําในผนวก 5 ขอ 5.20

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-54


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ผนวก 5 คําแนะนําในการพิจารณาออกใบสําคัญแพทย และการกําหนดขอจํากัดทางการแพทย
(Limitation)
เมื่ อ ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย มี ค วามสมบู ร ณ ข องร า งกายและจิ ต ใจ (Medical Fitness) ต่ํ ากว า
มาตรฐานแพทยที่กําหนดไว นายแพทยผูตรวจ หรือนายแพทยผูตรวจอาวุโสอาจพิจารณาใหปฏิบัติหนาที่ได โดย
มีเงื่อนไขในการจํากัดการปฏิบัติหนาที่ ขอจํากัดทางการแพทย (Limitation) จะตองไดรับการพิจารณาและยอมรับ
จากศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบิ น
พลเรือนแหงประเทศไทย หรือคณะกรรมการแพทยเวชศาสตร การบิ นผู ทรงคุ ณวุฒิ ที่สํานักงานการบินพลเรื อน
แหงประเทศไทยแตงตั้งขึ้น
ขอ 5.1 แนวทางในการออกใบสําคัญแพทย
5.1.1 ยึดถือความปลอดภัยในการบินเปนหลัก
5.1.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีความบกพรองของรางกายและจิตใจ เมื่อศึกษาจากผลการตรวจ
ผลการตรวจพิเศษตาง ๆ และผลการรักษาแลว ตองไมมีการเปลี่ยนแปลงของอาการ อาการแสดง หรือมีโรคแทรกซอน
เพิ่มขึ้นภายในระยะเวลาอันสมควร
5.1.3 การพิจารณาตองครอบคลุมถึงหนาที่ ความชํานาญ ประสบการณ อายุ ชั่วโมงบิน ความสามารถ
เฉพาะตัวและอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติหนาที่
5.1.4 การพิจารณาจะตองกระทําโดยคณะกรรมการและพิจารณาเปนรายบุคคลไป โดยจะตองไมนําผล
การพิจารณาของบุคคลอื่นมาเปนบรรทัดฐาน แมจะมีขอบกพรองเหมือนกัน เนื่องจากขอเท็จจริงและองคประกอบ
ในการพิจารณาตามขอ 5.1.3 ยอมมีความแตกตางกันในแตละบุคคล
5.1.5 ในกรณีพิจารณาแลวเห็นสมควรใหปฏิบัติหนาที่ได แตตองกําหนดเงื่อนไข ขอยกเวนขอผอนผัน
ไวในใบสําคัญแพทย ใหระบุรายละเอียด ระยะเวลา (ซึ่งอาจจะสั้นกวาอายุปกติของใบสําคัญแพทย) การตรวจ
พิเศษอื่น ๆ ไวในขอจํ ากั ดทางการแพทย (Limitation) โดยนายแพทยผู ตรวจซึ่ งเป นผู ออกใบสํ าคั ญแพทยจ ะเป น
ผูพิจารณาขอจํากัด ดังกลาว
5.1.6 ขอจํากัดทางการแพทยใหยึดถือแนวทางจาก ICAO Annex 1 Personnel Licensing, ICAO
Doc 8984 Manual of Civil Aviation Medicine, EASA Easy Access Rules for Medical Requirements (IR
+ AMC/GM), EASA Easy Access Rules for ATCO (IR + AMC/GM) และ FAA Guide for Aviation Medical
Examiners
ขอ 5.2 การตรวจระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular System)
5.2.1 การตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจ ขณะออกกําลังกาย (Exercise electrocardiography) ใหกระทําเมื่อ
5.2.1.1 มีขอบงชี้ทางอาการและอาการแสดงบงชี้วาเปนโรคหัวใจและหลอดเลือด
5.2.1.2 ผลการตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจขณะพักไมสามารถแปลผลไดอยางชัดเจน
5.2.1.3 มีแพทยผูเชี่ยวชาญดานโรคหัวใจคอยกํากับดูแล
5.2.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีความผิดปกติของระดับไขมันคอเรสเตอรอลจะตองไดรับ การ
ตรวจเพิ่มเติมจากนายแพทยผูตรวจ (AME) โดยการกํากับดูแลของกองเวชศาสตรการบิน ฝายผูประจําหนาที่สํานักงาน
การบินพลเรือนแหงประเทศไทย ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีปจจัยเสี่ยงตอการปวยดวยโรคหัวใจ
สูงสะสมหลายชนิด (Accumulation of risk factors) เชน การสูบบุหรี่ การมีประวัติโรคหัวใจในครอบครัว การมี
ความผิดปกติของระดับไขมันในเสนเลือดหรือมีความดันโลหิตสูง ตองไดรบั การพิจารณาทางระบบหัวใจและหลอดเลือด

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-55


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
โดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือน
แหงประเทศไทย หรือศูนยโรคหัวใจ
5.2.3 การวินิจฉัยวาความดันโลหิตสูงตองประเมินความเสี่ยงของโรคหลอดเลือดอื่น ๆ ความดันโลหิต
ตั ว บน (Systolic pressure) ให วั ด จากเสี ย ง Korotkoff sound (Phase 1) ความดั น โลหิ ต ตั ว ล า ง (Diastolic
pressure) ใหวัดจุดสุดทายที่เสียงหาย (Phase 4) การวัดความดันโลหิตตองวัดสองครั้งหลังจากพัก 10-15 นาที
ในกรณีที่ความดันสูงขึ้นและ/หรืออัตราการเตนของหัวใจเพิ่มขึ้น ใหมีการตรวจเพิ่มเติมในรายนั้น ๆ
5.2.4 การรักษาโรคความดันโลหิตสูงใหใชวิธีที่ไดรับการยอมรับจากศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน
หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย ซึ่งยาที่ไดรับ
การยอมรับจากศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงาน
การบินพลเรือนแหงประเทศไทย ประกอบดวย
5.2.4.1 The sartans (angiotensin receptor blocking agents - ARB’s) - e.g. losartan,
candesartan
5.2.4.2 The angiotensin converting enzyme (ACE) inhibitors - e.g. enalapril,
lisinopril
5.2.4.3 The slow channel calcium blocking agents (CCB’s) - e.g. amlodipine,
nifedipine
5.2.4.4 The beta-blocking agents - e.g. atenolol, bisoprolol
5.2.4.5 The diuretic agents - e.g. bendroflumethazide, indapamide
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีความดันโลหิตสูงและไดรับการรักษาดวยยากลุม The alpha 1
blocking agents i.e. doxazosin, prazosin and the centrally acting products clonidine, moxonidine
and methyldopa ให ถือว า “ไม ส มบู ร ณ ” การรักษาดว ยยารักษาความดัน โลหิตใหไดรับ การดูแลจากแพทย
ผูเชี่ยวชาญ ในกรณีการเริ่มตนการรักษาหรือการปรับเปลี่ยนขนาดยาใหถือวา “ไมสมบูรณชั่วคราว” จนสามารถ
ควบคุมอาการไดและไมมีผลขางเคียง เชน การมีความดันต่ําเมื่อตองเปลี่ยนตําแหนงหรือทิศทาง (Orthostatic
hypotension) Following initiation of medication for the control of blood pressure, applicants
should be re- assessed to verify that the treatment is compatible with the safe exercise of the
privileges of the license held.
5.2.5 ในกรณีสงสัยวาเปนโรคของเสนเลือดหัวใจโคโรนารีโดยไมมีอาการ ใหทําการตรวจคลื่นไฟฟา
หัวใจขณะออกกําลังกาย (Exercise electrocardiography) เพื่อวินิจฉัย และอาจทําการตรวจพิเศษอื่นได เชน
การตรวจหัวใจดวยสารกัมมันตภาพรังสี การบันทึกกราฟตําแหนงของการเคลื่อนไหวของผนังหัวใจหรือสวนในของ
หั ว ใจ และ/หรื อ การฉี ด สี ดู เ ส น เลื อ ดหั ว ใจ (Scintigraphy or stress echocardiography and/or coronary
angiography)
5.2.6 ผูรองขอรั บใบสํ าคั ญแพทยที่มีอาการกลามเนื้อหัวใจตายแตไมแสดงอาการ อาจพิจารณาออก
ใบสําคัญแพทยใหใหมไดหลังจากระยะเวลา 6 เดือน นับแตวันที่ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไมแสดงอาการดังกลาว โดย
ตองไมปรากฎวาผูรองขอรับใบสําคัญแพทยใชยาเพื่อรักษาอาการเจ็บแนนหนาอกจากโรคหัวใจ และ สามารถลด
ป จ จั ย เสี่ ย งได อ ย า งเป น ที่ พ อใจของแพทย ทั้งนี้ ผูรองขอรับ ใบสํา คั ญ แพทยต อ งได รับ การตรวจเพิ่ มเติ ม เพื่ อ
ประกอบการพิจารณา ดังนี้
5.2.6.1 การตรวจคลื่ น ไฟฟ า หั ว ใจขณะพั ก และออกกํ า ลั ง กายอยู ใ น Bruce Stage 4 or
equivalent โดยแพทย ผู เ ชี่ ย วชาญหั ว ใจที่ ไ ด รั บ การยอมรั บ จากศู น ย เ วชศาสตร ก ารบิ น พลเรื อ น หรื อ

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-56


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
กองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบิน พลเรือนแหงประเทศไทย แสดงวาไมมี
กลามเนื้อหัวใจขาดเลือด
5.2.6.2 การบีบตัวของหัวใจดานซายลางมากกวา 50% (EF>50%) โดยไมมีความผิดปกติของ
ผนังหัวใจ เชน dyskinesia, hypokinesia or akinesia และการบีบตัวของหัวใจดานขวาลางอยูในเกณฑปกติ
5.2.6.3 ผลการบั น ทึ ก คลื่ น ไฟฟ า หั ว ใจ 24 ชั่ ว โมง เป น ที่ น า พอใจ (no significant
conduction disturbance nor complex nor sustained rhythm disturbance)
5.2.6.4 การฉีดสี ตรวจหลอดเลื อดหั วใจ (Coronary angiogram) แสดงใหเห็นวามีการตี บตั น
นอยกวา 30% ในหลอดเลือดหัวใจเสนอื่นทุกเสน และกลามเนื้อหัวใจยังคงบีบตัวไดตามปกติ
5.2.6.5 การนัดตรวจพิเศษดานหัวใจและหลอดเลือดตองกระทําทุกป โดยแพทยผูเชี่ยวชาญ
โรคหัวใจที่ไดรับการยอมรับจากศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่
สํานักงานการบิน พลเรือนแหงประเทศไทย ประกอบดว ยการตรวจคลื่น ไฟฟาหัว ใจขณะออกกํ าลัง กายหรือ
การตรวจหัว ใจดว ยสารกั มมันตภาพรังสี หรือ Exercise scintigraphy/Stress echocardiography ถาผลของ
การตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจขณะพักผิดปกติ
5.2.6.6 การฉี ด สี ต รวจดู เ ส น เลื อ ดหั ว ใจให ก ระทํ า ทุ ก 5 ป (Five yearly coronary
angiography) หลังจากเกิดกลามเนื้อหัวใจตาย (Index event) เวนกรณีที่ผลการตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจขณะออก
กําลังกายไมเสื่อมลง (The exercise ECG show no deterioration) และไดรับการยอมรับจากศูนยเวชศาสตรการบิน
พลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
เกณฑการพิจารณาออกใบสําคัญแพทย
เมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทยสามารถผานการพิจารณาดังกลาวมาแลว กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1
อาจประเมินใหทําการบินโดยเปน/กับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment to fly as/with a suitably
qualified copilot (OML)) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่ อความปลอดภั ย (Valid only
with safety pilot and in aircraft with dual controls) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 3 ใหมีขอจํากัด Valid
only when another air traffic controller available and competent to assume your duties เ ป น
ระยะเวลาไม น อยกว า หกเดื อน และให ขอบงชี้ข องการซ อมแซมหลอดเลื อดและกล ามเนื้ อหัว ใจที่ต ายโดยมี
ลักษณะดังนี้
5.2.7 ผู ร อ งขอรับ ใบสํ า คัญ แพทยที ่ไ มแ สดงอาการและสามารถลดปจ จัย เสี ่ย งไดอ ยา งเปน ที ่
นาพอใจหลังไดรับการผาตัดเสนเลือดหัวใจ หรือขยายเสนเลือดหัวใจ (Coronary Artery by-pass surgery or
angioplasty/Stenting) และไมแสดงอาการ โดยปรากฏผลเปนที่นาพอใจหลังจากการผาตัด (Index event) เปน
ระยะเวลา 6 เดือน ซึ่งผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไมตองใชยา (requires no medication for ischemic heart
pain) อาจไดรับการพิจารณาออกใบสําคัญแพทยได ใหมีการตรวจเพิ่มเติม ในกรณีดังนี้
5.2.7.1 การตรวจคลื่ น ไฟฟ า หั ว ใจขณะพั ก และออกกํ า ลั ง กายอยู ใ น Bruce Stage 4 or
equivalent โดยแพทยผูเชี่ยวชาญหัวใจซึ่งไดรับการรับรองจากศูนยเวชศาสตรการบิน หรือกองเวชศาสตรการ
บิน ฝ ายมาตรฐานผู ประจํ าหน าที่ สํ า นั ก งานการบิ น พลเรื อ นแห ง ประเทศไทย ในกรณี แ สดงความหมายว า
ไม มี ก ล า มเนื้ อ หั ว ใจขาดเลื อ ดอย า งมี นั ย สํ า คั ญ ให ดํ า เนิ น การตรวจ Myocardial scintigraphy/Stress
echocardiography หากผลการตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจขณะพักมีความผิดปกติ
5.2.7.2 เมื่ อ มี ก ารบี บ ตั ว ของหั ว ใจด า นซ า ยล า งมากกว า 50% (EF>50%) โดยไม มี
ความผิดปกติของผนังหัวใจ เชน dyskinesia, hypokinesia or akinesia และการบีบตัวของหัวใจดานขวาลางอยู
ในเกณฑปกติ

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-57


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
5.2.7.3 เมื่ อ ผลการบั น ทึ ก คลื่ น ไฟฟ า หั ว ใจ 24 ชั่ ว โมง เป น ที่ น า พอใจ (no significant
conduction disturbance nor complex nor sustained rhythm disturbance)
5.2.7.4 การฉีดสีตรวจหลอดเลือดหัวใจ (Coronary angiogram) แสดงใหเห็นวามีการตีบตัน
นอยกวา 30 % ในหลอดเลือดหัวใจเสนอื่นทุกเสนและกลามเนื้อหัวใจยังคงบีบตัวไดปกติ
5.2.7.5 การนัดตรวจพิเศษดานหัวใจและหลอดเลือดใหกระทําทุกป โดยแพทยผูเชี่ยวชาญ
โรคหัวใจที่ไดรับการรับรองจากกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหง
ประเทศไทย ประกอบดวยการตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจขณะออกกําลังกายหรือการตรวจหัวใจดวยสารกัมมันตภาพรังสี
หรื อ Exercise scintigraphy/Stress echocardiography ถ า ผลของการตรวจคลื่ น ไฟฟ า หั ว ใจขณะพั ก มี ค วาม
ผิดปกติ
5.2.7.6 การฉี ด สี ต รวจดู เ ส น เลื อ ดหั ว ใจให ก ระทํ า ทุ ก 5 ป (Five yearly coronary
angiography) หลังจากเกิดกลามเนื้อหัวใจตาย (Index event) เวนแตกรณีที่ผลการตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจขณะ
ออกกํ า ลัง กายไมเ สื ่อ มลง (The exercise ECG show no deterioration) และไดร ับ การยอมรับ จาก
ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือน
แหงประเทศไทย
เมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทยสามารถผานการพิจารณาดังกลาวมาแลว กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1
อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment
to fly as/with a suitably qualified copilot (OML)) กรณีไดรับ ใบสําคัญ แพทยชั้น 2 ใหมีนักบิน ผูชว ยเพื่ อ
ความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls) กรณีไดรับใบสําคัญแพทย
ชั้น 3 ใหมีขอจํากัด Valid only when another air traffic controller available and competent to assume
your duties เปนระยะเวลาไมน อยกว า 6 เดือน (หกเดือน) และใหขอบงชี้ของการซ อมแซมหลอดเลื อ ดและ
กลามเนื้อหัวใจ
5.2.8 ความผิดปกติของจังหวะและการนําไฟฟาหัวใจ (Rhythm/Conduction disturbances)
5.2.8.1 กรณีมีค วามผิด ปกติอ ยา งมีนัย สํา คัญ ของจัง หวะและการนํา ไฟฟา หัว ใจใหไ ดรับ
การประเมินโดยผูเชี่ยวชาญโรคหัวใจที่ไดรับการยอมรับจากศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตร
การบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย การประเมินประกอบดวย
5.2.8.1.1 การตรวจคลื่ น ไฟฟ า หั ว ใจขณะพั ก และออกกํ า ลั ง กายอยู ใ น Bruce
Stage 4 or equivalent ซึ่งแสดงความหมายวา ไมมีกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดอยางมีนัยสําคัญ ใหตรวจ Myocardial
scintigraphy/Stress echocardiography ถาผลการตรวจคลื่นหัวใจขณะพักมีความผิดปกติ
5.2.8.1.2 การตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจแบบเคลื่อนที่ได 24 ชั่วโมง (ยี่สิบสี่ชั่วโมง) ซึ่ง
แสดงผล no significant conduction disturbance nor complex nor sustained rhythm disturbance nor
evidence of myocardial ischemia
5.2.8.1.3 ผลการตรวจ 2D Doppler echocardiogram ซึ่งแสดงผลวาไมมีหอง
หัวใจหองใดหองหนึ่งโต ไมมีความผิดปกติทั้งหนาที่และโครงสรางของลิ้นหัวใจหรือกลามเนื้อหัวใจ
5.2.8.1.4 การฉีดสีดูเสนเลือดหัวใจ (Coronary angiogram) ซึ่งแสดงใหเห็นวา
ไมมีโรคของ Coronary artery
5.2.8.1.5 ผลการตรวจ Electrophysiological investigation ซึ่ งแสดงผลว า มี
โอกาสเสี่ยงต่ําที่ผูถือใบสําคัญแพทยจะเกิดภาวะไมสามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางกะทันหัน (Incapacitation)
5.2.8.2 ในกรณีที่ไดอธิบายไวในมาตรฐานหัวใจและหลอดเลือดที่เกี่ยวกับจังหวะการเตนและ
การนํ า ไฟฟ า (Rhythm/Conduction disturbances) การประเมิ น ความสมบู ร ณ โ ดยกองเวชศาสตร ก ารบิ น
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-58
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย แลวใหปฏิบัติหนาที่แบบมีเงื่อนไข กรณีที่ผู
รองขอรับใบสําคัญแพทยสามารถผานการพิจารณาดังกลาวมาแลว กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับการ
ประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment to fly as/with
a suitably qualified copilot (OML)) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid
only with safety pilot and in aircraft with dual controls) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 3 ใหมีขอจํากัด
Valid only when another air traffic controller available and competent to assume your duties เปน
ระยะเวลาไมนอยกวา 6 เดือน (หกเดือน) และใหขอบงชี้ของการซอมแซมหลอดเลือดและกลามเนื้อหัวใจโดยมี
ลักษณะดังนี้
5.2.8.2.1 จั ง หวะการเต น ของหั ว ใจผิ ด ปกติ แ บบ One atrial or functional
ectopic complex per minute บนคลื่นไฟฟาหัวใจขณะพัก
5.2.8.2.2 จั ง หวะการเต น ของหั ว ใจผิ ด ปกติ แ บบ One ventricular ectopic
complex per minute บนคลื่นไฟฟาหัวใจขณะพัก แตตองปฏิบัติหนาที่แบบมีเงื่อนไข
5.2.8.2.3 ระยะเวลา 1 ป (หนึ่ งป ) หลังจากตรวจพบ Complete right bundle
branch block หรือระยะเวลา 3 ป (สามป) หลังจากตรวจพบ left bundle branch block อาจตองไดรั บ การ
ประเมินใหม
5.2.8.2.4 หลั ง จากผ า นการจี้ ท างลั ด ไฟฟ า ของหั ว ใจด ว ยคลื่ น วิ ท ยุ ค วามถี่ สู ง
(Ablation therapy) ให ป ระเมิ น ว า “ไม ส มบูร ณ” การประเมิ น ความสมบู ร ณ โ ดยแพทย ผู เชี่ ยวชาญโรคหัวใจ
ที่ ไ ด รั บ การยอมรั บ จากกองเวชศาสตร ก ารบิ น ฝ ายมาตรฐานผู ป ระจํ าหน าที่ สํ า นั ก งานการบิ น พลเรื อ น
แหงประเทศไทย หลังจากการรักษาไดผลดี ใหประเมินการทํางานของระบบหัวใจอยางนอย 2 เดือน (สองเดือน)
หลังการรักษาและไดผลเปนที่นาพอใจ และกรณีที่ไดรับการพิจารณาใหไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับการ
ประเมินใหปฏิบัติการบินโดยเปนนักบินหรือปฏิบัติการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment to fly
as/with a suitably qualified copilot (OML) อยางนอย 1 ป (หนึ่งป) และใหมีการตรวจติดตามเพิ่มเติม
5.2.8.3 หลังจากผูรองขอรับใบสําคัญแพทยใสเครื่องกระตุนหัวใจ (Permanent implantation
of a endocardial pacemaker) ใหพิจารณาความสมบูรณโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและกองเวชศาสตร
การบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทยเมื่อครบระยะเวลา 3 เดือน (สาม
เดือน) หลังจากใสเครื่อง (Insertion provided) ดังนี้
5.2.8.3.1 ไมมีความผิดปกติอื่น ๆ
5.2.8.3.2 ไดใช Bipolar lead system
5.2.8.3.3 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไมไดเปนชนิด Pacemaker dependent
5.2.8.3.4 อาการจํากัดเฉพาะเวลาตรวจดวยคลื่นไฟฟาหัวใจขณะออกกําลังกายใน
ระดั บ Bruce Stage 4 หรื อ เท า กั น ไม มี สิ่ ง ผิ ด ปกติ ใ น Pacemaker อาจต อ งทํ า Myocardial scintigraphy
/Stress echocardiography
5.2.8.3.5 A 2D Doppler echocardiogram แสดงว า ไม มี สิ่ ง ผิ ด ปกติ เช น no
selective chamber enlargement nor structural nor functional abnormality of any heart valve or of
the myocardium
5.2.8.3.6 การบันทึกดวย Holter แสดงวาไมมีอาการหรือไมมีอาการหัวใจเตนเร็ว
หรือหัวใจเตนไมเปนจังหวะ (No symptomatic or asymptomatic paroxysmal tachyarrhythmia)

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-59


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
5.2.8.3.7 การพิจารณาติดตามผลในระยะ 6 เดือน ของผูเชี่ยวชาญโรคหัวใจที่ไดรับ
การยอมรับจากกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
พบวาการตรวจตัวกระตุนหัวใจและการบันทึกดวย Holter ยังคงปกติ
5.2.8.3.8 การพิจารณาใบสําคัญแพทยใหมใหแก ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่
สามารถผานการพิจารณาดังกลาวมาแลว กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดย
เปนนักบิน/หรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment to fly as/with a suitably qualified
copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot
and in aircraft with dual controls) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 3 ใหมีขอจํากัด Valid only when another
air traffic controller available and competent to assume your duties
5.2.9 กรณีหลอดเลือดแดงใหญโปงพองในชองทองระดับต่ํากวาไตที่ไมไดรับการผาตัด (Unoperated
infrarenal abdominal aortic aneurysm) หรือหลั งจากผ าตั ดที่ ไม มี โรคแทรกซ อนตามมาการตรวจ ultrasound
scan ทุก 6 เดือน (หกเดือน) และการประเมินทางระบบหัวใจและหลอดเลือดแลวใหพิจารณาออกใบสําคัญแพทย
ทั้งชั้น 1 ชั้น 2 และชั้น 3 โดยกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแห ง
ประเทศไทย โดยมีขอจํากัดเปนราย ๆ ไป
5.2.10 ทั่วไป
5.2.10.1 เสี ย งหั ว ใจที ่ ผ ิ ด ปกติ ต  อ งได ร ั บ การตรวจโดยผู  เ ชี ่ ย วชาญโรคหั ว ใจที ่
กองเวชศาสตร ก ารบิ น ฝายมาตรฐานผู ประจํ าหน าที่ สํ า นั ก งานการบิ น พลเรื อ นแห ง ประเทศไทย ยอมรั บ
ซึ่งอาจตองไดรับการตรวจหัวใจดวยคลื่นเสียง (2D Doppler echocardiography)
5.2.10.2 ภาวะลิ้นหัวใจ (Valvular abnormality)
5.2.10.2.1 Bicuspid aortic valve ที่ ไม มี ภ าวะผิ ด ปกติ ข องหั ว ใจอื่ น ๆ หรื อ
ความผิด ปกติข องหลอดเลือ ดแดงใหญ (Aortic abnormality) ถือ วา ไมมีขอ จํากัด แตตอ งตรวจติด ตามดว ย
คลื่นเสียง (Echocardiography) ปละ 2 ครั้ง (สองครั้ง)
5.2.10.2.2 Aortic stenosis ที่มี Doppler flow rate < 2.0 m/sec อนุโลมให
ไดรับการพิจารณาใบสําคัญแพทยใหม โดยผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่สามารถผานการพิจารณาดังกลาว กรณี
ได รั บ ใบสํ าคั ญ แพทย ชั้ น 1 อาจได รั บ การประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือทําการบินกับนั กบินผูช วยที่ มี
คุณสมบัติแลว (Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2
ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls) กรณี
ใบสํ า คั ญ แพท ย ชั้ น 3 ให มี ข อ จํ า กั ด Valid only when another air traffic controller available and
competent to assume your duties
ในกรณีมีการนัดตรวจติดตามผลทุกปดวย 2D Doppler echocardiography อาจ
อนุโลมในการพิจารณาใบสําคัญแพทยโดยไมมีขอจํากัด ซึ่งการตรวจทุกปดังกลาวตองดําเนินการโดยผูเชีย่ วชาญโรคหัวใจ
ที่ไดรับการยอมรับจากกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศ
ไทย
5.2.10.2.3 Aortic regurgitation ที่เปนเพียงเล็กนอย (Trivial) ที่ตรวจไมพบ
ความผิดปกติของ Ascending Aorta ดวย 2D Doppler echocardiography อาจอนุโลมในการพิจารณาใบสําคัญ
แพทยโดยไมมีขอจํากัด และการตรวจทุกปตองดําเนินการโดยผูเชี่ยวชาญโรคหัวใจที่รับการยอมรับจากกองเวชศาสตร
การบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
5.2.10.2.4 กรณี โ รคหั ว ใจรู ม าติ ค เช น Rheumatic mitral valve disease
ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-60
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
5.2.10.2.5 โรคลิ้นหัวใจไมตรัล (Mitral valve) ชนิดหยอนหรือรั่ว (Mitral leaflet
prolapsed/Mitral regurgitation) ในกรณีที่ตรวจพบเสียง Mid systolic click เพียงอยางเดียว ใหถือวาไมขัดตอการ
ทําการบิน
5.2.10.2.6 ผู ร องขอรั บ ใบสํ าคั ญแพทย ที่ ตรวจพบลิ้ น หั วใจรั่ ว เพี ย งเล็ กน อย
(Uncomplicated minor regurgitation) จะได รั บ อนุ ญ าตให ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ไ ด เมื่ อ ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย
สามารถผานการพิจารณาดังกลาว โดยกรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดยเปน
นั กบิ น หรื อประเมิ น ให ทํา การบิ น กั บ นั กบิ น ผูชว ยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment to fly as/with a suitably
qualified copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with
safety pilot and in aircraft with dual controls) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 3 ใหมีขอจํากัด Valid only
when another air traffic controller available and competent to assume your duties
5.2.10.2.7 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ ต รวจพบวา ปริ ม าณเลื อ ดเข า หั ว ใจ
ด า นล า งซ า ยมากเกิ น กํ าหนด (Volume overload of the left ventricle) โดยหั ว ใจด า นล างซ า ยโตขึ้ น ขณะ
ขยายตัวสุด (Left ventricular end diastolic diameter) ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
5.2.10.2.8 การตรวจประจําป ใหกระทําโดยผูเชี่ยวชาญโรคหัวใจและประเมิน
โดยกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
5.2.10.3 การผาตัดลิ้นหัวใจ (Valvular Surgery)
5.2.10.3.1 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ ใ ส ลิ้ น หั ว ใจเที ย ม (Mechanical
valves) ใหถูกประเมินวา “ไมสมบูรณ”
5.2.10.3.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ใสลิ้นหัวใจเที ยมจากเนื้ อเยื่ อ (Tissue
valves) อาจอนุโลมวา “สมบูรณ” ในการทําการบิน โดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและกองเวชศาสตรการบิน ฝาย
มาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย (สําหรับการปฏิบัติหนาที่แบบมีเงื่อนไข) หลังการ
ผาตัดเปนระยะเวลาไมนอยกวา 6 เดือน (หกเดือน) โดยพิจารณา ดังนี้
5.2.10.3.2.1 การทํางานของลิ้นหัวใจและกลามเนื้อหัวใจปกติ จากการตรวจ
ด ว ยคลื่ น เสี ย งแบบการตรวจด ว ย 2D Doppler echocardiogram พบว า no significant selective chamber
enlargement, a tissue valve with minimal structural alterations and with a normal Doppler blood
flow and no structural nor functional abnormality of the other heart valves. Left ventricular
fractional or shortening shall be normal.
5.2.10.3.2.2 ผลการตรวจคลื่นหัวใจขณะออกกําลังกายอยูในระดับ Bruce
Stage 4 หรือ เทีย บเทา ซึ ่ง ผูเ ชี่ย วชาญโรคหัว ใจที่ไ ดรับ การยอมรับ จากกองเวชศาสตรก ารบิน ฝายมาตรฐาน
ผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย แปลผลวาไมมีความผิดปกติที่มีนัยสําคัญ
5.2.10.3.2.3 ตรวจไมพบโรคหลอดเลือดหัวใจ หรือการผาตัดเสนเลือด
หัวใจไดผลเปนที่นาพอใจ (Satisfactory Revascularization)
5.2.10.3.2.4 ไมตองใชยาในการควบคุม (The absence of requirement
for cardioactive medication)
5.2.10.3.2.5 ก ร ณี ก า ร ต ร ว จ ป ร ะ เ มิ น ส ภ า พ หั ว ใ จ ป ร ะ จํ า ป โ ด ย
ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหง
ประเทศไทย ใหทดสอบคลื่นหัวใจขณะออกกําลังกาย และ 2D Doppler echocardiography เพื่อประเมิน ความ
สมบูรณ และใหปฏิบัติหนาที่แบบมีเงื่อนไข เมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทยสามารถผานการพิจารณาดังกลาวมาแลว

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-61


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบิน หรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว
(Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวย
เพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls) กรณีใบสําคัญแพทยชั้น 3
ให มี ข อ จํ า กั ด (Valid only when another air traffic controller available and competent to assume your
duties)
5.2.11 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ตองใชยาควบคุมการแข็งตัวของเลือด ตองไดรับการวิเคราะหจาก
ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือน
แหงประเทศไทย การแข็งตัวของเลือดในหลอดเลือดดํา (Venous Thrombosis) หรือการอุดตันของหลอดเลือดใน
ปอด (Pulmonary Embolism) จะถือวาขาดคุณสมบัติจนกวาผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะหยุดการใชยาควบคุม
การแข็งตัวของเลือดเพื่อปองกันภาวะการแข็งตัวของเลือดในหลอดเลือดแดง (Arterial Thromboembolism)
5.2.12 ความผิดปกติของกลามเนื้อหัวใจ (Pericardium, Myocardium and Endocardium) ไมวา
จะเปนสาเหตุจากตัวกลามเนื้อเองหรือสาเหตุจากโรคอื่น ๆ ก็ตาม (Primary or secondary) ใหไดรับการประเมินวา
“ไมสมบูรณ” จนกวาอาการของโรคจะหายเปนปกติ การประเมินทางหัวใจและหลอดเลือดโดยศูนยเวชศาสตรการบิน
พลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือน แหงประเทศไทย
ประกอบดวยการตรวจคลื่นเสียงแบบ 2D Doppler echocardiography การตรวจคลื่นหัวใจขณะออกกําลังกาย
ผลบั น ทึ กคลื่ น หัว ใจ 24 ชั่วโมง การตรวจหัวใจด วยสารกั มมันตรังสี (Myocardial scintigraphy) และการฉี ดสี
ตรวจดูเสนเลือดหัวใจ (Coronary angiography) และผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะไดรับอนุญาตใหปฏิบัติหนาที่แบบมี
เงื่อนไข เมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทยสามารถผานการพิจารณาดังกลาวมาแลว กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจ
ไดรับประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือทํ าการบินกับนั กบินผูชวยที่มีคุณสมบัติ แลว (Assessment to fly
as/with a suitably qualified copilot OML) กรณี ไ ด รั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ชั้ น 2 ให มี นั ก บิ น ผู ช ว ยเพื่ อความ
ปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 3 ให
มี ข อจํ ากั ด Valid only when another air traffic controller available and competent to assume your
duties ทั้งนี้ ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไดรับการตรวจที่บอยมากขึ้นกวาปกติหลังจากไดรับใบสําคัญแพทย
แลว
5.2.13 กรณีภาวะหัวใจพิการแตกําเนิดและภายหลังไดรับการผาตัดแกไขความผิดปกติแลวใหประเมิน
วา “ไมสมบูรณ” เวนแตผูรองขอรับใบสําคัญแพทยสามารถทํางานไดเปนปกติ และไมตองใชยาหัวใจและผานการ
ประเมินดานหัวใจดวยการตรวจพิเศษ ซึ่งประกอบดวยการตรวจดวยคลื่นเสียงแบบ 2D Doppler echocardiography
การตรวจคลื่นหัวใจขณะออกกําลังกาย ผลการบันทึกคลื่นหัวใจตลอด 24 ชั่วโมง ทั้งนี้การตรวจหัวใจตองกระทํา
อยางสม่ําเสมอ และผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะไดรับอนุญาตใหปฏิบัติหนาที่แบบมีเงื่ อนไข เมื่อผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยที่สามารถผานการพิจารณาดังกลาวมาแลว กรณีไดรับการประเมินให ทําการบินโดย ไดรับใบสําคัญ
แพทย ชั้ น 1 อาจประเมิ น ให ทํ า การบิ น โดยเป น นั ก บิ น หรื อ ทํ า การบิ น กั บ นั ก บิ น ผู ช ว ยที่ มี คุ ณ สมบั ติ แ ล ว
(Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบิน
ผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls) กรณีไดรับใบสําคัญ
แพทย ชั้ น 3 ให มี ข อจํ ากั ด Valid only when another air traffic controller available and competent to
assume your duties
5.2.14 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ มี ป ญ หาเรื่ อ งการหมดสติ (Syncope) ต อ งได รั บ การตรวจ
ดังตอไปนี้

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-62


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
5.2.14.1 ผลการตรวจคลื่นหัวใจขณะออกกําลังกายใหผล Bruce Stage 4 หรือเทียบเทาให
แปลผลโดยผูเชี่ยวชาญหัวใจที่ไดรับการยอมรับจากกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบิน
พลเรือนแหงประเทศไทย ว าไมมีความผิ ดปกติ กรณีคลื่นหัวใจขณะพักผิดปกติตองทํา Myocardial scintigraphy/
Stress echocardiography
5.2.14.2 ทํ า 2D Doppler echocardiogram ให ผ ล No significant selective chamber
enlargement nor structural nor functional abnormality ของหัวใจ ลิ้นหัวใจ และกลามเนื้อหัวใจ
5.2.14.3 ผลการบั นทึ กคลื่นหัวใจตลอด 24 ชั่วโมงแสดงวา No conduction disturbance
nor complex nor sustained rhythm disturbance หรือขอบงชี้ของกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด และ
5.2.14.4 ใหทํา Tilt test ตามวิธีมาตรฐาน ตามความเห็นของผูเชี่ยวชาญโรคหัวใจที่ ไดรับ
การยอมรับจากกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
ใหผลวา No vasomotor instability ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ผานมาตรการขางบนนี้อาจไดรับอนุญาตใหปฏิบัติ
หนาที่แบบมีเงื่อนไข เมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่สามารถผานการพิจารณาดังกลาวมาแลว อาจไดรับการประเมิน
ใหทําการบินโดยไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบิน หรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่
มีคุณสมบัติแลว (Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทย
ชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls
) กรณี ไ ด รั บ ใบสํ าคั ญแพทย ชั้ น 3 ให มี ข อจํ ากั ด Valid only when another air traffic controller available and
competent to assume your duties ภายในระยะเวลา 6 เดือน (หกเดือน) หลังจาก Index event และไมมีการเปน
ซ้ํา ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไดรับการประเมินทางประสาทวิทยา ซึ่งการจะไดรับใบสําคัญแพทยอยางไมมี
เงื่อนไขผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไมมีอาการปรากฎเปนระยะเวลาอยางนอย 5 ป (หาป) การประเมินในระยะเวลา
ที่สั้นกวาหรือยาวกวานี้ ตองไดรับความเห็นชอบจากศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและกองเวชศาสตรการบิน
ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย โดยพิจารณาเปนราย ๆ ไป ในกรณีผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยที่มีอาการหมดสติโดยไมมีอาการเตือนใหไดรับการประเมินวา “ไมสมบูรณ”
5.2.15 การผาตัดเปลี่ยนหัวใจใหถือวา “ไมสมบูรณ” การปลูกถายหัวใจจะขาดคุณสมบัติ
5.2.16 การประเมินภาวะมะเร็งในระบบหัวใจนี้ ใหปรึกษาผูเชี่ยวชาญโรคมะเร็ง
ขอ 5.3 ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory System)
5.3.1 การตรวจด ว ยเครื่ อ งวั ด การหายใจ (Spirometer examination) ให ก ระทํ า ในการตรวจ
ครั้งแรกเฉพาะผูที่รองขอใบสําคัญแพทยช้ัน 1 กรณี FEV1/FVC ratio นอยกวา 70% ตองไดรับการประเมินจาก
ผูเชี่ยวชาญดานโรคทางเดินหายใจ สําหรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหตรวจดวย A pulmonary peak flow test
หากปรากฏวาผลต่ํากวา 80% ของคาปกติตามอายุ เพศ และความสูง ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไดรับการ
ประเมินจากผูเชี่ยวชาญดานโรคทางเดินหายใจ
5.3.2 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ เ ป น โรคปอดอุ ด กั้ น เรื้ อ รั ง ให ถื อ ว า “ไม ส มบู ร ณ ” (Chronic
obstructive airway disease) เวนแตกรณีที่ปรากฏวาผูรองขอรับใบสําคัญแพทยเริ่มมีเกิดอาการ แตรางกาย
แข็ งแรงดี ไม แสดงอาการหรื อมี อาการเพี ย งเล็กนอย และผล X-ray ปอด อยูในเกณฑป กติ อาจพิจ ารณาวา
“สมบูรณ”
5.3.3 ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ เ ป น โรคหอบหื ด และยั ง มี อ าการซ้ํ า (Recurrent attack of
asthma) ใหถือวา “ไมสมบูรณ”

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-63


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
5.3.3.1 กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดยเปน นักบิน
หรื อทํ าการบิ น กั บ นั กบิ น ผู ช ว ยที่ มี คุณสมบั ติ แลว (Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot
OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in
aircraft with dual controls) กรณี ได รั บ ใบสํ าคั ญ แพทย ชั้ น 3 ให มี ข อ จํ า กั ด Valid only when another air
traffic controller available and competent to assume your duties ทั้งนี้ ใหเปนอํานาจของศูนยเวชศาสตร
การบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
ที่จะพิจารณา หากพิจารณาเห็นวาโรคนั้นคงที่ โดยการทดสอบสมรรถภาพปอดอยูในเกณฑย อมรับได และใช ย า
ที่ไมขัดตอความปลอดภัยในการบิน
5.3.3.2 กรณีใบสําคัญแพทยชั้นที่ 4 ใหพิจารณาโดยนายแพทยผูตรวจที่ไดรับการเห็นชอบ
จากศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพล
เรื อนแห งประเทศไทย หากพิ จ ารณาแล ว เห็นวาโรคยังคงที่ โดยการทดสอบสมรรถภาพปอดของผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยอยูในเกณฑยอมรับได และใชยาที่ไมขัดตอความปลอดภัยในการบิน
5.3.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนซาคอยโดซิส (Sarcoidosis) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” และอาจ
ไดรับการพิจารณาผอนผันใหออกใบสําคัญแพทยแกผูรองขอรับใบสําคัญแพทยโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือ
กองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทยได เมื่อสภาวะของโรค
มีลักษณะดังตอไปนี้
5.3.4.1 ผลการตรวจค น เพื่ อพิ จ ารณาถึ งผลเสี ย กั บ ระบบภายในทั้ งหมด Respect to the
possibility of systemic involvement and limited to hilar lymphadenopathy shown to be inactive และ
5.3.4.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไมตองใชยา
5.3.5 เมื่อพบวาผูรองขอรับใบสําคัญแพทยปวยเปนวัณโรคที่ยังดําเนินอยูหรือที่ผานการรักษามาแลว ให
ประเมินวา“ไมสมบูรณ” ภายในระยะเวลาไมนอยกวา 3 เดือน (สามเดือน) นับจากวันที่มีการตรวจพบ เมื่อครบสาม
เดือนใหทําการตรวจทางรังสี (radiographic record) และนํามาเปรียบเทียบกับผลการตรวจครั้งแรก หากไมพบวา
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีอาการปวยมากขึ้น อาจไดรับการประเมินวา “สมบูรณ” หลังจากนั้นใหมีการตรวจ
ติดตามตอทุก ๆ 3 เดือน (สามเดือน) กรณีใหดําเนินการเปนระยะเวลา 2 ป (สองป) แลวอาการไมเปลี่ยนแปลงให
เรียกวาอยูในภาวะสงบ “quiescent” or “healed”
5.3.6 ภาวะมีลมในชองเยื่อหุมปอดที่เกิดขึ้นเอง (Spontaneous pneumothorax) ในกรณีผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทย ยื่น ขอรั บใบสํ าคั ญ แพทย ครั้งแรกมีป ระวัติมีล มในชองเยื่อหุมปอดที่เกิดขึ้น เองอาจพิจารณาวา
“สมบูรณ” หากเกิดภาวะนี้เพียงครั้งเดียวและไดหายอยางสมบูรณ และผลการตรวจคนทางการแพทยเพิ่มเติมไม
พบสาเหตุที่อาจทําใหเกิดภาวะลมในชองเยื่อหุมปอดอีก เชน Bullous emphysema
5.3.6.1 ภาวะมี ล มในช อ งเยื่ อ หุ ม ปอดที่ เ กิ ด ขึ้ น เอง (Spontaneous pneumothorax)
หลังจากผูรองขอรับใบสําคัญแพทยหายเปนปกติแลว 1 ป (หนึ่งป) อาจไดรับใบสําคัญแพทยได แตผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยจะตองไดรับการประเมินดานโรคทางเดินหายใจอยางละเอียด
5.3.6.2 การออกใบสํ า คั ญ แพทย แ ก ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ใ น 5.3.6.1 ผู ร อ งขอรั บ
ใบสําคัญแพทยอาจไดรับอนุญาตใหปฏิบัติหนาที่แบบมีเงื่อนไข เมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่สามารถผานการ
พิจารณาดังกลาวมาแลว อาจไดรับการประเมินใหทําการบินได โดยกรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับการ
ประเมิ น ให ทํ า การบิ น โดยเป น นั ก บิ น หรื อ ทํ า การบิ น กั บ นั ก บิน ผู ช ว ยที่ มี คุ ณ สมบั ติแ ล ว (Assessment to fly
as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณี ไ ด รั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ชั้ น 2 ให มี นั ก บิ น ผู ช ว ยเพื่ อ ความ
ปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 3
ให มี ข อ จํ า กั ด Valid only when another air traffic controller available and competent to assume
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-64
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
your duties ทั้งนี้ ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยอาจไดรับการพิจารณาโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือ
กองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย หากผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยมีอาการหายเปนปกติจากการปวยเพียงครั้งเดียวภายในระยะเวลา 6 สัปดาห (หกสัปดาห) กรณี
การพิจารณาใบสําคัญแพทยใหมที่ไมมีขอจํากัดอาจไดรับการพิจารณาโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกอง
เวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย หลังจากผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยไดรับการตรวจทางดานโรคทางเดินหายใจแลว
5.3.6.3 ภาวะมี ล มในช องเยื่ อหุ มปอดที่ เ กิ ดขึ้ น เองและเป น ซ้ํ า (Recurrent spontaneous
pneumothorax) ใหถือวาผูรองขอรับใบสําคัญแพทยขาดคุณสมบัติ เวนแตภายหลังจากผูรองขอรับใบสําคัญแพทย
ไดรับการผาตัดแลวและผลการผาตัดเปนที่นาพอใจ ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝาย
มาตรฐาน ผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย อาจพิจารณาออกใบสําคัญแพทยใหแกผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทย
5.3.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ตัดปอดออก (Pneumonectomy) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” กรณี
การผาตัดเล็กนอย (Lesser chest surgery) หากผูรองขอรับใบสําคัญแพทยหายจากการเจ็บปวยเปนที่นาพอใจ
และไดรับการประเมินทางระบบทางเดินหายใจอยางครบถวนแลว อาจไดรับการพิจารณาใหปฏิบัติหนาที่แบบมี
เงื่อนไข เมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทยสามารถผานการพิจารณาดังกลาวมาแลว โดยกรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1
อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบิน หรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment to
fly as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความ
ปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น
3 ใหมีขอจํากัด Valid only when another air traffic controller available and competent to assume
your duties
5.3.8 ในการประเมินภาวะมะเร็งในระบบนี้ ใหปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญดานมะเร็ง
ขอ 5.4 ระบบทางเดินอาหาร (Digestive System)
5.4.1 ภาวะทองอืดที่เปนบอย ๆ (Recurrent dyspepsia) และตองใชยา จะตองมีการตรวจพิเศษดวย
รั งสี และการส องกล อง (Radiologic or endoscopic) การตรวจทางห องทดลอง ตรวจหาระดั บความเข มข นเลื อด
(Hemoglobin) และตรวจอุ จจาระ (Fecal examination) ด วยการมี ภาวะเป นแผล (Ulceration) หรื อการอั กเสบ
(Significant inflammation) ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไดรับการรักษาใหหายกอนที่จะไดรับการพิจารณาออก
ใบสําคัญแพทยใหมโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่
สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนแผลในกระเพาะอาหารที่มีภาวะแทรกซอนอาจไดรับการพิจารณาวา
“สมบูรณ” โดยใหประเมินจากผลการวินิจฉัยของนายแพทยผูเชี่ยวชาญที่ไดรับการยอมรับจากศูนยเวชศาสตรการ
บิน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะตับออนอักเสบ (Pancreatitis) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” เวนแตกรณีที่
มี อ าการเพี ย งเล็ ก น อ ย การพิ จ ารณาออกใบสํ า คั ญ แพทย โ ดยศู น ย เ วชศาสตร ก ารบิ น พลเรื อ น หรื อ กอง
เวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย จะกระทําไดในกรณีที่
สาเหตุนั้น ๆ ไดรับการแกไขได (เชน ยา หรือนิ่วในถุงน้ําดี) นับแตวันที่ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไดรับการรักษาจน
หายดี เปนระยะเวลา 3 เดือน (สามเดือน) จึงจะไดรับการพิจารณาออกใบสําคัญแพทยให สําหรับกรณีผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยที่พบแอลกอฮอลซึ่งเปนสาเหตุของการจุกเสียดทองและตับออนอักเสบใหพิจารณาในรายที่ดื่ม

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-65


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
แอลกอฮอลมากผิดปกติ ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีประวัติปวยเปนตับออนอักเสบตองไดรับการพิจารณาเปน
ราย ๆ ไป โดยนายแพทยผูตรวจสอบ (Medical assessor) และตองไดรับการตรวจคนและประเมินทางการแพทย
และติดตามการรักษาอยางใกลชิด
5.4.2 นิ่วในถุงน้ําดีเพียงกอนเดียวและไมมีอาการ (Single asymptomatic large gallstone) อาจ
ได รั บ การพิ จ ารณาออกใบสํ า คั ญ แพทย ไ ด สํ า หรั บ ในกรณี นิ่ ว ในถุ ง น้ํ า ดี ห ลายก อ นที่ ไ ม มี อ าการ (Multiple
asymptomatic gallstones) ในระหวางที่ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยรอรับการรักษาอาจไดรับการพิจารณาออก
ใบสํ าคั ญแพทย ได เมื่ อผู ร องขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทยที่ส ามารถผานการพิจ ารณาดังกลาวมาแลว อาจไดรับ การ
ประเมินใหทําการบินโดยกรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบิน หรือ
ทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot OML)
กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft
with dual controls) กรณี ไ ด รั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ชั้ น 3 ให มี ข อ จํ า กั ด Valid only when another air traffic
controller available and competent to assume your duties
5.4.3 โรคลําไสอักเสบเรื้อรัง เชน (Inflammatory bowel disease, recurrent diverticulitis) เปน
ตน ใหถือวา “ไมสมบูรณ” การตออายุใบสําคัญแพทยชั้น 1 ชั้น 2 และชั้น 3 ครั้งแรกใหพิจารณาโดยศูนยเวช
ศาสตร ก ารบิ น พลเรื อ น หรื อ กองเวชศาสตร ก ารบิ น ฝายมาตรฐานผู ประจํ าหน าที่ สํ านั กงานการบิ นพลเรื อน
แห งประเทศไทย ถ า ผู ร องขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย มี อาการหายเปน ปกติ (Full remission) หรือ มีอ าการเพีย ง
เล็กนอย หรือตองใชยาใด ๆ ใหมีการตรวจติดตามผลอยางสม่ําเสมอ และการพิจารณาออกใบสําคัญแพทย เมื่อผู
รองขอรับใบสําคัญแพทยที่สามารถผานการพิจารณาดังกลาวมาแลวอาจไดรับการประเมินใหทําการบินได โดย
กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่
มีคุณสมบัติแลว (Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทย
ชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls)
กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 3 ใหมีขอจํากัด Valid only when another air traffic controller available and
competent to assume your duties
5.4.4 การผาตัด ในชองทอง (Abdominal surgery) ใหถือวา “ไมส มบูร ณ” เปน ระยะเวลาอยาง
นอย 3 เดือน (สามเดือน) ทั้งนี้ ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจํา
หนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย อาจพิจารณาใบสําคัญแพทยใหแกผูรองขอรับใบสําคั ญแพทย
ถาผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีอาการหายเปนไปอยางสมบูรณ หากผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไมมีอาการและมี
อัตราเสี่ยงต่ําตอการเกิดโรคแทรกซอนหรือการกลับเปนอีกครั้ง
5.4.5 การประเมินภาวะมะเร็งในระบบนี้ ใหดําเนินการปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญโรคมะเร็ง
5.4.6 กรณีตับอักเสบเรื้อรัง (Chronic hepatitis) ที่เกิดจากหลายสาเหตุ เชน แอลกอฮอล การใชยาบาง
ชนิด การติดเชื้อ โรคทางพันธุกรรม ตับอักเสบจากไขมัน โรคของทอน้ําดี ใหถือวา “ไมสมบูรณ” เวนแตกรณีที่พบวา
ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ส ามารถปฏิ บั ติ ห น า ที่ ไ ด อ ย า งปลอดภั ย โดยการประเมิ น จากสาเหตุ ข องโรค
ผลการรั กษา และการติ ดตามอาการทุ ก 3 เดื อน (สามเดื อน) โดยแพทย ผู เชี่ ย วชาญที่ ได รั บ การรั บ รองจาก
ศู นย เวชศาสตร การบิ น หรื อกองเวชศาสตร การบิ น ฝ ายมาตรฐานผู ประจํ าหน าที่ สํ านั กงานการบิ น พลเรื อ น
แหงประเทศไทย อาจไดรับการพิจารณาออกใบสําคัญแพทยได

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-66


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ขอ 5.5 โรคทางระบบเมตาโบลิซึม โภชนาการ และระบบตอมไรทอ (Metabolic, Nutritional and
Endocrine Disorder)
5.5.1 ความผิดปกติของระบบเมตาโบลิซึม (Metabolic) ภาวะโภชนาการ (Nutritional) หรือโรคของ
ตอมไรทอ (Endocrine) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” เวนแตถาผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไมมีอาการและมีการติดตามผล
โดยผูเชี่ยวชาญเฉพาะโรคอยางสม่ําเสมอ อาจไดรับการพิจารณาออกใบสําคัญแพทยได
5.5.2 การมีน้ําตาลในปสสาวะ (Glycosuria) หรือระดับน้ําตาลในเลือดผิดปกติตองทําการตรวจเพิ่มเติมถา
Glucose tolerance ปกติ และมี Lower renal threshold แตไมมี Diabetic pathology ซึ่งสามารถควบคุม
ดวยอาหารและมีการตรวจอยางสม่ําเสมอ อาจไดรับการพิจารณา ดังนี้
5.5.3 การใชยารักษาเบาหวาน (Antidiabetic drug) ใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ” ยกเวนในรายที่ไดรับ
การพิ จ ารณาอย า งดี แ ล ว (Selected cases) การใช ย ากลุ ม Biguanide หรื อ ยาในกลุ ม Alpha-glucosidase
inhibitors อาจจะยอมรับได สําหรับพิจารณาการออกใบสําคัญแพทยเมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่สามารถ
ผานการพิจารณาดังกลาวมาแลว อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดย กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจ
ประเมิ น ให ทํ า การบิ น โดยเป น นั ก บิ น หรื อ ทํ า การบิ น กั บ นั ก บิน ผู ช ว ยที่ มี คุ ณ สมบั ติแ ล ว (Assessment to fly
as/with a suitably qualified copilot OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความปลอดภั ย
(Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls) กรณี ไ ด รั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ชั้ น 3 ให มี
ข อ จํ า กั ด Valid only when another air traffic controller available and competent to assume your
duties สําหรับการใช Sulphonylureas อาจจะไดรับการยอมรับได ในกรณีการตออายุใบสําคัญแพทย ชั้น 2 ชั้น
3 และชั้น 4 ที่ไดรับการควบคุมอยางดี

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-67


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ตาราง 1 เกณฑการวินิจฉัยโรคเบาหวาน (Diagnostic criteria)
(อางอิง Table III-4-1. Diagnostic criteria ใน Doc 8984 Manual of Civil Aviation Medicine; 3rd Edition 2012)

เมื่อไดรับการรักษาแลวปรากฏขอบงชี้วาการควบคุมเบาหวานอยูในเกณฑนาพอใจ
สิ่งสําคัญคือผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีการควบคุมเบาหวานอยูในเกณฑนาพอใจจะกลับไปปฏิบัติหนาที่
จะตองไมมีอาการของโรคเบาหวานและตองระมัดระวังเรื่องการควบคุมอาหาร ซึ่งการควบคุมเบาหวานไมควรเพง
ความสนใจเฉพาะระดับน้ําตาลในเลือดเพียงอยางเดียว เพื่อลดความเสี่ยงในดานโรคหัวใจและหลอดเลือด มีแนวทางตาม
ตาราง 2 ดังนี้
ตาราง 2 Metabolic Targets
(อางอิง Table III-4-2. Metabolic targets ใน Doc 8984 Manual of Civil Aviation Medicine; 3rd Edition 2012)

ทั้งนี้ จุดมุงหมายของการกลับไปปฏิบัติหนาที่คือโอกาสที่หลีกเลี่ยงภาวะสูญเสียความสามารถอยาง
กะทันหัน (Incapacitation)
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-68
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
5.5.4 Addison’s disease ใหถือวา “ไมสมบูรณ” สําหรับการพิจารณาใบสําคัญแพทยใหม ชั้น 1
(Re-certification Class 1) การพิจารณาใบสํ าคัญแพทยชั้น 2 ชั้น 3 และชั้น 4 (Certification class 2, 3, 4)
อาจจะไดรับการพิจารณาโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบินฝายมาตรฐานผูประจํา
หนาที่ สํ า นั กงานการบิ น พลเรื อนแห งประเทศไทย (Provided that cortisone is carried and available for
use, whilst exercising the privileges of the license) เปน ผูพิจ ารณาการออกใบสําคัญ แพทย ผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยที่สามารถผานการพิจารณาดังกลาว อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดยกรณีไดรับใบสําคัญ
แพทยชั้น 1 อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบิน หรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว
(Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบิน
ผู ช ว ยเพื่ อ ความปลอดภั ย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls) กรณี ไ ด รั บ
ใบสํ า คั ญ แพท ย ชั้ น 3 ให มี ข อ จํ า กั ด Valid only when another air traffic controller available and
competent to assume your duties
5.5.5 ภาวะต อมไทรอยด ทํ างานมากไปหรื อเป น พิ ษ (Hyperthyroidism - Thyrotoxicosis) ผู ร อง
ขอรับใบสําคัญแพทยที่มีโรคตอมไทรอยดทํางานมากเกินไปตองไดรับการพิจารณา เมื่อไดรับการรักษาจนอยูในสภาพ
ตอมไทรอยดทํางานปกติ (Euthyroid) เปนระยะเวลาอยางนอย 2 เดือน (สองเดือน) การไดรับยารักษาโรคตอม
ไทรอยดตองไมมีผลขางเคียง และผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองสามารถทนได โดยจะตองมีการติดตามการรักษา
ตลอดชีวิตโดยแพทยผูเชี่ยวชาญดานตอมไรทอเพื่อใหแนใจวาไมมีการกลับเปนโรคตอมไทรอยดทํางานมากเกินไป
(Hyperthyroidism) หรื อ เริ่ ม มี อ าการของต อ มไทรอยด ทํ า งานน อ ยเกิ น ไป (Hypothyroidism) สํ า หรับ การ
พิจารณาออกใบสําคัญแพทย เมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่สามารถผานการพิจารณาดังกลาวมาแลว อาจไดรับ
การประเมินใหทําการบินโดย กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบิน หรือ
ทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot (OML))
กรณี ได รั บใบสํ าคั ญ แพทย ชั้ น 2 ให มีนั กบิ น ผูชว ยเพื่อ ความปลอดภั ย (Valid only with safety pilot and in
aircraft with dual controls) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 3 ใหมีขอจํากัด Valid only when another air traffic
controller available and competent to assume your duties
5.5.6 ภาวะต อมไทรอยด ทํ างานน อยเกิ นไป (Hypothyroidism) ผู ร องขอรั บใบสํ าคั ญแพทย ที่ เป น
โรคตอมไทรอยดทํางานนอยเกิน ไป จะไดรับ การพิจารณาทางการแพทยตอเมื่ออยูในสภาพตอไทรอยดทํางาน
ปกติ (Euthyroid) และตอ งไดร ับ การติ ด ตามจากแพทย ผู เชี่ ย วชาญด า นต อ มไร ท อ อย างสม่ํ า เสมอ สํ า หรั บ
การพิจารณาออกใบสําคัญแพทย เมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่สามารถผานการพิจารณาดังกลาวมาแลว อาจ
ไดรับการประเมินใหทําการบินโดยกรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดยเปน
นั กบิ น หรื อทํ า การบิ น กั บ นั กบิ น ผู ช ว ยที่ มีคุณสมบัติแลว (Assessment to fly as/with a suitably qualified
copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety
pilot and in aircraft with dual controls) กรณี ได รั บ ใบสํ าคั ญแพทย ชั้ น 3 ให มี ข อจํ ากั ด Valid only when
another air traffic controller available and competent to assume your duties
5.5.7 การประเมินภาวะมะเร็งในระบบนี้ ใหปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญโรคมะเร็ง

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-69


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ขอ 5.6 โลหิตวิทยา (Haematology)
5.6.1 ภาวะโลหิตจางที่มีสาเหตุจากการลดลงของฮีโมโกลบิน (Haemoglobin) ใหทําการตรวจคน
เพิ่มเติมเพื่อหาสาเหตุ หากเปนภาวะโลหิตจางที่ไมตอบสนองตอการรักษา (Unamenable to treatment) ใหถือวา
“ไมสมบูรณ” ทั้งนี้ ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยอาจไดรับการพิจารณาออกใบสําคัญแพทยได ถาสาเหตุของโรคไดรับ
การรักษาแลว เชน การขาดธาตุเหล็ก หรือ วิตามิน B12 และฮีมาโตคริต (Haematocrit) คงอยูที่สูงกวา 32% หรือ
เมื่อเปนธาลัสซีเมีย (Thalassaemia) ที่ไมรุนแรง หรือความผิดปกติของเม็ดเลือดแดง(Haemoglobinopathies) ที่
ไดรับการวินิจฉัยโดยไมมีการเจ็บปวยรายแรงและสามารถปฏิบัติหนาที่ได ซึ่งจะตองพิจารณาเปนราย ๆ ไป
โรคเลือดซิกเคิลเซลล (Sickle-cell disease) ซึ่งอาจมีเนื้อเยื่อของมามตายจากการอุ ดตันของหลอดเลื อด
(Splenic infarctions) ในขณะทํ า การบิ น ดังนั้น กลุมโรคซิกเคิล เซลล เชน ภาวะเลือดจางจากซิ กเคิล เซลล
(Sickle-cell anaemia (SS), โรคซิ กเคิ ลเซลล ชนิ ด hemoglobin C disease (SC), โรคซิกเคิลเซลลธาลัสซีเมีย
(sickle-cell thalassemia (STh)), โรคซิกเคิลเซลล ชนิด hemoglobin D disease (SD) และโรคซิกเคิลเซลลอื่น
ๆ ที่มีพยาธิสภาพ ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ในดานการบิน
ผูที่เปนพาหะของโรคซิกเคิลเซลล (sickle-cell trait) พิจารณาวา “สมบูรณ”
5.6.2 การมีภาวะตอมน้ําเหลืองโต (Lymphatic enlargement) ตองไดรับการตรวจคนเพิ่มเติมซึ่งผู
รองขอรับใบสําคัญแพทยอาจไดรับการพิจารณาออกใบสําคัญแพทยได หากเปนภาวะติดเชื้อเฉียบพลันหรือกรณี
มะเร็งตอมน้ําเหลืองชนิดฮอดจกิน และนอนฮอดจกิน (Hodgkin’s lymphoma and Non Hodgkin’s lymphoma)
ซึ่งผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไดรับการรักษาและหายแลว ทั้งนี้ ในกรณีที่ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองรักษาดวย
ยา (Chemotherapy) ที่มี Anthracycline treatment ตองไดรับการตรวจคนดานโรคหัวใจดวย
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนมะเร็งตอมน้ําเหลืองตองไดรับการพิจารณาเปนราย ๆ ไป กรณีมะเร็งตอม
น้ําเหลืองที่อยูในภาวะโรคสงบ โดยเฉพาะ Hodgkin’s Disease อาจไดรับการพิจารณา “สมบูรณ” เมื่อผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยไมมีอาการของโรคหลังจากไดรับการรักษาแลวเปนระยะเวลา 2 ป (สองป) เมื่อผูรองขอรับใบสําคัญ
แพทยสามารถผานการพิจารณาดังกลาวมาแลว อาจไดรับการประเมินใหทําการบินได โดยกรณีไดรับใบสําคัญ
แพทยชั้น 1 อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบิน หรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว
(Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวย
เพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls) กรณีไดรับใบสําคัญแพทย
ชั้น 3 ใหมีขอจํากัด Valid only when another air traffic controller available and competent to assume your
duties
5.6.3 มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรัง (Chronic leukaemia) ในการพิจารณาตออายุใบสําคัญแพทยโดย
ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือน
แหงประเทศไทย จะพิจารณาในกรณีโรคอยูในระยะแรก โดยไมมีภาวะซีดและมีการรักษาเพียงเล็กนอยหรือเปน
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-70
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
มะเร็ งเม็ ด เลื อ ดขาวในระยะ Hairy cell และเปน ระยะที่ โ รคสงบ รว มกับ ไม มีภ าวะซี ด และเกล็ดเลื อ ดปกติ
(Platelets) แตตองมีการตรวจติดตามผลอยางสม่ําเสมอ ทั้งนี้ ในกรณีที่ตองรักษาดวยยา (Chemotherapy) ที่มี
Anthracycline treatment ตองตรวจคนดานโรคหัวใจดวย
มะเร็ ง เม็ ด เลื อ ดขาวเฉี ย บพลั น (Acute leukaemia of any type) ให ถื อ ว า “ไม ส มบู ร ณ ” เว น แต
ในกรณีโรคอยูในภาวะสงบ (Remission) อาจไดรับการพิจารณาให “สมบูรณ” เมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทย
สามารถผานการพิจารณาดังกลาวมาแลวอาจประเมินใหทําการบินโดย กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1อาจไดรับ
การประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment to fly
as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณี ไ ด รั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ชั้ น 2 ให มี นั ก บิ น ผู ช ว ยเพื่ อ ความ
ปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 3 ให
มี ขอจํ ากั ด Valid only when another air traffic controller available and competent to assume your
duties
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวแบบเรื้อรังชนิด Chronic myeloid leukaemia
(CML) ให ถื อ ว า “ไม ส มบู ร ณ ” เว น แต ก รณี ที่ ไ ม มี ภ าวะเลื อ ดจางจากการแตกตั ว ของเม็ ด เลื อ ด hemolytic
anaemia และไมตองรับการรักษาดวยยาเคมีบําบัด (Chemotherapy or corticosteroids) ซึ่งจะตองตรวจมี
การติดตามอยางสม่ําเสมอจากแพทยผูเชี่ยวชาญดานโลหิตวิทยา ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยอาจจะไดรับ การ
พิจารณาวา “สมบูรณ” ได เมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่สามารถผานการพิจารณาดังกลาวมาแลว อาจไดรับ
การประเมินใหทําการบินโดย กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบิน
หรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot
(OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and
in aircraft with dual controls) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 3 ใหมีขอจํากัด Valid only when another air
traffic controller available and competent to assume your duties
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่เปนโรคมะเร็งชนิด Chronic lymphocytic leukaemia (CLL) อาจไดรับ
การประเมิ น ว า “สมบู ร ณ ” เมื่ อผู ร องขอรั บ ใบสํา คัญ แพทยยั งมี อาการปกติดี อยู ไมตองรับ การรัก ษาทางยา
ทั้งนี้ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไดรับการตรวจติดตามจากแพทยผูเชี่ยวชาญดานโลหิตวิทยาอยางสม่ําเสมอ
5.6.4 กรณี ผู ร องขอรั บ ใบสํ า คั ญแพทยมีภาวะมามโตซึ่งจะตองมีการตรวจเพิ่มเติม อาจไดรับ การ
พิจารณาออกใบสําคัญแพทยได หากขนาดของมามใหญเพียงเล็กนอย คงที่และไมพบโรคภัยที่สําคัญ (ตัวอยาง ใน
กรณีโรคมาลาเรียเรื้อรัง หรือถาขนาดของมามไมใหญมากนัก รวมกับภาวะที่พอยอมรับไดอ่ืน ๆ เชน มะเร็งตอม
น้ําเหลืองฮอดจกินในภาวะที่โรคสงบ เปนตน)
5.6.5 กรณีผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีภาวะที่เลือดขนเกินไป (Polycythaemia) ซึ่งจะตองมีการตรวจ
คนเพิ่มเติ ม อาจไดรั บการพิ จารณาออกใบสํ าคัญแพทยได หากภาวะนี้อยูในภาวะคงที่และไมพบพยาธิสภาพที่
เกี่ยวของ
ในการพิจารณาใหแยกระหวาง ภาวะเลือดขนเกินที่เกิดขึ้นเอง (Primary erythrocytosis) ซึ่งเปนเรื่องของ
การทํ างานของไขกระดู กที่ ผิ ดปกติ (Myeloproliferative disease) กับภาวะอื่น ที่ ทําให เกิดภาวะเลื อดข น เกิ น
(Secondary erythrocytosis) เชน ประชาชนที่อาศัยอยูในที่สูง โรคปอด โรคหัวใจที่ทําใหเกิดภาวะขาดออกซิเจน
เปนตน
ในกรณี ของภาวะเลื อดข นเกิ นที่ เกิ ดขึ้นเอง (Primary erythrocytosis) โดยเฉพาะที่ เป น Polycythaemia
rubra vera นั้นใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ” เนื่องจากอาจเกิดภาวะแทรกซอนจากตัวโรคเอง เวนแตผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยในบางรายอาจไดรับการพิจารณาวา “สมบูรณ” อยางมีขอจํากัดได กลาวคือเมื่อผูรองขอรับใบสําคัญ
แพทยสามารถผานการพิจารณาดังกลาวมาแลว อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดยกรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-71
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบิน หรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment
to fly as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความ
ปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 3
ใ ห มี ข อ จํ า กั ด Valid only when another air traffic controller available and competent to assume
your duties
5.6.6 กรณีผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ (Coagulation defects) ซึ่ง
ตองมีการตรวจคนเพิ่มเติม อาจจะไดรับการพิจารณาออกใบอนุญาตได หากผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไมมีประวัติ
เลือดหยุดไหลยาก
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีปญหาเลือดหยุดผิดปกติจากกรรมพันธุ หรือมีประวัติการไดรับการรักษาดวย
การทดแทนปจจัยการหยุดเลือด อาจจะไดรับการพิจารณาวา “ไมสมบูรณ” ได ซึ่งในกรณีของผูรองขอรับใบสําคัญ
แพทยรายที่มีอาการรุนแรง หรือระดับปานกลางของ Factor VIII deficiency (classical haemophilia) ที่สงผลให
การพิจารณาวา “ไมสมบูรณ”
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีปญหาเลือดหยุดผิดปกติจากกรรมพันธุ ที่มีอาการเพียงเล็กนอย (Mild
cases of hemophilia) และไมมีประวัติมีเลือดไหลอยางมาก (Significant bleeding episodes) เชนเดียวกับโรค
วอนวิลลิแบรนด (Von Willebrand’s disease) ที่มีอาการเพียงเล็กนอย อาจไดรับการพิจารณาวา “สมบูรณ”
ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ มี ป ระวั ติ ภ าวะอุ ด ตั น ของลิ่ ม เลื อ ดในหลอดเลื อ ดดํ า (Deep vein
thrombosis) ตองไดรับการตรวจทางโลหิตวิทยาเพื่อหาสาเหตุของภาวะอุดตันของลิ่มเลือด กอนจะไดรับการ
พิจารณาวา “สมบูรณ”
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีประวัติ การอุดตันของลิ่มเลือดในปอดซ้ําอีก ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ตองใชยาตานการแข็งตัวของเลือดกลุมคูมาริน (Coumarin) และ วาฟาริน
(Warfarin) ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ใชยาตานการแข็งตัวของเลือดในกลุมเฮพาริน (Heparin) ใหไดรับการ
พิจารณาวา “ไมสมบูรณ”
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ใชยาตานการเกาะกลุมของเกร็ดเลือด เชน แอสไพริน (Acetylsalicylic acid
(Aspirin®) ในขนาดต่ํา ใหไดรับการพิจารณาวา “สมบูรณ”
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ตองใชยาตานการแข็งตัวของเลือด นอกจากกลุมยาในวรรคกอนนี้ ใหอยูใน
การพิจารณาของแพทยผูเชี่ยวชาญเฉพาะทางที่ไดรับความเห็นชอบจากศูนยเวชศาสตรการบิน หรือกองเวชศาสตรการบิน
ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
5.6.7 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะเกล็ดเลือดต่ํากวา 75,000/mm3 (75×109/L) ใหพิจารณาวา
“ไม ส มบู ร ณ ” เว น แต ในกรณี ที่เ ป น ภาวะเกล็ดเลือดต่ําที่เกิดขึ้นชั่วคราว เชน ภาวะขาดธาตุเหล็ก หรือภาวะ
แอลกอฮอลกดไขกระดูก อาจไดรับการประเมินวา “สมบูรณ” เมื่อภาวะเกล็ดเลือดกลับเขาสูภาวะปกติ
ผู ร องขอรั บใบสํ าคั ญแพทย ที่ มี ภาวะเกล็ ดเลื อดต่ํ าที่ ไม ทราบสาเหตุ (Idiopathic thrombocytopenic
purpura) ที่ไดรับการรักษาดวยการตัดมาม (Splenectomy) การตรวจนับเกล็ดเลือดคงที่เปนเวลาหกเดือน อาจ
ไดรับการพิจารณาวา “สมบูรณ” ทั้งนี้ เมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไดหยุดรับการรักษา ตองตรวจนับเกล็ดเลือด
ทุก 6 เดือน (หกเดือน)
5.6.8 การพิจารณาภาวะมะเร็งในระบบนี้ ใหดําเนินการปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญโรคมะเร็ง

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-72


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ขอ 5.7 ระบบทางเดินปสสาวะ (Urinary System)
5.7.1 การตรวจปสสาวะพบสิ่งผิดปกติตองมีการตรวจคนเพิ่มเติม
5.7.2 การเปนนิ่วที่ไมมีอาการหรือมีประวัติการปวดเสียดที่เกี่ยวกับไตซึ่งตองมีการตรวจคนเพิ่มเติม
ในระหวางผูรองขอรับใบสําคัญแพทยรอการประเมินหรือรักษาดังกลาว ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวช
ศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย อาจพิจารณาใหผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยปฏิบัติหนาที่อยางมีเงื่อนไขเมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไดรับการรักษาจนอาการหายดี โดยอาจ
ไดรับการพิจารณาใหใบสําคัญแพทยใหพิจารณาดังนี้
การปวดจากภาวะนิ่วในไตนั้นรุนแรงและทําใหเกิดภาวการณสูญเสียความสามารถอยางเฉียบพลันใน
ระหวางปฏิบัติหนาที่ (Incapacitation) การรักษานิ่วในไตเพื่อใหนิ่วหลุดออกมา เชน การเฝาสังเกตการผาตัด หรือ
การใชคลื่นจากภายนอกรางกายทําใหนิ่วแตก (Extracorporeal shock wave lithotripsy) ใหถือวา “ไม
สมบูรณ” จนกวาจะหาย
ในกระบวนการรั กษาทั้ งหมดนี้การรักษาโดยใชคลื่น จากภายนอกรางกาย (Extracorporeal shock
wave lithotripsy) และการใชวิธีการรักษานิ่วโดยการเจาะรูที่ผิวหนังแลวใชเครื่องมือไปนําออกมา (Percutaneous
nephrolithotomy) มีผลแทรกซอนต่ํา (Lower morbidity) ใหพิจารณาวา “สมบูรณ”ไดเร็วมากกวาการผาตัด
นิ่วสวนใหญที่มีขนาดเล็กกวา 4 - 5 มม. มักจะหลุดออกมาได กอนของนิ่วตองไดรับการตรวจ
ในกรณีที่เปนนิ่วที่กลับเปนซ้ํา ใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ” และใหดําเนินการตรวจคนทางการแพทย
ดานทางเดินปสสาวะกอน ซึ่งในบางรายอาจไดรับการพิจารณาวา “สมบูรณ” อยางมีขอจํากัดไดเมื่อผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยที่สามารถผานการพิจารณาดังกลาวมาแลว อาจไดรับการประเมินใหทําการบินไดโดย กรณีไดรับ
ใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติ
แลว (Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมี
นักบินผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls) กรณีไดรับ
ใบสํ า คั ญ แพท ย ชั้ น 3 ให มี ข อ จํ า กั ด Valid only when another air traffic controller available and
competent to assume your duties ทั้งนี้ การตรวจทางเดินปสสาวะ ทั้งการทํางานของไต และการตรวจดวย
รังสี ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองทําอยางสม่ําเสมอตามที่ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการ
บิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทยกําหนด
การมีน่ิวเหลือคางอยูที่ไมมีอาการใหถือวา “ไมสมบูรณ” และใหตรวจคนทางการแพทยดานทางเดิน
ปสสาวะกอน ในบางรายอาจไดรับการพิจารณาวา “สมบูรณ” อยางมีขอจํากัด เมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทย
สามารถผานการพิจารณาดังกลาวมาแลว อาจไดรับการประเมินใหทําการบินได โดยกรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1
อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment to
fly as/with a suitably qualified copilot OML) กรณีไดรับ ใบสําคัญ แพทยชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความ
ปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 3 ให
มี ขอจํ ากั ด Valid only when another air traffic controller available and competent to assume your
duties ทั้งนี้ การตรวจทางเดินปสสาวะทั้งการทํางานของไต และการตรวจดวยรังสี ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตอง
ทําอยางสม่ําเสมอตามที่ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่
สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทยกําหนด
5.7.3 ภาวะปสสาวะเปนเลือด (Haematuria of urological origin) การมีภาวะปสสาวะเปนเลือด ผู
รองขอรับใบสําคัญแพทยตองไดรับการตรวจเพิ่มเติม เชน นิ่วในระบบทางเดินปสสาวะที่อาจทําใหเกิดภาวะสูญเสีย
ความสามารถอยางเฉียบพลันในระหวางบิน (Incapacitation) เปนสาเหตุทําใหเกิดการติดเชื้อทางเดินปสสาวะ
และการอุดตัน เนื้องอกในทางเดินปสสาวะ ควรไดรับการตรวจเพื่อการรักษาที่เหมาะสมในกรณีโรคของหนวยไต
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-73
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
(Glomerular disease) ตองไดรับการประเมินการทํางานของไต เพื่อใหไดรับการรักษาที่เหมาะสม เพราะการ
ทํางานของไตจะชวยในกรณีที่ตองมีการขาดน้ํา (Renal reserve, ability to tolerate dehydration)
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีผลตรวจปสสาวะพบเม็ดเลือดแดงมากกวา 3-5 RBC/hpf3 จะตองไดรับ
การตรวจทางดานโรคไตอยางละเอียด
5.7.4 กรณีภาวะกลั้นปสสาวะไมอยู (Urinary incontinence) ซึ่งทําใหเกิดภาวะสูญเสียความสามารถ
อยางเฉียบพลันในระหวางปฏิบัติหนาที่ (Incapacitation) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” จนกวาจะสามารถวินิจฉัยไดและเริ่ม
การรักษา แมสวนใหญของภาวะกลั้นปสสาวะไมอยูจะไมทําใหเกิดการขาดคุณสมบัติในการปฏิบัติหนาที่ก็ตามแต
การรักษาอาจเริ่มตนดวยการเฝาติดตามอาการ ในกรณีที่ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองเขารับการผาตัดผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยตองมีหลักฐานที่ออกโดยแพทยผูทําการรักษาแสดงวาผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไดเขารับการรักษาจน
หายแลว กอนที่ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะกลับมาทําหนาที่เกี่ยวกับการบิน
การรักษาทางยาตองไดรับการทบทวนในดานเวชศาสตรการบิน การใชยาในกลุมแอนตี้คอลิเนอจิก
(Anticholinergic medications) ที่ใชเพื่อคลายกลามเนื้อดีทรูสเซอร (Detrusor) ของกระเพาะปสสาวะ ยานี้อาจ
ทําใหภาวะสายตาสั้นมากขึ้น (Myopia) มีอาการปากแหง ออนเพลีย ทองผูก และอาจเกิดอาการหัวใจ เตนผิดจังหวะ
แบบ Supraventricular tachycardia และทําใหอาการตอหินมากขึ้น (Closed-angle glaucoma) ควรพิจารณา
การปฏิบัติงานภาคพื้น เชนเดียวกันกับการรักษาดวยยาสมุนไพร ใหไดรับการประเมินโดยนายแพทยผูตรวจสอบ
ของศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบินฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพล
เรือนแหงประเทศไทย
5.7.5 ภาวะปญหาถุงอัณฑะ (Scrotal problems) ภาวะปญหาของถุงอัณฑะที่เกิดขึ้นอยางเฉียบพลัน
ให ผู ร องขอรั บ ใบสํ า คั ญแพทย งดภารกิ จ การบิน กรณีการบิดของลูกอัณฑะและขั้ว ของลูกอัณฑะ (Testicular
torsion and epididymitis) จนทํ า ให เ กิ ด ภาวะสู ญ เสี ย ความสามารถอย า งเฉี ย บพลั น ในระหว า งทํ า การบิ น
(Incapacitation) หลังจากนั้นจะมีการติดเชื้อและโรคมะเร็ง ซึ่งใหถือวา “ไมสมบูรณ” จนกวาแพทยโรคทางเดิน
ป ส สาวะสามารถรั ก ษาจนอาการดี ขึ้ น โรคน้ํ า สะสมในถุ ง อั ณ ฑะ (Hydrocele) อสุ จิ ที่ ส ะสมในถุ ง อั ณ ฑะ
(Spermatocele) และไสเลื่อน (Hernia disease) อาจรักษาไดดวยการสังเกตอาการเมื่อยังไมมีอาการ อยางไรก็
ตาม ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีปญหาขางตน ใหถือวา “ไมสมบูรณ” เนื่องจากโรคเหลานี้อาจทําใหผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยเกิดสภาวการณสูญเสียความสามารถอยางเฉียบพลันในระหวางทําการบิน (Incapacitation) ใน
โรคไสเลื่อน (Remediation of inguinal hernia) ซึ่งสามารถทําใหเกิดภาวะลําไสเลื่อนลงในถุงอัณฑะแลวเลือดไป
เลี้ยงลําไสไมได (Bowel incarceration and strangulation) แมวาจะไมมีอาการแตอาจทําใหเกิดภาวะฉุกเฉินได
5.7.6 การติดเชื้อระบบทางเดินปสสาวะ (Urological Infection) ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีโรคติด
เชื้อทางเดินปสสาวะ ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ในระหวางที่ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยยังมีอาการ จนกวาผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยไดรับการพิจารณาประเมินทางการแพทยเมื่อ
- ไมมีอาการแพยา
- อาการทั่วไปอยูในเกณฑปกติหลังไดรับการรักษา
- ตองมีการเพาะเชื้อในชวงเวลา 14 วัน (สิบสี่วัน) ยกเวนกรณีกระเพาะปสสาวะอักเสบที่ ไม
ซับซอนในเพศหญิง
- ไดมีการตรวจเชื้อซ้ําใหมีการกําจัดเชื้อโรคไดหมด
- ในกรณี ที่ ก ารติ ด เชื้ อ มี ค วามสลั บ ซั บ ซ อ น ต อ งได รั บ การตรวจระบบทางเดิ น ป ส สาวะให
ครบถวน
- ในผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีปญหาทางเดินปสสาวะที่มีการกลับเปนซ้ําและมีอาการที่
เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว ใหถือวา “ไมสมบูรณ” จนกวาผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะมีอาการดีขึ้น
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-74
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
5.7.7 ภาวะโรคไตแตกําเนิดและถุงน้ําในไต (Congenital and Renal Cystic Diseases) ภาวะโรคไตแต
กําเนิดและถุงน้ําในไต ใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ” ในกรณีถุงน้ําในไตที่ไมรุนแรงอาจพิจารณาวา “สมบูรณ” เมื่อ
ถุงน้ําไมไปกดไต ระบบการรวบรวมปสสาวะระบบหลอดเลือดของไต ตองพิจารณาแยกระหวางเนื้องอกกับถุงน้ําใน
ไต
5.7.8 โรคของเนื้อไต (Medullary sponge kidney) ใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ”
5.7.9 โรคถุงน้ําในไตหลายถุง (Adult polycystic kidney disease) ใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ” ใน
กรณีที่ตองพิจารณาใหทําการบิน ตองพิจารณาประเมินใหทําการบินโดยใหตรวจคนทางการแพทยดานทางเดิน
ปสสาวะกอน ในบางรายอาจพิจารณาวา “สมบูรณ” อยางมีขอจํากัด เมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทยสามารถผาน
การพิจารณาดังกลาวมาแลว อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดย กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับการ
ประเมิ น ให ทํ า การบิ น โดยเป น นั ก บิ น หรื อ ทํ า การบิ น กั บ นั ก บิ น ผู ช ว ยที่ มี คุ ณสมบั ติ แ ล ว (Assessment to fly
as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณี ไ ด รั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ชั้ น 2 ให มี นั ก บิ น ผู ช ว ยเพื่ อ ความ
ปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 3
ใ ห มี ข อ จํ า กั ด Valid only when another air traffic controller available and competent to assume
your duties โดยผูเชี่ยวชาญดานระบบทางเดินปสสาวะและนายแพทยผูตรวจสอบของศูนยเวชศาสตรการบินพล
เรื อ น หรื อ กองเวชศาสตร ก ารบิ น ฝายมาตรฐานผู ประจํ าหน าที่ สํ า นั ก งานการบิ น พลเรื อ นแห ง ประเทศไทย
(Specialist and the medical assessor)
การมี ไตข า งเดี ย วที่ มีการทํ า งานของไตปกติ ไมมีอาการ ไมมีการติดเชื้อ หรือการอุดตัน หรือความ
ผิดปกติแตกําเนิด อาจไดรับการพิจารณาวา “สมบูรณ”
5.7.10 ภาวะตอมลูกหมากโต (Benign Prostatic Hyperplasia) การมีภาวะอุดตันจากตอมลูกหมาก
โต ใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ” เปนการชั่วคราว การพิจารณาวา “สมบูรณ” ใหพิจารณาผลขางเคียงจากยา การ
ใชยาในกลุม Selective alpha-antagonists ซี่งอาจตองมีการทดสอบการใชยาเมื่อยังอยูภาคพื้น (Ground trial
period) แมวาจะผานการทดสอบการใชยาภาคพื้นแลว อาจไมไดรับอนุญาตใหใชในกรณีทําการบินผาดแผลง
(Aerobatics) โดยการทํา Transureteroureterostomy ที่ไดผลดีไมมีผลแทรกซอนสามารถพิจารณาวา “สมบูรณ”
ได
5.7.11 การผ า ตั ด ใหญ ท างศั ล ยกรรมทางเดิ น ป ส สาวะให ถื อ ว า ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ข าด
คุณสมบัติเปนเวลาอยางนอย 3 เดือน (สามเดือน) หลังจากนั้นถาผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไมมีอาการและความ
เสี่ ยงต อโรคแทรกซ อนหรื อการกลั บเป นอี ก ศูนยเวชศาสตรการบิน พลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝาย
มาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย อาจพิจารณาใบสําคัญแพทยใหแกผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทย
5.7.12 การผาตัดเปลี่ยนไต หรือการผาตัดเอากระเพาะปสสาวะออกทั้งหมด ผูรองขอรับใบสําคัญ
แพทยจะไมไดรับการพิจารณาใหไดรับใบสําคัญแพทยในการตรวจครั้งแรก ในกรณีผูรองขอรับใบสําคัญแพทยขอ
ใบสําคัญแพทยใหม (Recertification) ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและกองเวชศาสตรการบินฝายมาตรฐาน
ผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย อาจพิจารณา ในกรณีที่การผาตัดเปลี่ยนไตนั้นไดผลดี
และมีการใชยากดภูมิคุมกันเพียงเล็กนอยมาแลวอยางนอยเปนระยะเวลา 12 เดือน (สิบสองเดือน) และในกรณี
การผาตัดเอากระเพาะปสสาวะออกทั้งหมดที่ไดผลดี สามารถทําหนาที่ไดเปนที่นาพอใจ ไมมีการติดเชื้อหรือการ
เกิดโรคซ้ําอีก อาจไดรับการพิจารณาประเมินใหทําการบินโดย กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับการ
ประเมิ น ให ทํ า การบิ น โดยเป น นั ก บิ น หรื อ ทํ า การบิ น กั บ นั ก บิ น ผู ช ว ยที่ มี คุ ณ สมบั ติ แ ล ว (Assessment to fly
as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณี ไ ด รั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ชั้ น 2 ให มี นั ก บิ น ผู ช ว ยเพื่ อ ความ
ปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 3
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-75
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ใ ห มี ข อ จํ า กั ด Valid only when another air traffic controller available and competent to assume
your duties
5.7.13 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ใชยาซิเดอนาฟล (Sildenafil) ตองไมใชกอนปฏิบัติหนาที่ เปน
เวลา 24 ชั่วโมง (ยี่สิบสี่ชั่วโมง)
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่รับการรักษาดวยฮอรโมนเทสโทสเตอโรน (Testosterone replacement)
อาจไดรับการพิจารณาวา “สมบูรณ” เมื่อไมมีผลแทรกซอนจากยา แตผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไดรับการ
ตรวจคนทางการแพทยอยางครบถวนเพื่อหลีกเลี่ยงโรคของตอมพิทูอิทารีและเซลลา เทอรซิกา (Pituitary gland
and Sella turcica)
5.7.14 ภาวะมะเร็งทางเดินปสสาวะ (Urological Malignancy) และการกลับมาเปนใหมของมะเร็ ง
ระบบทางเดินปสสาวะชนิด low-grade superficial urothelial carcinoma ซึ่งมีความเสี่ยงต่ําในการทําใหเกิด
ภาวะสูญเสียความสามารถอยางเฉียบพลันในระหวางทําการบิน (Incapacitation) แตก็อาจเกิดภาวะกระจายไปยัง
สมองได จนทําใหรบกวนตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย ซึ่งการรักษาที่ดําเนินอยูก็รบกวนตอการปฏิบัติหนาที่
อยางปลอดภัย กรณีดังกลาวใหไดรับการพิจารณาวา “สมบูรณ” เมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีอาการหายจาก
โรคดังกลาวและไดหยุดยามาเปนระยะเวลา 2 ป (สองป) แลว
ขอ 5.8 โรคติดตอทางเพศสัมพันธและโรคติดเชื้ออยางอื่น (Sexually Transmitted Diseases and Other
Infections)
5.8.1 ในกรณี มีก ารตรวจพบการติด เชื้ อ ไวรั ส ภูมิ คุ ม กัน บกพร อ ง (positive) ใหถือวาผูร อ งขอรั บ
ใบสําคัญแพทยขาดคุณสมบัติ
5.8.2 ในการพิ จ ารณาใบสํ า คั ญ แพทย ใ หม (Recertification) ในผู ติ ด เชื้ อ ภู มิ คุ ม กั น บกพร อ งให
พิจารณาการปฏิบัติหนาที่ใหทําการบินโดย กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดย
เปนนักบินหรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment to fly as/with a suitably qualified
copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety
pilot and in aircraft with dual controls) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 3 ใหมีขอจํากัด Valid only when
another air traffic controller available and competent to assume your duties โดยศูนยเวชศาสตรการ
บินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย จะ
พิจารณาในรายที่ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไมมีอาการ อาการคงที่ ไมมีโรคติดเชื้อฉวยโอกาสที่สําคัญ และผลการ
ตรวจเลือดพบวา ซีดี 4 (CD4+ count) มีคามากกวาคาต่ําสุดที่กําหนดไว

ตาราง 3 Applicants not established on combination antiretroviral therapy (cART)


(อางอิง a) Table 1 — Applicants not established on combination antiretroviral therapy (cART) ใน Doc 8984
Manual of Civil Aviation Medicine; 3rd Edition 2012)

ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่อายุเกิน 40 ป (สี่สิบป) ซึ่งมีคา CD 4+ ต่ํากวานี้แตมากกวา 350/mm3


อาจไดรับการพิจารณาวา “สมบูรณ” โดยจะเปนการพิจารณาเปนรายบุคคลไป
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-76
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ใหพิจารณาผูรองขอรับใบสําคัญแพทยวา “ไมสมบูรณ” เปนการชั่วคราว เมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทย
เริ่มตนเขารับการรักษา การปรับเปลี่ยนยา หรือหยุดยา หลังจากนั้นเมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีอาการคงที่
เปนระยะเวลา 3 เดือน (สามเดือน) อาจไดรับการพิจารณาวา “สมบูรณ” โดยจะตองมีการประเมิน ผลการตรวจ
เลือด ผลขางเคียง ระดับน้ําตาล การทํางานของตับ ใหตรวจทางจิตเวชและประสาทวิทยากอน
การติดตามการรักษา – ตองมีการตรวจติดตามการรักษาอยางสม่ําเสมอ ดังนี้
• ตรวจ ซีดี 4 และ ไวรัสโหลด (Viral load measurements) ทุก ๆ 3 เดือน (สามเดือน)
• ตรวจทางประสาทวิทยาทุก 6 เดือน (หกเดือน) รวมกับการตรวจทางจิตเวช
• ตรวจการทํางานของตับ น้ําตาลในเลือด ไขมันในเลือด ทุก 6 เดือน (หกเดือน)
• ตรวจการทํางานของสมองประจําป โดยอาจตรวจจากการฝกบินจําลอง การใชเครื่องมือ
ทางจิตวิทยา ถาพบวาผลการทดสอบไดผลต่ํากวาที่เคยทําได ใหตรวจทางประสาทวิทยา
เพิ่มเติม
• ในกรณีที่ตรวจพบอาการรุนแรงขึ้นใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ”
5.8.3 การป ว ยด ว ยโรคซิ ฟ ลิ ส (Syphilis) ระยะเฉี ย บพลั น ให ถื อ ว า ขาดคุ ณ สมบั ติ การพิ จ ารณา
ใบสําคัญแพทยได ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไดรับการพิจารณาโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนหรือกอง
เวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย ในรายที่ไดรับการ
รักษาจนหายจากซิฟลิสทั้งระยะที่ 1 และระยะที่ 2
5.8.4 ตับอั กเสบจากการติ ดเชื้ อ (Infectious Hepatitis) ระยะแพร กระจาย ให ถือว า “ไมสมบูรณ ”
สําหรับการพิจารณาใบสําคัญแพทย เวนแตเมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีการฟนตัวอยางสมบูรณ มีภูมิคุมกัน
(Antibody) ตรวจไมพบเชื้อ และไมมีอาการ ใหถือวา “สมบูรณ”
5.8.5 การประเมินมะเร็งในระบบนี้ ใหปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญโรคมะเร็ง
ขอ 5.9 สูติศาสตรและนรีเวชวิทยา (Gynaecology and Obstetrics)
5.9.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีการตั้งครรภใหถือวา “ไมสมบูรณ” ชั่วคราว ทั้งนี้ ผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยอาจไดรับการพิจารณาผอนผันใหปฏิบัติหนาที่ได หลังจากไดรับการตรวจและรับรองจากสูติแพทย
วาเปนการตั้งครรภปกติไมมีโรคแทรกซอน กรณีนี้ผูตั้งครรภอาจไดรับการพิจารณาวา “สมบูรณ” ได จนกระทั่งผู
รองขอรับใบสําคัญแพทยมีอายุครรภ 26 สัปดาห เฉพาะผูรองขอรับใบสําคัญแพทยใบสําคัญแพทยชั้น 1 ชั้น 2
และ ชั้น 4 และเฉพาะใบสําคัญแพทยชั้น 3 ใหพิจารณาวา “สมบูรณ” จนวาผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีอายุ
ครรภ 34 สัปดาห
5.9.1.1 ในการผอนผันสําหรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 และชั้น 2 ใหทําการบินไดโดย กรณีไดรับ
ใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติ
แลว (Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมี
นั ก บิ น ผู ช ว ยเพื่ อ ความปลอดภั ย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls) กรณี
ได รั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ชั้ น 3 ให มี ข อ จํ า กั ด Valid only when another air traffic controller available and
competent to assume your duties โดยศู น ย เ วชศาสตร ก ารบิ น พลเรื อ นหรื อ กองเวชศาสตร ก ารบิ น ฝาย
มาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย

5.9.1.2 หลังจากผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไดมีการคลอดบุตรปกติ หรือไดรับการตรวจพบวา


ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีอาการปกติอยางนอย 6 สัปดาห (หกสัปดาห) หรืออยางนอย 2 สัปดาห (สองสัปดาห)
หลังจากผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีการแทงบุตร เมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไดรับการตรวจและรับรองจากสูติ
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-77
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
แพทยวาไมมีโรคแทรกซอน นายแพทยผูตรวจอาวุโสสามารถอนุญาตใหผูรองขอรับใบสําคัญแพทยกลับไปทําหนาที่
ได และหากเปนการคลอดไมปกติหรือคลอดโดยการผาตัด ใหผูรองขอรับใบสําคัญแพทยกลับไปทําหนาที่ได หาก
ไดรับการพิจารณาจากศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบินฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่
สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย โดยจะตองไดรับการพิจารณาเปนราย ๆ ไป
5.9.1.3 ควรพิจารณาถึงนโยบายความสัมพันธระหวางแมและบุตรในการใหนมมารดาแกเด็ก
และขอขัดของในการปฏิบัติดวย
5.9.2 การปวดประจํ าเดื อน (Dysmenorrhoea) เนื่องจากการปวดประจําเดือนมีอาการรุนแรงที่
หลากหลาย และการใชยาที่แตกตางกัน ใหพิจารณาเปนราย ๆ ไป ในกรณีที่ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองใชยา
ระงับอาการใหถือวา “ไมสมบูรณ” เปนการชั่วคราว ซึ่งมีผลทําใหผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไมสามารถปฏิบัติ
หนาที่ไดในแตละเดือน
5.9.3 ภาวะช็อกโกแลตซีสต (Endometriosis) ถาสามารถควบคุมอาการไดดวยยาคุมกําเนิดและยา
แก ป วดที่ ไ ม รุ น แรง ให ไ ด รั บ การพิ จ ารณาว า “สมบู ร ณ ” ในกรณี ที่ ต อ งผ า ตั ด และควบคุ ม อาการได ใ ห ถื อ ว า
“สมบูรณ” หลังจากผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีอาการหายแลว ในกรณีที่ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีอาการปาน
กลางและยากตอการประเมินใหพิจารณาโดย นายแพทยผูตรวจสอบ (Medical assessor) จากศูนยเวชศาสตรการ
บินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
โดยการปรึกษากับสูตินรีแพทย
5.9.4 การผาตัดใหญทางสูติศาสตรและนรีเวชวิทยา ใหถือวา “ไมสมบูรณ” เปนระยะเวลาอยางนอย
3 เดือน (สามเดือน) ซึ่งตองไดรับการพิจารณาโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน
ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย ถาผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีอาการและ
ผลติดตามหลังการผาตัดหรือมีโรคแทรกซอน เชน การอุดตันเนื่องจากการตีบแคบและการกดทับของทอตาง ๆ
(Obstructions due to stricture or compression) ใหไดรับ การพิจ ารณาวา “ไมส มบูร ณ” จนกระทั่งผูรอง
ขอรับใบสําคัญแพทยมีอาการดีขึ้นและไมรบกวนตอการปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย
5.9.5 การพิจารณามะเร็งในระบบนี้ ใหปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญโรคมะเร็ง
ขอ 5.10 ระบบกลามเนื้อและกระดูก (Musculoskeletal System)
5.10.1 การมีรูปรางผิดปกติ รวมทั้งอวนหรือกลามเนื้อลีบ อาจทดสอบในเครื่องจําลองการบินที่ไดรับ
การยอมรับจากกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย โดย
พิจารณาในดานการแกไขภาวะฉุ กเฉิ นและการเคลื่อนยาย (Evacuation) อาจพิจารณาใหปฏิบัติหนาที่อย างมี
เงื่อนไข โดยใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือทําการบินกับนักบินผูชวย
ที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น
2 ให มี นั กบิ นผู ช วยเพื่ อความปลอดภั ย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls)
กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 3 ใหมีขอจํากัด Valid only when another air traffic controller available and
competent to assume your duties โดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผู
ประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
5.10.2 การขอใบสําคัญแพทยครั้งแรกของผูรองขอรับใบสําคัญแพทยในรายที่แขนขาพิการ ใหถือวา
“ไมสมบูรณ” เฉพาะในใบสําคัญแพทยชั้น 1 สําหรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ชั้น 3 และชั้น 4 ศูนยเวชศาสตรการบิน
พลเรื อนและกองเวชศาสตร การบิ น ฝายมาตรฐานผู ประจํ าหน าที่ สํานั กงานการบิ นพลเรื อนแห งประเทศไทย
อาจพิจารณาเปนราย ๆ ไป ทั้งนี้ใหพิจารณาความเหมาะสมกับสภาพทางการบินและทางการแพทยหรือทดสอบ
โดยเครื่องฝกบินจําลอง

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-78


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ผู ร องขอรั บใบสํ าคั ญแพทย ที่ถู กตั ดสวนใดสวนหนึ่ งของแขน (Upper limb) ใหถือวา “ไมสมบูรณ ”
เวนแตในการพิจารณากลับมาทําการบินใหมไดนั้น ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีความสามารถในการกําหัวแมมือ
(Sufficient thumb-grip function) ในมือแตละขางที่เพียงพอสําหรับการปฏิบัติหนาที่ไดอยางปลอดภัยทั้งที่ ใช
หรือไมใชอวัยวะเทียม และใหจํากัดแบบเครื่องบินที่เหมาะสม
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ถูกตัดสวนใดสวนหนึ่งของขา (Lower extremity amputation) อาจไดรับ
การพิจารณาใหกลับมาทําการบินใหมได เมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีความสามารถในการทําการบินได ซึ่งอาจ
รวมกับการใชอวัยวะเทียม และใหจํากัดแบบเครื่องบิน และผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไมมีผลขางเคียงจาก
การรักษาดวยยา
5.10.3 ผู ร องขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทยที่มีการอักเสบ Infiltrative การแตกหัก หรือความเสี่ย งของ
กระดูกและกลามเนื้อจะตองไดรับการพิจารณาโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบินฝาย
มาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่รักษาหายแลวไมได
รับยาที่ขัดตอการทําการบิน และไมมีขอหามทางการแพทยและมีสภาพเหมาะสมกับสภาพการบินทางการแพทย
และตองผานการทดสอบโดยเครื่องฝกจําลองการบินแลว อาจไดรับการพิจารณาใหปฏิบัติหนาที่อยางมีเงื่อนไขโดย
กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับการประเมินใหทําการบิน โดยเปนนักบินหรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มี
คุณสมบัติแลว (Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot (OML) โดยศูนยเวชศาสตรการบิน
พลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย กรณี
ไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with
dual controls) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 3 ใหมีขอจํากัด Valid only when another air traffic controller
available and competent to assume your duties
คําแนะนํา - ในการประเมินความพรอมในการปฏิบัติหนาที่ของผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีปญหา
เรื่องขออักเสบใหพิจารณาถึง
• ความรุนแรงของโรค
• อัตราการหายของโรค
• ความสามารถในการทํางานของกระดูกและกลามเนื้อ หรือการจํากัดการเคลื่อนไหว
• ภาวะแทรกซอนที่อาจกอใหเกิดสภาวการณสูญเสียความสามารถอยางเฉียบพลันในระหวางทําการบิน
(Incapacitation)
5.10.4 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีผลที่ตามมาจากการเจ็บปวยหรือการรักษา ในดาน กระดูก
ขอตอ กลามเนื้อ เสนเอ็น และความผิดปกติทางกายวิภาค ตองไดรับการประเมินความพรอมในการปฏิบัติหนาที่ โดย
นายแพทยผูตรวจตองพิจารณา สภาวะทางการแพทย สภาพการทํางานและสภาพแวดลอม เพื่อประเมินความพรอมใน
การปฏิบัติหนาที่ของผูรองขอรับใบสําคัญแพทย
5.10.5 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีปญหากระดูกสันหลังสวนคอ (Cervical spine) การหันคอได 45°
จะชวยในการมองดานขางได ในกรณีที่ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยหันคอไดนอยกวานี้ ใหไดรับการพิจารณาเปน
พิเศษ
5.10.6 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีปญหากระดูกสันหลังสวนลาง (Lumbar Spine) การปวดหลัง
สวนลางพบบอย รวมกับการปวดราวไปที่ขาตามเสนประสาทไซเอติค (Sciatic nerve) การประเมินความพรอมใน
การทําการบินควรพิจารณาระดับของการฟนคืนสูสภาพปกติ และโอกาสที่จะเกิดสภาวการณสูญเสียความสามารถ
อยางเฉียบพลันในระหวางทําการบิน (Incapacitation)
คํ า แนะนํ า - การพิ จ ารณาความสามารถในการทํ า การบิ น จะต อ งได รั บ การพิ จ ารณาโดย
การประเมินความสามารถในการทําหนาที่ดวยคําแนะนําจากผูเชี่ยวชาญดานการบิน ใบสําคัญแพทยอาจตองกําหนด
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-79
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ขอจํากัดโดย กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือทําการบินกับ
นักบินผูชวยที่มีคุณสมบั ติแลว (Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณีไดรับ
ใบสํ าคั ญแพทย ชั้ น 2 ให มีนั กบิ นผู ช วยเพื่ อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with
dual controls) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 3 ใหมีขอจํากัด Valid only when another air traffic controller
available and competent to assume your duties เชน ใหทําหนาที่เฉพาะตําแหนงของเครื่องบินหรือแบบของ
เครื่องบิน
5.10.7 การพิจารณาภาวะมะเร็งในระบบนี้ ใหปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญโรคมะเร็ง
ขอ 5.11 จิตเวชการบิน (Aviation Psychiatry)
5.11.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีอาการทางจิต (Psychotic symptoms) อาจจะถือวา “ไม
สมบูรณ” ซึ่งการพิจารณาออกใบสําคัญแพทยอาจจะไดรับการพิจารณาจากศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนหรือ
กองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย หากการวินิจ ฉัย
ขั้นตนไมถูกตองหรือไมเหมาะสม หรือในกรณีที่เกิดจากสารพิษและเกิดเพียงครั้งเดียว
5.11.2 อาการทางจิตเวชที่เกิดจากโรคทางกาย (Organic Mental Disorders) หรือการมีอาการ
ของโรคทางจิตเวชที่เกิดจากโรคทางกายแบบเฉียบพลัน (Delirium) และกลับมาหายเปนปกติ เมื่อสาเหตุของการ
เกิดอาการไดรับการรักษา อาจไดรับการพิจารณาวา “สมบูรณ” แตผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไดรับการตรวจ
ทางการแพทยและประเมินความสามารถของผูรองขอรับใบสําคัญแพทยใหครบถวนกอน
5.11.3 การมีอาการของโรคทางจิตเวชที่เกิดจากโรคทางกายจากสมองเสื่อม (Dementias) ใหพิจารณา
วา “ไมสมบูรณ” ทั้งนี้ ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไดรับการตรวจทางการแพทยเพื่อดูวาเปนโรคที่รักษาได
หรือไม เชน โรคซึมเศรา เปนตน
5.11.4 โรคจิตเภท บุคลิกภาพแบบจิตเภท หรืออาการหลงผิด (Schizophrenia or a Schizotypal
or Delusional Disorder)
5.11.4.1 เนื่ อ งจากโรคจิ ต เภทหรื อ บุ ค ลิ ก ภาพแบบจิ ต เภท (Schizophrenia or a
Schizotypal) มีลักษณะกลับเปนใหมไดและมีความเสื่อมถอย ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
5.11.4.2 โรคหลงผิด (Delusional disorders) ซึ่งอาจไมมีอาการการรับรูที่ผิ ดปกติ ความ
เสี่ยงของโรคนี้คือผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ปวยจะมีพฤติกรรมตามที่ตนเองหลงผิดโดยไมมีการพิจารณาเหตุผลและ
ผลกระทบที่เกิดขึ้น ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
5.11.4.3 โรคจิตที่มีอาการเฉียบพลันและเปนระยะเวลาสั้น ๆ (Brief psychotic disorder)
มีอาการนอยกวา 1 เดือน (หนึ่งเดือน) เมื่อหายกลับเขาสูภาวะปกติ อาจไดรับการพิจารณาวา “สมบูรณ” ได หาก
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีอาการคงที่ไมนอยกวา 1 ป (หนึ่งป) โดยจะตองไมใชยาตานโรคจิต (Anti-psychotic
medication) โรคนี้มักเกิดจากการมีความเครียดอยางรุนแรง
5.11.5 โรคผิดปกติทางอารมณ (A mood (affective) disorder)
5.11.5.1 โรคซึมเศรา (Depressive mood disorders) เนื่องจากโรคซึมเศราเปนโรคที่
สามารถกลับเปนใหมได การกลับเปนใหมพบบอยในชวงสองปแรก การใหความรูจะชวยใหผูรองขอรับใบสําคัญ
แพทย รั บ ทราบถึ งอาการขั้ นต นได และช วยให การดู แลดี ขึ้น ในกรณีนี้ผูรองขอรับใบสําคั ญแพทย อาจไดรั บ การ
พิจารณาวา “สมบูรณ” เมื่อผูรองขอรับใบสําคั ญแพทยมีอาการกลับเป นปกติและหยุ ดยาได แตในกรณีของโรค
ซึ ม เศร า อาจให ทํ า หน า ที่ ทั้ ง ที่ ไ ด ย าในกลุ ม SSRI (Selective serotonin re-uptake inhibitors) โดยให มี ก าร
ประเมินดังนี้

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-80


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
การประเมินนักบินและผูควบคุมการจราจรทางอากาศที่ไดรับการรักษาดวยยารักษาโรคซึมเศรา
ตองพิจารณาเปนราย ๆ ไป โดยรายที่ไดรับยากลุม SSRI ที่ไดรับการยอมรับ ในผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่อยูในภาวะ
อาการดีขึ้น อาจมีขอจํากัดใหแ กผูรอ งขอรับ ใบสํา คัญ แพทย ซึ่ง อาจไดรับ การประเมิน ใหทํา การบิน โดย กรณี
ไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่
มีคุณ สมบัติแ ลว (Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทย
ชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls
) ซึ่งเปนขอจํากัดใหผูรองขอรับใบสําคัญแพทยปฏิบัติหนาที่ในเครื่องบินหรือสถานที่ตองทํางานหลายคน (Limiting
operations to multi-crew aircraft) สํ า หรับ กรณีได รับ ใบสํา คั ญ แพทยชั้ น 3 หรือ ผูควบคุมการจราจรทาง
อ า ก า ศ ใ ห มี ข อ จํ า กั ด Valid only when another air traffic controller available and competent to
assume your duties ทั้งนี้ สําหรับนักบินหรือผูควบคุมการจราจรทางอากาศที่ตองทําหนาที่เพียงลําพังจะไมได
รับอนุญาตใหถือใบสําคัญแพทย ซึ่งการพิจารณาใบสําคัญแพทยใหพิจารณาดังนี้
5.11.5.1.1 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยตองไดรับการรักษาจากแพทยผูรักษา
ที่ มี ความเชี่ ย วชาญในการรั กษาโรคซึ ม เศร า ตรวจติ ด ตามความก า วหน า ของการเจ็ บ ป ว ยและรายงานไปยั ง
กองเวชศาสตรการบิ น ฝ า ยมาตรฐานผูป ระจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแห งประเทศไทย ผูรองขอรั บ
ใบสําคัญแพทยอาจไดรับการรักษาวิธีการอื่น ๆ รวมไปดวย เชน การรักษาดวยจิตบําบัด
5.11.5.1.2 มี อ าการปกติ แ ละคงที่ ใ นขนาดยาที่ เ หมาะสมอย า งน อ ย
4 สัปดาห (สี่สัปดาห) กอนจะกลับไปทําหนาที่ โดย
5.11.5.1.3 มีผลขางเคียงของยานอย
5.11.5.1.4 ไมมีอาการแพยาหรือปฏิกิริยาอื่น ๆ ที่ไมพึงปรารถนา
5.11.5.1.5 ไม มี อ าการทางจิ ต ที่ ผิ ด ปกติ ร ว มด ว ย (Psychiatric co-
morbidities)
5.11.5.1.6 ไม ต องใช ยาที่ มี ผลต อจิ ตประสาทอื่ น ๆ (Psychoactive
medications)
5.11.5.1.7 อาการของโรคซึ ม เศร า สามารถควบคุ ม ได ดี โดยไม มี ทั ก ษะ
ประสาทสัมผัส สมาธิ และความตั้งใจในการรับรู (Psychomotor) ที่ชาลง
5.11.5.1.8 ไมมีความคิดอยากทํารายตนเองหรือความตั้งใจที่จะทํา
5.11.5.1.9 ไ ม มี ป ร ะ วั ติ ข อ ง อ า ก า ร ท า ง จิ ต ที่ ผิ ด ป ก ติ ( Psychotic
symptoms)
5.11.5.1.10 ไม มี ลั ก ษณะ การตอบสนองต อ การกระตุ น ที่ ผิ ด ปกติ เช น
หงุดหงิดหรือโกรธที่ผิดปกติ (e.g. irritability or anger)
5.11.5.1.11 มีรูปแบบการนอนที่ปกติ
5.11.5.1.12 ปจจัยกระตุนที่ทําใหเกิดอาการซึมเศราไดรับการแกไขหรือดีขึ้น
การรั ก ษาด ว ยวิ ธี ก ารอื่ น ๆ เช น พฤติ ก รรม-ความคิ ด บํ า บั ด (Cognitive-behavioral)
การควบคุมอารมณตามเหตุผล ใหดําเนินการตอไป แตไมจําเปนสําหรับการออกใบสําคัญแพทย
นักบินหรือผูควบคุมการจราจรทางอากาศจะกลับไปปฏิบัติหนาที่ไดเมื่อตองไดรับยารักษา
อาการซึมเศรากลุม SSRI หรือยารักษาอาการซึมเศราอื่น ๆ และจะตองหยุดการปฏิบัติหนาที่ในกรณีที่ตองมีการ
เปลี่ยนหรือปรับขนาดยา เวนแตนายแพทยผูตรวจอาจพิจารณาใหกลับไปทําหนาที่ใหมเมื่อประเมินแลว เห็นวาวา
มีอาการคงที่และไมมีผลขางเคียงที่ยอมรับไมได

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-81


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
นักบินหรือผูควบคุมการจราจรทางอากาศที่ลดขนาดยาลงเพื่อหยุดยา ตองหยุดการปฏิบัติ
หนาที่ตลอดระยะเวลาที่ปรับลดขนาดยาลงหลังจากหยุดยาไดแลวใหหยุดปฏิบัติหนาที่อีก 2 สัปดาห(สองสัปดาห)
ทั้งนี้ นายแพทยผูตรวจอาจพิจ ารณาใหกลับ ไปทําหนาที่ใหม ได เมื่อประเมินแลว เห็นวามี อาการคงที่และไม มี
ผลขางเคียงที่ยอมรับไมไดหรืออาการขาดยา (Withdrawal syndrome)
ใหมีการประเมินอาการและความสามารถของผูรองขอรับใบสําคัญแพทยดวยเครื่องมื อทาง
จิ ต -ประสาท (Neuropsychological testing) ที่เหมาะสม รวมถึงอาจใชการทดสอบในเครื่องบิน จําลองเพื่ อ
ประเมินความสามารถของผูรองขอรับใบสําคัญแพทย โดยกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่
สํ า นั ก งานการบิ น พลเรื อ นแห ง ประเทศไทย ให พิ จ ารณายาที่ มี ผ ลข า งเคี ย งต่ํ า ตั ว อย า งเช น Sertraline,
Citalopram, and Escitalopram เปนตน
5.11.5.2 การมี ป ระวั ติ ข องโรคจิ ต ที่ มี อ ารมณ ผิ ด ปกติ แ บบดี เ กิ น (Mania) ให ถื อ ว า
“ไมสมบูรณ”
5.11.5.3 การมีประวัติของโรคจิตที่มีอารมณผิดปกติแบบดีเกินในระดับนอย (Hypomania)
ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
5.11.6 ถ า มี โ รคประสาท (Neurosis) หรื อ โรคทางกายที่ เกิ ดจากภาวะทางจิ ตใจหรื อสั มพั นธ กั บ
ความเครี ยด (Neurotic, stress-related or somatoform disorder) ให ถื อ ว า “ไม ส มบู ร ณ ” เป น การชั่ ว คราว
หลังจากผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไดรับการรักษาจากจิตแพทยและหยุดยาทางจิตเวชมาแลวไมนอยกวา 6 เดือน
(หกเดือน) โดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนและกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงาน
การบินพลเรือนแหงประเทศไทย อาจพิจารณาใหปฏิบัติหนาที่ได ทั้งนี้ นายแพทยผูตรวจตองประเมินวาอาการที่
เกิดขึ้นจะไมมีผลรบกวนการตื่นตัว และความสามารถในการพิจารณาขอมูลที่รับเขาไป สมาธิ การตัดสินใจ อยูใน
เกณฑปกติ และการประเมินผลขางเคียงของยา
5.11.7 พฤติ ก รรมที่ สั ม พั น ธ กั บ ความผิ ด ปกติ ท างสรี ร วิ ท ยาหรื อ ป จ จั ย ทางกาย (Behavioral
syndrome associated with physiological disturbances or physical factors) ผูรองขอรับใบสําคัญแพทย
ที่มีลักษณะ ปญหาในดานการควบคุมแรงกระตุน (Impulse control disorders) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ผูรอง
ขอรับใบสําคัญแพทยที่มีปญหาเรื่องพฤติกรรมที่ผิดปกติ เชน การรับรูเพศตนเองผิด (Gender identity) หรือ
พฤติกรรมทางเพศที่ผิดปกติ (Sexuality) ใหประเมินความสามารถของผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่จะสนใจใน
ภาระงานที่อยูตรงหนาและตัดความสนใจที่เกิดจากความขัดแยงในอารมณและจิตใจของตนเอง เพื่อทําหนาที่ของ
ตนเองได
5.11.8 การทํารายตัวเองหนึ่งครั้ง (A single self-destructive action) หรือการแสดงออกแบบเกินพอดี
(Repeated overt acts) ซ้ํา ๆ ใหถือวา “ไมสมบูรณ” หลังจากไดมีการพิจารณาอยางครบถวนในแตละรายแลว
รวมทั้งการตรวจทางจิตเวชอยางละเอียด อาจออกใบสําคัญแพทยได
5.11.9 สภาวการณ น อนไม ห ลับ (Sleep disorders) การนอนไมห ลับ ซึ่ งมี ปญ หากั บ การปฏิ บั ติ
หนาที่ ในกรณีการนอนไมหลับที่เกิดเปนครั้งคราว (Occasional sleeplessness) อาจใหการรักษาดวยยากลอมประสาท
ฤทธิ์สั้นขนาดต่ํา (Short-acting sedatives) โดยจะใชเมื่อไมมีภารกิจการบิน และตองรอใหยาหมดฤทธิ์กอน ประมาณ
8-12 ชั่วโมงหลังจากกินยา และตองไดรับการรักษาจากแพทยผูเชี่ยวชาญที่มีความรูดานเวชศาสตรการบิน
ในกรณีการเปลี่ยนแปลงจังหวะเวลาเนื่องจากการบินขามเสนแบงเขตเวลา (Circadian rhythm)จนทํา
ใหเกิดอาการนอนไมหลับ ไมแนะนําใหใชเมลาโทนิน (Melatonin)
5.11.10 การใชยาทางจิตเวชกับการบิน (Flying and Psychoactive Medicine) เนื่องจากการรักษา
โรคทางจิตเวชดวยยาทางจิตเวชเกิดขึ้นมาก และชวยทําใหอาการของผูรับการรักษาดีขึ้น และโรคทางจิตเวชทําให

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-82


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
เกิดปญหาการตัดสินใจของผูปวย ดังนั้นการใชยาทางจิตเวชในผูรองขอรับใบสําคัญแพทย ตองไดรับการพิจารณาอยางดี
และใชความระมัดระวัง
นายแพทยผูตรวจตองทราบวา ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยอาจไมแจงนายแพทยผูตรวจวาตนเองใชยา
ทางจิตเวชอยูทั้งการตรวจการใชยาทางจิตเวชก็ทําไดยาก ดังนั้น การใหความรูดานการใชยาทางจิตเวชกับผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทย จึงเปนสิ่งจําเปน
5.11.11 การใชแอลกอฮอล (Alcohol) ยาทางจิตเวช หรือสารเสพติดแบบผิด (abuse) จะมีการ
เสพติด (Dependence) หรือไม ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ในกรณีของทางจิตเวช สารเสพติดหมายถึงสารที่ไมไดรับ
ตามใบสั่งแพทย ใชเพื่อเปลี่ยนภาวะทางจิตใจ (Mental state) โดยไมไดมีขอบงชี้ทางการแพทยซึ่งปกติจ ะใช
เพื่ อ ให เ กิ ด ความสุ ข หรื อ แก ป วด ประกอบด วยยาสงบประสาทและยานอนหลั บ (Sedatives and hypnotics,
barbiturates, anxiolytics, opioids, central nervous system stimulants such as cocaine, amphetamines
and similarly acting sympathomimetics, hallucinogens, phencyclidine or similarly acting
arylcyclohexylamines, cannabis, inhalants and other psychoactive drugs or substances) เอกสารอ างอิ ง
จาก ICAO ได แ ก Manual on Prevention of Problematic Use of Substances in the Aviation Workplace
(Doc 9654)
การรักษาการใชสารเสพติดเปนเรื่องยากและมีโอกาสการกลับไปใชใหมไดบอย การมีประวัติการใชสาร
เสพติด อาจเปนผลใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ” นอกจากจะมีหลักฐานวา ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไดเ ขารับ
การรักษาอยางสมบูรณ และมีการตรวจติดตามแลวไมพบการกลับไปใชสารเสพติดอีก อาจไดรับการพิจารณา
ใบสําคัญแพทยได หากมีหลักฐานวาผูรองขอรับใบสําคัญแพทยหยุดสารเสพติดแลวเปนระยะเวลาอยางนอย 2 ป
(สองป) หลังจากผูรองขอรับใบสําคัญแพทยไดรับการรักษา และไดรับการประเมินโดยศูนยเวชศาสตรการบิน
พลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทยแลว
สําหรับการพิจารณาออกใบสําคัญแพทยใหม (Recertification) กอนเวลาที่กําหนด มีขอพิจารณาเบื้องตน ดังนี้
5.11.11.1 ตองไดรับการรักษาเปนผูปวยใน (Inpatient treatment) เปนระยะเวลาไมนอย
กวา 4 สัปดาห (สี่สัปดาห)
5.11.11.2 จิตแพทยผูทําการรักษาผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตองไดรับการยอมรับจากกอง
เวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย รวมพิจารณาดวย
5.11.11.3 ตองมีรายงานผลการตรวจเลือด และรายงานจากผูรวมงานและครอบครัวของผู
รองขอรับใบสําคัญแพทย
5.11.11.4 ตองมีรายงานจากผูบังคับบัญชา ผูกํากับดูแลของผูรองขอรับใบสําคัญแพทย
5.11.11.5 รายงานจากนายแพทยที่ปรึกษาของตนสังกัดเปนระยะตอเนื่องกันเปนระยะ
เวลา 3 - 4 เดือน (สามถึงสี่เดือน)
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไดรับการพิจารณาออกใบสําคัญแพทยใหม (Recertification) อาจ
ไดรับการประเมินโดยใหปฏิบัติหนาที่อยางมีขอจํากัดใหแกผูรองขอรับใบสําคัญแพทย กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น
1 อาจไดรับการประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment
to fly as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความ
ปลอดภั ย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls) กรณี นี้ จึ งเป นข อจํ ากั ดให ปฏิ บั ติ
หนาที่ในเครื่องบินหรือสถานที่ตองทํางานหลายคน (Limiting operations to multi-crew aircraft) และกรณีได รั บ
ใบสํ าคั ญแพทย ชั้ น 3 หรื อผู ควบคุ มการจราจรทางอากาศให มี ข อจํ ากั ด Valid only when another air traffic
controller available and competent to assume your duties โดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกอง

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-83


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
เวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทยจะเปนผูประเมินพิจารณา
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทย
ขอ 5.12 โรคทางระบบประสาท (Neurological Disorders)
5.12.1 โรคทางระบบประสาทที่อยูคงที่หรือเปนมากขึ้น ซึ่งเปนสาเหตุหรืออาจจะเปนสาเหตุใหเกิด
การสูญเสียความสามารถอยางมีนัยสําคัญ ใหถือวา “ไมสมบูรณ” เวนแตศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนหรือกอง
เวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย จะพิจารณาแลวมี
ความเห็นวาเปน กรณีการสูญเสี ยหน าที่ เพียงเล็กนอย สัมพันธกับโรคที่เปนอยู อย างคงที่ ซึ่งจะยอมรั บได เมื่ อได
ประเมินจนครบถวนแลว
5.12.2 โรคปวดศีรษะไมเกรน (Migraine) การมีโรคปวดศีรษะไมเกรน ใหถือวา “ไมสมบูรณ” การ
พิจารณาใบสําคัญแพทย ใหพิจารณาโดยนายแพทยผูตรวจสอบ (Medical assessor) โดยมีหลักเกณฑพิจารณา
ดังนี้
• อาการกอนเกิดอาการปวดศีรษะ (Prodrome)
• ปจจัยกระตุน (Precipitating factors)
• การเห็นแสงที่ผิดปกติ (Aura)
• ความเร็วของการเกิดอาการ (Rapidity of onset)
• ความบอยของการเกิดอาการ (Frequency)
• ความรุนแรง (Severity)
• การรักษา (Therapy)
5.12.2.1 การวินิจฉัยวาปวดหัวไมเกรน (Migraine) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” นอกจากผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยจะสามารถควบคุมอาการได โดยการหลีกเลี่ยงปจจัยกระตุนที่ทําใหเกิดอาการ การเกิด Aura ที่ทํา
ใหสูญเสียการมองเห็นมากกวาครึ่งหนึ่งของลานสายตาจะถือวา “ไมสมบูรณ” เวนแตการทําใหสูญเสียการทํา
หนาที่ โดยการเกิดอาการที่เกิดอยางชา ๆ มากกวาหลายชั่วโมง กรณีนี้อาจยอมรับได แตหากมีความบอยของการ
เกิดอาการ ในกรณีหลายครั้งตอเดือน กรณีนี้ใหถือวา “ไมสมบูรณ” กรณีความรุนแรงหากมีอาการรุนแรงมาก ให
ถือวา “ไมสมบูรณ”
ในการรั กษาผู ร องขอรับ ใบสําคัญ แพทยจ ะต องใชย าที่ย อมรับ ได เชน ยาในกลุม Beta-
adrenergic and calcium channel blocking agents ส วนกรณี ที่ ผู ร องขอรั บใบสํ า คั ญแพทย ต องใช ย า
Antidepressants, anticonvulsants, narcotic analgesics and several others ใหถือ เปน ยาที ่ไ มไ ดร ับ การ
ยอมรับ ในกรณีที่ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยกลับมาทําการบินได กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับการ
ประเมินใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว กรณีไดรับใบสําคัญแพทย
ชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls) กรณี
นี้จึงเปนขอจํากัดใหปฏิบัติหนาที่ในเครื่องบินหรือสถานที่ตองทํางานหลายคน (Limiting operations to multi-crew
aircraft) สําหรับผูควบคุมการจราจรทางอากาศหรือกรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 3 ใหมีขอจํากัด Valid only
when another air traffic controller available and competent to assume your duties
5.12.2.2 ปวดศีรษะแบบคลัสเตอร (Cluster headache) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” เวนแต
กรณีที่ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีอาการปวดศีรษะซึ่งเกิดอาการนาน ๆ ครั้ง เชน เปนเดือนหรือเปนป และหยุด
การรักษาแลว อาจไดรับการพิจารณาใบสําคัญแพทย
5.12.2.3 การปวดศีรษะเรื้อรังประจําวัน (Chronic daily headache) ผูรองขอรับใบสําคัญ
แพทยที่มีอาการการปวดศีรษะเรื้อรังประจําวันใหถือวา “ไมสมบูรณ” เนื่องจากอาการดังกลาวอาจจะรบกวนตอ
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-84
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
การปฏิบัติหนาที่อยางปลอดภัย และอาจมีการรักษาดวยยาที่มีขอหามในการทําหนาที่ของผูรองขอรับใบสําคัญ
แพทย สําหรับการพิจารณากลับไปทําหนาที่ของผูรองขอรับใบสําคัญแพทยนั้น ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยจะตอง
ไมมีอาการ โดยจะตองไมใชยา และปญหาที่เปนสาเหตุใหปวดศีรษะจะตองไดรับการรักษา ทั้งนี้ ใหสังเกตอาการ
ของผูรองขอรับใบสําคัญแพทยเปนระยะเวลา 3 - 6 เดือน (สามถึงหกเดือน) กอนที่จะพิจารณาวาผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทย “สมบูรณ”
5.12.3 ภาวะลืมชั่วคราว (Transient Global Amnesia (TGA) ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะ
ลืมชั่วคราวใหถือวา “ไมสมบูรณ” การพิจารณาใบสําคัญแพทยใหมเมื่อพบสาเหตุของการเกิดการลืมชั่วคราว และ
สาเหตุนั้นไดรับการแกไขโดยไมมีอาการและไดรับการสังเกตอาการในระยะเวลา 1 ป (หนึ่งป) หรือมากกวาอาจ
ไดรับการพิจารณาโดยกรณีไดรับใบใบสําคัญแพทยชั้น 1 ใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือทําการบินกับนักบินผูชวย
ที่ มี คุ ณ สมบั ติ แ ล ว (Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณี ไ ด รั บ ใบสํ า คั ญ
แพทย ชั้ น 2 ให มีนั กบิ น ผู ช ว ยเพื่ อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual
controls) โดยถือเปนขอจํากัดใหผูรองขอรับใบสําคัญแพทยปฏิบัติหนาที่ในเครื่องบินหรือสถานที่ตองทํางานหลาย
คน (Limiting operations to multi-crew aircraft) สําหรับ ผูควบคุมการจราจรทางอากาศหรื อกรณี ที่ ไ ด รั บ
ใบสํ า คั ญ แพท ย ชั้ น 3 ให มี ข อ จํ า กั ด Valid only when another air traffic controller available and
competent to assume your duties
5.12.4 การหมดสติ (Syncope) ผู ร อ งขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ มี ภ าวะหมดสติ ใ ห พิ จ ารณาว า
“ไมสมบูรณ”อาจไดรับการพิจารณากลับไปทําหนาที่ใหม เมื่อสาเหตุที่ทําใหเกิดอาการเปนสาเหตุที่ไมรายแรง การ
พิจารณาหลังจากอาการดีขึ้นแลวเปนระยะเวลา 3 - 6 เดือน (สามถึงหกเดือน) และอาจไดรับการพิจารณาโดยมีเงื่อนไข
จํากัดกรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับการประเมินโดยใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือทําการบินกับ
นักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณีไดรับ
ใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with
dual controls) โดยถื อเป น ข อจํ า กั ดให ป ฏิ บัติห นาที่ในเครื่ องบิน หรื อสถานที่ตอ งทํางานหลายคน (Limiting
operations to multi-crew aircraft) สําหรับผูควบคุมการจราจรทางอากาศหรือกรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 3
ใ ห มี ข อ จํ า กั ด Valid only when another air traffic controller available and competent to assume
your duties
5.12.5 โรคลมชัก (Epilepsy) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” เวนแตกรณีที่มีหลักฐานที่ชัดแจงวาเปนการชัก
ตั้งแตวัยเด็กรวมกับการมีไข (Febrile seizures) จะมีโอกาสกลับเปนซ้ําต่ํา และผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะ
ที่สามารถหายไดเอง เชน โรคลมชักแบบโรแลนดิกชนิดไมรุนแรง (Benign Rolandic Epilepsy with Centro-
temporal Spikes) หยุดการรักษามาแลวมากกวา 5 ป (หาป) แลว อาจไดรับการพิจารณาวา “สมบูรณ” ได ทั้งนี้ ใน
กรณีที่ผูรองมีอาการชัก 1 ครั้งหรือมากกวา หลังอายุ 5 ป (หาป) ใหถือวา “ไมสมบูรณ” อยางไรก็ตาม การชักเพียง
ครั้งเดียว (An acute symptomatic seizure) ซึ่งมีสาเหตุที่ชัดเจน เชน การมีภาวะความความสมดุลของเกลือแรใน
รางกายผิดปกติ เชน Hyponatremia ตองไดรับการพิจารณาจากแพทยผูเชี่ยวชาญโรคทางประสาทวิทยาที่ไดรับ
การยอมรับจากกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย วา
มีโอกาสเกิดขึ้นซ้ําต่ํา อาจจะไดรับการยอมรับได
5.12.6 การมี คลื่ น สมองที่ ผิ ดปกติ (Epileptiform paroxysmal EEG abnormalities and focal
slow waves normally) ในกรณี ที่ไม มีป ระวัติการชักมากอน ตองมีการตรวจคน เพิ่มเติมโดยศูน ยเวชศาสตร
การบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
อนึ่ง การตรวจคลื่นสมอง (EEG) ไมไดเปนการตรวจตามปกติเพื่อประเมินโอกาสของการชัก

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-85


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
5.12.7 การมีประวัติสูญเสียการรูสึกตัวหนึ่งครั้งหรือมากกวา (Disturbance of consciousness of
uncertain cause) ให ถื อ ว า “ไม ส มบู ร ณ ” สํ า หรั บ การสู ญ เสี ย การรู สึ ก ตั ว เพี ย งครั้ ง เดี ย วอาจจะได รั บ
การยอมรับจากศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงาน
การบินพลเรือนแหงประเทศไทย เมื่อเปนภาวะที่ไมกลับเปนอีกและไดรับการประเมินทางประสาทวิทยาเรียบรอย
แลว แตถามีการกลับเปนอีก ใหถือวา “ไมสมบูรณ”
5.12.8 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีการชักที่ไมมีไขหนึ่งครั้ง (A single afebrile epileptiform
seizure) ซึ่งไมมีการกลับเปนอีกหลังจากหยุดรักษามาแลว 4 ป (สี่ป) และไมมีหลักฐานวามีแนวโนมจะเปนโรค
ล ม ชั ก อ า จ จ ะ ไ ด รั บ ก า ร พิ จ า ร ณ า ใ บ อ นุ ญ า ต อ ย า ง มี ข อ จํ า กั ด โ ด ย ศู น ย เ ว ช ศ า ส ต ร ก า ร บิ น
พลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย อาจ
ไดรับการพิจารณาใหปฏิบัติหนาที่มีขอจํากัด โดยกรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจใหทําการบินโดยเปนนักบิน
หรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot
(OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and
in aircraft with dual controls) โดยถือเปนขอจํากัดใหปฏิบัติหนาที่ในเครื่องบินหรือสถานที่ตองทํางานหลายคน
(Limiting operations to multi-crew aircraft) สําหรับผูควบคุมการจราจรทางอากาศหรือผูที่ไดรับใบสําคัญแพทย
ชั้ น 3 ให มี ข อจํ ากั ด Valid only when another air traffic controller available and competent to assume
your duties
5.12.9 ภาวะหลอดเลือดสมอง (Cerebrovascular disease) ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีปญหา
หลอดเลือดสมองใหพิจารณา
5.12.9.1 ภาวะหลอดเลื อ ดสมองแบบขาดเลื อ ด (Ischaemic stroke) ผู ร อ งขอรั บ
ใบสําคัญแพทยที่มีภาวะหลอดเลือดสมองแบบขาดเลือดใหถือวา “ไมสมบูรณ” การพิจารณาใบสําคัญแพทย จะ
พิ จ ารณาเมื่ อ ทราบสาเหตุ แ ละความเสี่ ย งที่ ทํ า ให เ กิ ด ภาวะหลอดเลื อ ดสมองขาดเลื อ ดซ้ํ า ต่ํ า และได รั บ
การแก ไข เนื่ องจากการเกิ ดภาวะนี้ เ มื่ อเกิ ด ซ้ํ าทํ า ใหเ กิ ด การสูญ เสีย ความสามารถอย างกะทัน หัน (Sudden
incapacitation) อาจพิ จ ารณาให ใ บสํ า คั ญ แพทย ห ลั ง จาก 1 - 2 ป (หนึ่ ง ป ถึ ง สองป ) ตามสาเหตุ ข องโรค
โดยอาจมีขอจํากัด กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 ใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มี
คุณสมบัติแลว (Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทย
ชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls
) โดยถื อเป น ข อจํ า กั ดให ป ฏิ บั ติห น า ที่ ในเครื่ องบิน หรือสถานที่ต องทํ างานหลายคน (Limiting operations to
multi-crew aircraft) สําหรับผูควบคุมการจราจรทางอากาศหรือกรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 3 ใหมีขอจํากัด Valid
only when another air traffic controller available and competent to assume your duties
5.12.9.2 ภาวะหลอดเลือดสมองแบบเลือดออกในสมอง (Haemorrhagic stroke) ผูรอง
ขอรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่มีภาวะหลอดเลื อดสมองแบบเลือดออกในสมองใหถือวา “ไมส มบูร ณ” การพิจ ารณา
ใบสําคัญแพทยใหมเมื่อเนื้อเยื่อสมองไมถูกทําลายหรือถูกทําลายเพียงเล็กนอย การกลับฟนเปนปกติ การทราบสาเหตุ
ของการมีเลือดออกในสมองและไดรับการแกไข การพิจารณาใหทําหลังจาก 1 - 2 ป (หนึ่งถึง สองป) และไดรับการ
ตรวจทางการแพทยอยางครบถวนและปจจัยเสี่ยงตาง ๆ ไดรับการแกไข โดยอาจมีขอจํากัด กรณีไดรับใบสําคัญแพทย
ชั้ น 1 ให ทําการบิ นโดยเป นนั กบิ นหรื อทํ าการบิ นกั บนั กบิ นผู ช วยที่ มี คุณสมบั ติ แล ว (Assessment to fly as/with a
suitably qualified copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ตองใหมีนักบินผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only
with safety pilot and in aircraft with dual controls) จึงโดยถือเปนขอจํากัดใหปฏิบัติหนาที่ในเครื่องบินหรือสถานที่
ตองทํางานหลายคน (Limiting operations to multi-crew aircraft) สําหรับผูควบคุมการจราจรทางอากาศหรือกรณีไดรับ

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-86


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ใบสํ าคั ญแพทย ชั้ น 3 ให มี ข อจํ ากั ด Valid only when another air traffic controller available and competent to
assume your duties
5.12.9.3 ภาวะเลือดออกในสมองแบบซับอแรชนอยด (Subarachnoid haemorrhage) ผู
รองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีภาวะเลือดออกในสมองแบบซับอแรชนอยด (Subarachnoid haemorrhage) ใหถือ
วา “ไมสมบูรณ” การพิจารณาใบสําคัญแพทยเมื่อทราบสาเหตุและความเสี่ยงที่ทําใหเกิดภาวะนี้ซ้ําไดรับการแกไข
และความเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซอนรวมถึงการเกิดภาวะชักลดลง ใหพิจารณาหลังจาก 1 ป (หนึ่งป) โดยอาจ
มีขอจํากัด กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 ใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือทําการบินกับนักบินผูช วยที่มีคุณสมบัติ
แลว (Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมี
นักบินผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls) จึงโดย
ถือเปนขอจํากัดใหปฏิบัติหนาที่ในเครื่องบินหรือสถานที่ตองทํางานหลายคน (Limiting operations to multi-
crew aircraft) สําหรับผูควบคุมการจราจรทางอากาศหรือกรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 3 ใหมีขอจํากัด Valid
only when another air traffic controller available and competent to assume your duties ทั้งนี้ การ
มีหลอดเลือดที่ผิดปกติยังคงอยู และการสะสมของเฮโมซิเดอริน (Haemosiderin) เปนปจจัยเสี่ยงใหเกิดอาการซ้ํา
รวมทั้งการเกิดอาการชัก ใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ”
5.12.10 การบาดเจ็บที่ศีรษะและมีการสูญเสียการรูสึกตัว ใหถือวา “ไมสมบูรณ” การบาดเจ็บที่
ศีรษะที่ไมมีการสูญเสียการรูสึกตัว แตมีภาวะกะโหลกศีรษะราว (Skull fracture) การฉีกขาดของเยื่อหุมสมอง
(Meningeal rupture) หรือเนื้อสมองไดรับอันตราย (Cerebral injury) หลังจากไดรับการตรวจทางประสาทวิทยา
อยางครบถวน และรวมถึงการประเมินทางจิตวิทยาแลว ตองไดรับการพิจารณาจากศูนยเวชศาสตรการบินพล
เรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย และการ
พิจารณาจากแพทยผูเชี่ยวชาญโรคทางระบบประสาทวิทยาซึ่งตองหายอยางสมบูรณและมีโอกาสเกิดโรคลมชักต่ํา
กอนการพิจารณาใบสําคัญแพทยใหม (Recertification)
5.12.10.1 ภาวะสมองไดรับ การสั่น สะเทือน (Post-concussion syndrome)ผู ร อง
ขอรับใบสําคัญแพทยที่มีปญหาเรื่องสมองไดรับการสั่นสะเทือน ใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ”การพิจารณาใบสําคัญ
แพทยใหมใหพิจารณาหลังจากไมมีอาการแลวสามถึงหกเดือนขึ้นอยูกับความรุนแรง โดยอาจมีขอจํากัด กรณีไดรับ
ใบสําคัญแพทยชั้น 1 ใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment
to fly as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ตองใหมีนักบินผูชวยเพื่อ
ความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls) จึงโดยถือเปนขอจํากัดให
ปฏิ บั ติ ห น า ที่ ใ นเครื่ อ งบิ น หรื อ สถานที่ ต อ งทํ า งานหลายคน (Limiting operations to multi-crew aircraft)
สํ า หรั บ ผู ควบคุ มการจราจรทางอากาศหรื อกรณีไดรับ ใบสําคัญ แพทยชั้น 3 ใหมีขอจํากัด Valid only when
another air traffic controller available and competent to assume your duties ทั้ ง นี้ การที่ ผู ร อ ง มี
อาการทางระบบประสาทเฉพาะที่ อาจตองรอถึงสองปหลังจากหายแลว การมีอาการหลงเหลืออยู ใหพิจารณาวา
“ไมสมบูรณ”
5.12.10.2 ภาวะชักหลังเกิดการบาดเจ็บที่ ศีรษะ (Post-traumatic epilepsy) ผูรองขอรั บ
ใบสําคัญแพทยที่มีโอกาสเกิดภาวะชักหลังเกิดการบาดเจ็บที่ศีรษะใหถือวา “ไมสมบูรณ” การประเมินการกลับทํา
หนาที่ใหมใหทําหลังจากสองป หลังจากอาการปกติไมตองใชยากันชัก การพิจารณาใบสําคัญแพทยเมื่อทราบสาเหตุ
และความเสี่ยงที่ทําใหเกิดภาวะนี้ซ้ําไดรับการแกไข และความเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซอน รวมถึงการเกิดภาวะชัก
ลดลง ใหพิจารณาหลังจากหนึ่งป โดยอาจมีขอจํากัด กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 ใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือ
ทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot (OML)
กรณีไดรับ ใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบิน ผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-87
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
aircraft with dual controls) จึงโดยถือเปนขอจํากัดใหปฏิบัติหนาที่ในเครื่องบินหรือสถานที่ตองทํางานหลาย
คน (Limiting operations to multi-crew aircraft) สํ า หรับ ผูค วบคุม การจราจรทางอากาศหรือ กรณีไ ดร ับ
ใบสํ า คัญ แพทยชั ้น 3 ใหม ีข อ จํ า กัด Valid only when another air traffic controller available and
competent to assume your duties
5.12.11 การพิจารณาผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มีประวัติประสาทไขสันหลัง หรือเสนประสาทสวน
ปลายไดรับอันตราย ตองผานการพิจารณารวมกับมาตรฐานระบบกระดูกและกลามเนื้อ
5.12.12 ภาวะเนื้องอกในสมอง (Neoplasms)
5.12.12.1 ภาวะเนื้องอกในสมองชนิดไมอันตราย (Benign neoplasms) ผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยที่มีเนื้องอกในสมองชนิดไมอันตรายใหถือวา “ไมสมบูรณ” การประเมินการกลับมาทําหนาที่ใหม
เมื่อการรักษาประสบความสําเร็จสามารถกําจัดเนื้องอกในสมองออกได และไดประเมินโอกาสการชักมีโอกาสต่ํา ให
ประเมินหลังจากหนึ่งป โดยอาจมีขอจํากัด กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 ใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือทําการ
บินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณี
ไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft
with dual controls) จึ ง โดยถื อ เป น ข อ จํ า กั ด ให ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ใ นเครื่ อ งบิ น หรื อ สถานที่ ต อ งทํ า งานหลายคน
(Limiting operations to multi-crew aircraft) สําหรับผูควบคุมการจราจรทางอากาศหรือกรณีไดรับใบสําคัญ
แพทยชั้น 3 ใหมีขอจํากัด Valid only when another air traffic controller available and competent to
assume your duties
5.12.12.2 ภาวะมะเร็ ง ในสมอง (Malignant intracranial neoplasm) ผู ร อ งขอรั บ
ใบสําคัญแพทยที่มีภาวะมะเร็งในสมองใหถือวา “ไมสมบูรณ”
5.12.13 ภาวะการเคลื่อนไหวผิดปกติที่เป นในครอบครัว (Familial and essential tremor) ผูรอง
ขอรับใบสําคัญแพทยที่มีอาการการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติที่รบกวนการทําหนาที่ใหถือวา “ไมสมบูรณ” การพิจารณา
กลับทําหนาที่ใหม เมื่อมีอาการเพียงเล็กนอย ไมตองการการรักษา สามารถหาสาเหตุของโรคได ไมมีภาวะที่เปน
อันตรายที่รายแรง ใหมีการทดสอบความสามารถในการปฏิบัติหนาที่ เชน การทดสอบในเครื่องบินจําลอง การ
รักษาดวยยา เชน โพรพาโนลอล (Propanolol) อาจทําไดแตตองมีการสังเกตอาการเปนเวลาสามเดือน
5.12.14 ภาวะโรคประสาทที่มีอาการสั่น (Parkinson’s disease) ผูรองขอรับใบสําคัญแพทย ที่มี
ภาวะโรคประสาทที่มีอาการสั่น ใหถือวา “ไมสมบูรณ” การพิจารณากลับทําหนาที่ใหม เมื่อมีอาการเพียงเล็กนอย
ตองไดรับการประเมินทางประสาทวิทยา ตองไมไดรับการรักษาดวยยา ในกรณีที่ใหกลับไปทําหนาที่ใหม ตองมีการตรวจ
ซ้ําและประเมินใหม ถาอาการเปนมากขึ้นใหพิจารณาวา “ไมสมบูรณ”
5.12.15 ภาวะโรคปลอกหุมเสนประสาทอักเสบ (Multiple sclerosis) ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่มี
ภาวะโรคการแข็งตัวของเนื้อเยื่อในรางกายถือวา “ไมสมบูรณ” การพิจารณาการกลับมาทําหนาที่เมื่อ อาการเปน
เพี ย งเล็ ก น อ ยและไม มี ก ารรบกวนการทํ า งาน เมื่ อ อาการดี ขึ้ น หลั ง จากเกิ ด อาการ ให พิ จ ารณาหลั ง จาก
สามเดือนผานไป และไมมีอาการ ในบางกรณีอาจใชเวลาหกถึงสิบสองเดือนในการพิจารณา
ขอ 5.13 จักษุวิทยา (Ophthalmology)
5.13.1 การตรวจในครั้งแรกของใบสําคัญแพทยชั้น 1 การตรวจตาตองกระทําโดยหรือควบคุมโดย
จักษุแพทยเวชศาสตรการบิน (Aviation ophthalmology) การพิจารณาใบสําคัญแพทยชั้น 2 และชั้น 3 ผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยจะตองสงสําเนา (Copy) ของใบสั่งแวนตาปจจุบันดวย ถาตองใชอุปกรณชวยแกไขสายตา

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-88


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
5.13.2 การตรวจเวชศาสตร ก ารบิ น เพื ่อ ประเมิ น ความพร อ มทางสายตาในการพิ จ ารณา
ใบสําคัญแพทยใหม (Renewal examination) ตองตรวจสายตาทุกครั้ง ในรายที่ผิดปกติหรือมีขอสงสัยต องให
จักษุแพทยเวชศาสตรการบินตรวจ
5.13.3 การประเมินภาวะมะเร็งในระบบนี้ ใหปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญโรคมะเร็ง
ขอ 5.14 ขอกําหนดระดับการมองเห็น (Visual Requirements)
5.14.1 สถานที่ตรวจจะตองมีแสงสวางเพียงพอ (30-60 cd/m2) และในการตรวจทุกครั้ง สายตาที่
แกไขแลวสําหรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 และชั้น 3 ในแตละขางตองไมเกิน 20/30 (6/9) และ 20/20 (6/6) ในการ
มองดวยตาทั้งสองขาง
5.14.2 ผูที่แกไขสายตาดวยเลนสสัมผัสตองเปนแบบ Monofocal Lenses ไมเคลือบสีและไมระคายเคือง
และตองมีแวนสายตาสํารองพรอมใช เชนเดียวกับขอ 5.14.1
5.14.3 การแกไขสายตาดวยการผาตัด เชน PRK, LASIK, และ ICL (Implantable Collamer Lens)
ถือวา “ไมสมบูรณ” อาจมีการผอนผันได โดยตองตรวจหลังผาตัด 3, 6 เดือน และ 12 เดือน วา
- การผาตัด และหลังผาตัด ไมมีภาวะแทรกซอน
- การมองเห็น (Vision) คงที่ (Stable)
- ไมมีภาวะกระจกตาขุน
- ความคงทนตอแสงจา (Glare) ไมเพิ่มขึ้น
- การมองเห็นในเวลากลางคืน (Night Vision) ปกติ
การแก ไขสายตาด ว ยการผ า ตั ด ICL (Implantable Collamer Lens) ตองไดรับ การพิจ ารณาเป น
รายบุ คคล (Case by case) จากศู น ย เ วชศาสตรการบิน พลเรื อน หรือกองเวชศาสตร การบิ น ฝ ายมาตรฐาน
ผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
5.14.4 ชวงที่กลับมาปฏิบัติหนาที่ หลังจากการแกไขสายตาดวยการผาตัด PRK และ LASIK จะเริ่ม
นับตั้งแตภายหลังการหยุดใชยา
- คาสายตาเฉลี่ย (Spherical equivalent) กอนผาตัด 0-6.00 ไดออพเตอร
PRK 3 เดือน
LASIK 3 เดือน
- คาสายตาเฉลี่ย (Spherical equivalent) กอนผาตัด 6.00 – 10.00 ไดออพเตอร
PRK 6 เดือน
LASIK 3 เดือน
- คาสายตาเฉลี่ย (Spherical equivalent) กอนผาตัดมากกวา 10.00 ไดออพเตอร
PRK 6 เดือน
LASIK 6 เดือน
5.14.5 การมีตาเดียว ถือวา “ไมสมบูรณ” สําหรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 และชั้น 3 ศูนยเวชศาสตร
การบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
อาจจะพิ จารณาให ใบสํ าคั ญแพทย ใ หม (Recertification) สํ า หรั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ชั้ น 2 ถ า โรคที่ เ ป น สาเหตุ
(Underlying pathology) นั้น ไดรับการยอมรับจากจักษุแพทยผูเชี่ยวชาญผูประเมิน และไดรับการทดสอบดาน
การบินมีผลเปนที่นาพอใจ
5.14.6 ผูที่มีสายตา 1 ขาง (Central vision in one eye) ต่ํากวามาตรฐานการมองเห็นตามผนวก 1
ข อ 1.13 อาจจะพิ จารณาให ใบอนุ ญาตใหม (Recertification) สําหรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 ถา binocular visual

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-89


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
fields เปนปกติ และโรคที่เปนสาเหตุไดรับการยอมรับจากการประเมินของจักษุแพทยผูเชี่ยวชาญ ซึ่งผูรองขอรับ
ใบสําคัญแพทยตองผานการทดสอบดานการบิน และพิจารณาใหปฏิบัติหนาที่โดยอาจมีขอจํากัด โดยกรณีไดรับ
ใบสําคัญแพทยชั้น 1 ใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment
to fly as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความ
ปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls)
5.14.7 ผูที่มีสายตา 1 ขาง (Reduction of vision in one eye) ต่ํากวามาตรฐานการมองเห็นตามผนวก 1
ขอ 1.13 และผนวก 2 ขอ 2.13 ใหถือวา “ไมสมบูรณ” ในรายของสายตาขางเดียวต่ํากวาตามมาตรฐานการมองเห็น
สําหรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 และชั้น 3 อาจไดรับการพิจารณาใหใบสําคัญแพทยใหม (Recertification) สําหรับ
ใบสําคัญแพทยชั้น 2 และ 3 ถาโรคที่เปนสาเหตุและความสามารถของการมองของตาที่ยังดีอยูไดรับการยอมรับ
หลังจากประเมินทางจักษุวิทยาที่ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจํา
หนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย และผานการทดสอบการบินทางแพทยอยางนาพอใจ
5.14.8 Convergence ที่เกินกวาระยะปกติอาจจะพิจารณายอมรับได ถาไมมีผลเสียกับการมองใกล
(30-50 เซนติเมตร และ 100 เซนติเมตร)
5.14.9 การใชแวนกันแดด (Sunglasses) เปนแบบ Non-Polarizing และสี Neutral Grey Tint
ขอ 5.15 ขอกําหนดการมองเห็นสี (Color Perception Requirements)
5.15.1 Ishihara test (24 plate version) จะตองผานไดทุกแผนโดยไมลังเล (ใชเวลานอยกวา 3 วินาที
ตอแผน)
5.15.2 สําหรับผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไมผานตามขอ 5.15.1 ใหถือวาไมไดมาตรฐานแตอาจ
ไดรับการพิจารณาใหปฏิบัติงานไดถาเห็นและแยกสีจากแสงที่ใชในการบินไดถูกตองหรือทดสอบ ดังนี้
5.15.2.1 Anomaloscopy (Nagel หรือที่เทากัน) ในแบบทดสอบนี้ จะไดรับการพิจารณา
วาผาน ถา Color match is trichromic และ matching range อยูที่ 4 scale unit หรือนอยกวา
5.15.2.2 ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไมผ านตามข อ 5.15.1 จะไดรับอนุมัติให ป ฏิ บัติ
หนาที่ไดเฉพาะในเวลากลางวันเทานั้น (Daylight flying only) สําหรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 และชั้น 4
ขอ 5.16 โสต ศอ นาสิกวิทยา (Otorhinolaryngology)
5.16.1 ในการตรวจครั้ ง แรก การตรวจ หู คอ จมู ก (A comprehensive ORL examination)
ตองตรวจภายใตการแนะนํา และกํากับดูแลของผูเชี่ยวชาญดาน หู คอ จมูกที่เชี่ยวชาญเวชศาสตรการบิน (Aviation
otorhinolaryngology) ทีไดรับการยอมรับจากศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝาย
มาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
5.16.2 การตอใบอนุญาตหรือการตออายุในรายที่สงสัยหรือผิดปกติ ในดาน หู คอ จมูก ควรจะปรึกษา
ผูเชี่ยวชาญดาน หู คอ จมูก ที่เชี่ยวชาญเวชศาสตรการบิน (Aviation otorhinolaryngology) ที่ไดรับการยอมรับจาก
ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือน
แหงประเทศไทย
5.16.3 เยื่อแกวหูทะลุเพียงขางเดียว แหง ไมมีการติดเชื้อ และไมรบกวนการทํางานตามปกติของหู
อาจจะพิจารณายอมรับไดในการใหใบสําคัญแพทย
5.16.4 การพบ Spontaneous or positional nystagmus ควรได รั บ การประเมิ น Vestibular
โดยผู เ ชี่ ย วชาญ ในกรณี ที่ไม มี ความผิ ด ปกติ อย า งเดน ชั ดใน Caloric หรื อ Rotational vestibular response
จะสามารถยอมรับได โดยไดรับการเห็นชอบจากศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝาย
มาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-90
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
5.16.5 ภาวะหลังผาตัดโสต ศอ นาสิกวิทยา (Post-surgical assessment)
5.16.5.1 การผ า ตั ด เยื่ อ แก ว หู แ ละมาสตอยด (Myringotomy and mastoidectomy)
ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ไดรับการผาตัดเยื่อแกวหูและมาสตอยด ใหถือวา”ไมสมบูรณ” การพิจารณาปฏิบัติ
หนาที่เมื่อการไดยินตามมาตรฐาน ไมมีอาการวิงเวียนศีรษะ (Vertigo) ไมมีสาเหตุของโรคที่รุนแรง ไมมีการติดเชื้อและ
ไมมีโรคแทรกซอนทางสมอง ใหปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญ โสต ศอ นาสิกวิทยา
5.16.5.2 การผาตัดกระดูกในหู (Otosclerosis) ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ผานการผาตัด
กระดูกในหู ถือวา “ไมสมบูรณ” การพิจารณากลับมาปฏิบัติหนาที่ใหม หลังผาตัดหนึ่งถึงสามเดือน ไมมีอาการเวียน
ศีรษะ การไดยินตามมาตรฐาน การทํางานของทอยูสเทเซี่ยนปกติโดยไมมีอาการเวียนศีรษะ (Vertigo) ผานการ
ทดสอบการทํางานของระบบ Vestibule (Past pointing) ไมมีอาการลูกตากระตุก (Nystagmus) ในชวงเวลาที่
ทําการเปาจมูก (Valsalva manoeuvre) ใหสามารถกลับไปทําการบินไดโดย กรณีไดรับใบสําคัญแพทยช้ัน 1 ใหทํา
การบินโดยเปนนักบินหรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment to fly as/with a suitably
qualified copilot (OML) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบินผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with
safety pilot and in aircraft with dual controls) โดยถือเปนขอจํากัดใหปฏิบัติหนาที่ในเครื่องบินหรือสถานที่
ตองทํางานหลายคน (Limiting operations to multi-crew aircraft) สําหรับผูควบคุมการจราจรทางอากาศหรือกรณี
ได รั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ชั้ น 3 ให มี ข อ จํ า กั ด Valid only when another air traffic controller available and
competent to assume your duties ทั้งนี้ ใหสังเกตอาการเปนระยะเวลาประมาณสองป อาจไดรับการพิจารณา
วา “สมบูรณ”
5.16.5.3 การผาตัดเยื่อแกวหู (Tympanoplasty) ผูรองขอรับใบสําคัญแพทยที่ผาตัดเยื่อ
แกวหูถือวา “ไมสมบูรณ” การพิจารณาใหกลับไปทําหนาที่เมื่อ ความสามารถในการไดยินอยูในเกณฑปกติ ไมมี
อาการเวียนศีรษะ เยื่อแกวหูที่ไดรับการผาตัดอยูในเกณฑปกติ ไมมีโรคอื่น ๆ อาจพิจารณาวา “สมบูรณ”
5.16.6 การประเมินภาวะมะเร็งในระบบนี้ ใหปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญโรคมะเร็ง
ขอ 5.17 ขอกําหนดการไดยินเสียง (Hearing Requirements)
5.17.1 ผูรับการตรวจจะตองไดยินและเขาใจในการสนทนาตามปกติ การทดสอบใหผูรับการตรวจนั่ง
หันหลังใหผูทําการตรวจในระยะหาง 2 เมตร
5.17.2 การทดสอบดวย Pure tone จะตองกระทําในการตรวจครั้งแรก และทุกครั้งในการตรวจตออายุ
ใบสําคัญแพทย อุปกรณที่ใชในการตรวจ (Pure tone audiogram) จะตองครอบคลุมความถี่ 250, 500, 1000, 2000,
3000, 4000, 6000 และ 8000 เฮิรตซ
5.17.2.1 ในการตรวจครั้ งแรก ผูรับการตรวจตองไมมีการสูญเสี ยการไดยิ นของหู แต ละข าง
มากกวา 20 เดซิเบล ที่ 500, 1000 และ 2000 เฮิรตซ หรือ 35 เดซิเบล ที่ความถี่ 3000 เฮิรตซ
5.17.2.2 ในการตรวจเพื่อตออายุหรือตรวจเพื่อขอตอใบสําคัญแพทยใหม (Renew) ผูรับ
การตรวจจะตองไมมีการสูญเสียการไดยินของหูแตละขางมากกวา 35 เดซิเบล ที่ความถี่ 500, 1000 และ 2000
เฮิรตซ หรือ 50 เดซิเบล ที่ความถี่ 3000 เฮิรตซ และถาสูญเสียการไดยินเกินกวามาตรฐานที่กําหนดนอยกวา 5 เด
ซิเบล ตั้งแตสองความถี่ขึ้นไป อาจจะอนุโลมใหปฏิบัติหนาที่ตอไปได หากการไดยินตามขอ 5.17.1 เปนปกติ หรือไดมี
การทดสอบแยกเสียง (Speech discrimination test) แลว ผลการตรวจเปน ที่นาพอใจ และตองทําการตรวจซ้ํา
ทุก ๆ ป

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-91


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
5.17.3 ทั่วไป
5.17.3.1 ในรายที่เ ปน Hypoacusis ตองทําการตรวจเพิ่มเติม และพิจ ารณาโดยศูนย
เวชศาสตรการบินหรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
5.17.3.2 ถามีความสามารถในการไดยินเสียงในพื้นที่ที่มีเสียงใกลเคียงกับสภาวะในหอง
นักบิน อาจไดรับการพิจารณาเปนพิเศษ ปกติการตอใบสําคัญแพทยควรจะไดรับการพิจารณาจากแพทยผูเชี่ยวชาญ
โดยได รั บ การเห็ น ชอบจากศู น ย เ วชศาสตร ก ารบิ น หรื อ กองเวชศาสตร ก ารบิ น ฝายมาตรฐานผู ประจํ าหนาที่
สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
5.17.4 การใชเครื่องชวยการไดยิน (Personal hearing aids) ใชไดเมื่อปฏิบัติหนาที่เมื่ออยูที่พื้น
(Use for aviation duties on the ground)
ขอ 5.18 จิตวิทยาการบิน (Aviation Psychology)
5.18.1 การประเมินทางจิตวิทยา จะถือวาเปนสวนหรือองคประกอบของการตรวจทางจิตเวชหรือ
การตรวจทางประสาทวิทยา เมื่อผูตรวจไดขอมูลที่เชื่อถือไดจากแหลงขอมูลที่เกี่ยวของกับอุบัติการณตาง ๆ ปญหาใน
การฝก การตรวจความเชี่ยวชาญ การทําผิดระเบียบ หรือตรวจพบการปฏิบัติไมถูกตองในเรื่องความปลอดภัย
5.18.2 การตรวจและวิเคราะหทางจิตวิทยาจะตองประกอบดวยการรวบรวมขอมูลสวนบุคคล และ
การตรวจดวยเครื่องมือทางจิตวิทยา เชน การทดสอบดานบุคลิกภาพ (Personality domain) การทดสอบดานทักษะ
ประสาทสัมผัส สมาธิ และความตั้งใจในการรับรู (Psychomotor domain) การทดสอบดานกระบวนการคิ ด
วิเคราะหอยางมีเหตุมีผล (Cognitive domain) และการสัมภาษณทางจิตวิทยา
ขอ 5.19 ตจวิทยา (Dermatology)
5.19.1 ภาวะโรคผิว หนังที่ทําใหเ กิดความเจ็บ ปวด ความไมส บาย รบกวน หรือ คัน จะรบกวน
ผูประจําหนาที่จากภาระงานและมีผลตอความปลอดภัยในการบิน รวมทั้งการเปนที่นารังเกียจตอผูพบเห็น
5.19.2 การรักษาโรคทางผิวหนัง เชน การฉายรังสีหรือการใชยาซึ่งอาจจะมีผลตอระบบภายในรางกาย
จะตองถูกพิจารณากอนการประเมินวาสมบูรณหรือไมสมบูรณ อาจพิจารณาใหปฏิบัติหนาที่โดย กรณีไดรับใบสําคัญ
แพทยชั้น 1 ใหทําการบินโดยเปนนักบินหรือทําการบินกับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว (Assessment to fly
as/with a suitably qualified copilot (OML) กรณี ไ ด รั บ ใบสํ า คั ญ แพทย ชั้ น 2 ให มี นั ก บิ น ผู ช ว ยเพื่ อ ความ
ปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls)
5.19.3 ภาวะมะเร็งหรือภาวะกอนจะเกิดมะเร็งของผิวหนัง
5.19.3.1 มะเร็งชนิด Malignant Melanoma, Squamous Cell Epithelioma, Bowen
Disease และ Paget’s Disease จะขาดคุณสมบัติ แตถารอยโรคถูกกําจัดออกทั้งหมด และไดมีการติดตามการ
รักษาอยางเพียงพอ อาจพิจารณาตออายุใบสําคัญแพทยโดยไดรับความเห็นชอบจากศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน
หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
5.19.3.2 โ ร ค ม ะ เ ร็ ง ผิ ว ห นั ง ช นิ ด Basal Cell Epithelioma or Rodent Ulcer,
Keratoacanthoma and Actinic Keratosis ตองรักษาหรือกําจัดออก กอนตออายุใบสําคัญแพทย
5.19.4 โรคผิวหนังชนิดอื่น ๆ
5.19.4.1 ภาวะโรคผิวหนังอักเสบเฉียบพลันหรือเปนอยางกวางขวางและเรื้อรัง
5.19.4.2 โรคผิวหนังชนิดเรติคิวโลซิส (Skin Reticulosis)
5.19.4.3 โรคผิ ว หนั งของโรคทางกายทั่ ว ไป และภาวะอื่ น ๆ ที่ ใกล เ คี ย งกั น ต องการ
การรักษา และรักษาโรคที่เปนสาเหตุกอนจะพิจารณาตออายุใบสําคัญแพทย
5.19.5 การพิจารณาภาวะมะเร็งในระบบนี้ ใหปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญโรคมะเร็ง
ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-92
แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
ขอ 5.20 มะเร็งวิทยา (Oncology)
5.20.1 การพิจารณาใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจพิจารณาโดยศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนหรือ
กองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย และใบสําคัญ
แพทยชั้น 2 อาจพิจารณาโดยนายแพทยผูตรวจ โดยไดรับ คําปรึกษาจากศูน ยเวชศาสตรการบิน พลเรือนหรือ
กองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย ถา
5.20.1.1 มีหลักฐานแสดงวาไมมีภาวะมะเร็งเหลืออยูหลังการรักษา
5.20.1.2 ระยะเวลาเหมาะสมสําหรับมะเร็งแตละชนิดหลังการรักษา
5.20.1.3 อัตราเสี่ยงตอการสูญเสียความสามารถในการปฏิบัติหนาที่ทันที (Incapacitation)
จากการกลับเปนใหม (Recurrence) หรือ การกระจายของโรค (Metastasis) อยูในระดับที่ไดรับการยอมรับจาก
ศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือน
แหงประเทศไทย
5.20.1.4 ไมมีรองรอยวาจะมีผลตามมา (Sequelae) จากการรักษา ผูรองขอรับใบสําคัญ
แพทยที่ไดรับยา Anthracycline chemotherapy ตองไดรับการประเมินดานโรคหัวใจ
5.20.1.5 มีแผนการตรวจติดตามผลที่ยอมรับไดจากศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนหรือ
กองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
5.20.2 การพิจารณาใหปฏิบัติหนาที่อยางมีเงื่อนไข โดยกรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 1 อาจไดรับ
การพิจ ารณาโดยมีขอจํา กัด โดยใหทํา การบิน โดยเปนนักบินหรือทําการบิน กับนักบินผูชวยที่มีคุณสมบั ติ แลว
(Assessment to fly as/with a suitably qualified copilot (OML)) กรณีไดรับใบสําคัญแพทยชั้น 2 ใหมีนักบิน
ผูชวยเพื่อความปลอดภัย (Valid only with safety pilot and in aircraft with dual controls)
ขอ 5.21 การกําหนดขอจํากัดทางการแพทย (Limitation)
เมื่อผูรองขอรับใบสําคัญแพทยมีสุขภาพไมเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนดไวในผนวกแนบทายประกาศ
สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย เรื่อง มาตรฐานในการออกใบสําคัญแพทยแตละชั้น พ.ศ. 2562 และ
ไดรับการพิจารณาตามกระบวนการที่กําหนดไวในผนวกทั่วไปแลว ใหนายแพทยผูตรวจ (AME) หรือนายแพทย
ผูตรวจอาวุโส (SAME) หรือศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน (AMC) หรือกองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผู
ประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย หรือคณะกรรมการแพทยเวชศาสตรการบินผูทรงคุณวุฒิ
(BAS) พิจารณาออกใบสําคัญแพทยที่มีขอจํากัด (Limitation) ได โดยพิจารณาตามหลักเกณฑดังตอไปนี้
5.21.1 OML - Class 1 only (Operational Multi-Pilot Limitation)
การกําหนดขอจํากัดใหทําการบินเฉพาะรวมกับนักบินหรือนักบินผูชวยที่มีคุณสมบัติแลว "valid only
as/or with qualified co-pilot” โดยจะสามารถทําหนาที่ไดเฉพาะในเครื่องบินที่มีนักบินหลายคน ทั้งนี้ นักบินที่
ทําการบินดวยตองเปนนักบินที่มีคุณสมบัติครบถวนที่จะทําการบินในเครื่องบินแบบนั้น (Fully qualified on the
relevant class and type of aircraft) และต อ งไม เ ป น นั ก บิ น ที่ ถื อ ใบสํ า คั ญ แพทย ที่ มี ข อ จํ า กั ด OML (Not
subject to an OML) และมีอายุไมเกิน 60 ป
ข อ จํ า กั ด นี้ อ าจกํ า หนดหรื อ ยกเลิ ก โดยนายแพทย ผู ต รวจอาวุ โ ส (SAME) ศู น ย เ วชศาสตร ก ารบิ น
พลเรือน (AMC) กองเวชศาสตรการบิน ฝายมาตรฐานผูประจําหนาที่ สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย
หรือคณะกรรมการแพทยเวชศาสตรการบินผู ทรงคุ ณวุฒิ (BAS) ที่สํานักงานการบิน พลเรื อนแห งประเทศไทย
แตงตั้งขึ้น

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-93


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
5.21.2 OSL - Class 2 (Operational Safety Pilot Limitation)
การกําหนดขอจํากัดใหทําการบินโดยเปนนักบินผูชวยรวมกับนักบินที่มีคุณสมบัติครบถวนที่จะทําการ
บิ น ในเครื่ องบิ น แบบนั้ น เป น นั กบิ น ผู ควบคุ มอากาศยาน (another pilot fully qualified to act as pilot-in-
command on the relevant class and type of aircraft) ทั้งนี้ อากาศยานดังกลาวจะตองมีคันบังคับ 2 ชุด
และนักบินคนอื่นนั้นเปนผูทําการในที่นั่งผูควบคุม
5.21.3 Valid Only When Another Air Traffic Controller Available and Competent
to Assume Your Duties
การกําหนดขอจํากัดของผูควบคุมการจราจรทางอากาศ (Air Traffic Controller) ที่มีสุขภาพไมเปน
ไปตามมาตรฐานใหทําหนาที่ไดเมื่อมีผูควบคุมการจราจรทางอากาศที่มีคุณสมบัติครบถวนที่รวมปฏิบัติหนาที่ดวย
5.21.4 VDL (Valid Only With Correction for Defective Distant Vision)
การกําหนดขอจํากัดใหผูประจําหนาที่ตองสวมแวนตาหรือใชเลนสสัมผัสสําหรับแกปญหาสายตาสั้น
ตามที่ไดรับการตรวจและรับอนุญาตจากศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนหรือนายแพทยผูตรวจ และตองมีแวนตา
สํารองใหพรอมใชในขณะปฏิบัติหนาที่
5.21.5 VML (Valid Only With Correction for Defective Distant, Intermediate and
Near Vision)
การกําหนดขอจํากัดใหผูประจําหนาที่ตองสวมแวนตาหรือใชเลนสสัมผัสสําหรับแกปญหาสายตาสั้น
ปญหาสายตาระยะปานกลาง และปญหาสายตายาว ตามที่ไดรับการตรวจและรับอนุญาตจากศูนยเวชศาสตรการ
บินพลเรือน หรือนายแพทยผูตรวจ และตองมีแวนตาสํารองใหพรอมใชในขณะปฏิบัติหนาที่
5.21.6 VNL (Valid Only With Correction for Defective Near Vision)
การกําหนดขอจํากัดใหผูประจําหนาที่ตองสวมแวนตาสําหรับแกปญหาสายตายาว ตามที่ไดรับ การ
ตรวจและรับอนุญาตจากศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือน หรือนายแพทยผูตรวจ และตองมีแวนตาสํารองใหพรอม
ใชในขณะปฏิบัติหนาที่
5.21.7 CCL (Correction by Means of Contact Lenses)
การกําหนดขอจํากัดใหผูประจําหนาที่ใชเลนสสัมผัสสําหรับแกปญหาสายตาสั้น ตามที่ไดรับการตรวจ
และรับอนุญาตจากศูนยเวชศาสตรการบินพลเรือนหรือ นายแพทยผูตรวจ และตองมีแวนตาสํารองใหพร อมใช
ในขณะปฏิบัติหนาที่
5.21.8 VCL (Valid by Day Only)
การกํ า หนดข อจํ า กั ดในกรณี ผู ถือใบสําคัญ แพทยชั้น 2 หรือชั้น 4 ที่มีปญ หาในดานการมองเห็นสี
(Varying degree of color deficiency) ใหสามารถปฏิบัติหนาที่ไดเฉพาะในเวลากลางวันเทานั้น
5.21.9 AHL (Valid Only With Approved Hand Controls)
การกําหนดขอจํากัดในกรณีผูประจําหนาที่ที่มีความบกพรองของแขนขา หรือปญหาทางกายวิภ าค
(Limb deficiency or other anatomical problem) เมื่อไดรับการประเมินทางการแพทยในการทดสอบการบิน
หรือในเครื่องฝกบินจําลอง (A medical flight test or a flight simulator) แลวไดผลที่แสดงวาผูประจําหนาที่จะ
ทําการบินไดโดยเฉพาะกับอากาศยานที่ไดมีการปรับปรุงระบบการควบคุมดวยมือ ใหเหมาะสมกับบุคคลดังกลาว
(aircraft to be equipment with suitable,approved hand controls) ซึ่งการประเมินนี้ตองประเมินรวมกับ
ผูเชี่ยวชาญดานการบิน

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-94


แนวทางปฏิบัติสําหรับนายแพทยผูตรวจ นายแพทยผูตรวจอาวุโส
ภาคผนวก
5.21.10 SSL (Special Restriction(s) as Specified)
การกําหนดขอจํากัดในกรณีมีขอจํากัดอื่นใดที่ไมไดกําหนดไวในผนวกนี้ ซึ่งพิจารณาแลววาการให
ขอจํากัดดังกลาวจะชวยลดระดับความเสี่ยงตอความปลอดภัยในการบิน และการใหขอจํากัดนั้นจะระบุขอความลง
ในใบสําคัญแพทย

ฉบับที่ 01, 16 มิ.ย. 2564 7-95

You might also like