You are on page 1of 13

เอกสารประกอบการนำเสนอการวิพากษ์วรรณกรรมปฐมภูมิ (Journal club)

โดย นางสาวสริตา ศิริสวัสดิ์ รหัสนิสิต 61060609 นิสิตเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา


รายวิชาเภสัชกรรมอายุรศาสตร์ วันที่ 12 มิถุนายน 2566 – 21 กรกฎาคม 2566

ชื่อการศึกษา: Apixaban or Warfarin and Aspirin or Placebo After Acute Coronary Syndrome or Percutaneous
Coronary Intervention in Patients With Atrial Fibrillation and Prior Stroke: A Post Hoc Analysis From the
AUGUSTUS Trial
ผู้ทำการศึกษา: Cecilia Bahit, Amit Vora, Zhuokai Li, Daniel Wojdyla, Laine Thomas, Shaun Goodman, et al.
วารสารที่ตีพิมพ์: JAMA Cardiology
ปีที่ตีพิมพ์: 2022
1. การสรุปบทความ

บทนำ: สืบเนื่องมาจากการศึกษา AUGUSTUS trial ก่อนหน้า ที่ทำการศึกษาประสิทธิภาพและความปลอดภัย


ระหว่างการใช้ยา Apixaban หรือ Vitamin K antagonist และระหว่างการใช้ยา Aspirin หรือยาหลอก ในผู้ป่วย AF ที่เกิด
ACS และ/หรื อ ได้ ร ั บ การทำ PCI ที ่ ต ้ อ งได้ ร ั บ ยา P2Y12 inhibitors ซึ ่ ง จากผลการศึ ก ษาพบว่ า apixaban ทำให้ เ กิ ด
bleeding น้อยกว่า vitamin K antagonist (VKA) และพบว่า aspirin ทำให้เกิด bleeding มากกว่ายาหลอกอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติ ในส่วนของการลดอัตราการเข้าโรงพยาบาลไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่าง Apixaban และ Vitamin
K antagonist
อย่างไรก็ตาม การศึกษาดังกล่าวยังไม่ได้วิเคราะห์ถึงประสิทธิภาพและความปลอดภัย ระหว่างการใช้ยาทั้ง 2 กลุ่ม
ต่อความเสี่ยงของการเกิด cerebrovascular ischemic events และ major bleeding ในผู้ป่วยที่มีประวัติเคยเกิด stroke
เนื่องจากมี 3 การศึกษาก่อนหน้า (RE-DUAL PCI, AUGUSTUS, และ ENTRUST-AFPCI) ที่พบว่าในผู้ป่วย AF ที่เกิด ACS
และ/หรือได้รั บการทำ PCI และมีประวั ติเคยเกิด stroke/TIA/TE จะมีความสัมพันธ์กับความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นของการเกิด
stroke ซ้ำ หรือ embolic events
วั ต ถุ ป ระสงค์ : เพื ่ อ ศึ ก ษาประสิ ท ธิ ภ าพและความปลอดภั ย ระหว่ า งการใช้ ย า Apixaban หรื อ Vitamin K
antagonist และระหว่างการใช้ยา Aspirin หรือยาหลอก ในผู้ป่วย Atrial Fibrillation ที่มีประวัติเคยเกิด Stroke, TIA หรือ
TE มาก่อนหน้านี้ และเกิด ACS และ/หรือได้รับการทำ PCI ที่ต้องได้รับยา P2Y12 inhibitors เป็นระยะเวลา ≥ 6 เดือน
รูปแบบการศึกษา: prospective, multicenter, 2x2 factorial, randomized clinical trial
Populations: ผู้ป่วยจำนวน 4614 คนที่เข้าร่วมใน AUGUSTUS trial คือ ผู้ที่มีอายุมากกว่า 18 ปี, เคยเกิด AF
แบบ persistent, permanent, หรือ paroxysmal ที่ต้องได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด, เกิด ACS หรือทำ PCI ที่ต้อง
ได้รับยา P2Y12 inhibitors เป็นระยะเวลา ≥ 6 เดือน
เกณฑ์การคัดออก (Exclusion criteria): ผู้ป่วยจำนวน 33 คนที่เข้าร่วมใน AUGUSTUS trial ที่ไม่ทราบข้อมูล
ว่าเคยเกิด stroke/TIA/TE มาก่อนหน้านี้หรือไม่จะถูกคัดออก รวมถึงผู้ที่ใช้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดสำหรับข้อบ่งใช้อื่น
(prosthetic valves, venous thromboembolism และ mitral stenosis), ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง, เคยมีประวัติเลือดออก
ในกะโหลกศีรษะ, ได้ รั บ หรื อ กำลั ง จะได้ รับ การผ่ า ตัด ทำทางเบี่ ย งหลอดเลือ ดหั ว ใจ (CABG-Coronary Artery Bypass
Grafting), มีการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ หรือกำลังมีภาวะ bleeding และผู้ป่วยที่มีข้อห้ามใช้ ยา VKA, มีข้อห้ามใช้ยาทุกตัว
ในกลุ่ม P2Y12 inhibitors หรือมีข้อห้ามใช้ยา aspirin
Interventions group: สุ่มผู้ป่วยออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ได้รับ Apixaban 5 mg วันละสองครั้ง หรือ 2.5
mg วันละสองครั้งในผู้ป่วยที่ตรงกับข้อกำหนด dose-adjustment criteria จำนวน 2 ข้อขึ้นไป ได้แก่ อายุ ≥ 80 ปี, น้ำหนัก

1
60 กก. หรือน้อยกว่า และcreatinine ≥ 1.5 mg/dL (คูณ 88.4 เพื่อเปลี่ยนหน่วยเป็ น µmol/l) และกลุ่มที่ได้รับ VKA โดย
จะได้รับการปรับขนาดยาจน INR อยู่ในช่วง 2.0 - 3.0
Comparisons group: สุ ่ ม ต่ อ โดยใช้ ว ิ ธ ี 2x2 factorial ได้ แ ก่ กลุ ่ ม ที ่ ไ ด้ ร ั บ aspirin 81 mg วั น ละครั ้ ง หรื อ
placebo วันละครั้ง
Outcomes: ประเมินที่เวลา 6 เดือนหลังได้รับ intervention
โดยผลลัพธ์หลักของทั้งสอง factorial comparisons คือ 1. major bleeding ได้แก่ การเสียชีวิต, เลือดออกใน
อ ว ั ย ว ะ ส ำ ค ั ญ (intracranial, intraspinal, intraocular, retroperitoneal, intraarticular, intramuscular) ห ร ื อ ม ี
ความสัมพันธ์กับการลดลงของ haemoglobin อย่างน้อย 2 g/dL หรือต้องได้รับ packed red blood cells อย่างน้อย 2
units และ ผลลัพธ์ที่ 2. clinically relevant nonmajor (CRNM) ได้แก่ การนอนโรงพยาบาล, ต้องได้รับการรักษาหรือการ
ผ่าตัดสำหรับ bleeding, การต้องมาคลินิกก่อนนัด, หรือการที่แพทย์ต้องเปลี่ยน antithrombotic therapy
ผลลั พ ธ์ ร อง คื อ การนอนโรงพยาบาลหรื อ การเสี ย ชี ว ิ ต , การเกิ ด ischemic events (stroke, myocardial
infarction, stent thrombosis, urgent revascularization) หรือการเสียชีวิต
Results: พบว่าลักษณะประชากรในกลุ่มที่เคยเกิด stroke/TIA/TE ส่วนมากจะมีอายุมากกกว่า และมี CHA2DS2-
VASC และ HAS-BLED scores มากกว่ากลุ่มที่ยังไม่เคยเกิด stroke/TIA/TE โดยที่เวลา 6 เดือนหลังเริ่มให้ intervention
พบว่ า กลุ ่ ม ที ่ เ คยเกิ ด stroke/TIA/TE มี ค วามเสี ่ ย งของการเกิ ด ischemic stroke เป็ น 3 เท่ า ของกลุ ่ ม ที ่ ไ ม่ เ คยเกิ ด
stroke/TIA/TE (1.60% vs 0.50%; P = 0.002) มี ISTH major หรือ CRNM มากกว่า (17.1% vs 13.0%; P = 0.02) มี
การเสียชีวิตหรือการนอนโรงพยาบาลมากกว่า (30.6% vs 25.2%; P = .003) และมีการเสียชีวิตหรือการเกิด ischemic
events มากกว่า (9.4% vs 6.1%; P = 0.001) เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ยังไม่เคยเกิด stroke/TIA/TE อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
เมื่อวิเคราะห์ ผลของประสิทธิภาพและความปลอดภัยระหว่างการใช้ยา Apixaban หรือ Vitamin K antagonist
ในกลุ่มที่เคยเกิด stroke/TIA/TE พบว่า ไม่มีความแตกต่างอย่า งมีนัยสำคัญ ในทุกผลลัพธ์ ในส่วนของกลุ่มที่ไม่เคยเกิด
stroke/TIA/TE พบว่าการได้รับ apixaban ลดความเสี่ยงของการเกิด ISTH major หรือ CRNM ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
เมื่อเทีย บกับการได้รับ VKA (HR; 95% CI = 0.68; 0.57-0.82) และยังลดความเสี่ยงของการนอนโรงพยาบาลหรือการ
เสียชีวิตได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับการได้รับ VKA (HR; 95% CI = 0.82; 0.72-0.93)

รูปที่ 1. Treatment Effect of Apixaban vs Vitamin K Antagonist (VKA) on Outcomes by Presence of Prior
Stroke, Transient Ischemic Attack (TIA), or Thromboembolism (TE)

2
ผลของประสิทธิภาพและความปลอดภัยระหว่างการใช้ยา Aspirin หรือยาหลอก ในกลุ่มที่เคยเกิด stroke/TIA/TE
พบว่าไม่มีความแตกต่างอย่า งมีนัยสำคัญ ในทุกผลลัพธ์ แต่ในส่วนของกลุ่มที่ไม่เคยเกิด stroke/TIA/TE พบว่าการได้รั บ
aspirin สัมพันธ์กับการเพิ่มความเสี่ยงของการเกิด ISTH major หรือ CRNM อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับการได้รับ
ยาหลอก (HR; 95% CI = 2.10; 1.73-2.54)

รูปที่ 2. Treatment Effect of Aspirin vs Placebo on Outcomes by Presence of Prior Stroke,


Transient Ischemic Attack (TIA), or Thromboembolism (TE)
.
2. การทบทวนความรูเ้ รื่องโรคและยาที่เกี่ยวข้อง
โรคหลอดเลือดสมองอุดตันจากลิ่มเลือดหัวใจ (cardioembolic stroke) พบได้ประมาณร้อยละ 25-40 ของโรค
หลอดเลือดสมองขาดเลือด (ischemic stroke) และสัมพันธ์กับพยากรณ์โรคที่ไม่ดี (Marini et al., 2005) และอัตราการเป็น
ซ้ำของโรคหลอดเลือดสมอง โดยมีสาเหตุสำคัญ คือ ภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้ว (atrial fibrillation; AF) ปัจจุบันมีการใช้ยา
ต้านการแข็งตัวของเลือด คือ vitamin K antagonist (Warfarin) หรือ non-vitamin K antagonist oral anticoagulant
(NOAC) ในการป้องกัน cardioembolic stroke จากภาวะ Atrial Fibrillation ที่ไม่มีค วามผิดปกติของลิ้นหัวใจ (non-
vulvular AF) ซึ่งหากผู้ป่วยได้รับการซ่อมแซมหลอดเลือดหัวใจผ่านสายสวน (PCI) จำเป็นต้องได้รับยาต้านเกล็ดเลือดแบบ
Dual Antiplatelet Therapy (DAPT) เพื่อป้องกันการอุดตันหรือภาวะแทรกซ้อนในขดลวดหลังซ่อมแซมหลอดเลือดหัวใจ
ดังนั้นในผู้ Atrial Fibrillation ที่เกิด acute coronary syndrome (ACS) ไม่ว่าจะได้รับการทำหรือไม่ได้รับการทำ PCI ก็
จำเป็นต้องได้รับยาต้านเกล็ดเลือดและยาต้านการแข็งตัวของเลือดร่วมกัน
โดย 2019 ACC/AHA/HRS และ 2020 ESC แนะนำการพิจารณาใช้ NOAC ร่วมกับยาต้านเกล็ดเลือดในผู้ป่วย
stable CAD หลังได้รับการทำ PCI และผู้ป่วย ACS ที่ไม่ได้รับการทำ PCI ซึ่งจะพิจารณาจากการประเมินความเสี่ยงในการ
เกิดภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดหัวใจ (Ischemic Risk) ร่วมกับความเสี่ ยงในการเกิดภาวะเลือดออก (Bleeding Risk)
แบ่งเป็น 2 กลุ่มดังนี้
1. ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยง Ischemic Risk มากกว่า Bleeding Risk: แนะนำให้ DAPT ร่วมกับ NOAC หรือเรียกว่า
Triple Therapy (ASA + P2Y12 inhibitor + NOAC) เป็นระยะเวลา 1-6 เดือน หลังให้ Triple Therapy (DAPT ร่วมกับ

3
NOAC) ตามระยะเวลาที่กำหนดแล้วให้หยุดยาต้านเกล็ดเลือดหนึ่งตัวเหลือ Aspirin หรือ Clopidogrel และให้คู่กับ NOAC
หรือเรียกว่า Dual Therapy ต่อไปจนครบ 12 เดือน จากนั้นหยุดยาต้านเกล็ดเลือด และให้ NOAC เพียงตัวเดียวไปตลอด
ชีวิต
ขนาดยา Aspirin ใช้ขนาด 75-100 mg/day, ยากลุ่ม P2Y12 inhibitors ใช้ Clopidogrel ขนาด 75 mg/day (ไม่
แนะนำให้ Ticagrelor หรือ Prasugrel เนื่องจากมีโอกาสเกิดภาวะเลือดออกสูงกว่า ) ส่วน NOAC ที่มีหลักฐานการศึกษา
รองรับและแนะนำให้ใช้ใน Triple Therapy ในปัจจุบัน ได้แก่ Rivaroxaban ขนาด 2.5 mg วันละสองครั้ง , Dabigatran
110 mg หรือ 150 mg วันละสองครั้ง Apixaban 5 mg หรือ 2.5 mg วันละสองครั้ง
2. ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยง Bleeding Risk มากกว่า Ischemic Risk: ช่วงที่อยู่โรงพยาบาลแนะนำให้ Triple Therapy
(up to 1 week) จากนั้นให้เป็นยาต้านเกล็ดเลือด 1 ตัว (โดยแนะนำเป็นยาในกลุ่ม P2Y12 inhibitors) ร่วมกับ NOAC หรือ
เรียกว่า Dual Therapy เป็นระยะเวลา 6 เดือน จากนั้นหยุดยาต้านเกล็ดเลือด และให้ NOAC ตัวเดียวไปตลอดชีวิต
ขนาดยา NOAC ที่มีหลักฐานการศึกษารองรับและแนะนำให้ใช้ใน Dual Therapy ได้แก่ Rivaroxaban ขนาด 15
mg วันละครั้ง, Dabigatran 110 mg และ 150 mg วันละสองครั้ง, Apixaban 5 mg และ 2.5 mg วันละสองครั้ง ร่วมกับ
Clopidogrel

4
3. การประเมินวรรณกรรม
โดยใช้ CASP Randomized Controlled Trial Standard Checklist
Section A: Is the basic study design valid for a randomised controlled trial?
1. Did the study address a Yes No Can’t tell
clearly focused research   
question?
CONSIDER:
• Was the study designed งานวิจัยนี้เป็นการศึกษารูปแบบ RCT มีการกำหนดคำถามครบองค์ประกอบ
to assess the outcomes หลัก คือ
of an intervention?
• Is the research question P: 4614 patients in AUGUSTUS Patients with AF, recent ACS or PCI,
‘focused’ in terms of:
• Population studied and planned use of P2Y12 inhibitors for 6 months or longer were
• Intervention given included; 33 patients with missing data about prior stroke/TIA/TE
• Comparator chosen
• Outcomes measured? were excluded.
I, C: Apixaban (5 mg or 2 . 5 mg twice daily) or VKA and aspirin or
placebo.
O: Major or clinically relevant nonmajor (CRNM) bleeding. Estimated
at 6 months from the start of the intervention and for efficacy
outcomes at 6 months from randomization.

2. Was the assignment of Yes No Can’t tell


participants to interventions   
randomised?
CONSIDER: - 2x2 factorial randomization
• How was randomisation
carried out? Was the - patients randomized to receive apixaban or VKA was open-
method appropriate?
• Was randomisation label; however, the regimen comparing aspirin with matching
sufficient to eliminate
systematic bias? placebo was double-blind
• Was the allocation
sequence concealed
from investigators and
participants?
3. Were all participants who Yes No Can’t tell
entered the study accounted   
for at its conclusion?
CONSIDER: - การศึกษาเป็นแบบ intention-to-treat คือวิเคราะห์ข้อมูลของผู้ป่วยทุก
• Were losses to follow-up
and exclusions after คนที่ถูกสุ่มเข้าแต่ละกลุ่มตั้งแต่ต้น
randomisation
accounted for? -ในส่วนของผู้ออกจากการศึกษา หากพิจารณาจาก AUGUSTUS trial จะ
• Were participants พบว่ า ในกลุ ่ม apixaban VS. VKA มี 278 did not complete trial จาก
analysed in the study
groups to which they ผู้ป่วย 4549 คนคิดเป็น 6.11% ส่วนในกลุ่ม aspirin VS. Placebo มี 274
were randomised
(intention-to-treat did not complete trial จากผู้ป่วย 4556 คน คิดเป็น 6.01% ซึ่งอยู่ในช่วง
analysis)? ที่ยอมรับได้
• Was the study stopped
early? If so, what was
the reason?
Section B: Was the study methodologically sound?

4. Yes No Can’t tell


• Were the participants ‘blind’ to
intervention they were given?   
• Were the investigators ‘blind’ to the   
intervention they were giving to
participants?
• Were the people assessing/analysing   
outcome/s ‘blinded’?
The treatment regimen comparing apixaban With VKA
was open label; however, the regimen comparing aspirin
with matching placebo was double-blind
5. Were the study groups similar at the Yes No Can’t tell
start of the randomised controlled trial?   
CONSIDER:
• Were the baseline characteristics of พิจ ารณาจากตารางแล้วพบว่า baseline characteristics
each study group (e.g. age, sex, socio-
economic group) clearly set out? ทั ้ ง กลุ ่ ม ที ่ เ คยเกิ ด stroke/TIA/TE และไม่ เ คยเกิ ด มี
• Were there any differences between
the study groups that could affect the baseline characteristics คล้ า ยคลึ ง กั น ยกเว้ น อายุ ,
outcome/s? CHA2DS2-VASC และ HAS-BLED scores, Prior bleeding
โดยในกลุ่มที่เคยเกิด stroke/TIA/TE มีจำนวนมากกว่า

6. Apart from the experimental Yes No Can’t tell


intervention, did each study group   
receive the same level of care (that is,
were they treated equally)?
มี ก ารระบุ โ รคร่ ว ม hypertension, HF และ DM ในตาราง
CONSIDER: baseline characteristics ซึ่งพบว่ามีจำนวนใกล้เคียงกัน แต่
• Was there a clearly defined study
protocol? ไ ม่ ม ี ก า ร ร ะ บุ Other Concomitant Medications at
• If any additional interventions were
given (e.g. tests or treatments), were Baseline จ า ก supplement ข อ ง AUGUSTUS trial :
they similar between the study groups? https://www.nejm.org/doi/suppl/10.1056/NEJMoa18
Were the follow-up intervals the same for 17083/suppl_file/nejmoa1817083_appendix.pdf จึ ง
each study group?
ไม่สามารถประเมินยา/การรักษาอื่นที่ใช้ร่วมของทั้งสองกลุ่ม
Section C: What are the results?

7. Were the effects of Yes No Can’t tell


intervention reported   
comprehensively?
- ไม่มีการคำนวณขนาดตัวอย่าง ผู้วิจัยนำผู้ป่วยทั้งหมด 4614 คนจากฐานข้อมูล
CONSIDER:
• Was a power มากำหนดตามเกณฑ์คัดเข้าและคัดออก
calculation
undertaken? - การประเมิน ISTH major หรือ CRNM และ efficacy outcome ระหว่างกลุ่ม
• What outcomes ที่เคยและไม่เคยเป็น stroke/TIA/TE ใช้กราฟ Kaplan-Meier ที่เวลา 6 เดือน
were measured, and
were they clearly หลังเริ่มให้ intervention โดยแกน Y เป็น the cumulative incidence และ
specified?
• How were the results ใช้ log-rank test เพื ่ อ เปรี ย บเที ย บระหว่ า งกลุ ่ ม ที่ เ คยและไม่ เ คยเป็ น
expressed? For stroke/TIA/TE
binary outcomes,
were relative and โดยสถิติที่ใช้ทดสอบของตัวแปรต่อเนื่องคือ Wilcoxon rank sum
absolute effects
reported? test ในการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่เคยและไม่เคยเป็น stroke/TIA/TE ใน
• Were the results การวิเคราะห์สถิติของตัวแปรแบ่งกลุ่มใช้ Fisher exact test มีความเหมาะสม
reported for each
outcome in each เนื่องจากผู้วิจัยต้องการทดสอบความแตกต่างของยา
study group at each
follow-up interval? - การรายงานผลลัพธ์หลัก เรื่องประสิทธิภาพระหว่าง apixaban VS VKA และ
• Was there any
missing or ระหว่า ง aspirin VS placebo มีการรายงานเป็น hazard ratios (HRs) with
incomplete data? 95%CIs and P values ซึ่ง hazard ratios นิยมใช้รายงานผลลัพธ์ชนิด binary
• Was there
differential drop-out ที่มีระยะเวลาติดตามผู้ป่วยเข้ามาร่วมวิเคราะห์ด้วย จึงถือว่าเหมาะสม
between the study
groups that could
affect the results?
• Were potential
sources of bias
identified?
• Which statistical
tests were used?
• Were p values
reported?

8. Was the precision of the Yes No Can’t tell


estimate of the   
intervention or treatment
effect reported? มี ก ารรายง าน 95% CI และผลลั พ ธ์ ใ นกลุ ่ ม ที ่ ไ ม่ เ ค ย เ ป็ น
CONSIDER: stroke/TIA/TE เป็นไปในทิศทางเดียวกันคือคร่อมค่า 1
• Were confidence
intervals (CIs)
reported?
9. Do the benefits of the Yes No Can’t tell
experimental   
intervention outweigh
the harms and costs? - พิจารณา effect size ของ apixaban VS VKA เพื่อประเมินนัยสำคัญทางคลินิก
CONSIDER:
แล้วพบว่า ในกลุ่มที่ไม่เคยเกิด stroke/TIA/TE การได้รับ apixaban ลดความเสี่ยง
• What was the size of ของการเกิ ด ISTH major หรื อ CRNM ได้ และยั ง ลดความเสี ่ ย งของการนอน
the intervention or
treatment effect? โรงพยาบาลหรือการเสียชีวิต เมื่อเทียบกับการได้รับ VKA แต่ผลลัพธ์ทั้งสองไม่มี
• Were harms or นัยสำคัญทางคลินิก โดยประเมินจาก HR = 0.68 และ 0.82 ตามลำดับ
unintended effects
reported for each
study group?
• Was a cost- - ประเมิน NNH จากกราฟในรูปที่ 3 ถึงความเสี่ยงของการเกิด ISTH major หรือ
effectiveness CRNM พบว่าการได้รับ VKA + Aspirin ทำให้เกิด ISTH major หรือ CRNM มาก
analysis undertaken?
(Cost-effectiveness ที่สุดคือ 22.8% และ 19.6% ในผู้ทเี่ คยและไม่เคยเป็น stroke/TIA/TE ตามลำดับ
analysis allows a
comparison to be
made between
different - จากกราฟในรูปที่ 4 ประเมินความเสี่ยงของการนอนโรงพยาบาลหรือการเสียชีวิต
interventions used in พบว่าในผู้ที่เคยเป็น stroke/TIA/TE การได้รับ apixaban + Aspirin และ VKA +
the care of the same
condition or Aspirin ทำให้เกิดความเสี่ยงของการนอนโรงพยาบาลหรือการเสียชีวิต ใกล้เคียงกัน
problem.)
คือ 32.7% และ 32.5% ตามลำดับ แต่ในผู้ที่ไม่เคยเป็น stroke/TIA/TE การได้รับ
apixaban + Aspirin ทำให้เกิดน้อยกว่า คือ 24.4% ในขณะที่ VKA + Aspirin มี
ความเสี่ยงของการนอนโรงพยาบาลหรือการเสียชีวิตเท่ากับ 27.6%

- จากกราฟในรูปที่ 5 ประเมินความเสี่ยงของการเกิด ischemic events หรือการ


เสียชีวิต พบว่าในกลุ่มที่เคยเป็น stroke/TIA/TE การได้รับ VKA + Aspirin ทำให้
เกิดน้อยกว่า คือ 7.2% ในขณะที่ apixaban + Aspirin มีความเสี่ยงของการเกิด
ischemic events หรือการเสียชีวิตเท่ากับ 8.4% ซึ่งสอดคล้องในกลุ่มทีไ่ ม่เคยเป็น
stroke/TIA/TE การได้รับ VKA + Aspirin ทำให้เกิด ischemic events หรือการ
เสียชีวิต คือ 5.7% และ apixaban + Aspirin เท่ากับ 6.0%
รูปที่ 3 Kaplan-Meier curves for ISTH major or CRNM bleeding in patients
with (A) and without (B) prior stroke/TIA/TE
รูปที่ 4 Kaplan-Meier curves for death or hospitalization in patients with
(A) and without (B) prior stroke/TIA/TE
รูปที่ 5 Kaplan-Meier curves for death or ischemic events in patients with
(A) and without (B) prior stroke/TIA/TE
Section D: Will the results help locally?

10. Can the results be applied to your Yes No Can’t tell


local population/in your context?   
CONSIDER:
• Are the study participants ผู้ป่วยในการศึกษานี้ ส่วนใหญ่คือผู้ป่วยเพศชาย, อายุ 71 ปี, เชื้อ
similar to the people in your
care? ชาติ White, ไม่เป็นโรคไตวายเรื้อรัง และเป็นโรคความดันโลหิตสูง
• Would any differences between ซึ่งสามารถประยุกต์ใช้ผลการศึกษานี้กับผู้ป่วยในท้องถิ่น ประเทศ
your population and the study
participants alter the outcomes ไทยได้ เ นื ่ อ งจากไม่ พ บข้ อ จำกั ด ของโรค AF ระหว่ า งเชื ้ อ ชาติ
reported in the study?
• Are the outcomes important to อย่า งไรก็ตามการศึกษานี้มีข้อจำกัด คือ ไม่ได้วิเคราะห์ผู้ ป่วย
your population?
• Are there any outcomes you stroke หรือ TIA หรือ TE อย่างเดียวซึ่งมีความเป็นไปได้ที่จะเกิด
would have wanted information ischemic หรื อ bleeding events ที ่ แ ตกต่ า งกั น นอกจากนี้
on that have not been studied or
reported? การศึกษานี้ยังเป็น การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยภายหลังการทดสอบ
• Are there any limitations of the
study that would affect your รวม หรือเรียกว่าการเปรียบเทียบภายหลัง (Posterior Tests หรือ
decision? Post Hoc Test) เพื ่ อ ประเมิ น type 1 error จาก AUGUSTUS
trial ดังนั้นผลลัพธ์ในการทำ sungroup จึงมักจะ underpowered
to show robust findings

11. Would the experimental Yes No Can’t tell


intervention provide greater value   
to the people in your care than any
of the existing interventions?
การได้รับ apixaban มีประโยชน์ด้านลดความเสี่ยงของการเกิด
CONSIDER: ISTH major หรือ CRNM ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทีย บ
• What resources are needed to
introduce this intervention กับการได้รับ VKA และยังลดความเสี่ยงของการนอนโรงพยาบาล
taking into account time,
finances, and skills development หรือการเสียชีวิต ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทีย บกับการ
or training needs? ได้รับ VKA ในกลุ่มที่ไม่เคยเป็น stroke/TIA/TE มาก่อน อย่างไร
• Are you able to disinvest
resources in one or more ก็ตามพบว่ายา apixaban มีราคาแพงและเป็นยานอกบัญชียา
existing interventions in order to
be able to re-invest in the new หลักแห่งชาติเมื่อเทียบกับยา VKA หรือ Warfarin ที่เป็นบัญชี ค.
intervention? แล้วพบว่าไม่มีความแตกต่างกันทางคลินิกอย่างมีนัยสำคัญ ใน
บริบทประเทศไทยจึงอาจยังพิจารณา VKA + aspirin มากกว่า

APPRAISAL SUMMARY:

การศึกษามีคำถามวิจัยที่ชัดเจน เกณฑ์คัดเข้าและคัดออกชัดเจน เป็นการศึกษารูปแบบที่ไม่สามารถปกปิดผู้ป่วยและ


แพทย์ผู้ดูแลผู้ป่วยได้เนื่องจากต้องคำนึงถึง ความปลอดภัยของผู้ป่วย แต่อย่างไรก็ ตามผู้วิจัย สามารถออกแบบให้ปกปิดผู้
วิเคราะห์ผลลัพธ์ได้ งานวิจัยมีการสุ่มเป็น 2x2 factorial randomization มีจำนวนผู้ป่วยที่ออกจากการศึกษาไม่ถึง 20% อยู่
ในช่วงที่ยอมรับได้ การศึกษาจึงถือว่ามี selection bias น้อย แต่อาจมี information bias ได้เนื่องจากไม่ปกปิดในช่วงต้นของ
การสุ่ม นอกจากนี้ยังติดตามในระยะเวลาที่เหมาะสมคือ 6 เดือนซึ่งตรงตามแนวทาง 2020 ESC แต่ไม่มีการระบุยาอื่นที่ใช้ร่วม
ของผู้ป่วย จึงไม่สามารถประเมินได้ว่ามีการควบคุมปัจจัยอื่น ๆ หรือมีตัวแปรกวนหรือไม่ ซึ่งอาจทำให้เกิด confounder bias
และ Co-intervention bias ได้
เมื่อพิจารณาถึงผลการศึกษา AUGUSTUS trial ที่ให้ผลลัพธ์ว่า apixaban ทำให้เกิด bleeding น้อยกว่า vitamin K
antagonist (VKA) และ aspirin ทำให้เกิด bleeding มากกว่ายาหลอกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ควบคู่กับการพิจารณาผลลัพธ์
ของการศึกษา post hoc นี้ ที่ได้ทำการแบ่งกลุ่มประชากรออกเป็นผู้ที่เคยเกิดและไม่เคยเกิด stroke/TIA/TE เพื่อลด type 1
error แล้วพบว่า ผลลัพธ์จาก AUGUSTUS trial สามารถอ้างอิงได้เฉพาะกลุ่มผู้ที่ไม่เคยเกิด stroke/TIA/TE มาก่อน เนื่องจาก
ผลลัพธ์ของการศึกษานี้พบว่า ในกลุ่มที่เคยเกิด stroke/TIA/TE ไม่มีความแตกต่างทั้งด้านประสิทธิภาพและความปลอดภัย
ระหว่างการใช้ยา Apixaban หรือ Vitamin K antagonist และระหว่างการใช้ยา Aspirin หรือยาหลอก
ดังนั้นในบริบทประเทศไทย ผู้ป่วย AF ที่เคยเกิด stroke/TIA/TE มาก่อน และกำลังจะได้รับยา P2Y12 inhibitor แพทย์
สามารถพิจารณาให้ Apixaban หรือ Warfarin ร่วมกับ Aspirin ตามระยะเวลาที่กำหนด โดยประเมินระยะเวลาจากความเสี่ยง
ของการเกิด bleeding หรือความเสี่ยงการในการเกิด ischemic stroke เป็นสำคัญ

You might also like