You are on page 1of 2

Best practice 2566

1 ค่านิยม /วิสยั ทัศน์/ พันธกิจ/


“บทนำ ลักษณะสำคัญขององค์การและความท้ าทาย ที่นำมาสูก่ ารพัฒนากระบวนการที่โดดเด่น”
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองพิษณุโลก เป็ นหน่วยงานสังกัดราชการบริ หารส่วนภูมิภาคที่ขึ ้นตรงต่อนายอำเภอมี
สาธารณสุขอำเภอเป็ นตัวแทนของกระทรวงสาธารณสุข บังคับบัญชาดูแลรับผิดชอบสำนักงานสาธารณสุขอำเภอได้ รับการ
นิเทศงาน กำกับดูแล และสนับสนุนทรัพยากรจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมีอำนาจหน้ าที่ จัดทำแผนยุทธศาสตร์ ด้าน
สุขภาพในเขตพื ้นที่อำเภอดำเนินการ และประสานงานเกี่ยวกับงานสาธารณสุขในเขตพื ้นที่อำเภอกำกับ ดูแล ประเมินผล และ
สนับสนุนการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานสาธารณสุขในเขตพื ้นที่อำเภอเพื่อให้ การปฏิบตั ิงานเป็ นไปตามกฎหมาย มีการบริ การ
สุขภาพที่มีคณ ุ ภาพ และมีการคุ้มครองผู้บริ โภคด้ านสุขภาพ และปฏิบตั ิงานร่วมกับ หรื อสนับสนุนการปฏิบตั ิงานของหน่วยงาน
อื่นที่เกี่ยวข้ อง หรื อที่ได้ รับมอบหมาย
2 แนวทางปฏิบตั ิหรื อวิธีการและผลลัพธ์การดำเนินการ
"อธิบายแนวทางปฏิบตั ิ หรื อวิธีการ แสดงผลลัพธ์เชิงปริ มาณ/เชิงคุณภาพ"
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองพิษณุโลก มีกระบวนการทำงานที่สำคัญ โดยการนำหลักการ PDCA (Plan/ Do/Check/Act)
มาใช้ เป็ นเครื่ องมือปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่องและให้ ความสำคัญกับแนวทางการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ทักษะ ประสบการณ์การ
ทำงานประจำสูง่ านวิจยั ในพื ้นที่ R2R เพื่อให้ เกิดประโยชน์แกประชาชน โดยมุ่งเน้ น การปฏิบตั ิงานในหน้ าที่ด้วยความโปรงใส
ตรวจสอบได้ โดยยึดหลักการกำกับดูแลองค์การที่ดี สร้ างจิตสำนึกที่ดีในการบริ การ โดยปฏิบตั ิงานในหน้ าที่ด้วยความ เต็มใจ
และให้ ความสำคัญกับผู้รับบริ การ เพื่อการบรรลุเป้าหมายเดียวกัน โดยใช้ กลไกของภาคีเครื อขายที่ประสานการทำงานรวมกัน
แบบบูรณาการโดยมีเป้าหมาย คือ สร้ างคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื ้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ โดยการช่วยเหลือดูแลซึง่
กันและกัน

3 ตัวอย่างผลงานที่โดดเด่น 1
โครงการ Strong NCDs จากการวิเคราะห์สาเหตุพบว่าความเป็ นจังหวัดศูนย์กลางทางเศษฐกิจของภาคเหนือตอนล่าง ทำให้
เกิดวิถีชีวิตความเป็ นเมือง ภาวะความเครี ยด วิถีชีวิตนัง่ ๆนอนๆ การแข่งขันทางการตลาด ทำให้ ประชาชนเข้ าถึงอาหารไม่มี
คุณภาพ ราคาถูกไม่สง่ เสริ มสุขภาพก่อให้ เกิดภาวะสุขภาพอื่นๆตามมา ปั ญหาประชากรแฝงเข้ ามาทำงานในพื ้นที่ร่วมกับภาวะ
โรคต่างๆ ด้ วยข้ อจำกัดของการทำงาน จึงจัดการปั ญหาทางสุขภาพ ด้ วยการซื ้อยาทานเอง บางส่วนทานยาไม่สม่ำเสมอ บาง
ส่วนขาดนัด ร่วมกับการขาดความตระหนักในโรคของตนเอง ทำให้ ภาวะโรคที่เป็ นอยู่ควบคุมโรคไม่ได้ มีแนวโน้ มเกิดโรค
แทรกซ้ อนเรื อ้ รังในระยะยาวสูง ประชาชนบางส่วนเขารับบริ การในคลินิกเอกชนตามกำลังที่สามารถจ่ายค่ารักษาได้ ร่วมกับ
การแข่งขันทางการตลาดของรพ.เอกชนที่มากถึง 4 แห่ง ทำให้ เกิดปั ญทางข้ อมูล ระบบการเชื่อมข้ อมูลระหว่างโรงพยาบาลใน
สังกัดนอกระบบสาธารณสุข การถ่ายโอนหน่วยบริ การเข้ าสังกัดท้ องถิ่น ภายใต้ ความไม่ชดั เจนในเชิงบริ หาร ถือเป็ นภัยคุกคาม
ในการดำเนินงานสารธารณสุข ที่ต้องเข้ าดำเนินการแก้ ไข เพื่อลดผลกระทบ อันได้ แก่ อัตราป่ วย อัตราตาย ด้ วยโรคแทรกซ้ อน
ค่าใช้ จ่ายสูง อาทิ โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง เป็ นต้ น ต่างๆที่กล่าวมา จึงเป็ นที่มาของการพัฒนาระบบการจัดการโรค
เรื อ้ รังในทุกมิติ ด้ วยความร่วมมือของหน่วยบริ การสาธารณสุขทุกระดับในพื ้นที่ โดยมีโรงพยาบาลแม่ข่ายเป็ นแกนนำหลักใน
การดำเนินการ เริ่ มจากการเชื่อมต่อระบบสุขภาพที่ขาดไป เช่น ร้ ายยา คลินิก รพ.เอกชน จัดทำความร่วมมือในการดำเนินการ
คัดกรอง ส่งต่อกลุม่ เป้าหมาย เพื่อเข้ าสูก่ ระบวนการปรับเปลี่ยน/รักษา ตามแนวทางที่กำหนดไว้ เช่น การใช้ สมุดบันทึกโรค
เรื อ้ รัง การคัดกรองกลุม่ เสี่ยงในกลุม่ เป้าหมาย เช่น อสม. ผู้นำท้ องที่ท้องถิ่น ผู้นำศาสนา เพื่อนำมาอบรมการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม การดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องด้ วยเครื อข่ายสุขภาพในพื ้นที่
คุณค่าต่อประชาชน
ผลการดำเนินงานที่แสดงถึงแนวโน้ มที่ดีในกลยุทธ์นี ้ แม้ ผลงาน KPI ระบบ Health data center จะยังไม่เห็น
อย่างชัดเจน คือ สถานการณ์แนวโน้ มการเกิดโรคเบาหวานรายใหม่อำเภอเมือง พิษณุโลก ที่มีแนวโน้ มลดลงอย่างต่อเนื่อง ในปี
๒๕๖๐ พบโรคเบาหวานรายใหม่ลดลงจาก ๑,๐๖๘ ต่อแสนประชากร เป็ น ๖๐๔.๘ ต่อแสนประชากร ในปี ๒๕๖๖ ได้ ระบบ
บริ การหลัก ระบบบริ การย่อย ความร่วมมือในการำเนินการ โดยมีภาคีเครื อข่าย โรงพยาบาลเอกชน ๓ แห่ง คลินิกเอกชน
จำนวน ๑๑ แห่ง ร้ านขายยาคุณภาพ จำนวน ๑๒ แห่ง เข้ าร่วมดำเนินการดูแลผู้ป่วยโรคเรื อ้ รัง นำผู้ป่วยเข้ าระบบการตรวจ
เจาะเลือดตามมาตรฐาน การส่งผู้ป่วยเข้ ารับการตรวจภาวะแทรกซ้ อนส่งผู้ป่วยที่มีปัญหาพฤติกรรมเข้ ารับบริ การปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม/ ลดน้ำหนัก โดยการจัดบริ การร่วมกันแบบลงตัว และสามารถสร้ างแกนนำสุขภาพในพื ้นที่เพื่อเป็ นต้ นแบบและผู้ให้
คำแนะนำแก่ประชาชนในพื ้นที่ได้
คุณค่าต่อองค์กร
ประชาชน มีคณ
ุ ภาพชีวิต ที่ดีขึ ้น ป่ วยน้ อยลง ส่งผลให้ ระบบสุขภาพ สามารถดำเนินการได้ อย่างคล่องตัว
คุณค่าต่อประเทศ
ส่งผลให้ ภาพรวมจาก การป่ วยและการเสียชีวิต จาก โรค NCDs ลดลง
4 ตัวอย่างผลงานที่โดดเด่น 2

5 ปั จจัยแห่งความสำเร็จ
1. การบริ หารจัดการกำลังคนที่ดี
2. การบริ หารจัดการทรัพยากรที่ดี
3. การวางแผนในในการดำเนินการรวมถึงการปรับเปลี่ยนให้ เหมาะสมกับสถานการณ์
4. การบูรณาการหน่วยงานและเครื อข่ายในพื ้นที่ ที่ดี
6 สิ่งที่ได้ เรี ยนรู้เพื่อพัฒนา
การใช้ กลไกของภาคีเครื อขายที่ประสานการทำงานร่วมกันแบบบูรณาการ โดยไม่คิดมุ่งหวังว่างานที่ทำเป็ นงานของหน่วยงาน
ใด โดยมีเป้าหมาย คือ เพิม่ คุณภาพชีวิตของประชาชนในพื ้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ โดยการช่วยเหลือดูแลซึง่ กันและกัน ส่ง
ผลให้ ประชาชนในพื ้นที่มีคณุ ภาพชีวิตที่ดีขึ ้น

You might also like