You are on page 1of 5

บน–4 บทนํา

ขั้นตอนการทํางานที่ถูกตองและ
มีประสิทธิภาพ
ตารางขนาดตัวถัง 1. การถอด
(ก) การวัดขนาดกอนถอด
บน (1) เมื่อทําการถอดหรือตัด ใหทําการวัดขนาดของตัวถัง
ตถ ตามตารางแสดงขนาดตัวถังกอนทุกครั้งเสมอ แลวจึง
ทําการดึงตัวถังหรือเฟรมที่เสียหายใหคืนรูปเดิม
ขต
สค
F33020

บริเวณที่ตัดได (ข) พื้นที่ในการตัด


(1) ใหตัดสวนที่เปนเสนตรงเสมอและควรหลีกเลีย่ งจุดที่มี
การเสริมความแข็งแรง

สวนโคง
บริเวณที่เสริมความ
แข็งแรงไว
F33021

(ค) ขอควรระวังในการตัดหรือเจาะ
(1) ตรวจดูบริเวณดานหลังของจุดที่เจาะหรือตัดกอนวาไม
มีทอ สายไฟหรืออื่นๆ ที่อาจเสียหายไดขวางอยู
หมายเหตุ:
ดูรายละเอียดเรื่อง “ขอควรระวังในการทํางานเกี่ยวกับ
ชิ้นสวนที่เกี่ยวของ” หนา บน-9
ผิด F33022

(ง) การถอดชิ้นสวนที่อยูติดกัน
(1) เมื่อจะถอดชิ้นสวนที่อยูติดกับแผงตัวถัง ตองใชเทป
หรือกระดาษกาว ติดที่เครื่องมือและผิวตัวถังรอบๆ
เพื่อปองกันความเสียหาย
หมายเหตุ:
ดูรายละเอียด เรือ่ ง “ขอควรระวังในการทํางานเกีย่ วกับ
F33007
ชิ้นสวนที่เกี่ยวของ” หนา บน-9
บทนํา บน–5
2. การเตรียมการเพื่อการติดตั้ง
(ก) การเชื่อมสปอท (Spot Weld)
นอยกวา (1) การเชื่อมแผงตัวถังที่มีความหนาเกิน 3 มม. (0.12 นิ้ว)
3 มม. ใหใชการเชื่อมมิกซ (แกสเฉื่อย) สําหรับการเชื่อมปดรู
(Plug Weld)
หมายเหตุ:
การเชื่อมสปอทไมควรใชในการเชื่อมแผงชิ้นสวนตัว บน
F10011A
ถังที่มีความหนารวมมากกวา 3 มม. (0.12 นิ้ว)
(ข) การทาน้ํายาไพรเมอรกอนเชื่อม (Spot Sealer) ตถ
(1) ขัดลอกสีของชิ้นสวนใหม ตรวจดูที่จะทําการเชื่อม
เสร็จแลวทาน้ํายาไพรเมอร (Spot Sealer) ขต
สค
F33008

(ค) การเจาะรูสําหรับการเชื่อมปดรู (Plug Welding)


(1) สําหรับบริเวณที่ใชการเชื่อมสปอทไมไดใหใชอุปกรณ
เจาะรูหรือสวานเจาะรูเพื่อใชวิธีการเชื่อมปดรู
ขอมูลอางอิง มม. (นิ้ว)
ความหนาของจุดที่เชื่อม ขนาดของรู
นอยกวา 1.0 (0.04) 5 (0.20) หรือโตกวา
อุปกรณเจาะรู 1.0 (0.04) – 1.5 (0.06) 6.5 (0.26) หรือโตกวา
1.7 (0.07) – 2.3 (0.09) 8 (0.31) หรือโตกวา
F33009

2.4 (0.09) ขึ้นไป Ø 10 (0.39) หรือโตกวา


(ง) ขอควรระวังเพื่อความปลอดภัยสําหรับอุปกรณไฟฟาในรถ
(1) ขณะทําการเชื่อม อุปกรณไฟฟาภายในรถอาจไดรับ
อันตรายจากกระแสไฟฟาที่ไหลผานตัวถังรถ
(2) กอนลงมือปฏิบัติ ใหปลดขั้วลบของแบตเตอรี่และตอ
สายกราวดของเครื่องเชื่อมที่ตัวถังใกลๆ จุดที่เชื่อม
F33023

(จ) การตัดชิ้นสวนสําหรับนํามาตอ
เลื่อยลม 20 - 30 มม. (ซอนกัน) (1) สําหรับการตัดชิ้นสวนใหมกับชิ้นสวนที่ตัวรถ ควรให
ขอบของชิ้ น สว นใหมซอ นกับชิ้นสวนเดิมประมาณ
20-30 มม. (0.79-1.18 นิ้ว)

F33024
บน–6 บทนํา

3. การติดตั้ง
(ก) การวัดขนาดกอนเชื่อม
(1) ทําการวัดขนาดตัวถังกอนการติดตั้งตัวถังดานลางหรือ
ชิ้นสวนเครื่องยนต เพื่อใหแนใจวาประกอบไดถูกตอง
เมื่อติดตั้งเสร็จแลวใหตรวจเช็คความเรียบรอยอีกครั้ง
บน
F33025

ตถ (ข) ขอควรระวังในการเชื่อม
(1) จุดที่เชื่อมตองมีจํานวนดังตอไปนี้
ขต การเชื่อมสปอท: 1.3 x จํานวน จุดเชื่อมจากโรงงาน
การเชื่อมปดรู: มากกวาจํานวนจุดเชื่อมจากโรงงาน
สค (2) การเชื่อมปดรูตองใชเครื่องเชื่อมมิกซ (MIG) อยาใช
การเชื่ อ มแก ส หรื อ เชื่ อ มทองเหลื อ งตรงจุ ด ที่ ไ ม ไ ด
ผิด F10017A
กําหนดไว
(ค) การเจียรแตงรอยเชื่อมขั้นสุดทาย
(1) ตรวจเช็ครอยเชื่อมที่เสร็จแลวทุกครั้งเพื่อใหแนใจวา
แข็งแรงดี
(2) การเจียรแตงรอยเชื่อม ตองอยาใหมากจนเกินไป
เพราะจะทําใหรอยเชื่อมไมแข็งแรง

ถูก ผิด
F10018A

รอยเชือ่ มเดิม (ง) ตําแหนงในการเชื่อมสปอท


(1) พยายามอยาเชื่อมทับรอยเชื่อมเดิม

รอยเชือ่ มใหม
F33010

(จ) ขอควรระวังในการเชื่อมสปอท
(1) ลักษณะของปลายหัวเชื่อมนั้น มีผลตอความแข็งแรง
ของรอยเชื่อม
(2) ตรวจดูใหแนใจทุกครั้งวาไมมีสีติดอยูที่ตัวเชื่อมและ
ผิวงานที่จะเชื่อม
(3) ใชหินขัดรอยไหมปลายหัวเชื่อมที่เกิดขึ้นระหวางการ
เครื่องมือแตงหัวทิพ F10019A
เชื่อม
บทนํา บน–7

Sealer Gun
4. การปองกันสนิมกอนการพนสี
(ก) การซีลเลอรตัวถัง
(1) เพือ่ ปองกันน้าํ และการเกิดสนิม ใหซลี ตัวถังบริเวณตะเข็บ
แผงประตู ฝากระโปรง และบริเวณอื่นๆ เสมอหลัง
การซอม
(ข) การพนสีปองกันสนิมใตทองรถ
(1) เพื่อปองกันการเกิดสนิมและปองกันตัวถังเสียหายจาก บน
F33011
เศษหินที่ปลิวกระแทกใตทองรถ ใหพนน้ํายาปองกัน
สนิมใตทองรถและซุมลอดานใน
ตถ
5. การปองกันสนิมหลังการพนสี
(ก) การพนน้ํายากันสนิม (Wax)
ขต
(1) เพื่อปองกันสนิมบริเวณที่ไมสามารถพนสีได ใหพน
น้ํายาปองกันสนิม (Wax) ที่บริเวณดานในขอบประตู
สค
ฝากระโปรงและบริเวณรอบๆ บานพับหรือแนวเชื่อม
F33012 ดานในโครงรถและตัวถัง ฯลฯ

F33013
บน–8 บทนํา

6. การปองกันสนิมโดยการพนสี
ขอมูลอางอิง:
การพนสีนั้นจะชวยปองกันไมใหเกิดสนิมและปกปอง
ผิวตัวถังจากความเสียหาย ในสวนนี้จะกลาวถึงการ
พนสีกันกระเทาะ เพื่อปองกันสนิมโดยเฉพาะ
(ก) สีปองกันการกระเทาะ
บน (1) เพือ่ ปองกันสนิมและปกปองผิวตัวถังจากความเสียหาย
ตถ จากเศษหินที่กระเด็นถูกตัวรถ ใหพนสีกันกระเทาะ
บริเวณชายบันได ซุม ลอดานในและแผงใตกนั ชน ฯลฯ
ขต หมายเหตุ:
การพนสีชนิดนี้ขึ้นอยูกับรุนของรถ หรือจุดที่จะพน
สค บางกรณีจําเปนตองพนสีกันกระเทาะนี้กอนการพนสี
รองพื้นชั้นที่สอง หรือหลังจากการพนสีทับหนา

y พนสีกันกระเทาะหลังพนสีทับหนา y พนสีกันกระเทาะกอนพนสีชั้นที่สอง

สีกันกระเทาะ สีทับหนา
สีรองพื้นชั้นที่ 2
สีทับหนา สีกันกระเทาะ
สีรองพื้นชั้นที่ 2
สีรองพื้นชั้นที่ 1 สีรองพื้นชั้นที่ 1
โลหะ โลหะ
F10024A

You might also like