You are on page 1of 29

เครื่องปรับอากาศ “แคเรียร”

________________________________________________________
คูมือแนะนําการติดตั้งเครื่องสงลมเย็น รุน 39G

สารบัญ คําเตือน
1.0 ความปลอดภัยในการทํางาน 1 a) ตรวจสอบน้ําหนักและอุปกรณที่จะทําการยก เพื่อใหแน
2.0 การตรวจสอบกอนการติดตั้ง 2 ใจวาเครื่องมือที่ใชยกสามารถใชงานไดอยางปลอดภัย
3.0 การยก 2 b) ตรวจสอบการหมุนเวียนเทของอากาศ เมื่อมีความ
4.0 การติดตั้ง 3 ตองการเชื่อมหรือตัดชิ้นสวนตางๆ
5.0 การจําแนกแยกแยะเครื่อง 5 c) หามเปดประตูเครื่องขณะพัดลมยังคงทํางานอยู
6.0 โครงสรางการสวนรอยตอ 6 d) ผูที่ไมเกี่ยวของกับเครื่องไมควรอยูใกล
7.0 มอเตอรพัดลมและพูเลย 7 e) มอเตอรพัดลมควรมีการติดตั้งสายดินอยางเหมาะสม
8.0 การติดตั้ง Inlet Vane Actuator 8 เพื่อปองกันไฟฟารั่ว
9.0 การตอทอและ expansion coil 8 f) ไมควรเขาใกลพัดลมขณะพัดลมกําลังทํางาน
10.0 แนะนําการเดินเครื่อง 11 g) ตัดกระแสไฟฟาที่จายใหมอเตอรพัดลมทุกครั้งที่มีการ
11.0 แนะนําการบริการ 12 ทํางานเกี่ยวกับพัด (แขวนปายแสดงหามใชงานและล็อค
การใช)
1.0 ความปลอดภัยในการทํางาน h) ตัดกระแสไฟฟาที่จายใหทุกครั้งที่มีการทํางานหรือหรือให
เครื่องเปาลมเย็น 39G ไดรับการออกแบบใหมีการใชงาน บริการ (แขวนปายแสดงหามใชงาน และล็อคการใช)
ตามสภาพการออกแบบและเหมาะสมกับสถานที่ติดตั้ง ใน i) ไมควรใชงานเครื่องและอุปกรณเกินกวาแรงดันทดสอบ
การติดตั้งควรใหผูที่ไดรับการรับรองหรือมีความรูและประสบ j) เมื่อมีการตัด เชื่อมหรือการทําใหเกิดประกายไฟตองมี
การณในการติดตั้งในงานดังกลาว เพื่อปองกันอันตรายที่อาจ อุปกรณปองกันชิ้นสวนที่อาจติดไฟไดและมีอุปกรณที่ใช
เกิดขึ้นตอบุคคล อุปกรณและทรัพยสินที่อาจเสียหายเนื่องจาก ในการดับเพลิงอยูใกลกับจุดปฏิบัติงาน
การทํางานของเครื่อง
2.0 การตรวจสอบกอนการติดตั้ง 3.0 การใชเชือกยก
2.1 ตรวจสอบความถูกตองของเครื่องตรงตามตองการ 3.1 ใน 39G ทุกรุนมีการออกแบบใหมีตําแหนงรูเชือกยกและ
2.2 ตรวจสอบความเสียหายของเครื่องและแจงความเสียหาย ควรใชคูกับสลักรอยเชือก
ที่เกิดขึ้นกับบริษัทฯ
2.3 Figที่ 1 แสดงวิธีและตําแหนงเชือกยกเครื่องลงจากรถไป
ยังที่จัดเก็บ
2.4 ในกรณีที่เครื่องตองทําการจัดเก็บเกินกวา 2 สัปดาหให
ทําการปฏิบัติดังนี้
a) จัดเก็บในที่แหงและแข็งแรง ไมทําใหชิ้นสวนและอุปกรณ
ไดรับความเสียหาย ไมควรเก็บไวในที่ที่มีความสั่น
สะเทือนหรือเคลื่อนที่ได
b) ถอดสายรัดออก และทําปายแสดงสถานะ
c) เครื่องที่จัดสงจากโรงงานจะมีพลาสติกหุมปองกัน อาจ
ชํารุดเสียหายระหวางการขนสงหรือหลังการตรวจมอบ Fig. 2 Shipping Bracket
ควรใชพลาสติกหุมเครื่องอีกครั้งเมื่อตองจัดเก็บ
d) ในกรณีที่มีการจัดเก็บเครื่องเปนเวลานานๆ (มากกวา1 ขอควรระวัง
เดือน)ใหทําการหลอลื่นแบริ่งและทําการหมุนพัดลมดวย ถามีการใชรถยกใหทําการยกเครื่องจากจุดที่หนักที่สุด
มือเปลา เพื่อปองกันการกัดกรอนของสนิม 3.2 เครื่องที่จัดสงแบบประกอบเสร็จสมบูรณหรือแบงเปน
สวนๆตามขนาดและตามความตองการ เครื่อง 39G
สามารถประกอบเปนสวนๆไดตามFigที่ 3
3.3 ไมควรเคลื่อนยายเครื่องออกจากฐานรองหรือแกะ
พลาสติกออก หากยังไมพรอมที่จะทําการติดตั้ง
ขอสําคัญ
a) หามยกเครื่องในสวนที่คอยลมีการตอกัน
b) หามถอดฝาครอบทอออกจนกวาจะมีการตอทอ
c) หามเช็ดสารหลอหลื่นที่เพลาพัดลมออก
d) พัดลมและมอเตอรที่ประกอบจากโรงงาน สายพานและ
พูเลยจะประกอบมาพรอมปรับตั้ง แตจะตองทําการปรับ
ตั้งอีกครั้งหลังจากการติดตั้ง
e) ขาล็อคชุดพัดลมปองกันชุดพัดลมเคลื่อนที่ในขณะขนสง
ทําการถอดขาล็อคชุดพัดลมออกเมื่อเครื่องทําการติดตั้ง
เสร็จตาม Fig ที่ 2
f) หามเคลื่อนยายเครื่องลงจากฐานไม นอกจากตองนําไป
ติดตั้งใชงาน
Fig.1 Rigging of Unit
พัดลมทํางานระยะของคา " C " ตองมีคาเทากับคามากที่สุด
ของ Negative static pressure
DIMENSION OF FUNCTIONS (MODULES)
LENGTH OF SECTIONS IN MILLIMETRES
NO. OF MODULES 25 MM CASING
1M 100
2M 200
3M 300
4M 400
5M 500
6M 600
7M 700
8M 800
9M 900
10M 1000
Fig. 3 Dimension of Functions
หมายเหตุ : Fig. 4 Installation At Ground Level
เพิ่ม 110 มม.สําหรับโครงสรางอลูมิเนียม

4.0 การติดตั้ง
4.1 บริเวณและพื้นที่ติดตั้งเครื่อง
a) เมื่อตองการติดตั้งเครื่องบนพื้นหรือแขวนตองทําการยก
พื้นหรือแขวนตาม Figที่ 4 และ 5
b) ในการติดตั้งควรมีพื้นที่ในการใหบริการตาม Figที่ 7(ถอด
เพลา คอลย ฟลเตอร มอเตอร และอื่นๆ)
c) ทอระบายน้ํากลั่นตัวตองมีขนาดเหมาะสม
4.2 การระบายน้ํากลั่นตัว
ติดตั้งทอดักน้ํากลั่นตัวที่ทอถาดน้ําออกของเครื่อง
เพื่อปองกันการดูดน้ํากลับเขาเครื่อง โดยใชทอมาตราบาน
ขนาด 40 มม. แสดงใน Fig ที่ 6
การคํานวณหา Negative static pressure ในกรณี Fig. 5 Suspended Installation
ที่ไมทราบสามารถใช Fan total static pressure และสมมุติ
ฐานใหฟลเตอรสกปรก
จาก Fig ที่ 6 ระยะของคา " A " ตองมีคาเทากับหรือ
มากกวา Negative static pressure ระยะของคา " B " ตองมี
คาเทากับหรือมากกวา 1.5 Negative static pressure เมื่อ
Fig. 6
4.3 Typical Assemblies, Dimension And Service Areas

Fig. 7 Typical Assemblies Dimension And Service Areas

4.4 เครื่องมาตราฐาน 39G ที่ผลิตจากโรงงานจะมีการติดตั้ง


สปริงและลูกยางลดการสั่นสะเทือนอยูภายใน ไมมีความจํา
เปนที่จะตองติดตั้งอุปกรณลดการสั่นสะเทือนภายนอกเครื่อง
เพิ่มเติม
4.5 ในกรณีที่เครื่อง 39 G จําเปนตองติดตั้งบนฐานยก
ระดับ(Platform) โครงสรางจะตองแข็งแรงและรับน้ําหนักของ
เครื่องขณะเครื่องกําลังทํางานอยู
5.0 การจําแนกแยกแยะเครื่อง
เครื่อง 39G ทุกตัวจะมีสติกเกอรแสดงรายละเอียดของสินคา
ติดอยูที่ดานนอกตําแหนงประตูพัดลม ผูติดตั้งสามารถตรวจ
สอบชิ้นสวนและอุปกรณตางๆที่ใชจากผูผลิต
6.0 โครงสรางการสวนรอยตอ

Fig. 9.1 Joining Bracket


7.0 มอเตอรพัดลมและพูเลย 7.4 การปรับตั้งสายพาน
เครื่อง 39G ในกรณีที่มีมอเตอรและพูเลยประกอบมาพรอมกับ (i) การปรับตั้งสายพานรอง B สามารถทําไดดังนี้
เครื่องหรือไมก็ตาม โรงงานจะทําการประกอบฐานยึด (a) ล็อครองพูเลยและเพิ่มระยะหางของพูเลยจนสายพานตึง
มอเตอรพัดลมมาพรอมกับตัวเครื่องเสมอ พอดี(ไมควรใชเหล็กงัดสายพาน)
7.1 มอเตอรและพูเลยทางโรงงานติดตั้งมาพรอมเครื่อง (b) ทําการหมุนพัดลมตรวจการบิดตัวของสายพานความ
การปรับตั้งแนวระนาบมอเตอรและและพูเลยจะถูกปรับตั้ง หยอนของสายพาน
จากโรงงาน แตผูติดตั้งจะตองทําการปรับตั้งใหมอีกครั้งเมื่อ (c) การปรับตั้งความตึงของสายพาน เมื่อใชงานผานไป 24
เครื่องทําการติดตั้งเปนที่แลวเสร็จ ชั่วโมง ผูติดตั้งตองทําการปรับตั้งใหมอีกครั้งอันเนื่องมา
การสายพานเกิดการยืดตัวเมื่อเริ่มใชงาน

(ii)ขอเสนอแนะการปรับตั้งความตึงของสายพานโดยใชตัวแปร
(a) ใชตารางที่แสดงคา K ตามระยะหางของพูเลย
(b) ระยะยุบตัวของสายพานสายพานดวยแรง K มีคา 15
มม.ตอความระยะหางของพูเลย 1 เมตร
(c) คาแรงสูงสุดและต่ําสุดของ แรง K สามารถดูไดจากตา
Fig. 10 Sheave Alignment ราง เมื่อความตึงต่ํากวาคาต่ําสุดใหปรับไปที่คาสูงสุด
เสมอ
7.2 มอเตอรและพูเลยทางโรงงานไมไดติดตั้งมาพรอมเครื่อง Deflection Force (Newton)
มอเตอรที่เลือกมีแรงมาและคาทางไฟฟาตรงตามความ Gross section dia.
Deflection force(Newton)
SPZ SPA SPB SPC
Of smaller sheave
ตองการ 63-80
min
12
Max
19
min
-
Max
-
min
-
Max
-
min
-
Max
-
90-122 16 24 19 29 - - - -
7.3 การติดตั้งพูเลย 125-160
180-224
19
19
28
29
26
30
40
46
33
43
50
64
-
58
-
87

ตืดตั้งพูเลยมอเตอรและพัดลมเขากับแกนเพลาโดยใหมีปลาย 250-355
400-630
-
-
-
-
32
-
48
-
51
55
77
82
79
103
119
154

เพลายื่นออกเล็กนอย โดยตองขัดหรือทําความสะอาดสารที่
เคลือบเพลาออกและมั่นใจวาเพลาสะอาดไมมีเศษเหล็ก ทา
สารหลอลื่นแลวจึงใสที่พูเลย ตรวจสอบใหแนใจวาใสพูเลยถูก
ตอง ปรับตั้งแนวระนาบแลวจึงทําการล็อค Fig ที่ 10 แสดงวิธี
การตรวจเช็คแนวพูเลย
8.0 การติดตั้ง Inlet Vane Actuator(OPTIONAL) 9.0 ทอสารทําความเย็นและ expansion coil
8.1 Backward Curve - Fan Inlet vane linkage จะถูกติด การแบงคอยลออกเปน 2 ,4 หรือ 8 สวนขึ้นอยูกับขนาดเครื่อง
ตั้งมาพรอมกับพัดลมที่ทางเขา ในการติดตั้งตรวจสอบการ และการจัดเซอรกิตคอยล ทุกๆเซอรกิตที่แบงจะตองมี
ทํางานไดดังนี้ distributor ,expansion valve และ ทอ suction ตําแหนงของ
a) การจัดตําแหนง Actuator ตําแหนงของ Inlet Vane ทอจะอยูดานลมออก (air leaving side) ดังตัวอยางในFig 12
Actuator อยูดานใน Fan Section และขึ้นอยูกับขนาด
เครื่องและพัดลม คําแนะนํา
b) ตรวจสอบ Linkage กอนที่จะทําการตอ Actuator เขา คอยลทุกตัวจะอัดอากาศแลงหรือไนโตรเจนอยูภายในเพื่อ
กับ Linkage ตรวจแนวของ Actuator กับแกนตอ ปองกันความชื่น ดังนั้นไมควรถอดฝาปดคอยลออกจนกวาจะ
สามารถหมุนปและเปดสุดไดอยางไมติดขัด มีการติดตั้งทอ และถายังไมมีการใชงานควรอัดไนโตรเจนไว
ภายในคอยลเสมอ ในการตอทอเขากับระบบจะตองทําความ
Fan Type Backward Max Torque Force (Nm) สะอาดทอทุกครั้งและควรตอเซอรกิตที่อยูดานลางกอนเสมอ
curved
BCG 400 8.3
BCG 450 12.3
BCG 500 18.6
BCG 560 19.6
BCG 630 27.5
BCG 710 39.2
BCG 800 63.8
BCG 900 78.5
BCG 1000 98.1

Fig. 12 Example of Direct-Expansion Coil


Distributor And Suction Connections
9.1 ทอ Suction
การตอทอ Suction แบบคอยล face spilt ใน Fig ที่ 13 และ
Figที่ 14 ตอทอ Suction แบบคอยล row spilt ขนาดทอจาก
คอยถึงทอรวมจะตองมีขนาดเทากันตลอด จากเอกสารคูมือ
แคเรียร แนะนําไววาความดันสูญเสียภายในทอประมาณ 2.5
องศาฟาเรนไฮล จาก Fig6เปนการตอทอไปยังคอมเพรสเซอร

Fig. 14 Row Split Coil Suction Line Piping

9.2 ทอ Expansion Valve


Distributor และ Thermostatic expansion valve ทางโรง
งานหรือผูติดตั้งเปนผูจัดหา
หมายเหตุ :
โรงงานจะเปนผูเลือกและประกอบ Distributorเขากับคอยล

Fig. 13 Force Split Coil Suction Line Piping


Fig. 15 Double-Circuited Face Split Coil Manifolding (Typical)

Fig. 16 Suction Line Riser Piping

Fig. 17 Double-Circuited Row Split Coil Manifolding(Typical)


10.0 แนะนําการเดินเครื่อง ตรวจสอบความเร็วรอบของพัดลมดวยเครื่องมือวัดหรือการ
10.1 เก็บขยะและวัสดุกอสรางออกจากตัวเครื่อง คํานวณวาตรงตามที่ไดออกแบบไวหรือตามคาที่แสดงไวหรือ
10.2 ประกอบ filter media เขากับเครื่องและตองมีคุณสมบัติ ไม ถามีคาแตกตางจากการวัดหรือการคํานวณมากใหทําการ
ตรงตามความตองการ แกไขหรือติดตอกับบริษัทฯ
10.3 ตรวจความเรียบรอยของมอเตอร พัดลมและการเชื่อม 10.10 ตรวจสอบทิศทางการหมุนของพัดลมวาถูกตองหรือไม
ตอ ชุดแบริ่งที่ประกอบมากับพัดลมจะอัดจารบีหรือสารหลอ โดยดูจาก Fig 18
ลื่นมาพรอมใชงานแลว เมื่อใชงานแลวควรตรวจเช็คและอัด
เติมในเต็ม
10.4 ตรวจสอบความเรียบรอยของ inlet guide vanes และ
dampers
10.5 ตรวจเช็คการยึดของแบริ่งและสกรู
10.6 ตรวจเช็คการยึดของพัดลม และพูเลย
10.7 ตรวจเช็คแนบระนาบของพูเลยและความตึงของสาย
พาน Backward Curved Forward Curved
10.8 สิ่งสําคัญมาก กอนปอนกระแสไฟฟาเขาเครื่องใหทํา Fig. 18
การตรวจวามีสิ่งใดที่จะเขาไปขวางการหมุนของพัดลมและ
มอเตอรหรือไม ทําการถอดขาล็อคชุดพัดลมสําหรับใชในการ 10.11 ตรวจสอบการสั่นสะเทือน ถามีการสั่นมากๆใหทําการ
ขนสงออก ตรวจสอบดังนี้
10.9 ตรวจสอบความเร็วรอบของพัดลมโดยใชสูตรคํานวณ a) ในเครื่องที่มีการใชพูเลยชนิดปรับรองไดเพื่อใชในการ
คาความเร็วรอบของมอเตอรอานจาก Name plate มอเตอร ปรับปริมาณของลมในเหมาะสมกับการใชงาน ในการ
และวัดขนาดพูเลยมอเตอรและพูเลยพัดลม ปรับตั้งอาจไมเหมาะสมกับชนิดของพูเลยและการล็อค
ตําแหนงอาจไมดีพอทําใหมีการคลายตัว
Fan RPM = Motor RPM x Motor Pulley OD b) แนวระนาบไมถูกตอง
Fan Pulley OD c) เลือกใชสายพานไมถูกตอง หรือสายพานชํารุดหรือหลวม
d) พัดลมหรือพูเลยยึดไมแนน
Name plate Motor RPM = 1500 e) แบริ่งหลวม
f) ขายึดแกนเพลาหลวม
Motor Pulley OD = 200 mm g) มอเตอรไมสมดุล
Fan Pulley OD = 300 mm h) พูเลยไมสมดุล
i) สปริงลดการสั่นสะเทือนไมเหมาะสม
Fan RPM = 1500 x 200 / 300 = 1000 j) พัดลมไมสมดุล
k) มีวัสดุที่ไมพึงประสงคติดที่พัดลม
l) ขายึดฐานพัดลมสําหรับขนสงไมไดถูกถอดออก
10.12 สําหรับคอยลที่ใชกับระบบน้ําเย็นและน้ํารอน 11.4 การทําความสะอาดคอยลสามารถทําไดโดยการใชน้ําที่
การไลอากาศออกจากคอยลทําไดดังนี้ มีแรงดันไมสูงมากนักฉีดลางที่คอยล ควรตรวจสอบทอระบาย
a) ทําการปดวาลวน้ําทั้งทางเขาและทางออกที่ตอกับคอยล น้ําทิ้งดวยวาอุดตันหรือไม
b) เปดวาลวไลอากาศที่ตัวคอยลทั้งหมดแตไมเกิน 2 จุด 11.5 Winter shutdown สําหรับคอยลน้ําในที่นี้ขอไมกลาวถึง
c) ถาวาลวสกปรกหรือตันใหทําความสะอาดหรือเปลี่ยน เนื่องจากไมเหมาะสมกับสภาวะในประเทศไทย
ใหม 11.6 การถอดคอยล
d) เปดวาลวน้ําเขาและน้ําออก ใหน้ําดันอากาศจากภายใน a) พื้นที่ในการใหบริการตาม Fig ที่ 6 และ 7
คอยลออกจนหมด สังเกตเสียงและน้ําที่ออกมาจาก b) สําหรับคอยลระบบน้ําใหทําการปดวาลวน้ํา
วาลวไลอากาศ c) ถอดทอน้ําที่ตอเขาคอยล
e) ปดวาลว d) ถอดฝาปดคอยลออก(ถอดสกรูที่ยึดฝาดานในเครื่องออก)
คําเตือน e) ถอดสกรูยึดคอยลออก
สําหรับระบบน้ํารอนใหทําการไลอากาศในระบบ f) เลื่อนคอยลออกดานขางเครื่อง
ขณะที่น้ํายังไมรอนเทานั้น g) ยกคอยลดวยขอเกี่ยวที่ support coil หามยกที่ทอน้ําหรือ
ที่ตัวคอยล
10.13 สําหรับระบบสารทําความเย็น h) การใสคอยลกับเขาเครื่องใหทําตามวิธียอนกลับ
ทําการเติมสารทําความเย็นตามคําแนะนําของคูมือ i) ตอทอเขากับคอยลใชสารกันซึมทาที่ทอและขันทอใหแนน
ติดตั้ง และการบํารุงรักษาหรือใหสอดคลองกับชุดระบาย 11.7 เพลาพัดลมและลูกปน
ความรอน (condensing unit) a) ตัดกระแสไฟฟาที่ตอเขามอเตอรพัดลม
b) ใชทอนไมรองฐานชุดพัดลม เพื่อปองกันการยุบตัวของ
11.0 แนะนําการบริการ สปริงลดการสั่นสะเทือน ทําใหสามารถปฏิบัติงานได
11.1 ทําการศึกษาสัญลักษณของความปลอดภัย และการใช c) คลายฐานมอเตอรสําหรับปรับสายพานใหหลวมและทํา
เครื่องมือที่ถูกตองและอุปกรณปองกัน การถอดสายพาน
11.2 ใขเครื่องมือวัดหรือการคํานวณตาม ขอ 10.9 d) คลายสกรูที่ยึดพูเลยกับเพลาและทําการถอดพูเลยออก
11.3 การปลี่ยนมอเตอรพัดลมทําไดดังนี้ e) คลายสกรูยึดลูกปนและปลอก
a) ตัดกระแสไฟฟาที่จายใหกับมอเตอร f) การถอดลูกปนใหทําตามขอ 11.8
b) ถอดสายไฟที่ตอกับมอเตอรออก 11.8 การเปลี่ยนพัดลม
c) ทําการคลายนอตยึดฐานมอเตอร คลายนอตปรับตั้ง a) ในเครื่อง 39G มีการเลือกใชพัดลมไดอยู 2 ชนิด
ความตึงของสายพานจนสายพานหลวม 1) Backward Curve
d) ทําการถอดสายพานออก 2) Forward Curve
e) ถอดนอตออกจากฐานมอเตอร b) สําหรับพัดลมเมื่อเพลาถูกออกพัดลมจะอยูผานในโครง
f) ถอดพูเลยออก พัดลมตองทําการถอดทอลมออกเพื่อนําพัดลมออก
g) ถอดมอเตอรออก
h) ติดตั้งมอเตอรใหม ทําการประกอบยอนกลับตามขั้น คําเตือน
ตอนการถอด ตรวจสอบสายพานและแนวระนาบของพู 1) ปองกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับพัดลมจากการถอด
เลย ตามขอ 7.3 เพลา
i) ทําการตอสายไฟเขากับมอเตอร ตรวจสอบทิศทางการ 2) ใชทอนไมรองฐานชุดพัดลม เพื่อปองกันการยุบตัวของ
หมุน ตาม ขอ 10.10 สปริงลดการสั่นสะเทือน
3) ในกรณีที่ประตูบริการอาจไมตรงกับตําแหนงถอดเพลา
อาจจะตองทําการถอดฝาออกเพื่อใหบริการ เมื่อให
บริการและประกอบเขาตองทําการซีลฝาใหเรียบรอย
4) ในการถอดเพลาและลูกปนควรทําภายนอกเครื่อง
5) ถอดนอตที่ยึดโครงออกทั้งหมด
6) ถอดนอตยึด inlet guide vane ออก
7) ถอดถอดเพลาและพัดลมออก

11.9 การหลอลื่น
ลูกปนพัดลมตองทําการตรวจสอบและเติมทุกๆ 3 เดือน
11.10 ฟลเตอร
ในเครื่อง 39 G ที่จัดสงจากผูผลิตจะมีทั้งชนิดที่รวมฟลเตอร
และไมรวมฟลเตอร แตฟลเตอรโดยทั้งไปแบงได 3 ชนิด
a) ฟลเตอรสําหรับความเร็วลมสูง(HVF)
b) ฟลเตอรสําหรับความเร็วลมต่ํา(LVF)
c) ฟลเตอรแบบถุง(BF)
d) HAPA Filter
หมายเหตุ :
ฟลเตอรสําหรับความเร็วลมสูงและฟลเตอรสําหรับความเร็ว
ลมต่ํา(LVF)ทําจากอลูมิเนียมสามารถถอดลางไดและไมได
ประสิทธิภาพในการกรองอากาศที่ความหนา 48 มม. 85% -
93 % ตามมาตรฐาน ASHRAE52 - 76.
ฟลเตอรแบบถุง(BF)ไมสามารถถอดลางไดตองเปลี่ยนใหมทุก
ครั้งเมื่อหมดอายุการใชงาน โดยที่ความยาวถุง 600มม. จะมี
ความสามารถในการกรอง 85 % ตามมาตรฐาน ASHRAE52
- 76

You might also like