You are on page 1of 36

!"#$%&"'(!

$#)*
Pharmacy student Group 4 Sec 2
!"#$%&"'(+$#)*
• มีฤทธิ์ระบายของเหลวและ Na+
ส7วนเกินออกจากร7างกาย
• โดยตัวยาจะเข@าไปกระตุ@นการ
ทำงานของไตให@ขับ Na+
• ยากลุ7มนี้มีผลต7อสมดุลของน้ำ
โดยเปลี่ยนแปลงการ ดูดกลับหรือ
ขับออกของ electrolyte
,-"."'/-(0$%/&1%.&
• ป"องกันและรักษาการบวมน้ำ (edema)
• ลดแรงดันเลือดในภาวะความดันโลหิตสูง
• เพิ่มปริมาณและการขับปJสสาวะและ electrolyte
• ป"องกันการเกิดภาวะที่ไตไมTผลิตปJสสาวะ (anuria)
จากภาวะไตวายเฉียบพลัน
• ควบคุมและลดการขับแคลเซียม กรณีที่เกิดภาวะนิ่ว
ชนิดที่มีแคลเซียมเป_นองค`ประกอบ
Hypokalemia
2"+%(

● Hyponatremia
344%'& ●

Hypochloremia
รบกวนสมดุลกรดเบส
ยาขับป'สสาวะ 5 กลุ0ม
56 57 58
Thiazide Loop Potassium-sparing
diuretics diuretics diuretics
59 5:
Carbonic anhydrase Osmotic
inhibitors diuretics
0;"/<"+%(+"#$%&"'
0;"/<"+%(!$#)

Chlorothiazide Hydrochlorothiazide Indapamide


=%';/."*1+-

ย​ าไปออกฤทธิ์ยับยั้ง Na+-Cl-
cotransporter (NCC) ที่ตำแหนGง Distal
Convoluted Tubule (DCT)

สGงผลตGอการขับออกของNa+ และCl- เพิ่ม
มากขึ้น​

+
เมื่อขับ Na ออกจะทำให\มีการขับน้ำออก
เพิ่มมากขึ้น​ตามไปด\วย

ยายังสGงผลให\มีการขับ K+ และมีการดูด
กลับ Ca2+​
,-"."'/-(0$%/&1%.&(
Ø ใช#ลดความดันได# ในกรณีที่ไตมีการทำงานปกติ
Ø นำไปใช#ในการรักษาในกรณีที่มี Ca2+ สูงในป>สสาวะ (hypercalciuria) และ
ลดการเกิด calcium stones ได#
Ø รักษาอาการบวมน้ำที่เกิดจากภาวะหัวใจล#มเหลว
Ø ใช#รักษาโรคน้ำในหูไมYเทYากัน (Meniere disease)
2"+%(344%'&
Ø ทำให#เกิดภาวะ electrolyte imbalances เชYน hypokalemia
Ø สYงผลตYอระบบ Central nervous system (CNS) ทำให#เกิดการวิงเวียน สับสน
Ø หากใช#รYวมกับยากลุYม digitalis-like drugs จะมีผลเพิ่มผลข#างเคียงตYอการทำงาน
ของหัวใจ ทำให#เกิดภาวะหัวใจเต#นผิดจังหวะ (Cardiac arrhythmias)
Ø อาจเกิดภาวะ Hyperuricemia และทำให#เกิด Gout เพิ่มมากขึ้น
Ø ระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มสูง (Hyperglycemia)
,/#&">.
Ø ไม#เหมาะกับผู-ที่แพ- Sulfonamides อาจส#งผลทำให-เกิด
Steven Johnson syndrome
Ø อาจเกิดภาวะกล-ามเนื้ออ#อนแรง ในกรณีที่มี K+ ต่ำ
?>>@(+"#$%&"'*
Bumetanide
=%';/."*1
• ยาถูกดูดซึมที่ GI tract มีฤทธิ์ยับยั้ง Na-
K-2Cl co transporter ใน thick
ascending limb ​
• สRงผลใหVมีการขับ Na+ และ CL- มากขึ้น
อีกทั้งยังสRงใหVมีการขับ K+ , Ca2+ ,
Mg2+ อีกดVวย
• ยากลุRมนี้มีฤทธิ์แรงสุดในการขับปbสสาวะ
• นอกจากนี้ยังเพิ่ม Prostaglandin ที่ไต
ไดVดี
,-"."'/-(0$%/&1%.&
• ใช5รักษาภาวะบวมน้ำตDางๆ เชDน ภาวะน้ำทDวมปอดเฉียบพลัน ,
ภาวะบวมในโรคหัวใจล5มเหลว (congestive heart failure)
• ใช5รักษาความผิดปกติของสารอิเล็กโทรไลตdในเลือด เชDน
ใช5แก5 hyperkalemia , hypercalcemia
• ใช5เรDงขับสารพิษหรือยาที่เกินขนาด เชDน ใช5ขับ bromide และ
iodide
• ใช5รักษาความดันโลหิตสูง แตDมักไมDใช5เดี่ยวๆในการรักษา มักใช5ใน
สภาวะที่มี heart failure และ edema รDวมด5วย
2"+%(344%'&
ØเกิดพิษตYอหู (Ototoxicity) ทำให#การได#ยินน#อยลง สYวนมากเปnน
แบบไมYถาวร ดังนั้นห#ามใช#ยากลุYมนี้รYวมกับยาที่มีพิษตYอหูด#วยกัน
เชYน Aminoglycoside
ØElectrolyte ในเลือดผิดปกติ เชYน hyponatremia ,
hypokalemia , metabolic alkalosis
Øอาจทำให#เกิดภาวะ hyperuricemia ทำให#เพิ่มโอกาสเปnน gout
เพิ่มมากขึ้น
Øอาจทำให#เกิดภาวะ Dehydration
,/#&">.
• ระวังในผู#ปtวยที่แพ#ยา
sulfonamide
(ยกเว#น ethacrynic acid)
A>&/**"#1B*@/$".)(
+"#$%&"'*​
2@"$>.>-/'&>.%((/.+((3@-%$%.>.%

C1"->$"+% /.+ 0$"/1&%$%.%


=%';/."*1

แบRงตามกลไกการออกฤทธิ์
● 1. ยาที่ออกฤทธิ์ต0านฤทธิ์ของฮอร6โมน
aldosterone (aldosterone antagonist)

● 2. ยาที่ออกฤทธิ์ยับยั้ง Na+ channel


2@"$>.>-/'&>.%((/.+((3@-%$%.>.%
เปkน Aldosterone antagonist

คือ เข5าไปยับยั้งการทำงานของฮอรdโมน Aldosterone ที่มีหน5าที่ควบคุมสมดุลระหวDาง


น้ำและเกลือแรDในรDางกาย

โดยจะไปแยDงจับที่ Mineralocorticoid receptor

สDงผลให5ลดการดูดกลับของ Sodium (Na+) และลดการขับออกของ Potassium (K+)


ที่ Collecting tubule
C1"->$"+% /.+ 0$"/1&%$%.%
Ø ยากลุDมนี้จะไปแยDงจับ ที่ Na+ channel ทำให5การดูดกลับ Na+
น5อยลง ทำให5การขับ K+ ลดลงตามมา
Ø เกิดที่ collecting tubule
Ø ไมDเกี่ยวข5องกับ mineralocorticoids receptor
,-"."'/-(0$%/&1%.&(
● ปกติยากลุDมนี้จะใช5รDวมกับยา Thiazide หรือ Loop diuretic
● เพื่อรักษาอาการ Hypertension,Congestive Heart Failure,
refractory edema (การบวมตDางๆ)
ทำให&เกิด hyperkalemia
2"+%(
%44%'&
ยากลุ9มนี้จะไปมีผลต9อหัวใจ ทำให&
เกิด arrhythmias
,/#&">.(
● หVามใชVในคนที่มภี าวะการทำงานของไตผิดปกติ
● หVามใชVในผูVปmวยที่เปnนโรคตับ
● หVามใชVในผูVที่ใชVยาในกลุRม potassium-sparing diuretics อื่นๆ
● ยา Spironolactone มีฤทธิ์ของฮอรuโมนโปรเจสเตอโรนอยRางอRอน ๆ
หากใชVในขนาดสูงอาจทำใหVเกิดภาวะ gynecomastia (การขยายตัว
ของเนื้อเยื่อตRอมในเตVานมของผูVชาย), รอบเดือนผิดปกติในผูVหญิง
,/$D>."'(/.;E+$/*%(".;"D"&>$*
,/$D>."'(/.;E+$/*%(".;"D"&>$*

Acetazolamide Methazolamide
=%';/."*1(
( Carbonic anhydrase
Ø ยาที่มีผลยับยั้ง Enzyme
Ø ออกฤทธิท์ ี่ Proximal convoluted tubule
Ø ทำใหV H2CO3 ไมRสามารถเปลี่ยนเปnน น้ำ และ
คารuบอนไดออกไซดuไดV
Ø ผลสุดทVายคือ HCO3- ถูกขับออก มีผลทำใหV Na+,
K+ ถูกขับออกตามดVวย
Ø ทำใหVปbสสาวะเปnนเบส
,-"."'/-(0$%/&1%.&
Ø มักใช5ยากลุDมนี้รDวมกับการรักษาภาวะลมชัก (seizure disorder)
Ø ใช5เรDงการขับยาหรือสารพิษที่เปkนกรด
Ø ไมDนยิ มใช5ยากลุDมนี้ในการขับปwสสาวะ แตDใช5ในการรักษา Glaucoma
เนื่องจากยาสามารถลดการสร5าง aqueous humor
Ø ใช5ในการป{องกันและรักษา mountain sickness
Ø ใช5รักษาโรคเกาตd หรือภาวะ hyperuricemia
2"+%(344%'&(
Ø ปwสสาวะเปkนเบส จะไปลดการละลายของ calcium salt ทำให5มีโอกาสเปkนนิ่วในไตเพิ่มขึ้น
Ø ชาตามปลายมือปลายเท5า (parasthesia)
Ø มึนเวียนศีรษะ (drowsiness)
Ø K+ ต่ำในเลือด (hypokalemia)
Ø Hyperchlorimia metabolic acidosis (เพราะเพิ่มการขับ HCO3-)
,/#&">.(
Ø อาจเกิดการแพ+ยา (เพราะยามีโครงสร+าง
คล+าย sulfonamide)
Ø ห+ามใช+ในผู+ปJวยโรคตับแข็ง (Liver cirrhosis)
F*1>&"'(+"#$%&"'*
Ø Osmotic diuretics หรือ Osmotic
agents เปnนยาที่มีฤทธิ์เกี่ยวกับ Osmotic
Ø ลดการดูดกลับของน้ำจากเนื้อเยื่อตRางๆกลับ
เขVาสูRกระแสเลือด
Ø ลดการดูดกลับของโซเดียม
Ø เกิดที่ proximal tubule, loop of henle
และ collecting duct
Ø ยากลุRมนี้ไดVแกR Mannitol , Glycerin ,
Urea และ Hypertonic saline
,-"."'/-(0$%/&1%.&
Øยากลุ&มนี้ไม&ได-ใช-ขับป4สสาวะโดยตรง( แต&นำไปใช-แก-ป4ญหาการลดความดันหรือ
ปริมาตรน้ำตามส&วนต&างๆของร&างกาย
Øเช&น ใช-รักษาต-อหินได- เพราะสามารถลดความดันภายในลูกตา ลดความดัน
ภายในสมองเนื่องจากสภาวะสมองบวม
Øยากลุ&มนี้จะใช-กรณีฉุกเฉินเท&านั้น เช&น ภาวะไตวายเฉียบพลัน
2"+%(344%'&
( ร&างกายขาด
Ø หากใช-ปริมาณมากจะทำให-
น้ำหรือปวดหัว คลื่นไส- เนื่องจากใช-ยาปรับ
ความดันอย&างเฉียบพลัน

You might also like