You are on page 1of 22

ฟิสิกส์ (PHYSICS) บทนำ

วิชาวิทยาศาสตร์ (Science) คือ วิชาซึ่งศึกษาเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติด้วย


กระบวนการค้นคว้าหาความรู้ที่มขี ั้นตอนมีระเบียบแบบแผน
วิชาวิทยาศาสตร์ แบ่งได้เป็น 2 สาขาหลัก ได้แก่
1. วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เน้นศึกษาเฉพาะส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต
2. วิทยาศาสตร์กายภาพ เน้นศึกษาเกี่ยวกับสิ่งไม่มีชีวิต แบ่งออกเป็นอีกหลายแขนง เช่น
ฟิสิกส์ เคมี ธรณีวิทยา ดาราศาสตร์ เป็นต้น

ฟิสิกส์ในชีวิตประจำวัน
ฟิสิกส์ (Physics) มาจากภาษากรีกแปลว่า “ธรรมชาติ(Nature)” ดังนั้น ฟิสิกส์จึง
หมายถึงเรื่องราวที่เกี่ยวกับปรากฎทางธรรมชาติทั้งหลาย
เนื่องจากฟิสิกส์เป็นวิชาที่เกี่ยวกับปรากฎการณ์และกฏต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการกระทำของเรา
หรือเรื่องที่เกิดขึ้นรอบๆตัวเราในชีวิตประจำวันซึ่งเราอาจคาดไม่ถึง เช่น การยืน การเดิน หากไม่มี
แรงเสียดทานเราจะไม่สามารถยืนหรือเดินได้เลย ปรากฎการณ์ที่เราพบเจอก็สามารถใช้ฟิสิกส์
อธิบายได้เช่นกัน เช่น การเกิดฝน การเกิดลม เป็นต้น หรืออาจะเคยได้ยินว่า ฟิสิกส์เป็นการ
อธิบายธรรมชาติด้วยภาษาคณิตศาสตร์

ปริมาณทางฟิสิกส์
ปริมาณทางฟิสิกส์เป็นปริมาณที่สามารถวัดได้ด้วยเครื่องมือโดยตรงหรือโดยอ้อม ซึ่งเป็น
ปริมาณที่มีความหมายเฉพาะเจาะจง เช่นปริมาตร มวล น้ำหนัก ความเร็ว เป็นต้น โดยปริมาณ
เหล่านี้ต้องมีหน่วยกำกับจึงจะมีความหมายชัดเจน
แต่เนื่องจากหน่วยมีความหลากหลาย เพื่อให้มีความเข้าใจตรงกันโดยเฉพาะในวงการ
วิทยาศาสตร์ จึงใช้หน่วยมาตรฐานเดียวกันทัว่ โลก เรียกว่าระบบหน่วย SI (System Internation)
โดยแยกหน่วยออกเป็น 2 ประเภท คือหน่วยฐาน และหน่วยอนุพันธ์

ครูทรายขวัญ
1 | Page
ฟิสิกส์ (PHYSICS) บทนำ
หน่วยฐาน (Base unit) มี 7 หน่วย ดังต่อไปนี้
ปริมาณ หน่วย สัญลักษณ์
ความยาว
มวล
เวลา
กระแสไฟฟ้า
อุณหภูมิ
ปริมาณของสาร
ความเข้มของการส่องสว่าง

หน่วยอนุพันธ์ (Derived unit) เป็นหน่วยทีส่ ร้างจากหน่วยฐาน


ปริมาณ หน่วย สัญลักษณ์ หน่วยฐาน
ความเร็ว
แรง
พลังงาน
ความถี่
ความดัน
ความสว่าง
ประจุไฟฟ้า
หน่วยเสริม (Supplimentary Units) เป็นหน่วยที่เพิ่มเติมทำการวัดมุมต่างๆ

ครูทรายขวัญ
2 | Page
ฟิสิกส์ (PHYSICS) บทนำ
คำอุปสรรค(Prefixes)
คำอุปสรรค สัญลักษณ์ ค่า
เอกซะ E 1018
เพตะ P 1015
เทระ T 1012
จิกะ G 109
เมกกะ M 106
กิโล k 103
เฮคโต h 102
เดคา da 101
เดซิ d 10-1
เซนติ c 10-2
มิลลิ m 10-3
ไมโคร µ 10-6
นาโน n 10-9
พิคโค p 10-12
เฟมโต f 10-15
อัตโต a 10-18

เลขนัยสำคัญ(Significant Numbers)
เลขนัยสำคัญ คือตัวเลขที่มีความหมาย หรือมีความสำคัญในปริมาณที่แสดงมาหลักการนับ
เลขนัยสำคัญมีดังนี้
1. ถ้าอยู่ในรูปเลขทศนิยม ให้เริ่มนับที่ตวั เลขตัวแรกที่เป็นเลขโดด (1-9) และตัวถัดไปให้
นับทุกตัว
เช่น 0.345 มีเลขนัยสำคัญ ________ตัว
19.17 มีเลขนัยสำคัญ ________ตัว
0.007 มีเลขนัยสำคัญ ________ตัว
2. ถ้าอยู่ในรูป A x 10n เมื่อ 1 < A ≤ 10 เมื่อ n เป็นจำนวนเต็ม ให้พิจารณาทีค่ ่า
A เท่านัน้ โดยใช้หลักการเดียวกับการนับเลขนัยสำคัญรูปทศนิยม ไม่ต้องคำนึงถึง n
เช่น 2.4 x 105 มีเลขนัยสำคัญ ________ตัว
36.24 x 108 มีเลขนัยสำคัญ ________ตัว
ครูทรายขวัญ
3 | Page
ฟิสิกส์ (PHYSICS) บทนำ
0.057 x 102 มีเลขนัยสำคัญ ________ตัว
3. ถ้าอยู่ในรูปจำนวนเต็มให้นับทุกตัว ในกรณีเลขตัวท้ายเป็น 0 ต้องจัดเป็น A x 10n
เช่น 76 มีเลขนัยสำคัญ ________ตัว
1,024 มีเลขนัยสำคัญ ________ตัว
45,001 มีเลขนัยสำคัญ ________ตัว
ในกรณีเลขตัวท้ายเป็น 0 ต้องจัดเป็น A x 10n
เช่น 2,400 เขียนได้เป็น
2.4 มีเลขนัยสำคัญ ________ตัว
2.40 มีเลขนัยสำคัญ ________ตัว
2.400 มีเลขนัยสำคัญ ________ตัว

การบวก ลบ เลขนัยสำคัญ → บวก ลบ กันตามปกติ แต่ผลลัพธ์ที่ได้ต้องมีตำแหน่ง


ทศนิยม เท่ากับตำแหน่งทศนิยมของจำนวนในโจทย์ที่มี
ตำแหน่งทศนิยมน้อยที่สุด

การคูณ หาร เลขนัยสำคัญ → คูณ หาร กันตามปกติ แต่ผลลัพธ์ที่ได้ต้องมีจำนวนตัวของ


เลขนัยสำคัญเท่ากับจำนวนตัวเลขนัยสำคัญของโจทย์ที่มี
จำนวนเลขนัยสำคัญน้อยที่สุด

ครูทรายขวัญ
4 | Page
ฟิสิกส์ (PHYSICS) บทนำ
ความคลาดเคลื่อนในการวัด
การวัดปริมารทางฟิสิกส์ไม่สามารถใช้ส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายมาเป็นเครื่องมือวัดได้
เพราะเกิดความไม่เที่ยงตรงสูง จึงจำเป็นต้องใช้เครื่องมือในการวัดให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน และ
เครื่องมือวัดทางวิทยาศาสตร์ปัจจุบันแบ่งได้ 2 ลักษณะคือ
1. แสดงผลเป็นขีดสเกล 2. แสดงผลเป็นตัวเลข

ครูทรายขวัญ
5 | Page
ฟิสิกส์ (PHYSICS) บทนำ
การคิดความคลาดเคลื่อน
การบวก ลบ → ตัวเลขปกติ → บวก ลบ กันปกติ
ความคลาดเคลื่อน → นำความคลาดคลื่อนมาบวกกัน

การคูณ หาร → ตัวเลขปกติ → คูณ หาร กันปกติ


ความคลาดเคลื่อน → นำความคลาดคลื่อนคิด % แล้วค่อยบวกกัน

ครูทรายขวัญ
6 | Page
ฟิสิกส์ (PHYSICS) บทนำ
ความรู้เรขาคณิตเบื้องต้นและฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ฟสิกส มุ(PHYSICS)
ม (𝜃) มีหน่วยอยู่ 2 ระบบ คือ บทนา
1. องศา 2. เรเดียน

ครูทรายขวัญ
7 | Page
ฟิสิกส์ (PHYSICS) บทนำ
ความรู้ที่อาจจะลืมไปแล้ว ทบทวนหน่อยนะ !!!
1. ผลรวมมุมภายในรูปสี่เหลี่ยมใดๆ

2. ผลรวมมุมภายในรูปสามเหลี่ยมใดๆ

3. ผลรวมมุมภายในรูป n เหลี่ยมใดๆ

4. มุมตรงข้าม

5. เส้นตรงสองเส้นขนานกัน

6. วงกลม ทรงกลม

ความยาวรอบรูป ปริมาตร

พื้นที่

7. พื้นที่สามเหลี่ยมใดๆ

8. พื้นที่สี่เหลี่ยมด้านขนาน

9. พื้นที่สี่เหลี่ยมคางหมู

10. ปริมาตรปริซึม ทรงกระบอก

11. ปริมาตรพีระมิด กรวย

ครูทรายขวัญ
8 | Page
ฟิสิกส์ (PHYSICS) บทนำ
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ต้องรู้อะไรบ้างมาทบทวนกัน
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส รูปสามเหลี่ยมคล้าย

อัตราส่วนตรีโกณมิติ
sin A = cosec A =
cos A = sec A =
tan A = cot A =

ควรทราบค่ามุมต่อไปนี้
มุม sin cos tan cosec sec cot
0
30
45
60
90
37
53

ครูทรายขวัญ
9 | Page
ฟิสิกส์ (PHYSICS) บทนำ
โคฟังก์ชัน เอกลักษณ์ตรีโกณ
1. 1.
2. 2.
3. 3.

กฎของไซน์และโคไซน์

ครูทรายขวัญ
10 | P a g e
ฟิสิกส์ (PHYSICS) บทนำ
เวกเตอร์ (vecter)
ปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิชาฟิสิกส์ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ปริมาณ คือ
1. ปริมาณสเกลาร์ (Scalar) เป็นปริมาณทีบ่ อกขนาดเพียงอย่างเดียวไม่มีทิศทาง
เช่น มวล ระยะทาง เวลา พื้นที่ งาน พลังงาน กระแสไฟฟ้า อัตราเร็ว พลังงาน
2. ปริมาณเวกเตอร์ (vecter) เป็นปริมาณที่ประกอบด้วยขนาดและทิศทาง ซึ่งอาจเขียนแทนด้วย
ลูกศรโดยที่ความยาวของลูกศรจะเป็นตัวบอกขนาดและหัวลูกศรเป็นตัวบอกทิศทางของเวกเตอร์นั้น
เช่น การกระจัด ความเร็ว ความเร่ง แรง
การรวมเวกเตอร์ หมายถึง การบวกหรือการลบกันของเวกเตอร์ ตั้งแต่ 2 เวกเตอร์ขนึ้
ไป ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้เป็นปริมาณเวกเตอร์ เรียกว่า เวกเตอร์ลัพธ์ สามารถทำได้ดังนี้
วาดรูป

วิธีการทางคณิตศาสตร์

ครูทรายขวัญ
11 | P a g e
ฟิสิกส์ (PHYSICS) บทนำ
ระบบพิกัด (แกนอ้างอิง)

2 มิติ

3 มิติ

ครูทรายขวัญ
12 | P a g e
ฟิสิกส์ (PHYSICS) บทนำ
การคูณเวกเตอร์
การคูณเวกเตอร์ มี 2 ชนิด
1. Dot Product

2. Cross Product

ครูทรายขวัญ
13 | P a g e
ฟิสิกส์ (PHYSICS) บทนำ
แบบทดสอบ
1. อุปกรณ์ใดต่อไปนี้ที่เปลี่ยนรูปพลังงานความร้อนให้เป็นพลังงานกล
1. กังหันไอน้ำ
2. เตาน้ำมันในบ้าน
3. จรวดเชื้อเพลิงเหลว
4. เครื่องกำเนิดไฟฟ้า
2. จุดมุ่งหมายหลักของฟิสิกส์อยู่ที่
1. การศึกษาความรู้เกี่ยวกับกลศาสตร์ ความร้อน คลื่น แสง เสียง แม่เหล็ก ไฟฟ้า
และปรากฎการณ์ธรรมชาติอื่นๆ เพื่อให้รู้และเข้าใจธรรมชาติให้มากที่สุด
2. การศึกษาเกี่ยวกับปรากฎการณ์ต่างๆ ของธรรมชาติ เพื่อเป็นพื้นฐานของการศึกษาใน
สาขาวิชาอื่นๆ เช่น เคม คณิตศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์
3. การศึกษาวิชาพื้นฐานเพื่อให้เกิดคความเข้าใจปรากฎการณ์ธรรมชาติ และเป็นพื้นฐาน
นำไปสู่การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี
4. การสังเกต บันทึกข้อมูล และการสร้างแบบจำลองทางความคิด เพื่อศึกษาและอธิบาย
ปรากฎการณ์ธรรมชาติทุกรูปแบบ
3. ข้อใดไม่ใช่เทคโนโลยีขั้นต้น (Primitive Technology) ของมนุษย์
1. การอ่านค่าอุณหภูมิโดยใช้คุณสมบัติการหดตัวขยายตัวของปรอทในหลอดแก้ว
เทอร์โมมิเตอร์
2. การปักเสาทีท่ ำด้วยซุงต้นใหญ่ โดยการขุดร่องตามแนวยาวลาดเทไปถึงหลุมที่ปัก และ
ดึงปลายเสาขึน้
3. การจุดไฟโดยใช้ไม้แห้งๆ 2 ชิ้น มาขัดสีกันให้เกิดประกายไฟ
4. กาขนก้อนหินหนักด้วยการวางหินบนท่อนไม้กลมหลายๆท่อน และออกแรงลากหรือ
ผลักไป

ครูทรายขวัญ
14 | P a g e
ฟิสิกส์ (PHYSICS) บทนำ
4. ท่านคิดว่าพลังงานทีม่ นุษย์ นำมาใช้เป็นประโยชน์ครั้งแรกเป็นพลังงานประเภทใด
1. พลังงานความร้อนจากการเผาไหม้ของไม้
2. พลังงานกลจากการใช้แรงคน
3. พลังงานลมสำหรับแล่นเรือ
4. พลังงานแสงอาทิตย์สำหรับผลิตกระแสไฟฟ้า
5. เครื่องยนต์ดีเซลเป็นอุปกรณ์สำหรับเปลี่ยนพลังงานรูปหนึ่งไปเป็นอีกรูปหนึ่ง อยากทราบว่า
เครื่องยนต์ที่ใช้เปลี่ยนพลังงานรูปใดบ้าง
ก. พลังงานเคมีเป็นพลังงานความร้อน
ข. พลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า
ค. พลังงานความร้อนเป็นพลังงานกล
ง. พลังงานความร้อนเป็นพลังงานจลน์
ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อ ก. และ ข.
2. ข้อ ก. และ ค.
3. ข้อ ค. และ ง.
4. ข้อ ก. ค. และ ง.

6. กลจักรไอน้ำของวัตต์ เป็นการประดิษฐ์ทมี่ ีพื้นฐานความรู้ฟิสิกส์ทางด้านใด


1. ประสิทธิภาพของกลจักรความร้อนและทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
2. กลศาสตร์ และความดันของก๊าซ
3. อุณหภูมิสัมบูรณ์และอุณหพลศาสตร์
4. การเปลี่ยนสถานะของสารและความแตกต่างระหว่างความร้อนกับอุณหภูมิ

ครูทรายขวัญ
15 | P a g e
ฟิสิกส์ (PHYSICS) บทนำ
7. พัฒนาการของคอมพิวเตอร์ขึ้นอยู่กับความก้าวหน้าของวิชาฟิสิกส์แขนงใดมากที่สุด
1. ไฟฟ้า
2. ฟิสิกส์ของของแข็ง
3. ฟิสิกส์ทางอะตอม
4. ฟิสิกส์ทางโมเลกุล
8. ข้อความใดต่อไปนี้เป็นความจริง
1. กลจักรไอน้ำเครื่องแรกถูกประดิษฐ์ขึ้นมาบนพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
และอุณหพลศาสตร์
2. การพัฒนาเทคโนโลยีเกี่ยวกับพลังงานเป็นผลสืบเนื่องมาจากการพัฒนาทางด้าน
โทรคมนาคม
3. แหล่งพลังงานที่มีอยู่ในธรรมชาติมีต้นกำเนิดมาจากแสงอาทิตย์
4. การค้นพบพลังงานนิวเคลียร์เป็นผลมาจากการพัฒนาอาวุธสงคราม
9. ข้อใดเป็นความจริง
1. กานำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้นั้นไม่จำเป็นต้องศึกษาผลกระทบที่จะเกิดขึน้ เพราะไม่
เกี่ยวข้องกับมลภาวะของิสิ่งแวดล้อม
2. ความรู้ทางแม่เหล็ก-ไฟฟ้า และคลืน่ ช่วยให้ระบบการสื่อสารในปัจจุบันมีความสะดวกและ
รวดเร็ว
3. การค้นพบกฎแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำของฟาราเดย์ เป็นพื้นฐานของการประดิษฐ์
เครื่องกำเนิดไฟฟ้า ดังนั้นเราจึงสามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้โดยไม่ต้องนำพลังงานอย่างอื่นมาช่วย
4. มนุษย์มีอปุ กรณ์สำหรับเปลี่ยนรูปพลังงานมากมาย ทำให้มีการใช้พลังงานมากขึน้ แต่ก็
ไม่เป็นสิ่งทีน่ ่าวิตกเพราะในปัจจุบันมีเทคโนโลยีที่จะผลิตพลังงานได้โดยไม่มีขีดจำกัด
10. ในการหาข้อมูลน้ำหนัก ขนาด ความสูง หรืออื่นๆ ของวัตถุหรือสิ่งของ การวัดในข้อใดไม่
เหมาะสม
1. การวัดความหนาของผ่านซีดีด้วยไม้บรรทัด
2. การวัดความหนาของเส้นผมด้วยไมโครมิเตอร์
3. การวัดความสูงของเพดานด้วยตลับเมตร
4. การวัดอุณหภูมิของน้ำด้วยเทอร์มอมิเตอร์
ครูทรายขวัญ
16 | P a g e
ฟิสิกส์ (PHYSICS) บทนำ
11. ควรใช้เครื่องมือชนิดใดในการวัดความหนาของเหรียญสลึงจึงจะเหมาะสมที่สุด
1. ไม้บรรทัด
2. ไม้โปรเจคเตอร์
3. เวอร์เนียคาร์ลปิ เปอร์
4. ไมโครมิเตอร์
12. ถ้าต้องการวัดความต่างศักย์ของถ่านไฟฉายก้อนหนึ่งด้วยโวลต์มิเตอร์แบบเข็มซึ่งสามารถอ่านค่า
ได้เต็มสเกลเท่ากับ 5 โวลต์ และมีสเกลละเอียดที่สุดเท่ากับ 0.1 โวลต์ ข้อใดต่อไปนี้แสดงการ
อ่านค่าความต่างศักย์ของไฟฉายที่เหมาะสมทีส่ ุด
1. 1.5 โวลต์
2. 1.55 โวลต์
3. 1.552 โวลต์
4. 1.5520 โวลต์
13. แอมมิเตอร์วัดกระแส อ่านเต็มสเกลได้ 10 แอมแปร์ แต่ละช่วงแอมแปร์แบ่งออกเป็น 5 ขีด
ในการวัดกระแสครั้งหนึ่ง การเสนอผลการวัดข้อใดต่อไปนีเ้ หมาะสมที่สุด
1. 1 A
2. 2.4 A
3. 2.45 A
4. 2.456 A
14. ถ้าการบันทึกความยาวของวัตถุในการวัดครั้งหนึ่งได้ 76.8 เมตร แสดงว่าในการวัดครั้งนี้ใช้
เครื่องมือที่อา่ นได้ละเอียดที่สุดข้อใด
1. 1 เมตร
2. 0.1 เมตร
3. 0.01 เมตร
4. 0.001 เมตร

ครูทรายขวัญ
17 | P a g e
ฟิสิกส์ (PHYSICS) บทนำ
15. นักเรียนคนหนึ่งบันทึกตัวเลขจากการทดลองเป็น 0.0652 กิโลกรัม ; 8.20 x 10-2 เมตร
; 20.5 cm และ 8.00 วินาที จำนวนตัวเลขเหล่านีม้ ีเลขนัยสำคัญกี่ตัว
1. 1 ตัว
2. 2 ตัว
3. 3 ตัว
4. 4 ตัว
16. จงพิจารณาโจทย์ต่อไปนี้
ก. 1.2 + 62.543 + 10.12 = ?
ข. 123.45 x 2.0 = ?
จากโจทย์ที่ปรากฏมีข้อความใดบ้างที่ถูกต้อง
1. ผลลัพธ์ของข้อ ก. มีเลขนัยสำคัญ 3 ตัว และผลลัพธ์ข้อ ข. มีเลขนัยสำคัญ 2 ตัว
2. ผลลัพธ์ของข้อ ก. มีเลขนัยสำคัญ 2 ตัว และผลลัพธ์ข้อ ข. มีเลขนัยสำคัญ 5 ตัว
3. ผลลัพธ์ของข้อ ก. และผลลัพธ์ของข้อ ข. มีเลขนัยสำคัญ 2 ตัว
4. คำตอบเป็นอย่างอื่น
17. ผลลัพธ์ของ 16.74 + 5.1 มีจำนวนเลขนัยสำคัญเท่ากับข้อใด
1. – 3.14
2. 0.003
3. 99.99
4. 270.00
18. กล่องสี่เหลี่ยมมุมฉากขนาด 4.10 cm x 2.80 cm x 2.3 cm มีปริมาตรเป็นเท่าใดตาม
หลักของเลขนัยสำคัญ
1. 26 cm3
2. 26.4 cm3
3. 26.40 cm3
4. 26.404 cm3
ครูทรายขวัญ
18 | P a g e
ฟิสิกส์ (PHYSICS) บทนำ
19. นักเรียนคนหนึ่งใช้เครื่องวัด วัดเส้นผ่านศูนย์กลางของเหรียญบาทได้ 2.59 เซนติเมตร เมื่อ
พิจารณาเลขนัยสำคัญ เขาควรจะบันทึกค่าพืน้ ที่หน้าตัดได้ดงั ข้อใด
1. 5.27065 ตารางเซนติเมตร
2. 5.2707 ตารางเซนติเมตร
3. 5.271 ตารางเซนติเมตร
4. 5.27 ตารางเซนติเมตร
20. กรวยตั้งมีเส้นผ่านศูนย์กลางฐาน 6.0 cm และมีด้านเอียงยาว 5.00 cm มีปริมาตรเป็นกี่
ลูกบาศก์เซนติเมตรตามหลักเลขนัยสำคัญ

1. 3.8 x 10-5 m-3


2. 1.1 x 10-4 m-3
3. 3.77 x 10-2 m-3
4. 3.769 x 10-2 m-3
21. เหล็กแท่งหนึ่งมวล 47.0 กรัม มีปริมาตร 6.0 ลูกบาศก์เซนติเมตร ถามว่าตัวเลขที่เหมาะสม
สำหรับค่าความหนาแน่นของเหล็กแท่งนี้เป็นกี่กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร
1. 7.8
2. 7.83
3. 7.833
4. 7.8333

ครูทรายขวัญ
19 | P a g e
ฟิสิกส์ (PHYSICS) บทนำ
22. ชายคนหนึ่งขับเรือได้ระยะทาง 88.00 กิโลเมตร ในเวลา 3.50 ชั่วโมง เขาขับเรือด้วย
อัตราเร็วเท่าใด
1. 25.1 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
2. 25.14 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
3. 25.143 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
4. 25.1429 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
23. ในการวัดระยะทางสั้นๆ โดยใช้กระจกช่วยและสังเกตลำแสงที่สะท้อนจากกระจก อาจ
𝐷l
คำนวณหาระยะที่ต้องการวัดได้จาก d = 2𝐿 ในเมื่อ D คือ ระยะที่แสงสะท้อนเบี่ยงเบนไปจาก
แสงตกกระทบ ; l คือความกว้างของกระจก ; L เป็นระยะจากกระจกถึงสเกล ถ้าในการวัด
พบว่า D = 10±1 mm , L = 500±1 mm และ l = 20±1 mm ความเชื่อถือได้ของค่า D จะ
เป็น ± กี่เปอร์เซ็นต์ของค่า D
1. 10%
2. 12%
3. 15%
4. 20%
24. ในการทดลองวัดความต้านทานของลวดเส้นหนึ่งด้วยโวลต์มเิ ตอร์และแอมมิเตอร์ที่มคี วาม
คลาดเคลื่อนได้ขอ้ มูล 2 ชุด ดังนี้
ชุดที่ 1 : V = 5±0.5 V ; I = 1±0.2 A
ชุดที่ 2 : V = 10±0.5 V ; I = 2±0.2 A
จงคำนวณหาช่วงของ R ของลวดเส้นนี้
1. 5Ω < R < 6Ω
2. 4Ω < R < 6Ω
3. 4.75Ω < R < 6.25Ω
4. 4Ω < R < 5Ω

ครูทรายขวัญ
20 | P a g e
ฟิสิกส์ (PHYSICS) บทนำ
25. หน่วย SI ในข้อใดเป็นหน่วยมูลฐานทั้งหมด
1. แอมมแปร์ เคลวิน แคนเดลา โมล
2. เมตร องศาเซลเซียส เรเดียน คูลอมบ์
3. กิโลกรัม โอห์ม ลูเมน พาสคาล
4. วินาที โวลต์ เวเบอร์ ลักซ์
26. จากสมการ v2 = u2 + 2as เมื่อ u และ v มีหน่วยเป็น m/s และ s มีหน่วยเป็น m
หน่วยของ a จะเป็นไปตามข้อใด
1. m/s
2. m/s2
3. (m/s)2
4. m2/s
27. จากสมการ P = 𝜌𝑔ℎ เมื่อ P มีหน่วยเป็น N/m2 ; 𝜌 มีหน่วยเป็น kg/m3 และ h มี
หน่วยเป็น m หน่วยของ g จะเป็นไปตามข้อใด กำหนดว่า 1 N = 1 kg m/s2
1. m/s2
2. m/s
3. m·s
4. (m/s)2
28. จากสมการ Q = mc(∆t) เมื่อ Q มีหน่วยเป็น J , m มีหน่วยเป็น kg และ ∆t มีหน่วย
เป็น K หน่วยของ c จะเป็นไปตามข้อใด
1. J·kg/K
2. kg·K/J
3. J/kg·K
4. kg/J·K

ครูทรายขวัญ
21 | P a g e
ฟิสิกส์ (PHYSICS) บทนำ
29. จากสมการสภาวะของแก๊สในอุดมคติ PV = mRT กำหนดให้
- หน่วยพื้นฐานของมวลเป็น kg
- ระยะทางเป็น m
- อุณหภูมิหน่วยวัดเป็นองศาสมบูรณ์ K
- ค่าคงทีข่ องแก๊ส มีหน่วยเป็น kJ/kg·K
ข้อใดต่อไปนี้เป็นหน่วยของความดันที่ได้จากสมการข้างต้น
1. N/m2
2. kN/m2
3. N/m3
4. kN/m3
30. จากสมการ PV = NkBT เมื่อ P มีหน่วยเป็น N/m2 , V มีหน่วยเป็น m3 , N ไม่มี
หน่วยและ T มีหน่วยเป็น K หน่วยของ kB จะเป็นไปตามข้อใด กำหนดว่า 1 Nm = 1 J
1. N/Jm
2. J/NK
3. Jm/K
4/ J/K

ครูทรายขวัญ
22 | P a g e

You might also like