You are on page 1of 17

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 63

 
 

ผศ.ดร.บารเมศ วรรธนะภูติ
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์
ดร.ณัฐ มาแจ้ง
ภาควิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้ํา
คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์

ตุลาคม 2554 ก่อนน้ําท่วมกรุงเทพฯ ภ า ย ใ น ห้ อ ง ป ร ะ ก อ บ ด้ วย ค ณ ะ ทํ า ง า น ข อ ง


ท่านปลอดประสพ สุรัสวดี รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ผมได้ รั บ การติ ด ต่ อ จากสถาบั น Deltares วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งคณะทํางานจาก
แห่งประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึ่งรู้จักมาก่อนจากการ สถาบั น สารสนเทศทรั พ ยากรน้ํ า และการเกษตร
แลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการ สถาบัน Deltares (HAII) และ สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและ
ทราบว่ า ประเทศไทยประสบปั ญ หาน้ํ า ท่ ว มอย่ า ง ภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
รุนแรง และทางรัฐบาลเนเธอร์แลนด์พร้อมให้ความ
ช่วยเหลือโดยจะส่งผู้เชี่ยวชาญทางด้านน้ําท่วม เพื่อ Mr. Adri Verwey เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านน้ํา
มาช่ ว ยเหลื อ ประเทศไทย และขอให้ ผ มช่ ว ย ท่ ว มระดั บ โลก ซึ่ ง เป็ น ผู้ ริ เ ริ่ ม พั ฒ นาโปรแกรม
ประสานงานให้ข้อมูลทางด้านเทคนิค และอํานวย วิเคราะห์การไหลของน้ํา (เช่น โปรแกรม MIKE 11
ความสะดวกต่างๆ เวลานั้นเป็นช่วงส่งคะแนนสอบ และ SOBEK) เคยมีประสบการณ์ทํางานที่ประเทศ
ปลายภาคประจําปี พ.ศ. 2554 และปิดเทอม ผมจึง ไทยและมีความคุ้นเคยกับนักวิชาการและวิศวกรไทย
ได้ปรึกษากับหัวหน้าภาควิชาฯ และตัดสินใจตกลง หลายคน Mr. Adri เริ่มซักถามข้อมูลเกี่ยวกับน้ําท่วม
เข้าร่วม และในวันรุ่งขึ้น (18 ตุลาคม 2554) ได้ไป และข้ อ มู ล โครงสร้ า งพื้ น ฐานของเมื อ งกรุ ง เทพฯ
พบผู้เชี่ยวชาญน้ําท่วมที่สนามบินดอนเมือง “ปริ ม าณน้ํ า ที่ ไ หลจากภาคเหนื อ มี ม ากเท่ า ไร?”
ผมจํ า ได้ว่ า ตอนนั้น จั ง หวัด สิ ง ห์ บุ รี ชั ย นาท ลพบุ รี
ขณะนั้ น สนามบิ น ดอนเมื อ งได้ ถู ก ปรั บ ให้ และ อยุธยา น้ําได้ท่วมล้นตลิ่ง และไหลมาถึงจังหวัด
เป็นศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย หรือ นนทบุรี (นิคมอุตสาหกรรม HiTech) และปทุมธานี
เรี ย กสั้ น ๆ ว่ า ศปภ. ซึ่ ง มี พ ลตํ า รวจเอกประชา (นิคมอุตสาหกรรมนวนคร) ปริมาณน้ําเหนือ
พรหมนอก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กรุงเทพฯ วิเคราะห์จากข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียม
เป็นหัวหน้าหลัก และมีหน่วยงานจากกระทรวงต่างๆ (13 ต.ค. 54) มีค่าประมาณ 15,260 ล้าน ลบ.ม.
รวมทั้งกองทัพไทย ศปภ. ยังเป็นศูนย์รับของบริจาค (ดังรูปที่ 1 และ รูปที่ 2)
และศูนย์อพยพของประชาชนที่ได้ความเดือดร้อน
จากภัยน้ําท่วม ผมได้เข้าพบ Mr. Adri Verwey ที่
ห้อ งทํ า งานกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี

เทคโนโลยีผลิตภัณฑและนวัตกรรมดานวิศวกรรม ฉบับการจัดการ/การแกปญหาภัยธรรมชาติ ป 2555


64 
  คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

รูปที่ 1 ลําดับเหตุการณ์มหาอุทกภัยในพื้นที่ลุ่มแม่น้ําเจ้าพระยา ปี พ.ศ. 2554


ที่มา : ADB (2012)

เทคโนโลยีผลิตภัณฑและนวัตกรรมดานวิศวกรรม ฉบับการจัดการ/การแกปญหาภัยธรรมชาติ ป 2555


  คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 65

รูปที่ 2 พื้นที่น้ําท่วมจากการวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียม ระหว่าง กันยายน – ธันวาคม พ.ศ. 2554 (Radarsat)


ที่มา: GISTDA
Mr. Adri บอกว่า ถ้าข้อมูลเป็นไปตาม 300 ล้ า น ลบ.ม./วั น และคลองระบายน้ํ า ทั้ ง ฝั่ ง
ตัวเลขดังกล่าว แสดงว่าปริมาณน้ําจะเกินศักยภาพ ตะวันออก (คลองชัยนาท-ป่าสัก, คลองระพีพัฒน์)
ความสามารถของระบบระบายของลุ่ ม แม่ น้ํ า และฝั่งตะวันตก (คลองมะขามเฒ่า-อู่ทอง, แม่น้ํา
เจ้าพระยาตอนล่าง ซึ่งศักยภาพในการระบายน้ํา สุพรรณบุรี) สามารถระบายได้ประมาณ 200 ล้าน
ของแม่ น้ํ า เจ้ า พระยาตอนล่ า งมี ค่ า ประมาณ ลบ.ม./วัน ดังนั้นจึงคาดว่าน้ําจะล้นตลิ่งและน้ําทุ่งจะ
เทคโนโลยีผลิตภัณฑและนวัตกรรมดานวิศวกรรม ฉบับการจัดการ/การแกปญหาภัยธรรมชาติ ป 2555
66 
  คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

 
ไหลลงมายังกรุงเทพฯ และยากที่จะป้องกันได้ นอก โดย GISTDA และทีมงานท่าน ดร.อานนท์ สนิทวงศ์
เสี ย จากกรุ ง เทพฯ มี คั น กั้ น น้ํ า รอบเมื อ ง หรื อ ที่ ณ อยุ ธ ยา และได้ ค อมพิ ว เตอร์ อ ย่ า งดี จํ า นวน 5
เรียกว่า King Dyke รวมทั้งจําเป็นต้องวิเคราะห์การ เครื่ อ ง จากศู น ย์ เ ทคโนโลยี อิ เ ล็ ค โทรนิ ค และ
ไหลของน้ําอย่างเร่งด่วน เพื่อพยากรณ์ทิศทาง ความ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) เพื่อจัดทําโมเดล
สู งของระดับน้ําและอั ตราการไหล และแจ้งให้ผู้ ที่ พยากรณ์น้ํา
เกี่ยวข้องได้ทราบ Mr. Adri ย้ํากับผมว่า น้ําท่วม
ทีมงานมีกันทั้งหมด 4 คน คือ Mr. Adri
ครั้งนี้เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้ยาก แต่สามารถบรรเทา
Verwey, Mr. Chris Cottonman (วิศวกรอาสา
ได้ถ้าสามารถพยากรณ์และแจ้งเตือนแก่ประชาชน
สมัครและเป็นผู้ประสานงานต่างประเทศ) ดร.ณัฐ
ล่วงหน้า โดยการใช้โมเดลพยากรณ์น้ําท่วม
และ ผม (ดังรูปที่ 3)

รวบรวมข้อมูล สร้างทีมงาน สร้างโมเดล


น้ําท่วม
ในการจําลองเหตุการณ์น้ําท่วมจําเป็นต้อง
ใช้ข้อมูลระดับความสูงของพื้นที่ ขนาดความกว้าง
ความลึกของแม่น้ํา ลําคลอง ระบบสาธารณูปโภค
ต่างๆ เช่น ความสูงของถนน ทางรถไฟ ตําแหน่ง (ก)
และประสิทธิภาพของสถานีสูบน้ํา ข้อมูลระดับน้ํา
ในแม่น้ํา ระดับน้ําในทุ่ง ระดับน้ําทะเล และที่สําคัญ
คือ แนวคันกั้นน้ําของเมืองหลวง รวมทั้งความสูงของ
แนวกระสอบทรายกั้ น น้ํ าชั่ ว คราว ผมได้ รี บติ ด ต่ อ
อ.ดร.ณั ฐ มาแจ้ ง ซึ่ ง เป็ น รุ่ น พี่ ส มั ย ที่ เ รี ย นที่
มหาวิ ท ยาลั ย และเป็ น อาจารย์ ป ระจํ า ภาควิ ช า
วิศวกรรมทรัพยากรน้ํา ม.เกษตรศาสตร์ เพื่อขอให้ (ข)
มาร่ ว มที ม และได้ ติ ด ต่ อ บุ ค คลต่ า งๆ ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่
เป็ น ศิ ษ ย์ เ ก่ า และรุ่ น พี่ ข องคณะวิ ศ วกรรมศาสตร์
ที่ทํางานในหน่วยงานต่า งๆ เช่ น กรมชลประทาน
กรุ ง เทพมหานคร กรมทางหลวง กรมทางหลวง
ชนบท กรมเจ้าท่า เพื่อขอข้อมูลดังกล่าว
ท่านรัฐมนตรีปลอดประสพ สุรัสวดี ได้ให้
ความอนุเคราะห์แ ละสนับ สนุ นการทํ างานร่วมกับ
GISTDA และ HAII เราได้รับข้อมูล DEM (Digital (ค)
Elevation Model) จากทีมงาน HAII ของท่าน ดร. รูปที่ 3 (ก) ทีมงานจัดทําโมเดลน้ําท่วม (ซ้ายไปขวา:
รอยล จิตรดอน และนํามาปรับปรุงโดยใส่ความสูง Mr.Adri Verwey, Mr.Chris Cottonman, บารเมศ
วรรธนะภูติ และ ผู้เชี่ยวชาญจาก UN) (ข) ดร.ณัฐ มาแจ้ง
ของถนน ทางรถไฟ คั น กั้ น น้ํ า คลองประปา และ เข้ามาร่วมทีม (ค) Mr.Adri Verwey นําเสนอผลการ
แนวกระสอบทราย รวมทั้ ง ขนาดแม่ น้ํ า ลํ า คลอง วิเคราะห์การไหลของน้ําและแนวทางป้องกันน้ําท่วมแก่
ประตูน้ํา และสถานีสูบน้ําในพื้นที่กรุงเทพฯ ข้อมูล ท่านนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายทหารระดับสูง
ลํา ดั บ เหตุ ก ารณ์ น้ํ าท่ ว มได้ จ ากภาพถ่ า ยดาวเที ย ม และทีมผู้เชี่ยวชาญน้ําของประเทศไทย
ที่มา: หนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจ
เทคโนโลยีผลิตภัณฑและนวัตกรรมดานวิศวกรรม ฉบับการจัดการ/การแกปญหาภัยธรรมชาติ ป 2555
  คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 67

 
พวกเรามี เ วลาไม่ ม ากนั ก และต้ อ งการผล ของข้อมูล และรวมรวมข้อมูลที่ไม่สามารถหาได้จาก
วิเคราะห์เบื้องต้นภายใน 2 - 3 วัน เนื่องจากเวลาที่ สํานักงาน เราได้รับความร่วมมือจากกองทัพไทย โดย
จํ า กั ด จึ ง ได้ ตั ด สิ น ใจจํ า ลองพื้ น ที่ ก รุ ง เทพฯ ฝั่ ง มีนายทหารชั้นผู้ใหญ่ช่วยนําไปดูสภาพคันกั้นน้ํารอบ
ตะวันออกของแม่น้ําเจ้าพระยาเพื่อทําโมเดลการไหล เมืองกรุงเทพฯ และได้มีโอกาสขึ้นเฮลิคอปเตอร์ ลง
ของน้ํา (1D/2D SOBEK MODEL) เรือ และ รถทหาร GM เพื่อสํารวจสภาพน้ําท่วม
เหนือกรุงเทพฯ สํารวจสภาพคลอง แม่น้ําเจ้าพระยา
ศปภ. เป็ น ศู น ย์ ร วมของหน่ ว ยงานต่ า งๆ
และประตู น้ํ า สถานี สู บ น้ํ า ร่ ว มกั บ ท่ า นประภั ส ร์
ได้แก่ กรมชลประทาน กรุงเทพมหานคร กรมทาง
จงสงวน ผู้ ช่ ว ยรั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงคมนาคม
หลวง ซึ่งเจ้าหน้าที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ข้อมูลต่างๆ
และท่ า น ดร.อภิ ช าติ อนุ กู ล อํ า ไพ นายกสมาคม
(ที่สามารถหาได้ขณะนั้น) เป็นอย่างดี และทํางาน
ทรั พ ยากรน้ํ า แห่ ง ประเทศไทย และที่ ป รึ ก ษา
ร่วมกันตลอดเวลา นอกจากนี้พวกเรายังได้รับความ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช่วยเหลือจากนักวิชาการ เช่น ศ.ดร.สุภัทท์ วงศ์วิเศษ
เพื่อนํามาปรับปรุงโมเดลพยากรณ์น้ํา (ดังรูปที่ 4 ถึง
สมใจ ดร.สุ ทั ศ น์ วี ส กุ ล ท่ า นวี ร ะ วงศ์ แ สงนาค
6) ตลอดการลงสํ า รวจพื้ น ที่ ไ ด้ ทํ า ความรู้ จั ก กั บ
(ที่ ป รึ ก ษาอธิ บ ดี ก รมชลประทาน) และวิ ศ วกรจาก
ชาวบ้านในพื้นที่ (เช่น บริเวณคลองรังสิต ดอนเมือง
บริ ษั ท ที่ ป รึ ก ษาด้ า นแหล่ ง น้ํ า ของประเทศ เพื่ อ ให้
ชาวบ้านริมคลองแสนแสบ) เพื่อขอความร่วมมือใน
ข้อมูลเชิงลึกและข้อเสนอแนะในการทําโมเดล 1 มิติ
การให้ข้อมูลความสูงของระดับน้ําในพื้นที่ โดยผ่าน
และ 2 มิติ ในการจําลองน้ําในแม่น้ําและน้ําในทุ่ง
ทางโทรศัพท์ เพื่อประกอบกับข้อมูลที่แสดงใน Web
สํารวจภาคสนาม บันทึกข้อมูล ของกรมชลประทาน และกรุ ง เทพมหานคร ซึ่ ง
รายงานจากสถานี วั ด ระดั บ น้ํ า และนํ า ข้ อ มู ล มา
การจัดทําโมเดลต้องดําเนินการควบคู่กับการ ปรับปรุงโมเดลเพื่อให้ผลการพยากรณ์ถูกต้องมากขึ้น
สํารวจภาคสนาม เพื่อตรวจสอบความถูกต้องแม่นยํา

(ก) (ข)

   
(ค) (ง)
รูปที่ 4 ภาพถ่ายทางอากาศ สํารวจสภาพน้ําท่วม
(ก) จ.สิงห์บุรี (ข) จ.ชัยนาท (ค) จ.ปทุมธานี (ง) Siphon คลองประปา และคลองรังสิต
 
เทคโนโลยีผลิตภัณฑและนวัตกรรมดานวิศวกรรม ฉบับการจัดการ/การแกปญหาภัยธรรมชาติ ป 2555
68 
  คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

   
(ก) (ก)

   
(ข) (ข)
รูปที่ 6 (ก) สภาพคลองบ้านใหม่ ซึ่งผักตบชวา
กีดขวางทางน้ํา (ข) ขยะและปฏิกูลติดหน้าตะแกรง
สถานีสูบน้ําพระโขนง ทําให้ประสิทธิภาพการระบาย
น้ําของสถานีลดลงเนื่องจากต้องปิดเครื่องสูบน้ําเพื่อ
ทําความสะอาด 2 – 4 ชั่วโมง/วัน 
ในแต่ ล ะวั น ผม และ ดร.ณั ฐ ต้ อ ง
รายงานสภาพน้ําในแม่น้ําเจ้าพระยา ที่นครสวรรค์
  (C.2) สิงห์บุรี (C.3) อยุธยา (C.29) และ คลอง
(ค) รังสิต และระดับน้ําทะเล และโทรศัพท์สอบถาม
ข้อมูลระดับน้ําจากชาวบ้านในพื้นที่แก่ Mr. Adri
เพื่อปรับปรุงโมเดล (ดังรูปที่ 7) และในที่สุดวันที่
22 ตุลาคม 2554 ผลการวิเคราะห์โมเดลน้ําท่วม
เบื้องต้นเสร็จสิ้น ถ้าคันกั้นน้ํา (King Dyke) สูง
เพียงพอจะสามารถป้องกันน้ําท่วมกรุงเทพฯ  ได้
แต่ ถ้ า มี ก ารพิ บั ติ หรื อ ไม่ ไ ด้ เ สริ ม ความสู ง ของ
King Dyke น้ําทุ่งจะไหลเข้าท่วมพื้นที่กรุงเทพฯ
(ง) ชั้ น ใน ท่ ว มขั ง และไม่ ส ามารถระบายออกได้
รูปที่ 5 รูปถ่ายระหว่างการสํารวจแนวคันกั้นน้ํา ภายใน 1 ถึง 2 สั ปดาห์ เพราะระบบระบายน้ํา
(ก) การเสริมกระสอบทรายริมตลิ่งแม่น้ําเจ้าพระยา ของเมื อ งกรุ ง เทพฯ นั้ น ออกแบบสํ า หรั บ การ
(ข) คันกั้นน้ําริมตลิ่งแม่น้ําเจ้าพระยา ต.บ้านใหม่ จ.ปทุมธานี ระบายน้ําฝนที่ตกในพื้นที่กรุงเทพฯ เป็นสําคัญ
(ค) ตรวจแนวคันกั้นน้ํา บริเวณคลองรังสิตตัดกับคลองประปา (Polder system) ไม่ได้ออกแบบสําหรับการ
(ง) เสริมกระสอบทราบเข้าไปในตัวบ้าน บริเวณคลองหกวา ระบายน้ํ า ทุ่ ง ซึ่ ง ไหลหลากจากตอนเหนื อ ของ
เพื่อป้องกันน้ําท่วมเข้าพื้นที่ชุมชน
  กรุงเทพฯ ลงสู่อ่าวไทย (ดังรูปที่ 8)
เทคโนโลยีผลิตภัณฑและนวัตกรรมดานวิศวกรรม ฉบับการจัดการ/การแกปญหาภัยธรรมชาติ ป 2555
  คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 69

35
 

30
16 Sep. 13 Oct.
28 Oct. Nakorn Sawan (26.3 m)

25

Water Level, MSL (m)


Nakorn Sawan (C2) 20

5 Sep. 23 Oct.
15 15 Nov.
Sing Buri (C3) Singburi (11.7 m)

10

Ayutthaya (C29) 24 Sep. 25 Oct.


5 Ayutthaya (3.04 m)

0
01-Aug-11 01-Sep-11 01-Oct-11 01-Nov-11 01-Dec-11
  Date  
(ก) (ข)
รูปที่ 7 (ก) สถานีตรวจวัดระดับน้ําที่นครสวรรค์ สิงห์บุรี และอยุธยา (ข) ความสูงระดับน้ํา ณ เวลาต่างๆ

(ก) วันที่ 20 ตุลาคม 2554 (ข) วันที่ 28 ตุลาคม 2554

(ค) วันที่ 1 พฤศจิกายน 2554 (ง) วันที่ 5 พฤศจิกายน 2554

(จ) วันที่ 10 พฤศจิกายน 2554 (ฉ) วันที่ 26 พฤศจิกายน 2554


รูปที่ 8 ผลการพยากรณ์น้ําท่วมพื้นที่กรุงเทพฯฝั่งตะวันออก ระหว่างตุลาคม ถึง พฤศจิกายน 2554
โดย 1D/2D SOBEK MODEL [กรณี มีช่องเปิด ที่ King Dyke 2 ตําแหน่ง คือ บริเวณคลองรังสิต
(ระหว่างถนนพหลโยธิน ถึงประตูน้ําจุฬาลงกรณ์) และคลองหกวาสายล่าง (ด้านทิศตะวันออกของดอนเมือง)]

เทคโนโลยีผลิตภัณฑและนวัตกรรมดานวิศวกรรม ฉบับการจัดการ/การแกปญหาภัยธรรมชาติ ป 2555


70 
  คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

 
King Dyke กําหนดให้เป็นทางผ่านและพื้นที่ท่วมขังของน้ํา หรือ
เรียกว่า Flood Way หรือ Flood Retarding Area
ยุทธศาสตร์ในการป้องกันท่วมประเทศขึ้นกับ (ดังรูปที่ 9) ภายหลังจากเหตุการณ์น้ําท่วมใหญ่
สภาพพื้ น ที่ แ ละปั จ จั ย ต่ า งๆ เช่ น ความมั่ ง คงของ กรุงเทพฯ ในปี พ.ศ. 2526 กรุงเทพมหานครร่วมกับ
ประเทศ พื้นที่เศรษฐกิจ และชุมชน เป็นต้น บางพื้นที่ กรมชลประทาน และการรถไฟแห่งประเทศไทยได้
ต้ อ งปล่ อ ยให้ น้ํ า ไหลผ่ า นเพื่ อ การระบายลงสู่ ท ะเล ดํ า เนิ น การก่ อ สร้ า งคั น กั้ น น้ํ า รอบเมื อ ง หรื อ King
และในบางพื้ น ที่ จํ า เป็ น ต้ อ งป้ อ งกั น เพื่ อ ลด Dyke เพื่อป้องกันน้ําทุ่งซึ่งไหลมาทางเหนือและด้าน
ผลกระทบและความเสียหายส่วนรวมของทั้งประเทศ ตะวันออกของกรุงเทพฯ เดิมที King Dyke เป็นคัน
พื้นที่กรุ งเทพฯ ชั้นในจําเป็นต้ องป้องกันและรักษา ดินเหนียวบดอัด สร้างตามแนวถนนพหลโยธิน สาย
ไม่ ใ ห้ น้ํ า ท่ ว ม เนื่ อ งจากจะส่ ง ผลกระทบต่ อ ระบบ ไหม หทัยราษฎร์ ร่มเกล้า และกิ่งแก้ว มีความยาว
สาธารณู ป โภค เช่ น ระบบน้ํ า ประปา ระบบไฟฟ้ า ทั้งสิ้นประมาณ 72 กม. ภายหลังได้ถูกปรับปรุงโดย
ระบบคมนาคมขนส่ ง ธนาคารและการคลั ง ของ กรุงเทพมหานครเป็นถนน 2 ถึง 4 เลน ความสูงของ
ประเทศ และการบริหารจัดการและการบรรเทาภัย King Dyke ประมาณ 1.0 – 2.9 ม. (รทก.) อีกทั้ง
ของรัฐบาล ตลอดจนความมั่งคงของประเทศ ตลอดแนวฝั่งแม่น้ําเจ้าพระยามีกําแพงกั้นน้ําคอนกรีต
ระดับความสูงพื้นที่กรุงเทพฯ ส่วนใหญ่ มีค่า เพื่อป้องกันน้ําล้นตลิ่ง ความยาวของ King Dyke
0 – 0.5 ม. (รทก.) โดยเฉพาะทางฝั่งตะวันออกของ และกําแพงกั้นน้ําของกรุงเทพฯ ฝั่งตะวันออก มีความ
เมืองซึ่งเป็นพื้นที่ต่ํา และเป็นทางระบายน้ําหลากตาม ยาวทั้งสิ้น ประมาณ 163 กม.
ธรรมชาติ ไ หลลงสู่ อ่ า วไทย และในอดี ต ได้ ถู ก

King’s dyke

รูปที่ 9 ระดับความสูงของพื้นที่กรุงเทพฯและปริมลฑล และแนวคันกั้นน้ํา King Dyke

เทคโนโลยีผลิตภัณฑและนวัตกรรมดานวิศวกรรม ฉบับการจัดการ/การแกปญหาภัยธรรมชาติ ป 2555


  คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 71

รูปที่ 10 แนวกระสอบทรายชั่วคราว และแนว King Dyke

ในช่ วงเหตุ ก ารณ์ น้ําท่ วม ปี 2554


กระสอบทรายและคันดินชั่วคราวได้ถูกสร้าง
ขึ้ น ทางตอนเหนื อ และตะวั น ออกของ
กรุ ง เทพฯ เพื่ อ ป้ อ งกั น น้ํ า ท่ ว มสนามบิ น
สุวรรณภูมิ นิคมอุ ตสาหกรรมบางชัน และ
นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง และเป็นแนว
ผั น น้ํ า ทุ่ ง ให้ ไ หลไปทาง ทิ ศ ตะวั น ออกลงสู่
แม่น้ําบางปะกงและออกสู่อ่าวไทยตามลําดับ
King Dyke และกําแพงกั้นน้ําริมตลิ่งถูกปรับ
สูงขึ้นจากเดิม 1 – 2.5 ม. โดยใช้กระสอบ
ทราย เพื่อป้องกันน้ําไหลเข้าตัวเมือง (ดังรูป
ที่ 10 และ 11)
พวกเราไปสํ า รวจแนวคั น กั้ น น้ํ า
กําแพงกั้นน้ํา และพบว่าบางพื้นที่คันกั้นน้ํา
ต่ํ า เกิ น ไป (โดยเที ย บกั บ ผลการพยากรณ์
ระดับความสูงของน้ําโดยโมเดล) และ
ประชาชนในหลายพื้ น ที่ ต้ อ งการความ
ช่วยเหลือจากรัฐบาลในการจัดหากระสอบ  
ท ร า ย ม า เ ส ริ ม แ ล ะ จั ด ย า ม เ ฝ้ า ร ะ วั ง รูปที่ 11 ระดับความสูงของ King Dyke และกําแพง
นอกจากนี้พบการกัดเซาะของดินใต้กําแพง กันน้ําท่วมรอบกรุงเทพมหานครฝั่งตะวันออก
เทคโนโลยีผลิตภัณฑและนวัตกรรมดานวิศวกรรม ฉบับการจัดการ/การแกปญหาภัยธรรมชาติ ป 2555
72 
  คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

 
และคันกั้นน้ํา หรือเรียกว่า Piping ซึ่งเป็นอันตราย ขอบคุ ณ ทหารที่ ไ ด้ ใ ห้ ก ารเสี ย สละ ช่ ว ยเหลื อ
ต่อโครงสร้างและอาจนําไปสู่การพิ บัติได้ (ดังรูปที่ ประชาชน และสนับสนุนรัฐบาลในครั้งนี้
12) อีกปัจจัยที่เป็นกังวลขณะนั้นคือระดับน้ําทะเล
กําลังขึ้นสูงและจะมีค่าสูงสุดที่ช่วงวันที่ 26 ถึง 30 พบรูรั่วของคันกั้นน้ํา
ตุ ล าคม 2554 และอาจส่ ง ผลให้ น้ํ า ในแม่ น้ํ า ในวันที่ 24 – 25 ตุลาคม 2554 มีรายงาน
เจ้าพระยาล้นตลิ่งได้ ข่ า วน้ํ า เริ่ ม ไหลเข้ า ท่ ว มหมู่ บ้ า นเมื อ งเอก และ
มหาวิทยาลัยรังสิต รวมทั้งเหตุการณ์น้ําไหลเข้ามา
ท่วมถนนพหลโยธินโดยเฉพาะบริเวณอนุสรณ์สถาน
ระดับน้ําเพิ่ม สูงขึ้นประมาณ 1 เมตรอย่างรวดเร็ว
จากผลการจําลองโมเดลน้ําท่วมนั้น ถ้าระดับน้ําล้น
King Dyke ความสูงของน้ําและความเร็วในการไหล
จะไม่รวดเร็วเช่นนี้ Mr. Adri สันนิษฐานว่า นี่เป็น
สัญญาณเตือนเหตุถึงคันกั้นน้ําพัง หรืออาจมีช่องโหว่
ของแนวคันกั้นน้ํา King Dyke
 
รูปที่ 12 Piping เกิดขึ้นบริเวณฐานกําแพงกั้นน้ํา
วั น ที่ 26 ตุ ล าคม 2554 ท่ า นประภั ส ร์
จงสงวน ผู้ ช่วยรั ฐ มนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
และท่าน ดร.อภิชาติ อนุกูลอําไพ จึงได้นําทีมพวก
ในวันที่ 23 ตุลาคม 2554 จึงได้นําเรื่องนี้ เราลงเรือยางออกสํารวจถึงสาเหตุของการที่น้ําท่วม
เสนอต่อพลเอกวรพงษ์ สง่าเนตร เสนาธิการทหาร ฉับพลัน พบว่ามีช่องโหว่ 2 ตําแหน่งซึ่ งไม่ได้เสริม
เพื่อขอความช่วยเหลือจากกองทัพไทยระดมพลเข้า กระสอบทรายสู งเพี ย งพอ คือ บริ เ วณคลองรังสิ ต
มาดูแลช่วยเหลือประชาชนตามแนวคันกั้นน้ํา และ (ระหว่ า งถนนพหลโยธิ น ถึ ง ประตู น้ํ า จุ ฬ าลงกรณ์ )
จัดเวรยามตรวจสอบความมั่นคงของคันกั้นน้ํา และ และ คลองหกวาสายล่ าง (ด้ า นทิ ศ ตะวั น ออกของ
รายงานสถานการณ์น้ําท่วมตามจุ ดต่างๆ พลเอก ดอนเมือง) ยาวประมาณ 1.2 กม. และ 2 กม.
วรพงษ์ สง่าเนตร ได้นําเรื่องปรึกษากับพลตํารวจเอก ตามลําดับ (ดังรูปที่ 13 และ 14) เป็นเหตุให้น้ํา
ประชา พรหมนอก ผมจําได้ว่าหลังจากที่พลตํารวจ เข้าท่วมกรุงเทพฯ ตอนเหนืออย่างฉับพลัน ถ้าไม่รีบ
เอกประชา พรหมนอก ได้ รั บ ทราบข้ อ มู ล และ ปิดกั้นอาจส่งผลให้น้ําท่วมล้นคันกั้นน้ําคลองประปา
แผนการ ท่านได้เดินออกจากห้องประชุมและเพียง และชาวกรุงเทพฯ จะไม่มีน้ําสะอาดใช้ โดยน้ําอาจ
ไม่ กี่ น าที พลตํ า รวจเอกประชาได้ เ ชิ ญ ท่ า น ไหลท่วมพื้นที่กรุงเทพฯ ชั้นในอย่างรวดเร็วและผู้คน
นายกรั ฐ มนตรี ยิ่ ง ลั ก ษณ์ ชิ น วั ต ร พร้ อ มด้ ว ย ไม่ ส ามารถอพยพได้ ทั น คณะทํ า งานได้ นํ า เรื่ อ ง
คณะทํางาน เพื่อเข้ารับฟังข้อมูล การนําเสนอโมเดล ดังกล่าวรายงานต่อพลอากาศเอกสุกําพล สุวรรณทัต
การไหลของน้ําท่วม และความสําคัญของแนว King ซึ่งขณะนั้นดํารงตําแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
Dyke จาก Mr. Adri [ดังรูปที่ 3 (ข)] หลังจากการ คมนาคม พร้อมทั้งเสนอแนวและวิธีการวางกระสอบ
หารือสิ้นสุดทุกคนเห็นควรให้กองทัพไทยจัดกําลังพล ทราย (ซึ่งอาจต้องเป็นกระสอบทรายขนาดใหญ่ หรือ
เข้าช่วยเหลือประชาชนทันที และเฝ้าระวังคันกั้นน้ํา ขนาดเล็ ก จํ า นวนหลายใบหุ้ ม ด้ ว ยตาข่ า ย) เพื่ อ
โดยเฉพาะจุ ดที่ สํ า คัญ และเป็ น อั น ตราย และท่า น ป้องกันไม่ให้ถูกกระแสน้ําพัดไป และเสนอขั้นตอน
นายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ยังได้แสดงความ การวางกระสอบทราย เพื่อลดแรงปะทะของน้ํา

เทคโนโลยีผลิตภัณฑและนวัตกรรมดานวิศวกรรม ฉบับการจัดการ/การแกปญหาภัยธรรมชาติ ป 2555


  คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 73

รูปที่ 13 ตําแหน่งที่ไม่ได้เสริมกระสอบทรายเพียงพอ และน้ําทุ่งไหลเข้ามาในพื้นที่กรุงเทพฯ ตอนเหนือ คือ


(1) บริเวณคลองรังสิต (ระหว่างถนนพหลโยธิน ถึงประตูน้ําจุฬาลงกรณ์) และ
(2) คลองหกวาสายล่าง (ด้านทิศตะวันออกของดอนเมือง)

 
(ก) (ข)
รูปที่ 14 (ก) บริเวณคลองรังสิต (ระหว่างถนนพหลโยธิน ถึงประตูน้ําจุฬาลงกรณ์) และ
(ข) คลองหกวาสายล่าง (ด้านทิศตะวันออกของดอนเมือง)

น้ําท่วมดอนเมือง อพยพหนี 1 เมตร รอบสนามบินดอนเมืองเพื่อป้องกันน้ําท่วม


Mr. Adri บอกว่าถ้าไม่รีบปิดรูรั่ว อีก 2 – 3 วันน้ํา
ภายหลังที่ได้แจ้งให้รัฐบาลทราบ กองทัพ จะเข้าท่วมดอนเมืองและวิภาวดี อีกทั้งบอกให้ทุกคน
ไทยได้เตรียมทหารและรถยนต์สูง เพื่อรอคําสั่งจาก ในทีมเก็บข้าวของ (ตอนนั้นพวกเราทุกคนเข้าพักที่
นายกรัฐมนตรีให้ดําเนินการปิดกั้นบริเวณรูรั่วทั้ง 2 โรงแรม Amari ดอนเมือง) เพื่อเตรียมย้ายไปพักที่
ซึ่ ง ช่ ว งเวลานั้ น ศปภ. วุ่ น วายมาก มี ป ระชาชน โรงแรมอื่นในเมือง
ประสบภัยน้ําท่วมอพยพมาที่ดอนเมือง และมีการทํา
คันกั้นน้ํา (Asphalt Concrete) สูงประมาณ

เทคโนโลยีผลิตภัณฑและนวัตกรรมดานวิศวกรรม ฉบับการจัดการ/การแกปญหาภัยธรรมชาติ ป 2555


74 
  คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

 
พวกเราจึงตัดสินใจย้ายมาอยู่ที่สุขุมวิท 11 ทีมงานได้ไปสํารวจจุดรั่วอีกครั้ง และพบว่ามีระดับ
(ประมาณวันที่ 25 ตุลาคม) ซึ่งสามารถเดินทางไป น้ําสูงเกิน 1 เมตร เกินกว่าที่รถบรรทุกทั่วไปจะเข้า
ศปภ. ที่ดอนเมือง ได้โดยใช้เส้นทาง Toll Way และ ไปทํางานได้ อีกทั้งกระแสน้ําเชี่ยวมาก ยากต่อการ
ทางด่วน และสามารถเดินทางออกจากกรุงเทพฯ ได้ เข้ า ถึ ง โดยเรื อ และรถทหาร GM การนํ า กระสอบ
ทันทีในกรณีฉุกเฉิน พวกเราเร่งมือช่วย Mr. Adri ทรายไปปิดกั้นจะลําบากมาก จึงต้องหาวิธีและแนว
ปรับโมเดลน้ําท่วมเพื่อพยากรณ์การไหลของน้ําใน การวางกระสอบทรายใหม่ (ดังรูปที่ 15) ประชาชน
กรณีที่เกิดช่องโหว่ 2 จุดที่คลองรังสิต และคลองหก บริเวณดังกล่าวเดือนร้อนมากเพราะน้ําได้ทะลัก
วาสายล่าง เพราะไม่แน่ใจว่าน้ําจะไหลท่วมมาถึงตัว เข้าท่วมอย่างรวดเร็วและไม่มีการเตือนล่วงหน้า
เมื อ งชั้ น ในหรื อ ไม่ ในแต่ ล ะการคํ า นวณต้ อ งใช้ พวกเราเริ่ ม ท้ อ แท้ แ ละผิ ด หวั ง ที่ คํ า สั่ ง ให้ ก าร
เวลานานกว่า 8 – 10 ชั่วโมง และเพื่อประหยัดเวลา ดําเนินการป้องกันล่าช้ามาก พลเอกวรพงษ์ สง่า
จึงต้องวิ เคราะห์หลายๆ กรณี และมี พารามิเตอร์ เนตร และนายทหารชั้นผู้ใหญ่ ให้กําลังใจกับพวกเรา
ต่างๆ ไปพร้อมๆ กัน โดยใช้คอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ทั้ง 5 ว่าทหารยังพร้อมที่จะเข้าดําเนินการทันทีที่ได้รับ
เครื่อง ประสิทธิภาพของสถานีสูบน้ําและอุโมงค์ผัน คําสั่งและไม่ยอมถอยจนกว่าจะสามารถป้องกันน้ํา
น้ํากรุงเทพมหานคร เป็นข้อมูลที่มีความจําเป็นมาก ท่ ว มกรุ ง เทพฯ ชั้ น ในได้ อย่ า งไรก็ ดี วั น ที่ 29
ในการใช้ ค าดการปริ ม าณพื้ น ที่ น้ํ า ท่ ว มกรุ ง เทพฯ ตุลาคม 2554 น้ําได้เข้าท่วมสนามบินดอนเมืองสูง
ความสูงของระดับน้ํา และระยะเวลาท่วมขัง เกิน 1 เมตร และ ศปภ. จําเป็นต้องอพยพและย้าย
มาที่ อาคาร Energy Complex กระทรวงพลังงาน
ยังไม่มีสัญญาณสั่งการให้ดําเนินการปิดกั้นรู
รั่วของ King Dyke และ ในวันที่ 27 ตุลาคม 2554

   
(ก) (ข)
รูปที่ 15 ภาพสํารวจน้ําท่วมวันที่ 27 ตุลาคม 2554 (ก) สนามบินดอนเมืองจมน้ํา (ข) เครื่องยนต์ Jet จมน้ํา
ที่ลานสนามบินดอนเมืองโดยมีท่านทูตเนเธอร์แลนด์ประจําประเทศไทย Mr. Joan A. Boer และท่านประภัสร์
จงสงวน และ Mr. Adri Verwey ร่วมสํารวจสภาพน้ําท่วม

Big Bag นิคมอุตสาหกรรม) หรือ ที่รู้จักในนาม Big Bag


ขบวนรถไฟนี้เป็นขบวนพิเศษเนื่องจากปรับปรุงให้
ในวั น ที่ 30 ตุ ล าคม 2554 กองทั พ ไทย สามารถวิ่งลุยน้ําท่วมบนรางได้สูงถึง 30 ซม. และมี
ร่ ว ม กั บ ก า ร ร ถ ไ ฟ แ ห่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย แ ล ะ รถเครนพ่วงมากับขบวนรถไฟ เพื่อใช้ในการก่อสร้าง
กรุ ง เทพมหานคร นํ า กํ า ลั ง พลกว่ า 100 นาย ขึ้ น คันกั้นน้ํา
รถไฟที่ ห ลั ก สี่ เ พื่ อ ก่ อ สร้ า งคั น ชะลอน้ํ า โดยใช้ ถุ ง
กระสอบยักษ์ (ซึ่งนิยมใช้ขนส่งสินค้าในโรงงานและ
เทคโนโลยีผลิตภัณฑและนวัตกรรมดานวิศวกรรม ฉบับการจัดการ/การแกปญหาภัยธรรมชาติ ป 2555
  คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 75

 
รถไฟออกเดินทางจากหลักสี่ตอนประมาณ ช่วยเหลือจากภาครัฐในการชี้แจงให้ประชาชนเข้าใจ
บ่ า ย 2 โมงโดยมี จุ ด หมายที่ บ ริ เ วณมหาวิ ท ยาลั ย ถึงสาเหตุจําเป็นที่ต้องมีการปิดกั้นรูรั่วดังกล่าว ทําให้
รังสิต เนื่องจากน้ําที่ท่วมสูง ดังนั้นจึงทําให้มีผู้คนมา ประสบกับปัญหาชุ มชนในฝั่ งที่ถูกน้ําท่วมขังมีการ
อาศัยอยู่บนรางรถไฟเป็นสาเหตุให้ขบวนรถเคลื่อน ประท้วงให้นํา Big Bag ออก Mr. Adri แสดงความ
ตัวได้ช้าและต้องหยุดเพื่อขอทาง รถไฟไปถึงหลักหก คิดเห็นว่า เป็นสิ่งที่ยากที่คนที่เดือดร้อนขณะนั้นจะ
เวลาประมาณเที่ยงคืน และไม่สามารถดําเนินการ เข้าใจความจําเป็นของ Big Bag และจําเป็นต้อง
วาง Big Bag ได้ เนื่องจากน้ํามีความสูงมากและเป็น ให้การช่วยเหลืออย่างที่สุด แต่คาดว่า Big Bag มี
อั น ตรายต่ อ รถเครนที่ พ่ ว งมาด้ ว ย ดั ง นั้ น จึ ง ส่ ว นช่ ว ยป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ เ กิ ด ความเสี ย หายต่ อ พื้ น ที่
จําเป็นต้องถอยกลับเพื่อเปลี่ยนรถเครนที่สามารถ กรุงเทพชั้นใน Big Bag ทําหน้าที่เพียงชะลอน้ําให้
ทํางานได้ ล้ น มาในปริ ม าณที่ ร ะบบระบายน้ํ า คลอง และ
สถานีสูบน้ํา สามารถรับมือได้ และความสูงของน้ํา
ในที่สุดได้มีการวาง Big Bag ตามแนวที่ได้
ท่ ว มไม่ ม ากนั ก และไม่ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการกั้ น
วางแผนไว้ (ดังรูปที่ 16) แต่เนื่องจากยังขาดการ
ไม่ให้น้ําไหลลงสู่ทะเลแต่อย่างใด

รูปที่ 16 การเสริมกระสอบทราย Big Bag


ระบบแม่ น้ํ า ลํ า คลองในกรุ ง เทพฯ ซึ่ ง ใน สถานี สู บ น้ํ า ช่ อ งลม และสถานี สู บ น้ํ า พระโขนง
อดีตเคยใช้เพื่อการสัญจรเป็นสําคัญ และเคยได้ชื่อว่า (ดั ง รู ป ที่ 17) สถานี สู บ น้ํ า ส่ ว นใหญ่ รวมทั้ ง ระบบ
Venice of the East แต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนแปลง ระบายน้ําโดยอุโมงค์ตั้งอยู่ในพื้นที่ใจกลางเมืองและ
เป็ น ระบบระบายน้ํ า ของเมื อ งในลั ก ษณะ Polder ริมแม่น้ําเจ้าพระยา ทําให้การระบายน้ําท่วมซึ่งไหล
System และมีประตูน้ําและสถานีสูบน้ํา เพื่อ จากตอนเหนื อ ของกรุ ง เทพฯ ไม่ ส ามารถใช้
ควบคุ มการระบายออกสู่ แม่น้ําเจ้าพระยา พื้นที่ ดําเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากสภาพ
คลองถูกรุกล้ําและขาดการบํารุงรักษา ทําให้หน้าตัด ของพื้นที่กรุงเทพฯ ราบเรียบซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการ
คลองแคบลง ตื้นเขิน เป็นอุปสรรคในการระบายน้ํา ระบายน้ํา
ท่วมขณะนั้น ประสิทธิภาพของคลองและสถานีสูบ
ในที่ สุ ด น้ํ า ได้ ไ หลเข้ า มาท่ ว มถึ ง บริ เ วณ
น้ํา เป็ น ปัจ จั ยสํ าคั ญ ในการระบายน้ํ าท่ ว มขณะนั้ น
จตุจักรและคลองบางซื่อ และประสิทธิภาพของการ
ในพื้ นที่ กรุ งเทพมหานครมีส ถานีสู บน้ํ า ขนาดใหญ่
ระบายน้ําและคันกั้นน้ําช่วยไม่ให้น้ําไหลเข้าท่วมถึง
จํานวน 6 แห่ง มีความสามารถในการระบายรวมทั้ง
พื้ น ที่ ก รุ ง เทพฯ ชั้ น ใน และในที่ สุ ด วั น ที่ 17
สิ้นประมาณ 300 ลบ.ม./วินาที ได้แก่ สถานีสูบน้ํา
พฤศจิกายน 2554 ระดับน้ําบริเวณ 5 แยกลาดพร้าว
บางเขน สถานี สู บ น้ํ า เปรมประชา สถานี สู บ น้ํ า
เริ่มลดลง
บางซื่ อ สถานี สูบน้ํ า สามเสน สถานี สูบน้ํ าเทเวศน์
เทคโนโลยีผลิตภัณฑและนวัตกรรมดานวิศวกรรม ฉบับการจัดการ/การแกปญหาภัยธรรมชาติ ป 2555
76 
  คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

 
รูปที่ 17 สถานีสูบน้ํา คลอง และอุโมงค์ผันน้ํา บริเวณพื้นที่กรุงเทพมหานคร
ที่มา : สํานักงานกรุงเทพมหานคร

น้ําเริ่มลด ไปดูงานที่ประเทศเนเธอร์แลนด์ ระดั บ น้ํ า ทะเล จุ ด ต่ํ า สุ ด ของประเทศอยู่ ท าง


ตะวันออกเฉียงเหนือของเมือง Rotterdam ซึ่งมีค่า
ภายหลั ง ภารกิ จ ป้ อ งกั น และแก้ ปั ญ หาน้ํ า อยู่ที่ระดับ 6.7 ม. ต่ํากว่าระดับน้ําทะเล นอกจากนี้
ท่ ว มในพื้ น ที่ ก รุ ง เทพมหานครแล้ ว เสร็ จ สถาบั น ฝั่งตะวันตกของประเทศติ ดกับทะเลเหนือ (North
Deltares แห่งประเทศเนเธอร์แลนด์ได้เชิญทีมงาน Sea) และประสบปัญหาคลื่นทะเลชายฝั่งยกตัวสูง
เยี่ยมชมสถาบันและโครงการก่อสร้างและป้องกันน้ํา โดยเฉพาะในเวลาที่เกิดพายุในทะเล (Storm Surge)
ท่วมของประเทศเนเธอร์แลนด์ในระหว่างวันที่ 27 น้ํ า ทะเลหนุ น เข้ า มายั ง แม่ น้ํ า ในพื้ น ทวี ป และเกิ ด
พฤศจิกายน 2554 ถึงวันที่ 2 ธันวาคม 2554 คณะ น้ํ า ท่ ว มอย่ า งรุ น แรงของประเทศได้ ชาวดั ช ช์ ไ ด้
เดิ น ทางนํ า โดยท่ า นประภั ส ร์ จงสงวน ผู้ ช่ ว ย อยู่ ร่ ว มกั บ ธรรมชาติ และน้ํ า โดยก่ อ สร้ า งระบบ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และ คุณกฤษณะ คันกั้นน้ํารอบเมืองเพื่อป้องกันน้ําท่วมจากน้ําทะเล
ละไล ผู้สื่อข่าวสถานีโทรทัศน์และวิทยุ หนุนมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ประเทศเนเธอร์แลนด์ตั้งอยู่ในพื้นที่ราบลุ่ม ในปี ค.ศ. 1953 เกิ ด เหตุ ก ารณ์ อุ ท กภั ย
แม่น้ํา และพื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น้ํา 3 สายสําคัญ ร้ายแรงในประวัติศาสตร์ของประเทศเนเธอร์แลนด์
ของยุโรป คือ Meuse, Rhine และ Scheldt มีผู้เสียชีวิตประมาณ 2,500 คน พื้นที่ทางเศรษฐกิจ
ชื่ อ ประเทศเนเธอร์ แ ลนด์ มาจากภาษาดั ช ช์ และพื้ น ที่ เ กษตรกรรมของประเทศเสี ย หายมาก
“Neder” หมายถึง ต่ํา และ Netherlands จึง ดั ง นั้ น รั ฐ บาลเนเธอร์ แ ลนด์ ไ ด้ ตั ด สิ น ใจพั ฒ นา
หมายถึ ง ประเทศซึ่ ง มี พื้ น ที่ ต่ํ า (ดั ง รู ป ที่ 18) โครงการวิศวกรรมขนาดใหญ่ หรือ Delta Works
สองในสามของพื้นที่ประเทศเนเธอร์แลนด์อยู่ต่ํากว่า เพื่อป้องกันน้ําท่วมในอนาคต

เทคโนโลยีผลิตภัณฑและนวัตกรรมดานวิศวกรรม ฉบับการจัดการ/การแกปญหาภัยธรรมชาติ ป 2555


  คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 77

 
Delta Works ประกอบด้วยการสร้างเขื่อน
คันกั้นน้ํา และประตูน้ํา จํานวนทั้งสิ้น 16 โครงการ
ใช้ เ วลาดํ า เนิ น การกว่ า 50 ปี และออกแบบให้
สามารถป้องกันการเกิดอุทกภัยที่มีโอกาสเพียง 1
ครั้ง ใน 10,000 ปี เรามีโอกาสได้ไปชมโครงการบาง
โครงการของ Delta Works ได้แก่ ประตูกั้นน้ํา
Maslantkering Storm Serge Barrier และ
Zeeland Storm Barrier (ดังรูปที่ 19 และ 20)
นอกจากปัญหาน้ําท่วมจากการหนุนตัวของ
น้ําทะเลแล้ว ประเทศเนเธอร์แลนด์ก็ยังประสบกับ
ปัญหาน้ําท่วมจากแม่น้ํา Rhine รัฐบาลเนเธอร์แลนด์
จึงได้มีการพัฒนาโครงการ Room for the River ซึ่ง  
เป็ นการพั ฒนาระบบผังเมื องบริ เวณพื้นที่ ลุ่มแม่ น้ํา รูปที่ 18 แผนที่ประเทศเนเธอร์แลนด์
และคลอง เพื่อบรรเทาปัญหาอุทกภัย ได้แก่ การรื้อ ที่มา: http://www.nationsonline.org/oneworld/
คั น กั้ น น้ํ า เดิ ม ซึ่ ง อยู่ ติ ด ริ ม ฝั่ ง แม่ น้ํ า ลํ า คลอง และ map/netherlands_map.htm
ก่อสร้างคันกั้นน้ําใหม่ให้ห่างจากตลิ่ง เพื่อเพิ่มพื้นที่
รับน้ําในช่วงฤดูน้ําหลาก การปรับระดับพื้นที่รับน้ําให้
ต่ําลงทําให้เพิ่มปริมาณกักเก็บน้ําและการระบายน้ํา
การก่อสร้างทางระบายน้ํา (Flood Way หรือ Flood
Bypass) โดยคํานึงถึงปัจจัยทางสังคมและสิ่งแวดล้อม
เป็นสําคั ญ มี การบํ ารุงรั ก ษาแม่ น้ํา ลํ า คลอง อย่า ง
ต่อเนื่อง และเพิ่มประสิทธิภาพการระบายของแม่น้ํา
ลํ า คลอง โดยการขุ ด ลอกและป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ มี สิ่ ง กี ด
ขวางทางน้ํา
 
โครงการ Delta Works แสดงให้เห็นว่าการ รูปที่ 19 คณะเดินทางไปดูงานการป้องกันน้ําท่วม
ป้องกันและแก้ปัญหาน้ําท่วมของประเทศ โดยการ ที่ประเทศเนเธอร์แลนด์ นําโดยท่านประภัสร์ จงสงวน
ก่อสร้างระบบโครงสร้างวิศวกรรมขนาดใหญ่ และ ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และ
คุณกฤษณะ ละไล ผู้สื่อข่าวสถานีโทรทัศน์และวิทยุ

 
(ก) (ข)
รูปที่ 20 (ก) โครงสร้างประตูน้ํา Maslantkerng Storm Search Barrier
(ข) ประตูน้ํา Zeeland Storm Barrier
เทคโนโลยีผลิตภัณฑและนวัตกรรมดานวิศวกรรม ฉบับการจัดการ/การแกปญหาภัยธรรมชาติ ป 2555
78 
  คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

 
การปรั บ ระบบผั ง เมื อ งบริ เ วณพื้ น ที่ ลุ่ ม แม่ น้ํ า นั้ น ชีวิตและทรัพย์สินมากขึ้น ภายหลังจากมหาอุทกภัยปี
ทําได้จริง เพียงแต่ต้องอาศัยเวลา งบประมาณ และ พ.ศ. 2554 ปัญหาการบริหารจัดการน้ําจึงกลายเป็น
ความร่วมมือของคนในชาติอย่างมากจึงจะสําเร็จ วาระแห่งชาติ
เรียนรู้จากประสบการณ์น้ําท่วม รั ฐ บาลได้ มี ก ารจั ด ตั้ ง คณะกรรมการต่ า งๆ
เพื่ อ เร่ ง ดํ า เนิ น การแก้ ไ ขปั ญ หาน้ํ า ท่ ว ม และ
จากประสบการณ์ ม หาอุ ท กภั ย ในปี พ.ศ. ดําเนินการโครงการเยียวยา ฟื้นฟู และป้องกันความ
2554 ของประเทศไทยนั้น สะท้อนให้เห็นถึงปัญหา เสี ย หายจากอุ ท กภั ย อย่ า งบู ร ณาการ พร้ อ มทั้ ง มี
การจัดการน้ําในระดับลุ่มแม่น้ําเจ้าพระยาใหญ่ ระบบ แผนงาน/โครงการบริ ห ารจั ด การน้ํ า การป้ อ งกั น
ชลประทานซึ่ ง เดิ ม ออกแบบเพื่ อ รั บ -ส่ ง น้ํ า สํ า หรั บ และแก้ ไ ขปั ญ หาอุ ท กภั ย ด้ ว ยงบเงิ น กู้ ป ระมาณ
การเกษตร แต่ปัจจุบันต้องมีการปรับปรุงให้สามารถ 350,000 ล้านบาท อย่างไรก็ดีปัญหาเกี่ยวกับการ
ทําหน้าที่ช่วยระบายน้ําและรับมือกับอุทกภัย รวมถึง ขาดกฎหมายบั ง คั บ ใช้ ใ นการบริ ห ารจั ด การน้ํ า นั้ น
การปรับปรุงระบบการป้องกันน้ําท่วมของเมือง เช่น เป็นส่วนหนึ่งที่ทําให้องค์กรของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการ
การจัดการผังเมืองและ King Dyke การเปลี่ยนแปลง บริ ห ารจั ด การน้ํ า ส่ ว นใหญ่ ยั ง ขาดความเป็ น
สภาพภูมิอากาศ อาจมีโอกาสทําให้เกิดฝนตกปริมาณ เอกภาพและความร่วมมือกัน
มากในบริเวณตอนกลางและตอนล่างของลุ่มน้ําและ
เกิดอุทกภัย ซึ่งอาจสร้างความเสียหายที่มากขึ้น ทําอย่างไร ที่พวกเราทุกคน รวมทั้งรัฐบาล
จะแก้ปัญหาอย่างจริงจังเหมือนกับประเทศอื่นๆ และ
โครงการระบบชลประทานและเขื่อนสําคัญ มีทัศนคติที่ว่าต้องไม่เกิดน้ําท่วมใหญ่ขึ้นอีก และจาก
ต่ า งๆ ได้ แ ก่ เขื่ อ นภู มิ พ ล และเขื่ อ นสิ ริ กิ ติ์ ได้ ช่ ว ย ประสบการณ์ดูงานที่ต่างประเทศ ทําให้ทราบว่าการ
พั ฒ น า ก า ร เ ก ษ ต ร ก ร ร ม ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ผ ลิ ต บริหารจัดการน้ํา โดยเฉพาะการจัดสรรงบประมาณ
กระแสไฟฟ้า และยังบรรเทาการเกิดน้ําท่วมในพื้นที่ ต้ อ งอยู่ เ หนื อ ความขั ด แย้ ง และผลประโยชน์ จ าก
ภาคกลางมาโดยตลอด โดยเฉพาะกรุงเทพมหานคร การเมือง และประชาชนทุกคนควรรับรู้ธรรมชาติ
แต่ปัจจุบันประเทศมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ของน้ํา เพื่อเตรียมการรับมือ สู้ภัย และปรับตัวให้
มากขึ้ น และพั ฒ นาเปลี่ ย นแปลงเป็ น ประเทศ อยู่ร่วมกับธรรมชาติให้ได้ในอนาคต
อุตสาหกรรม การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ทําให้
วิถีความเป็นอยู่ของประชาชนเปลี่ยนแปลง เมืองมี
การขยายตัว และหากมีน้ําท่วมจะส่งผลกระทบต่อ

เทคโนโลยีผลิตภัณฑและนวัตกรรมดานวิศวกรรม ฉบับการจัดการ/การแกปญหาภัยธรรมชาติ ป 2555


เทคโนโลยีผลิตภัณฑ และนวัตกรรมดานวิศวกรรม ฉบับการจัดการ/การแกปญหาภัยธรรมชาติ ป 2555 79
 

เทคโนโลยีผลิตภัณฑและนวัตกรรมดานวิศวกรรม ฉบับการจัดการ/การแกปญหาภัยธรรมชาติ ป 2555

You might also like