You are on page 1of 8

1

ห.ร.ม. และ ค.ร.น.


วิธีการหา ห.ร.ม.
1. โดยการแยกตัวประกอบ มีวิธีการดังนี้
1) แยกตัวประกอบของจํานวนทุกจํานวนที่ตองการหาร ห.ร.ม.
2) เลือกตัวประกอบที่ซ้ํากันของทุกจํานวนมาคูณกัน
3) ห.ร.ม. คือ ผลคูณที่ได

ตัวอยาง จงหา ห.ร.ม. ของ 56 84 และ 140


วิธีทํา 56 = 2 x 2 x 7
84 = 2 x 2 x 3 x 7
140 = 2 x 2 x 5 x 7
เลือกตัวที่ซ้ํากัน ที่อยูทั้ง 56 84และ 140 ตัวทีซ้ํากันเอามาซ้ําละ 1 ตัว
คือ มีเลข 2 เลข 2 และ เลข 7

ดังนั้น ห.ร.ม. = 2 x 2 x 7

2. การหารสั้น มีวิธีการดังนี้
1) นําจํานวนทั้งหมดที่ตองการหา ห.ร.ม. มาเขียนเรียงกัน
2) หาจํานวนเฉพาะที่สามารถหารจํานวนทั้งหมดไดลงตัวมาหารไปเรื่อยๆ จนกวาไมสามารถหาได
3) นําตัวหารทุกตัวที่ใชมาคูณกัน เปนคาของ ห.ร.ม.

ตัวอยาง จงหา ห.ร.ม. ของ 56 84 และ 140


วิธีทํา 2) 56 84 140
2) 28 42 70
7) 14 21 35
2 3 5
2

ห.ร.ม. คือ 2 x 2 x 7 = 28

ประโยชนของ ห.ร.ม.
1. ใชทอนเศษสวนใหเปนเศษสวนอยางต่ํา
2. ใชคํานวณการแบงสิ่งของที่มีจํานวนไมเทากันออกเปนสวนๆ ที่เทกั
า นโดยไมปะปนกันและใหเปนจํานวนที่มาก
ที่สุด

วิธีการหา ค.ร.น.
1. โดยการแยกตัวประกอบ มีวิธีการดังนี้
1) แยกตัวประกอบของจํานวนทุกจํานวนที่ตองการหา ค.ร.น.
2) เลือกตัวประกอบตัวที่ซ้ํากันมาเพียงตัวเดียว
3) เลือกตัวประกอบตัวที่ไมซ้ํากันมาทุกตัว
4) นําจํานวนที่เลือกมาจากขอ 2และ 3มาคูณกันทั้งหมด เปนคาของ ค.ร.น.

ตัวอยาง จงหา ค.ร.น. ของ 10, 24 และ 30


วิธีทํา 10 = 5 x 2
24 = 2 x 3 x 2
30 = 5 x 2 x 3

ค.ร.น. = 5 x 2 x 3 x 2 x 2 = 120

2. โดยการหารสั้น มีวิธีการดังนี้
1) นําจํานวนทั้งหมดที่ตองการหา ค.ร.น. มาตั้งเรียงกัน
2) หาจํานวนเฉพาะที่สามารถหารจํานวนทั้งหมดไดลงตัว หรือหารลงตัวอยางนอย 2 จํานวน จํานวนใดหารไมได
ใหดึงลงมา
3) ใหทําซ้ําขอ 2 จนกวาจะหารอีกไมได
4) นําตัวหารทั้งหมดและผลลัพธสุดทายมาคูณกัน ผลคูณคือคาของ ค.ร.น.
3

ตัวอยาง จงหา ค.ร.น. ของ 10, 24 และ 30

วิธีทํา 2) 10 24 30
5) 5 12 15
3) 1 12 3
1 4 1

ค.ร.น. = 2 x 5 x 3 x 4 = 120

ประโยชนของ ค.ร.น.
1. ใชในการหาผลบวกและผลลบของเศษสวน โดยทําสวนใหเทากัน
2. ใชในการคํานวณงานบางอยางที่ใชเวลาตางกัน และหาเวลาที่จะทําพรอมกันในครั้งตอไป

โจทยปญหาเกี่ยวกับ หรม.และ ครน.


โจทยปญหาเกี่ยวกับ ห.ร.ม.
โจทยปญหาที่เกี่ยวของกับการนําความรูเรื่อง ห.ร.ม. ไปใชแกปญหา
ตัวอยางที่ 1 ทหาร 3 กอง กองละ 78, 91 และ 104 คน ตามลําดับ ถาแบงทหารออกเปนหมู ๆ ละเทากัน จะ
ไดทหารมากที่สุดหมูละกี่คน
(มีคียเวิรด คําวา มากที่สุด ตัวอยางที่ 1 จึงแกปญหาโดยใช ห.ร.ม.)
วิธีทํา แบงทหารออกเปนหมูๆ ละเทา ๆ กันและใหไดทหารมากที่สุด นั่นคือหา ห.ร.ม. ของ 78, 91 และ 104
หา ห.ร.ม. ของ 78, 91 และ 104 จะได
13 ) 78 91 104
6 7 8
4

ห.ร.ม. ของ 78, 91 และ 104 คือ 13


ดังนั้น จะแบงทหารไดมากที่สุดหมูละ 13 คน

ตัวอยางที่ 2 มีฝรั่ง 48 ผล ชมพู 84 ผล และสม 60 ผล ตองการแบงผลไมออกเปนกอง ๆ ละเทา ๆ กัน ใหแตละ


กองมีจํานวนมากที่สุดและไมเหลือเศษ โดยที่ผลไมแตละชนิดไมปะปนกัน จะแบงผลไมเหลานี้ไดทั้งหมดกี่กอง
(มีคียเวิรด คําวา มากที่สุด ตัวอยางที่ 2 จึงแกปญหาโดยใช ห.ร.ม.)
วิธีทํา มีฝรั่ง 48 ผล ชมพู 84 ผล และสม 60 ผลตองการแบงผลไมออกเปนกอง ๆ ละเทาๆ กัน ใหแตละกองมี
จํานวนมากที่สุดและไมเหลือเศษ นั่นคือหา ห.ร.ม. ของ 48, 84 และ 60
หา ห.ร.ม. ของ 48, 84 และ 60 จะได
3 )48 84 60
2 ) 16 28 20
2 ) 8 14 10
4 7 5
นั่นคือ ห.ร.ม. ของ 48, 84 และ 60 คือ 3 x 2 x 2 = 12
ดังนั้น จะตองแบงผลไมออกเปนกอง กองละ 12 ผล เทา ๆ กัน
จะแบงฝรัง่ ที่มี 48 ผล ออกเปนกอง ๆ ละ 12 ผล เทา ๆ กันได 48 ÷ 12 = 4 กอง
จะแบงชมพูที่มี 84 ผลออกเปนกอง ๆ ละ 12 ผล เทา ๆ กันได 84 ÷ 12 = 7 กอง
จะแบงสมที่มี 60 ผลออกเปนกอง ๆ ละ 12 ผล เทา ๆ กันได 60 ÷ 12 = 5 กอง
เพราะฉะนั้นจะแบงผลไมแตละชนิดโดยไมปะปนกันไดทั้งหมด 4 + 7 + 5 = 16 กอง
5

ตัวอยางที่ 3 จงหาจํานวนนับที่มากที่สุดที่หาร 267, 168 และ 201 แลวเหลือเศษ 3 เทากัน


(มีคียเวิรด คําวา มากที่สุด ตัวอยางที่ 3 จึงแกปญหาโดยใช ห.ร.ม.)
วิธีทํา จํานวนที่หาร 267 แลวเหลือเศษ 3 คือจํานวนที่หาร 267 – 3 = 264 ลงตัว
จํานวนที่หาร 168 แลวเหลือเศษ 3 คือจํานวนที่หาร 168 – 3 = 165 ลงตัว
จํานวนที่หาร 201 แลวเหลือเศษ 3 คือจํานวนที่หาร 201 – 3 = 198 ลงตัว
หา ห.ร.ม. ของ 264, 165 และ 198
3 ) 264 165 198
11 ) 88 55 66
8 5 6
ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 264, 165 และ 198 คือ 3 x 11 = 33
นั่นคือ จํานวนนับที่มากที่สุดที่หาร 267, 168 และ 201 แลวเหลือเศษ 3 เทากัน คือ 33

ตัวอยางที่ 4 กระดาษรูปสี่เหลี่ยมผืนผาแผนหนึ่ง กวาง 45 เซนติเมตร ยาว 72 เซนติเมตร ตองการตัดกระดาษ


แผนนี้ออกเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดเทา ๆ กันใหมีพื้นที่มากที่สุด จะไดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีดา นยาวดานละกี่
เซนติเมตร และจะไดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสทั้งหมดกี่รูป
(มีคียเวิรด คําวา มากที่สุด ตัวอยางที่ 4 จึงแกปญหาโดยใช ห.ร.ม.)
วิธีทํา กระดาษสี่เหลี่ยมผืนผากวาง 45 เซนติเมตร ยาว 72 เซนติเมตร
ดังนั้นกระดาษมีพื้นที่ 45 x 72 ตารางเซนติเมตร
ตองการตัดกระดาษแผนนี้ออกเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดเทา ๆ กัน นั่นคือการหา ห.ร.ม. ของดานกวางและดาน
ยาวของกระดาษรูปสี่เหลี่ยมผืนผา
หา ห.ร.ม. ของ 45 และ 72 จะได
3) 45 72
6

3) 15 24
5 8
ห.ร.ม. ของ 45 และ 72 คือ 3 x 3 = 9
นั่นคือ ตัดกระดาษเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสไดยาวดานละ 9 เซนติเมตร
ดังนั้น รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสแตละรูปที่ตัดไดมีพื้นที่ 9 x 9 ตารางเซนติเมตร

และจะตัดกระดาษเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสไดทั้งหมด แผน
นองๆทราบหรือไมวา โจทยปญหาเกี่ยวกับ ห.ร.ม. มักมีคําวา “มากที่สุด” หรือ “ยาวที่สุด” ปรากฎอยูในโจทย ซึ่ง
เปนคียเวิรดสําคัญในการแก โจทยปญหาเกี่ยวกับ ห.ร.ม. ตอไปนองๆมาดูโจทยปญหาเกี่ยวกับ ค.ร.น. กันนะคะ

โจทยปญหาเกี่ยวกับ ค.ร.น.
ในการหาตัวคูณรวมนอย (ค.ร.น.) ของจํานวนนับตั้งแตสองจํานวนขึ้นไปนั้น เปนการหาตัวตั้งรวมหรือ
พหุคูณรวมที่มีคานอยที่สุดของจํานวนนับเหลานั้น 3 วิธีที่สามารถนําไปใชในการแกโจทยปญหาได
การหาตัวคูณรวมนอย (ค.ร.น.) ของจํานวนนับตั้งแต 2 จํานวนขึ้นไปซึ่งมี 3 วิธีดังนี้
1. โดยการพิจารณาตัวตั้งรวมหรือพหุคูณรวมที่มีคานอยที่สุด
2. โดยการแยกตัวประกอบ
3. โดยการตั้งหาร
โจทยปญหาที่เกี่ยวของกับการนําความรูเรื่อง ค.ร.น. ไปใชแกปญหา
ตัวอยางที่ 5 ระฆังสามใบ ๆ ที่หนึ่งตีทุก ๆ 8 นาที ใบที่สองตีทุก ๆ 14 นาทีและใบที่สามตีทุก ๆ 20 นาที เมื่อ
ระฆังเริ่มตีพรอมกันครั้งแรกในเวลา 08.00 น.จงหาเวลาที่จะตีพรอมกันอีกเปนครั้งที่สอง
(มีคียเวิรด คําวา พรอมกัน ตัวอยางที่ 5 จึงแกปญหาโดยใช ค.ร.น.)
วิธีทํา ระฆังสามใบ ๆ ที่หนึ่งตีทุก ๆ 8 นาที ใบที่สองตีทุก ๆ 14 นาทีและใบที่สามตีทุก ๆ 20 นาที จะหาเวลาที่
จะตีพรอมกันอีกเปนครั้งที่สอง
7

โดยหา ค.ร.น. ของ 8, 14 และ 20


2) 8 14 20
2) 4 7 10
2 7 5
ค.ร.น. ของ 8, 14 และ 20 คือ 2 x 2 x 2 x 7 x 5 = 280
นั่นคือ เมื่อเวลาผานไป 280 นาที หรือคิดเปน 4 ชั่วโมง 40 นาที ระฆังจะตีพรอมกันรอบที่สอง
ดังนั้น ระฆังทั้งสามใบ จะตีพรอมกันอีกเปนครั้งที่สอง เมื่อเวลา 12.40 น.

ตัวอยางที่ 6 จงหาจํานวนนับที่นอยที่สุดซึ่งหารดวย 6, 8 และ 10 แลวเหลือเศษ 3 ทุกจํานวน


(มีคียเวิรด คําวา นอยที่สุด ตัวอยางที่ 6 จึงแกปญหาโดยใช ค.ร.น.)
วิธีทํา จํานวนนับที่นอยที่สุดที่หารดวย 6, 8 และ 10 ไดลงตัว คือ ค.ร.น. ของ 6, 8 และ 10
หา ค.ร.น. ของ 6, 8 และ 10 ไดดังนี้
2) 6 8 10
3 4 5
ค.ร.น. ของ 6, 8 และ 10 คือ 2 x 3 x 4 x 5 = 120
ดังนั้น จํานวนนับที่นอยที่สุดซึ่งหารดวย 6, 8 และ 10 แลวเหลือเศษ 3 คือ 120 + 3 = 123

ตัวอยางที่ 7 จิ้งหรีด 3 ตัวใชเวลา 10, 15 และ 20 วินาที จึงจะรองครั้งหนึ่งตามลําดับ ถาจิ้งหรีดรองพรอมกัน


ครั้งหนึ่งแลวอีกนานเทาใดจึงจะรองพรอมกันอีกเปนครั้งที่สอง
(มีคียเวิรด คําวา พรอมกัน ตัวอยางที่ 7 จึงแกปญหาโดยใช ค.ร.น.)
วิธีทํา ตัวที่ 1 ใชเวลา 10 วินาที
8

ตัวที่ 2 ใชเวลา 15 วินาที


ตัวที่ 3 ใชเวลา 20 วินาที
จิ้งหรีด 3 ตัวจะรองพรอมกันอีกกี่นาทีตอไป โดยการหา ค.ร.น. ของ 10, 15 และ 20
หา ค.ร.น. ของ 10 , 15 และ 20
5) 10 15 20
2) 2 3 4
1 3 2
ค.ร.น. ของ 10 , 15 และ 20 คือ 5 x 2 x 1 x 3 x 2 = 60
ดังนั้น อีก 60 วินาที หรืออีก 1 นาที จิ้งหรีดทั้ง 3 ตัวจึงจะรองพรอมกันเปนครั้งที่สอง
นองๆทราบหรือไมวา โจทยปญหาเกี่ยวกับ ค.ร.น. มักมีคําวา “นอยที่สุด” หรือ “พรอมกัน” ปรากฎอยูในโจทย
ซึ่งเปนคียเวิรดสําคัญในการแก โจทยปญหาเกี่ยวกับ ห.ร.ม.

สรุปวิธีการแก โจทยปญหาเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.


วิธีการแกโจทยปญหาเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. งายนิดเดียว เพียงแคนองๆจําคียเวิรดสําคัญได เชน “นอย
ที่สุด” หรือ “พรอมกัน” จะปรากฎอยูในโจทยปญหาเกี่ยวกับ ค.ร.น. สวนคียเวิรดสําคัญคําวา “มาก
ที่สุด” หรือ “ยาวที่สุด” จะปรากฎอยูในโจทยปญหาเกี่ยวกับ ห.ร.ม. เมื่อนองวิเคราหโจทยปญหาไดแลววาจใช
ค.ร.น. หรือ ห.ร.ม. ในการแกโจทยปญหา ลําดับตอไปคือ นองๆจะตองใชความรูในเรื่อง ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ป.6 ที่
ไดเรียนผานมาแลว

You might also like