You are on page 1of 173

2

มาตรา 8

(1) กำหนดมำตรฐำนวิชำชีพ ออกและเพิกถอน


ใบอนุญำต กำกับดูแลกำรปฏิบัติตำมมำตรฐำน
วิชำชีพและจรรยำบรรณของวิชำชีพ รวมทั้งกำร
พัฒนำวิชำชีพ

3
มาตรา 9

(3) ออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ขอประกอบวิชาชีพ
(4) พักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต
(11) ออกข้อบังคับของคุรุสภาว่าด้วย
(ข) การออกใบอนุญาต อายุใบอนุญาต การพักใช้ใบอนุญาตการเพิกถอน
ใบอนุญาต และการรับรองความรู้ ประสบการณ์ทางวิชาชีพความชานาญในการ
ประกอบวิชาชีพ
(ค) หลักเกณฑ์และวิธีการในการขอรับใบอนุญาต
(ง) คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้ขอรับใบอนุญาต

4
มาตรา 43 การประกอบวิชาชีพควบคุม

วรรคหนึ่ง วรรคสอง

ให้วิชาชีพครู
ผู้บริหาร ห้ามมิให้ผู้ใด
สถานศึกษา และ ประกอบวิชาชีพ
ผู้บริหารการศึกษา ควบคุม โดยไม่ได้
เป็นวิชาชีพควบคุม รับอนุญาต

5
มาตรา 46

ห้ามมิให้ผู้ใดแสดงด้วยวิธีใดๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนมีสิทธิหรือ
พร้อมจะประกอบวิชาชีพโดยไม่ได้รับใบอนุญาตจากคุรุสภา และ
ห้ามมิให้สถานศึกษารับผู้ไม่ได้รับใบอนุญาตเข้าประกอบวิชาชีพ
ควบคุมในสถานศึกษา เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากคุรุสภา

6
มาตรา 56

ห้ามมิให้
ผู้ได้รับใบอนุญำต ซึ่งอยู่ในระหว่ำงถูกสั่งพักใช้
ใบอนุญำตผู้ใดประกอบวิชำชีพควบคุมหรือแสดง
ด้วยวิธีใดๆ ให้ผู้อื่นเข้ำใจว่ำตนมีสิทธิหรือพร้อมจะ
ประกอบวิชำชีพควบคุม นับแต่วันที่ทรำบคำสั่งพัก
ใช้ใบอนุญำตนั้น

7
มาตรา 78

ประกอบวิชาชีพควบคุม
ผู้ใดฝ่าฝืนตามมาตรา 43
โดยไม่ได้รับอนุญาต

จาคุกไม่เกิน 1 ปี

หรือ

ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือ ทั้งจาทั้งปรับ

8
มาตรา 79

แสดงตนว่ามีสิทธิประกอบวิชาชีพ
ผู้ใดฝ่าฝืนตาม มาตรา 46 โดยไม่ได้รับอนุญาตจากคุรุสภา
หรือมาตรา 56
ห้ามมิให้สถานศึกษา
จาคุกไม่เกิน 3 ปี
รับผู้ไม่มีใบอนุญาตเข้าประกอบวิชาชีพ

หรือ

ผู้ได้รับใบอนุญาตถูกสั่ง
ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท
พักใช้ใบอนุญาต

หรือ ทั้งจาทั้งปรับ

9
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
ตามระดับคุณภาพ PBA

10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา
เรื่อง กลุ่มวิชาที่ระบุในใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูชั้นต้น และ
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูชั้นสูง พ.ศ. 2566

มีดังต่อไปนี้

๑. การศึกษาปฐมวัย ๒. การประถมศึกษา
๓. การศึกษาพิเศษ ๔. การศึกษานอกระบบ

29
๕. วิชาเฉพาะ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(๑) ภาษาไทย (๒) คณิตศาสตร์ (๓) วิทยาศาสตร์ทั่วไป
(๔) ฟิสิกส์ (๕) เคมี (๖) ชีววิทยา
(๗) เทคโนโลยี (๘) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
(๙) พระพุทธศาสนา (๑๐) อิสลามศึกษา (๑๑) คริสตศาสนศึกษา
(๑๒) สุขศึกษาและพลศึกษา (๑๓) สุขศึกษา (๑๔) พลศึกษา
(๑๕) ศิลปศึกษา (๑๖) ดนตรีศึกษา (๑๗) ดนตรีไทย
(๑๘) ดนตรีสากล (๑๙) นาฎศิลป์ (๒๐) การงานอาชีพ
(๒๑) ภาษาอังกฤษ (๒๒) ภาษาจีน (๒๓) ภาษาญี่ปุ่น
(๒๔) ภาษามาลายู (๒๕) ภาษาอาหรับ
30
(๒๖) ภาษาเกาหลี (๒๗) ภาษาฝรั่งเศส (๒๘) ภาษาเวียดนาม
(๒๙) ภาษาพม่า (๓๐) ภาษาเยอรมัน (๓๑) ภาษาเขมร
(๓๒) ภาษาบาลี (๓๓) แนะแนว (๓๔) ธุรกิจศึกษา
(๓๕) อื่นๆ ตามที่ส่วนราชการเสนอโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการคุรุสภา

31
๖. วิชาเฉพาะ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
(๑) ช่างยนต์ ช่างต่อเรือ ช่างซ่อมบารุง และเครื่องกลเกษตร
(๒) ช่างกลโรงงาน ช่างเชื่อมโลหะ ช่างเขียนแบบเครื่องกล และช่างซ่อมบารุง
(๓) ช่างไฟฟ้ากาลัง ช่างอิเล็กทรอนิกส์ ช่างโทรคมนาคม เมคคาทรอนิกส์
ช่างเครื่องมือวัดและควบคุม ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ และ
ช่างเครื่องทาความเย็นและปรับอากาศ
(๔) ช่างก่อสร้าง โยธา และสารวจ
(๕) ช่างเครื่องเรือนและตกแต่งภายใน และสถาปัตยกรรม
(๖) การบัญชี การเงิน (๗) การตลาด การลงทุน ธุรกิจค้าปลีก
การประชาสัมพันธ์ และโลจิสติกส์
32
(๘) การเลขานุการ การจัดการสานักงาน การจัดการด้านความปลอดภัย
และ ธุรกิจการกีฬา
(๙ ) คอมพิวเตอร์ (๑๐) ธุรกิจสถานพยาบาล (๑๑) วิจิตรศิลป์
(๑๒) การออกแบบ คอมพิวเตอร์กราฟฟิค ถ่ายภาพและมัลติมีเดีย
เทคโนโลยีศิลปกรรม และออกแบบนิเทศศิลป์
(๑๓) อุตสาหกรรมเครื่องหนัง
(๑๔) ศิลปหัตถกรรมรูปพรรณ เครื่องถมและเครื่องประดับ เครื่องประดับอัญมณี
และช่างทองหลวง
(๑๕) คหกรรมศาสตร์ และธุรกิจคหกรรม
(๑๖) อาหารและโภชนาการ และเทคโนโลยีอุตสาหกรรมอาหาร
33
(๑๗) แฟชั่นและสิ่งทอ (๑๘ ) ธุรกิจเสริมสวย (๑๙) เกษตรศาสตร์
(๒๐) พืชศาสตร์ (๒๑) สัตวศาสตร์ (๒๒) อุตสาหกรรมเกษตร และแปรรูปสัตว์น้า
(๒๓) เพาะเลี้ยงสัตว์น้า (๒๔) การโรงแรมและการท่องเที่ยว
(๒๕) เทคโนโลยีสิ่งทอ เคมีสิ่งทอ และเทคโนโลยีเครื่องนุ่งห่ม
(๒๖) คอมพิวเตอร์โปรแกรมเมอร์ (๒๗) การสร้างเครื่องดนตรีไทย
(๒๘) อุตสาหกรรมบันเทิง
(๒๙) อื่นๆ ตามที่ส่วนราชการเสนอโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการคุรุสภา

34
35
36
37
38
หลักฐานที่คุรุสภาออกให้เพื่อปฏิบัติหน้าที่สอน
ในปัจจุบันมี 3 ประเภท คือ

39
1. ใบอนุญาตปฏิบัติหน้าที่ครู
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูชนั้ ต้น
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูชนั้ สูง

เป็นหลักฐานที่คุรุสภาออกให้แก่ผู้มีคุณสมบัติตามมาตรฐานความรู้
และมาตรฐานประสบการณ์ วิ ช าชี พ ที่ คุ รุ ส ภาก าหนดครบตามมาตรา 44
และไม่มีลักษณะต้องห้าม

40
2. หนังสืออนุญาตให้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
สถานศึกษาเป็น
โดยไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (ประเภทครู) ผู้ดาเนินการขอให้
(มีประสบการณ์สอน แต่ยังไม่มีความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพ)

ออกให้สาหรับผู้ที่ยังไม่มีคุณสมบัติในการขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ แต่
สถานศึกษามีเหตุผลและความจาเป็นต้องการจะจ้าง โดยสถานศึกษาทาหนังสือ
ขออนุญาตเฉพาะรายกรณี เป็นครั้งคราว มีเงื่อนไข 4 ข้อ

41
2. ระยะเวลาที่อนุญาต
1. ต้องพัฒนาตนเองให้มีคุณสมบัติ ครั้งละไม่เกิน 2 ปี
ครบ 9 มาตรฐานภายในเวลา 2 ปี รวมระยะเวลาอนุญาต 6 ปี
(ออกให้ไม่เกิน 3 ครั้ง)

หนังสือผ่อนผัน
มีเงื่อนไข 4 ข้อ

4. ฝ่าฝืนจรรยาบรรณ/สอนผิด
3. ต้องสอนเฉพาะโรงเรียน เงื่อนไข/ไม่พัฒนาตน
ที่ขออนุญาตมา ถ้าย้ายโรงเรียน
ตามหลักเกณฑ์ จะถูกเพิกถอน
หรือลาออก ถือว่าหนังสือนี้ใช้ไม่ได้
หนังสืออนุญาต
42
3. หนังสือรับรองความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพ เจ้าตัวดาเนินการ
(มีความรู้ตามมาตรฐานวิชาชีพ แต่ยังไม่มีประสบการณ์สอน ขอด้วยตนเอง

หนังสือที่สานักงานเลขาธิการคุรุสภาออกให้กับผู้ผ่านการรับรองความรู้
ตามข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยการรับรองความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
เพื่อการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2565 ข้อ 9 (2) หรือข้อ 10

43
จบการนำเสนอ
ขอบคุณค่ะ

44
การรับรองปริญญาและประกาศนียบัตร
ทางการศึกษา ตามมาตรฐานวิชาชีพ

45
ความเป็ นมา
01
พระราชบัญญัตสิ ภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 มาตรา 9
( 7 ) กํ า ห น ดใ ห้ คุ รุ ส ภา มี อํ า น าจ หน้ า ที่ ใ น กา ร รั บ ร อง ป ริ ญ ญ า
ประกาศนียบัตร หรือวุฒบิ ตั รของสถาบันต่าง ๆ ตามมาตรฐานวิชาชีพ

02 คุรุสภาเริม่ ดําเนินงานรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษา
ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2549 ได้ม ีก ารออกประกาศคุ รุ ส ภา เรื่อ ง การรับ รอง
ปริญ ญาและประกาศนี ย บัต รทางการศึก ษาเพื่อ การประกอบวิช าชีพ
(ประกาศในราชกิจ จานุ เ บกษา เมื่อ วัน ที่ 13 กรกฎาคม 2549) ซึ่ง
ประกาศฉบับดังกล่าวทําให้มกี ารรับรองปริญญาเฉพาะระดับปริญญา
บัณฑิต และประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการศึกษา
46
ความเป็ นมา (ต่ อ)
03 ต่อมาในปี พ.ศ. 2557 ได้ออกประกาศคุรุสภา เรื่อง การรับรองปริญญาและประกาศนียบัตร
ทางการศึก ษาเพื่อ การประกอบวิช าชีพ พ.ศ. 2557 (ประกาศในราชกิจจานุ เ บกษา เมื่อ วันที่
14 มีนาคม 2557) โดยมีประเด็นทีแ่ ตกต่างจากประกาศคุรสุ ภาฉบับเดิม ดังนี้
• เกณฑ์การรับรองปริญญาตรี (หลักสูตร 5 ปี ) ปริญญาตรีควบโท ประกาศนียบัตรบัณฑิต
วิชาชีพครู ปริญญาโท ปริญญาโทควบเอก ปริญญาเอกสําหรับวิชาชีพครู
• เกณฑ์การรับรองประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการบริหารการศึกษา ปริญญาโท ปริญญาโท
ควบเอก ปริญญาเอกทางการบริหารการศึกษา
• ผูส้ ําเร็จการศึกษาจากปริญญา หรือประกาศนียบัตรทีค่ ุรุสภาให้การรับรอง ต้องผ่านการ
ทดสอบเพือ่ ขอรับใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพ
• มีการฝึ กปฏิบตั กิ ารวิชาชีพสําหรับผูบ้ ริหารสถานศึกษาและผูบ้ ริหารการศึกษาในหลักสูตร
ทีค่ ุรสุ ภาให้การรับรองปริญญา
• สถาบันต้องรับนิสติ / นักศึกษาตามแผนทีก่ าํ หนดในหลักสูตรทีส่ อดคล้องกับเกณฑ์ทก่ี ําหนด
ทัง้ ในส่วนของคณาจารย์และอาจารย์นิเทศก์
47
ความเป็ นมา (ต่ อ)
03 • สถาบันต้องเสนอหลักสูตรทีผ่ า่ นการอนุ มตั จิ ากสภาสถาบันให้คุรสุ ภารับรองก่อนเปิ ดการเรียน
การสอน ไม่น้อยกว่า 60 วัน และมีการติดตามผลเชิงประจักษ์ หลักสูตรละไม่น้อยกว่า 1 ครัง้
• การดําเนินงานรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรของแต่ละสถาบันต้องให้แล้วเสร็จภายใน 180
วัน
• สถาบันจะต้องส่งข้อมูลหลังการรับรองตามทีค่ ุรุสภากําหนด โดยคณะอนุ กรรมการจะไปติดตาม
ผล เชิงประจักษ์ ไม่น้อยกว่าหลักสูตรละ 1 ครัง้
การดําเนินงานตามประกาศคุรุสภา เรื่อง การรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษา
04 เพื่ อ การประกอบวิ ช าชี พ พ.ศ. 2557 ข้ อ 8 กํ า หนดให้ ค ณะกรรมการคุ รุ ส ภาแต่ ง ตั ง้
คณะอนุ กรรมการ เพือ่ ทําหน้าทีป่ ระเมินเพือ่ รับรอง

48
ความเป็ นมา (ต่ อ)
05 คุรุสภาได้ออกประกาศคุรุสภา เรื่ อง การรับรองปริ ญญาตามมาตรฐานวิชาชีพ หลักสู ตร 4 ปี
พ.ศ. 2563 (ประกาศในราชกิจจานุเษกษา เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2563) อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 9
(7) แห่งพระราชบัญญัติสภาครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 เพื่อให้สอดคล้องตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ จํานวน 2 ฉบับ ดังนี้
1) ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่ อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริ ญญาตรี สาขาครุ ศาสตร์และ
ศึกษาศาสตร์ (หลักสู ตรสี่ ปี) พ.ศ. 2562
2) ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่ อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริ ญญาตรี สาขาครุ ศาสตร์
อุตสาหกรรม (หลักสู ตรสี่ ปี) พ.ศ. 2562

49
ความเป็ นมา (ต่ อ)
คณะอนุ กรรมการชุดปั จจุบนั ทีท่ าํ หน้าทีด่ าํ เนินงานรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรทางการ
06 ศึกษา มี 7 คณะ ได้แก่
• คณะอนุ กรรมการประเมินเพือ่ การรับรองปริญญาตรีทางการศึกษา (หลักสูตร 5 ปี )
• คณะอนุ กรรมการประเมินเพือ่ การรับรองปริญญาตรีทางการศึกษา (หลักสูตร 4 ปี ) จํานวน
5 คณะ
• คณะอนุ กรรมการประเมินเพือ่ การรับรองปริญญาทางการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา

50
ระเบียบ ขั้นตอน/กระบวนการรับรองปริญญา
และประกาศนียบัตรทางการศึกษา

51
1. กฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบ และประกาศตางๆ ที่เกี่ยวของกับการรับรองปริญญา
และประกาศนียบัตร
01 ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556

02 ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2556

ประกาศคุรุสภา เรื่ อง การรับรองปริ ญญาและประกาศนียบัตรทางการศึกษาเพื่อ


03 การประกอบวิชาชีพ พ.ศ. 2557 และฉบับที่ 2 ฉบับที่ 3
ประกาศคณะกรรมการคุ รุส ภา เรื่ อ ง สาระความรู ้ สมรรถนะและประสบการณ์
04 วิชาชี พ ของผูป้ ระกอบวิชาชี พครู ผูบ้ ริ หารสถานศึ กษา ผูบ้ ริ หารการศึ กษา และ
ศึกษานิเทศก์ ตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556

52
1. กฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ และประกาศต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการรับรอง
ปริญญาและประกาศนี ยบัตร (ต่อ)

05 ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่อง หลักเกณฑคุณสมบัติของสถานศึกษาสําหรับ


ปฏิบัติการสอน

06 ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562

ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่ อง รายละเอียดของมาตรฐานความรู ้และประสบการณ์


07 วิชาชีพ ตามข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562

ประกาศคุรุสภา เรื่ อง การรับรองปริ ญญาตามมาตรฐานวิชาชีพ หลักสู ตร 4 ปี


08 พ.ศ. 2563 และฉบับที่ 2

53
2. มาตรฐานและเกณฑ์การรับรองปริญญาและประกาศนี ยบัตรบัณฑิตทางการศึกษา
2.1 หลักสูตรปริญญาตรี (5 ปี ) หลักสูตรประกาศนี ยบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
และหลักสูตรปริญญาโททางการศึกษา (วิชาชีพครู) ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ คือ

1) มาตรฐานหลักสูตร พิจารณาจาก
• โครงสร้างหลักสูตร
• มาตรฐานความรูแ้ ละประสบการณ์วชิ าชีพ
• การพัฒนาหลักสูตร
2) มาตรฐานการผลิต พิจารณาจาก
• กระบวนการคัดเลือกนิสติ นักศึกษา
• จํานวนนิสติ นักศึกษา

54
2. มาตรฐานและเกณฑ์การรับรองปริญญาและประกาศนี ยบัตรบัณฑิตทางการศึกษา
(ต่อ)
(ต่อ) 2) มาตรฐานการผลิต พิจารณาจาก
- คณาจารย์
คณาจารย์ประจําหลักสูตร (เป็ นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรือ่ ง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558)
คณาจารย์ที่ปรึกษา (มีคาํ สังแต่
่ งตัง้ อาจารย์ทป่ี รึกษาทีม่ กี ารกําหนดหน้าทีอ่ ย่างชัดเจน)
คณาจารย์ผ้สู อน (เป็ นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรือ่ ง เกณฑ์มาตรฐาน
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558)
คณาจารย์นิเทศก์
มีคุณวุฒไิ ม่ต่าํ กว่าปริญญาเอกในสาขาวิชาทีจ่ ะนิเทศ หรือมีประสบการณ์ในการนิเทศมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี
คณาจารย์นิเทศมีจาํ นวนทีเ่ หมาะสม ทัง้ นี้ ไม่เกิน 1 : 10
ครูพี่เลี้ยง
มีคุณวุฒแิ ละประสบการณ์ตรงกับการปฏิบตั กิ ารสอน
- ทรัพยากรการเรียนรู้
- การบริหารหลักสูตรและการเรียนการสอน
- การประกันคุณภาพการศึกษา

55
2. มาตรฐานและเกณฑ์การรับรองปริญญาและประกาศนี ยบัตรบัณฑิตทางการศึกษา
(ต่อ)

3) มาตรฐานบัณฑิต พิจารณาจาก
- ความรู้
- การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษา
- การปฏิบตั ติ น
- การพัฒนาคุณลักษณะความเป็ นครู

56
2. มาตรฐานและเกณฑ์การรับรองปริญญาและประกาศนี ยบัตรบัณฑิตทางการศึกษา
(ต่อ2.2) หลักสูตรปริญญาตรี (4 ปี )

01 ด้ านหลักสู ตร • แผนการรับนิสิตนักศึกษา 03 ด้ านผลลัพธ์


• การคัดเลือกนิสิตนักศึกษา • จํานวนบัณฑิตที่จะสําเร็จการศึกษา
• ความสอดคล้องของรายวิชากับมาตรฐานวิชาชีพ • ความพึงพอใจของสถานศึกษาสําหรับปฏิบัติการสอน
02 ด้ านกระบวนการผลิต • หน่วยงานที่รับผิดชอบหลักสู ตรผลิตครู ที่มีตอคุณภาพของนิสิตนักศึกษา
• อาจารย์ผสู ้ อนรายวิชาชีพครู
• การจัดการเรี ยนรู ้/กระบวนการเรี ยนรู ้
• การวัดและการประเมิน
• บรรยากาศ สภาพแวดล้อมและการใช้เทคโนโลยี
• ระบบการนิเทศ
• การปฏิบตั ิการสอน
• กิจกรรมเสริ มความเป็ นครู
• การพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษ
57
ตารางเปรียบเทียบ เกณฑ์การรับรองปริญญาทางการศึกษา หลักสูตร 4 ปี และ 5 ปี

ประเด็น หลักสูตร 5 ปี หลักสูตร 4 ปี


องค์ประกอบการพิจารณา มาตรฐานหลักสูตร ด้านหลักสูตร
มาตรฐานการผลิต ด้านกระบวนการผลิต
มาตรฐานบัณฑิต ด้านผลลัพธ์

เกณฑ์การรับรอง มาตรฐานหลักสูตร ด้านหลักสูตร


- โครงสร้างหลักสูตร - แผนการรับนิสติ นักศึกษา
- มาตรฐานความรูแ้ ละประสบการณ์ - การคัดเลือกนิสติ นักศึกษา
วิชาชีพ - ความสอดคล้องของรายวิชากับ
- การพัฒนาหลักสูตร มาตรฐาน
วิชาชีพ

58
ตารางเปรียบเทียบ เกณฑ์การรับรองปริญญาทางการศึกษา หลักสูตร 4 ปี และ 5 ปี

ประเด็น หลักสูตร 5 ปี หลักสูตร 4 ปี

มาตรฐานการผลิต ด้านกระบวนการผลิต
- กระบวนการคัดเลือกนิสติ นักศึกษา - หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบหลักสูตรผลิตครู
- จํานวนนิสติ นักศึกษา - อาจารย์ผสู้ อนรายวิชาชีพครู
- คณาจารย์ - การจัดการเรียนรู/้ กระบวนการเรียนรู้
- ทรัพยากรการเรียนรู้ - การวัดและการประเมิน
- การบริหารหลักสูตรและการเรียนการสอน - บรรยากาศ สภาพแวดล้อมและการใช้
- การประกันคุณภาพการศึกษา เทคโนโลยี
- ระบบการนิเทศ
- การปฏิบตั กิ ารสอน
- กิจกรรมเสริมความเป็ นครู
- การพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษ
59
ตารางเปรียบเทียบ เกณฑ์การรับรองปริญญาทางการศึกษา หลักสูตร 4 ปี และ 5 ปี

ประเด็น หลักสูตร 5 ปี หลักสูตร 4 ปี


มาตรฐานบัณฑิต ด้านผลลัพธ์
- ความรู้ - จํานวนบัณฑิตทีจ่ ะสําเร็จการศึกษา
- การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษา - ความพึงพอใจของสถานศึกษาสําหรับ
- การปฏิบตั ติ น ปฏิบตั กิ ารสอนทีม่ ตี ่อคุณภาพของ
- การพัฒนาคุณลักษณะความเป็ นครู นิสติ
นักศึกษา

60
3. กระบวนการรับรองปริญญาและประกาศนี ยบัตรทางการศึกษา
3.1 หลักสูตรปริญญาตรี 5 ปี หลักสูตรประกาศนี ยบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู ปริญญาโททางการศึกษา (วิชาชีพ
ครู)

61
3. กระบวนการรับรองปริญญาและประกาศนี ยบัตรทางการศึกษา
3.2 หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี (ต่อ)

62
3. กระบวนการรับรองปริญญาและประกาศนี ยบัตรทางการศึกษา
3.2 หลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี (ต่อ)

63
สรุปหลักสูตร เกณฑ์ที่ใช้ในการรับรอง และมาตรฐานข้อบังคับคุรสุ ภา

1. ปริญญาตรี (หลักสูตร 4 ปี ) มาตรฐาน 2. ปริญญาตรี (หลักสูตร 5 ปี )


ประกาศคุรสุ ภา เรือ่ ง การรับรองปริญญา ข้อบังคับคุรสุ ภา ว่า ประกาศคุ รุ ส ภา เรื่ อ ง การรั บ รอง
ตามมาตรฐานวิช าชีพ หลัก สู ต ร 4 ปี ด้วยมาตรฐาน ปริญ ญาและประกาศนี ย บัต รทางการ
พ.ศ. 2563 (ประกาศในราชกิ จ จา วิชาชีพ (ฉบับที่ 4) ศึก ษาเพื่อ การประกอบวิช าชีพ พ.ศ.
นุ เบกษา เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2563) พ.ศ. 2562 2557
และฉบับที่ 2 (ประกาศในราช (ประกาศในราชกิจจานุ เบกษา เมือ่ วันที่
3. ประกาศนี ยบัตรบัณฑิตวิชาชีพ กิจจานุ เบกษา เมือ่ 14 มีนาคม 2557) และฉบับที่ 3
4. ปริญญาโททางวิชาชีพครู
วันที่ 20 มีนาคม
ครูประกาศคุรสุ ภา เรือ่ ง การรับรองปริญญา 2562) ประกาศคุรสุ ภา เรือ่ ง การรับรอง
และประกาศนียบัต รทางการศึก ษาเพื่อ ปริญญาและประกาศนียบัตรทางการ
การประกอบวิชาชีพ พ.ศ. 2557 ศึกษาเพือ่ การประกอบวิชาชีพ พ.ศ.
(ประกาศในราชกิจจานุ เบกษา เมื่อวันที่ 2557
14 มีนาคม 2557) และฉบับที่ 3 (ประกาศในราชกิจจานุ เบกษา เมือ่ วันที่ 64
กระบวนการขั้นตอนการดําเนินงาน
: สํานักมาตรฐานวิชาชีพ
กลุมมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ

วันพฤหัสบดีที่ 31 สิงหาคม 2566

65
กําหนดมาตรฐานวิชาชีพ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูชั้นตน
(B – license)

การผานการรับรอง
ผูตองการ - การรับรองปริญญาและ การทดสอบและ การออกใบอนุญาต
ครู ไมนอยกวา ประกอบวิชาชีพ
เขาสูวิชาชีพ ประกาศนียบัตรทางการศึกษา ประเมินสมรรถนะ
ทางการศึกษา รอยละ 60 ทางการศึกษา
- การรับรองความรูฯ +ปสก. 1 ป ทางวิชาชีพครู
- การรับรองคุณวุฒิฯ+ปสก. 1 ป
ใบอนุญาตปฏิบัติหนาที่ครู
(P – license)

ผูบริหารสถานศึกษา / ผูบริหารการศึกษา / ศึกษานิเทศก

66
มาตรฐานวิชาชีพ

มาตรฐานความรู
มาตรฐานการปฏิบัติงาน
และประสบการณวิชาชีพ

มาตรฐานการปฏิบัติตน
(จรรยาบรรณของวิชาชีพ)

67
68
69
70
71
ขอบังคับคุรุสภาและประกาศที่เกี่ยวของกับมาตรฐานวิชาชีพ

1. ขอบังคับคุรุสภา วาดวยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556


2. ขอบังคับคุรุสภา วาดวยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561
3. ขอบังคับคุรุสภา วาดวยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2561
4. ขอบังคับคุรุสภา วาดวยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562
5. ขอบังคับคุรุสภา วาดวยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2563
6. ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่อง สาระความรู สมรรถนะ และประสบการณวิชาชีพ ของผูประกอบวิชาชีพครู ผูบริหาร
สถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา และศึกษานิเทศก ตามขอบังคับคุรสุ ภา วาดวยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ.2556
7. ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่อง รายละเอียดของมาตรฐานความรูและประสบการณวิชาชีพครู
ตามขอบังคับคุรุสภา วาดวยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562

72
การทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู

ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู พ.ศ. 2566

ดานความรูและ แบบทดสอบ เกณฑการตัดสิน


ประสบการณวิชาชีพ - วิชาครู ไมต่ํากวารอยละ 60
ตามมาตรฐานวิชาชีพครู ใชผลได 3 ป
- กลุมวิชา
การทดสอบ
และประเมินสมรรถนะ
ทางวิชาชีพครู ดานการปฏิบัติงาน เกณฑการตัดสิน
และการปฏิบัติตน แบบประเมิน ไมต่ํากวารอยละ 60
ตามมาตรฐานวิชาชีพครู ไมมีกําหนดอายุในการใชผล
73
การทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู : ดานความรูและประสบการณวิชาชีพ

74
การทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู : ดานความรูและประสบการณวิชาชีพ

ผังการสรางแบบทดสอบ (Test Blueprint) วิชาครู


- ขอบเขตและน้ําหนักการวัดสมรรถนะทางวิชาชีพครูของคุรุสภา (Competency level)
- สมรรถนะยอยที่สอดคลองกับสถานการณการทํางานของครู
- น้ําหนักการวัดในแตละสมรรถนะยอยฯ

75
ขอบเขตและน้ําหนักการวัดสมรรถนะทางวิชาชีพครูของคุรุสภา (Competency level)

Competency level ขอบเขต น้ําหนักการวัด


Level 1 ความสามารถในการบอก / ระบุขอมูลเชิง ความสามารถในการบงชี้ บรรยายลักษณะ ใหความหมาย รอยละ 10
ขอเท็จจริงตามหลักวิชาครู แปลความ/ตีความขอมูล อันเปนขอเท็จจริง ตามหลักวิชาครู
Level 2 ความสามารถในการอธิบาย ความสามารถในการขยายความ ใหเหตุผลในแงมุมตาง ๆ รอยละ 20
ใหเหตุผลเชิงมโนทัศนตามหลักวิชาครู ตอสถานการณหรือขอมูลที่ปรากฏ ในเชิงมโนทัศนทสี่ อดคลอง
หรือเชื่อมโยงกับหลักวิชาครู
Level 3 ความสามารถในการประยุกตใชความรู ความสามารถในการนําความรูทางวิชาครูไปใช แยกแยะ รอยละ 50
และวิเคราะหเพื่อพัฒนางานครู เปรียบเทียบ และเชื่อมโยงองคประกอบหรือแงมุมตาง ๆ ของ
ขอมูล/เหตุการณ ที่นําไปสูการแกไขปญหาและพัฒนางาน
Level 4 ความสามารถในการประเมินคา และ ความสามารถในการพิจารณาและตัดสินคุณคาของวิธีปฏิบัติ รอยละ 20
สรางสรรคทางเลือกใหมเพื่อพัฒนางานครู หรือความรูที่มอี ยู สังเคราะห ริเริ่มพัฒนา ออกแบบ และ
สรางทางเลือกใหม
76
มาตรฐานความรูและน้ําหนักการวัดในแตละมาตรฐานความรู
ที่ มาตรฐานความรู นํ้าหนักการวัดรวม
1 การเปลี่ยนแปลงบริบทของโลก สังคม และแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 12
2 จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการศึกษา และจิตวิทยาใหคําปรึกษาในการวิเคราะหและพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ 25
3 หลักสูตร ศาสตรการสอน และเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู 30
4 การวัด ประเมินผลการเรียนรู และการวิจัยเพื่อแกปญหาและพัฒนาผูเรียน 25
5 การออกแบบและการดําเนินการเกี่ยวกับงานประกันคุณภาพการศึกษา 8
รวม 100

77
ที่มา :
https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=pfbid0RGan7tML5JQiJwyqeqGgCas
78
1U6c9JTYvUVEr1kGHnuJtsqa2suaJNML47adQmbrml&id=100066344448895
ผังการสรางขอสอบ วิชาครู : ดานที่ 1 การเปลี่ยนแปลงบริบทของโลก สังคม และแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (รศ.ดร.ทิวัตถ มณีโชติ)

79
ผังการสรางขอสอบ วิชาครู : ดานที่ ๒ จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการศึกษา และจิตวิทยาใหคําปรึกษาในการวิเคราะหและพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพ
(รศ.ดร.นิรันดร จุลทรัพย)

80
81
ผังการสรางขอสอบ วิชาครู : ดานที่ ๓ เนื้อหาวิชาที่สอน หลักสูตร ศาสตรการสอน และเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู (รศ.ดร.ปกรณ ประจันบาน)

82
83
84
85
ผังการสรางขอสอบ วิชาครู : ดานที่ ๔ การวัด ประเมินผลการเรียนรู และการวิจัยเพื่อแกปญหาและพัฒนาผูเรียน (ศ.ดร.องอาจ นัยพัฒน)

86
87
ผังการสรางขอสอบ วิชาครู : ดานที่ ๕ การออกแบบและการดําเนินการเกี่ยวกับงานประกันคุณภาพการศึกษา (รศ.ดร.พรอมพิไล บัวสุวรรณ)

88
ตารางสรุปน้ําหนักการวัดสมรรถนะทางวิชาชีพครูของคุรุสภาในแตละมาตรฐานความรู
นํ้าหนัก ระดับสมรรถนะ (Competency level)
มาตรฐานความรู
ที่ การวัด Level 1 Level 2 Level 3 Level 4
(ความรูและสมรรถนะที่สําคัญ)
รวม จํานวนขอ รอยละ จํานวนขอ รอยละ จํานวนขอ รอยละ จํานวนขอ รอยละ
1 การเปลี่ยนแปลงบริบทของโลก สังคม 12 2 16.67 4 33.33 4 33.33 2 16.67
และแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2 จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการศึกษา 25 2 8.00 3 12.00 14 56.00 6 24.00
และจิตวิทยาใหคําปรึกษาในการวิเคราะห
และพัฒนาผูเรียน ตามศักยภาพ
3 หลักสูตร ศาสตรการสอน และเทคโนโลยี 30 3 10.00 4 13.33 17 56.67 6 20.00
ดิจิทัลในการจัดการเรียนรู
4 การวัด ประเมินผลการเรียนรู และการวิจัย 25 2 8.00 6 24.00 12 48.00 5 20.00
เพื่อแกปญหาและพัฒนาผูเรียน
5 การออกแบบและการดําเนินการเกี่ยวกับ 8 1 12.50 3 37.50 3 37.50 1 12.50
งานประกันคุณภาพการศึกษา
รวม 100 10 20 50 20 89
“หลักเกณฑ วิธีการ และเครื่องมือทดสอบและประเมิน
สมรรถนะทางวิชาชีพครู
ดานการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตน ตามมาตรฐานวิชาชีพครู”

90
การทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู : ดานการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตน

91
สวนที่ 1 หลักเกณฑฯ : องคประกอบของกรอบสมรรถนะการประเมิน

สมรรถนะ สมรรถนะ พฤติกรรม


หลัก ยอย บงชี้

สมรรถนะหลัก สมรรถนะยอย พฤติกรรมบงชี้


1. ดานการจัดการเรียนรู 6 สมรรถนะยอย 12 พฤติกรรมบงชี้
2. ดานความสัมพันธกับผูปกครองและชุมชน 4 สมรรถนะยอย 8 พฤติกรรมบงชี้
3. ดานการปฏิบัติหนาที่ครู 10 สมรรถนะยอย 20 พฤติกรรมบงชี้
และจรรยาบรรณของวิชาชีพ
92
สมรรถนะหลัก สมรรถนะยอย พฤติกรรมบงชี้
1.1 พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนรู สื่อ 1.1.1 สามารถวิเคราะหความสอดคลองของสาระการเรียนรูกับมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตร
การวัดและประเมินผลการเรียนรู แกนกลางและหลักสูตรสถานศึกษา
1.1.2 สามารถวิเคราะหความสอดคลองของสาระการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีปญญารูคิด
และมีความเปนนวัตกร
1. ดานการจัดการเรียนรู

1.2 บูรณาการความรูและศาสตรการสอนในการวางแผน 1.2.1 สามารถเขียนแผนการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีปญญารูคิดและมีความเปนนวัตกร


และจัดการเรียนรูที่สามารถพัฒนาผูเรียนใหมี 1.2.2 สามารถจัดการเรียนรูใหเปนไปตามแผนการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีปญญารูคิด
ปญญารูคิด และมีความเปนนวัตกร และมี ความเปนนวัตกร
1.3 จัดกิจกรรมและสรางบรรยากาศการเรียนรูใหผูเรียนมี 1.3.1 สามารถจัดกิจกรรมและสรางบรรยากาศการเรียนรูใหผูเรียนมีความสุขในการเรียน
ความสุขในการเรียน โดยตระหนักถึงสุขภาวะของ 1.3.2 จัดกิจกรรมและสรางบรรยากาศการเรียนรูใหผูเรียนโดยตระหนักถึงสุขภาวะของผูเรียน
ผูเรียน
1.4 ดูแล ชวยเหลือ และพัฒนาผูเรียนเปนรายบุคคล 1.4.1 สามารถดูแล ชวยเหลือ และพัฒนาผูเรียนเปนรายบุคคลตามศักยภาพ
ตามศักยภาพ สามารถรายงานผลการพัฒนาคุณภาพ 1.4.2 สามารถรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผูเรียนไดอยางเปนระบบ
ผูเรียนไดอยางเปนระบบ
1.5 วิจัย สรางนวัตกรรม และประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัล 1.5.1 สามารถทําวิจัยที่สอดคลองกับปญหาของผูเรียน
ใหเกิดประโยชนตอการเรียนรูของผูเรียน 1.5.2 สามารถประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู เชน CAI, google classroom,
Kahoot เปนตน
1.6 ปฏิบัติงานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรคและมีสวนรวม 1.6.1 สามารถปฏิบัติงานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรค
ในกิจกรรมวิชาชีพ 1.6.2 มีสวนรวมในกิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพ
93
สมรรถนะหลัก สมรรถนะยอย พฤติกรรมบงชี้
2.1 รวมมือกับผูปกครองในการพัฒนาและแกปญหา 2.1.1 รวมมือกับผูปกครองในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงคของสถานศึกษา
ผูเรียนใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงค 2.1.2 รวมมือกับผูปกครองในการแกปญหาผูเรียนใหมีคุณลักษณะที่พึงประสงคของสถานศึกษา
2. ดานความสัมพันธกับชุมชนและผูปกครอง 2.2 สรางเครือขายความรวมมือกับผูปกครองและชุมชน 2.2.1 สามารถสรางเครือขายความรวมมือกับผูปกครองเพื่อสนับสนุนการเรียนรูที่มีคุณภาพของผูเรียน
เพื่อสนับสนุนการเรียนรูที่มีคุณภาพของผูเรียน 2.2.2 สามารถสรางเครือขายความรวมมือกับชุมชน เชน ปราชญชาวบาน หนวยงานปกครองของทองถิ่น เพื่อสนับสนุนการเรียนรูที่มีคุณภาพ
ของผูเรียน
2.3 ศึกษา เขาถึงบริบทของชุมชน และสามารถอยู 2.3.1 สามารถรายงานการศึกษาบริบทของชุมชนโดยเลือกประเด็นศึกษา ไดแก
รวมกันบนพื้นฐานความแตกตางทางวัฒนธรรม 1) วิทยากรในชุมชน
2) ปราชญชาวบานในชุมชน
3) แหลงเรียนรูในชุมชน
4) วัฒนธรรมของชุมชุน
5) เศรษฐกิจของชุมชน
2.3.2 สามารถปฏิบัติตนในการอยูรวมกับชุมชนไดอยางเหมาะสม
2.4 สงเสริม อนุรักษวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น 2.4.1 สามารถรายงานการศึกษาวัฒนธรรมของชุมชนและภูมิปญญาในทองถิ่น โดยเลือกศึกษาตามประเด็น ไดแก
1) วิทยากรดานวัฒนธรรมของชุมชนและภูมิ ปญญาในทองถิ่น
2) ปราชญชาวบานดานวัฒนธรรมของชุมชนและภูมิปญญาในทองถิ่น
3) แหลงเรียนรูในชุมชนดานวัฒนธรรมของชุมชนและภูมิปญญาในทองถิ่น
4) การอนุรักษวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น
2.4.2 สามารถนําวัฒนธรรมของชุมชนและภูมิปญญาในทองถิ่น มาบูรณาการในการจัดการเรียนรูใ นชั้นเรียนตามประเด็น ไดแก
1) องคความรูของวิทยากรดานวัฒนธรรมของชุมชนและภูมิปญญาในทองถิ่น
2) องคความรูของปราชญชาวบานดานวัฒนธรรมของชุมชนและภูมิปญญาในทองถิ่น
3) องคความรูจากแหลงเรียนรูในชุมชนดานวัฒนธรรมของชุมชนและภูมิปญญาในทองถิ่น

94
สมรรถนะหลัก สมรรถนะยอย พฤติกรรมบงชี้
3.1 มุงมั่นพัฒนาผูเรียนดวยจิตวิญญาณความเปนครู 3.1.1 มุงมั่นพัฒนาผูเรียนใหเกิดการเรียนรู ทักษะปฏิบัติ และคุณลักษณะที่ดีงาม อยางเต็มความสามารถดวยวิธีการที่เหมาะสมกับระดับ
ความสามารถและชวงวัย
3.1.2 รักเมตตา เอาใจใส ชวยเหลือและพัฒนาผูเรียนอยางเหมาะสมดวยความบริสุทธิ์ใจ
3.2 สงเสริมการเรียนรู เอาใจใส และยอมรับความ 3.2.1 สงเสริมการเรียนรูอยางตอเนื่องดวยความเอาใจใส
แตกตางของผูเรียนแตละบุคคล 3.2.2 การยอมรับความแตกตางของผูเรียนทางดานเพศ เชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม และระดับการเรียนรู
3. ดานการปฏิบัตหิ นาที่ครูและ

3.3 สรางแรงบันดาลใจผูเรียนใหเปนผูใฝเรียนรู และ 3.3.1 กระตุนและเสริมสรางแรงจูงใจในการเรียนรูแกผูเรียนโดยใชการเสริมแรงทางบวก


ผูสรางนวัตกรรม 3.3.2 สงเสริมใหผูเรียนแสดงความสามารถและความคิดริเริ่มสรางสรรคอยางเต็มศักยภาพ
จรรยาบรรณของวิชาชีพ

3.4 พัฒนาตนเองใหมีความรอบรู ทันสมัยและทันตอ 3.4.1 ติดตามขอมูลขาวสารการศึกษา สังคม การเมือง การปกครอง และเศรษฐกิจ โดยสามารถนํามาปรับใช/เชื่อมโยง กับเนื้อหาในการ
การเปลี่ยนแปลง จัดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ
3.4.2 นําแนวคิด เทคนิควิธีการ หรือความรูใหมๆ ที่นาสนใจ มาประยุกตใชเปนสวนหนึ่งในการออกแบบการจัดกิจกรรรมการเรียนรูไดอยาง
เหมาะสม
3.5 ประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดี มีคุณธรรม 3.5.1 ประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดีทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ มีคุณธรรมจริยธรรม
จริยธรรม และมีความเปนพลเมืองที่เขมแข็ง 3.5.2 ปฏิบัติตนโดยยึดหลักความเปนธรรม เทาเทียม และมีสวนชวยใหคนในองคกรอยูรวมกันอยางสันติ
3.6 จรรยาบรรณตอตนเอง 3.6.1 ปฏิบัติตนตามขอตกลง กฎกติกาของโรงเรียนดวยความสมัครใจ ทั้งในดานการปฏิบัติการสอนและการปฏิบัติหนาที่อื่นในโรงเรียน
3.6.2 ติดตามขอมูลและปรับเปลี่ยนตนเองใหสอดคลองการเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพ วิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
3.7 จรรยาบรรณตอวิชาชีพ 3.7.1 ศรัทธา ซื่อสัตย สุจริต และรับผิตชอบตอวิชาชีพครู
3.7.2 เปนสมาชิกที่ดีขององคกรวิชาชีพ
3.8 จรรยาบรรณตอผูรับบริการ 3.8.1 ใหบริการดวยความจริงใจและเสมอภาค
3.8.2 ไมเรียกรับหรือยอมรับผลประโยชนจากการใชตําแหนงหนาที่โดยมิชอบ
3.9 จรรยาบรรณตอผูรวมประกอบวิชาชีพ 3.9.1 อุทิศตนเพื่อชวยเหลือเพื่อนผูรวมประกอบวิชาชีพภายใตหลักการที่ถูกตอง
3.9.2 สรางความสามัคคีในหมูคณะ
3.10 จรรยาบรรณตอสังคม 3.10.1 ริเริ่ม วางแผน หรือ เปนผูนําในการทํากิจกรรมเกี่ยวกับอนุรักษและพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญญา หรือ
สิ่งแวดลอมโดยคํานึงถึงผลประโยชนของสวนรวมเปนสําคัญ
3.10.2 ปฏิบัติตนตามกฎระเบียบของสังคมภายใตระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขอยางเครงครัด 95
สวนที่ 1 หลักเกณฑฯ : เกณฑการใหคะแนน

พฤติกรรมบงชี้แตละขอ ใหคะแนนเปนมาตรวัดประมาณคา 5 ระดับ


(Rating Scale) โดยใหแตละระดับ มีคาคะแนน ดังนี้
ระดับ 1 มีคาเทากับ 1 คะแนน
ระดับ 2 มีคาเทากับ 2 คะแนน
ระดับ 3 มีคาเทากับ 3 คะแนน
ระดับ 4 มีคาเทากับ 4 คะแนน
ระดับ 5 มีคาเทากับ 5 คะแนน
ทั้งนี้ เกณฑการใหคะแนนการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู
ดานการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนตามมาตรฐานวิชาชีพครู
ในแตละพฤติกรรมบงชี้ใหเปนไปตามเอกสารแนบทายประกาศ

96
สวนที่ 1 หลักเกณฑฯ : ผูประเมิน

กรณีผูรับการประเมินเปนผูอยูระหวางศึกษา กรณีผูรับการประเมินเปนผูสําเร็จการศึกษา

บุคลากรของสถานศึกษาที่ผูเขารับการประเมิน
อาจารยนิเทศก
ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษานั้น

บุคลากรอื่นที่สถานศึกษาพิจารณาแลวเห็นวา
ครูพี่เลี้ยง
สามารถเปนผูประเมินได

ผูบริหารสถานศึกษา หรืออาจเปนผูที่ผูบริหารสถานศึกษา
มอบหมาย โดยไมใชบุคคลเดียวกับครูพี่เลี้ยง
97
สวนที่ 1 หลักเกณฑฯ : คาน้ําหนักการใหคะแนนของผูประเมินแตละคน

กรณีเปนผูอยูระหวางศึกษา กรณีเปนผูสําเร็จการศึกษา
สมรรถนะที่ประเมิน บุคลากร ผูแทน
อาจารย
ครูพี่เลี้ยง ผูบริหาร ของ คณะกรรมการ บุคลากรอื่น
นิเทศก
สถานศึกษา สถานศึกษา
ดานการจัดการเรียนรู 50 40 10 50 - 50
ดานความสัมพันธกับ 30 40 30 55 15 30
ผูปกครองและชุมชน (15% ของผูแทน
คณะกรรมการ
สถานศึกษา)
ดานการปฏิบัติหนาที่ครู 30 40 30 70 - 30
และจรรยาบรรณของวิชาชีพ
98
สวนที่ 1 หลักเกณฑฯ : เกณฑการตัดสิน

สมรรถนะดานความสัมพันธกับ สมรรถนะดานการปฏิบัติหนาที่ครู และ


สมรรถนะดานการจัดการเรียนรู
ผูปกครองและชุมชน จรรยาบรรณของวิชาชีพ

ไมนอยกวา 3.00 ไมนอยกวา 3.00 ไมนอยกวา 3.00

คะแนนเฉลี่ยรวมทั้ง 3 องคประกอบ ไมนอยกวา 3.00

99
สวนที่ 1 หลักเกณฑฯ : การแปลผลการประเมิน

คะแนนเฉลี่ย การแปลผล
4.50 - 5.00 ระดับคุณภาพ ผานเกณฑการประเมิน ระดับดีมาก
3.50 - 4.49 ระดับคุณภาพ ผานเกณฑการประเมิน ระดับดี
3.00 - 3.49 ระดับคุณภาพ ผานเกณฑการประเมิน
นอยกวา 3.00 ระดับคุณภาพ ไมผานเกณฑการประเมิน ควรปรับปรุง

100
สวนที่ 1 หลักเกณฑฯ : ระยะเวลาการใชผลการประเมิน

ไมมีกรอบระยะเวลาการใชผลการประเมิน

101
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : จํานวนครั้ง ระยะเวลา และน้ําหนักในการประเมิน

สัปดาหที่ 3 – 5 สัปดาหที่ 7 - 9 สัปดาหที่ 11 - 14


ภาคเรียนสุดทายที่ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

20% 30% 50%


น้ําหนักการประเมินแตละครั้ง
102
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช

แบบประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ดานการจัดการเรียนรู

แบบประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ดานความสัมพันธกับผูปกครองและชุมชน

• สําหรับผูประเมินที่ไมใชผูแทนคณะกรรมการสถานศึกษา
• สําหรับผูประเมินที่เปนผูแทนคณะกรรมการสถานศึกษา

แบบประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ดานปฏิบัติหนาที่ครู
และจรรยาบรรณของวิชาชีพ

103
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช

• แบบประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ทั้ง 3 ดาน แบงเปน 2 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานของผูประเมิน และผูเขารับการประเมิน

ตอนที่ 2 รายการประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู

104
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช
ตัวอยาเรีงเครื
ยนรู่อ งมือ ดานการจัดการเรียนรู

105
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช
ตัวอยาเรีงเครื
ยนรู่อ งมือ ดานการจัดการเรียนรู

106
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช
ตอนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานของผูประเมิน และผูเขารับการประเมิน

107
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช
ตอนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานของผูประเมิน และผูเขารับการประเมิน

108
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช
ตอนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานของผูประเมิน และผูเขารับการประเมิน

109
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช
ตอนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานของผูประเมิน และผูเขารับการประเมิน

110
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช
ตอนที่ 2 รายการประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ดานการจัดการเรียนรู

111
ตัวอยาง
เรียนรู
เกณฑการใหคะแนน
ดานการ
จัดการเรียนรู

112
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช
ตอนที่ 2 รายการประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ดานการจัดการเรียนรู

113
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช
ตอนที่ 2 รายการประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ดานการจัดการเรียนรู

114
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช
ดานความสัมพันธ
ตัวอยาเรีงเครื
ยนรู่อ งมือ ผูปกครองและชุมชน

115
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช
ดานความสัมพันธ
ตัวอยาเรีงเครื
ยนรู่อ งมือ
ผูปกครองและชุมชน

116
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช
ตอนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานของผูประเมิน และผูเขารับการประเมิน

ตอนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานฯ
รายละเอียดเหมือนกัน
ทั้ง 3 ดาน

117
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช
ตอนที่ 2 รายการประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ดานความสัมพันธผูปกครองและชุมชน

118
ตัวอยาง
เรียนรู
เกณฑการใหคะแนน
ดานความสัมพันธ
ผูปกครองและชุมชน

119
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช
ตอนที่ 2 รายการประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ดานความสัมพันธผูปกครองและชุมชน

120
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช
ตอนที่ 2 รายการประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ดานความสัมพันธผูปกครองและชุมชน

121
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช
ดานปฏิบัติหนาที่ครู
ตัวอยาเรีงเครื
ยนรู่อ งมือ และจรรยาบรรณวิชาชีพ

122
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช
ดานปฏิบัติหนาที่ครู
ตัวอยาเรีงเครื
ยนรู่อ งมือ และจรรยาบรรณวิชาชีพ

123
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช
ตอนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานของผูประเมิน และผูเขารับการประเมิน

ตอนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานฯ
รายละเอียดเหมือนกัน
ทั้ง 3 ดาน

124
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช
ตอนที่ 2 รายการประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ดานปฏิบัติหนาที่ครูและจรรยาบรรณวิชาชีพ

125
ตัวอยาง
เรียนรู
เกณฑการใหคะแนน
ดานปฏิบัตหิ นาที่ครูและ
จรรยาบรรณวิชาชีพ

126
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช
ตอนที่ 2 รายการประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ดานปฏิบัติหนาที่ครูและจรรยาบรรณวิชาชีพ

127
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช
ตอนที่ 2 รายการประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ดานปฏิบัติหนาที่ครูและจรรยาบรรณวิชาชีพ

128
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : เครื่องมือที่ใช
ตอนที่ 2 รายการประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ดานปฏิบัติหนาที่ครูและจรรยาบรรณวิชาชีพ

129
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : วิธีการคิดคะแนน

สําหรับผูอยูระหวางศึกษา : ดานการจัดการเรียนรู ผลการประเมิน


ครั้งที่ 1 X 0.2
=X
อ.นิเทศก ครูพี่เลี้ยง ผูบริหาร 1 นําคะแนน
3 ครั้งรวมกัน
XS X 0.5 XT X 0.4 XA X 0.1 ผลการประเมิน
ครั้งที่ 2 X 0.3 X1+ X2+ X3= X Total
= X2

ผลการประเมิน คะแนนเฉลี่ย
ไมนอยกวา
ครั้งที่ 3 X 0.5 3.00
= X3 จึงจะผาน
130
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : วิธีการคิดคะแนน

สําหรับผูอยูระหวางศึกษา : ดานความสัมพันธกับผูปกครองและชุมชน
ผลการประเมิน
ผูแทนคณะกรรมการ ครั้งที่ 1 X 0.2
อ.นิเทศก ครูพี่เลี้ยง ผูบริหาร สถานศึกษา = Y1
นําคะแนน
YS X 0.3 YT X 0.4 YA X 0.255 YC X 0.045 ผลการประเมิน
ครั้งที่ 2 X 0.3 3 ครั้งรวมกัน
Y
= 2
ผลการประเมิน
Y1+ Y2+ Y3= Y Total
ครั้งที่ 3 X 0.5
= 3Y คะแนนเฉลี่ย
ไมนอยกวา
3.00
จึงจะผาน
131
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : วิธีการคิดคะแนน

สําหรับผูอยูระหวางศึกษา : ดานการปฏิบัติหนาที่ครู และจรรยาบรรณของวิชาชีพ


ผลการประเมิน
ครั้งที่ 1 X 0.2
อ.นิเทศก ครูพี่เลี้ยง ผูบริหาร
= Z1
ZS X 0.3 ZTX 0.4 ZA X 0.3 ผลการประเมิน
นําคะแนน
3 ครั้งรวมกัน
ครั้งที่ 2 X 0.3
Z
= 2 Z1+ Z2+ Z3= Z Total

ผลการประเมิน
คะแนนเฉลี่ย
ครั้งที่ 3 X 0.5
ไมนอยกวา
Z
= 3
3.00
จึงจะผาน
132
• คะแนนเฉลี่ยรวมผลการประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู (T)
โดยกําหนดใหคะแนนเฉลี่ยรวมของผลการประเมินครั้งที่ 1 – 3 เปนดังนี้

คะแนนเฉลี่ยรวมผลการประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ครั้งที่ 1 (T1)


X1 +Y1 +Z1
T1 =
3

คะแนนเฉลี่ยรวมผลการประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ครั้งที่ 2 (T2)


X2 +Y2 +Z2 Ttotal = T1 + T2 + T3
T2 =
3
คะแนนเฉลี่ยรวมผลการประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ครั้งที่ 3 (T3)
X3 +Y3 +Z3
T3 =
3
133
สวนที่ 2 วิธีการและเครื่องมือฯ : การรายงานผล

สถาบันอุดมศึกษา / ผูประเมินรายงานผล
ภายใน 45 วัน นับจากประเมินครั้งที่ 3 เสร็จ
เลขาธิการคุรุสภา
ตามแบบฟอรม และ
ชองทางที่สํานักงาน
เลขาธิการคุรุสภากําหนด

134
การประเมินสมรรนะทางวิชาชีพครู ดานการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตน ตามมาตรฐานวิชาชีพครู

สถาบันอุดมศึกษา / ผูประเมิน ดําเนินการประเมิน จํานวน 3 ครั้ง ตามหลักเกณฑที่กําหนด


ภายใน 45 วัน นับจาก
รายงานผลการประเมินตอเลขาธิการคุรุสภา ประเมินครั้งที่ 3 เสร็จ

รับรองผล
เสนอตอคณะอนุกรรมการอํานวยการทดสอบฯ
การประเมินฯ
เห็นชอบผลการ
เสนอตอคณะกรรมการคุรุสภา
ประเมินฯ

ประกาศผลตามระบบที่สํานักงานเลขาธิการคุรุสภากําหนด
135
136
สรุปการดําเนินการระหวางสถาบันอุดมศึกษาและสํานักงานเลขาธิการคุรุสภา

หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต / เสนอหลักสูตร จัดการเรียนการสอนตามที่


ศึกษาศาสตรบัณฑิต / ใหคุรุสภารับรอง เสนอขอรับรอง พรอม
การศึกษาบัณฑิต ผานระบบ รายงานรายชื่อผูเขาศึกษา

นักศึกษาในชั้นปที่ 3
สามารถเขารับการทดสอบฯ
ดานความรูและประสบการณวิชาชีพฯ ประเมินสมรรถนะ
ทางวิชาชีพครู ตามเกณฑ
รายงานรายชื่อ
รายงานผลการประเมิน ที่กําหนด ในภาคเรียน
ผูสําเร็จการศึกษา
มายังคุรุสภา สุดทายที่ไปปฏิบัติการสอน
มายังคุรุสภา
ในสถานศึกษา
137
การรับรองคุณวุฒกิ ารศึกษาเพือ่ การประกอบวิชาชีพ
ตามประกาศคณะกรรมการคุรสุ ภา
เรื่อง การรับรองคุณวุฒกิ ารศึกษาเพืก่ ารประกอบวิชาชีพ
พ.ศ. ๒๕๕๕

สานักมาตรฐานวิชาชีพ
กลุ่มรับรองความรู้และความชานาญ
โทรศัพท์ 02 282 4862
138
1. วัตถุประสงค์

เพื่อให้หน่วยงานผูใ้ ช้ผปู้ ระกอบวิชาชีพ ที่มีเหตุผลความจาเป็ นต้องใช้บคุ ลากร


ที่ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ แต่เป็ นผูม้ ีคณ ุ สมบัติตามหลักเกณฑ์ท่ีครุ ุสภา
กาหนด ในประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรือ่ ง การรับรองคุณวุฒิการศึกษาเพื่อการ
ประกอบวิชาชีพ พ.ศ. 2555 สามารถเสนอขอรับรองคุณวุฒิการศึกษาให้กบั บุคลากร
ดังกล่าวได้ ทัง้ นี ้ การรับรองคุณวุฒิการศึกษาฯ เป็ นการรับรองเฉพาะรายกรณี เท่านัน้

139
หลักเกณฑ์การพิจารณา
วิชาชีพ คุณวุฒิ
ครู ไม่ต่ากว่าปริญญาตรี
ผูบ้ ริหารสถานศึกษา ไม่ต่ากว่าปริญญาตรี
ผูบ้ ริหารการศึกษา
ศึกษานิเทศก์ ไม่ต่ากว่าปริญญาโท

140
การขอรับรองคุณวุฒิให้การรับรองเฉพาะรายกรณี โดยหน่วยงานผูใ้ ช้เป็ นผูข้ อรับรองคุณวุฒิจากคุรุสภา และ
ต้องนาเสนอคุณสมบัติอ่ืนของผูข้ อรับรองคุณวุฒิ ประกอบการพิจารณา ข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี ้

หลักเกณฑ์การพิจารณา
วิชาชีพ คุณวุฒิ
ครู 1. มีประสบการณ์เป็ นที่ยอมรับ และสามารถนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการศึกษา ได้อย่างดียงิ่ เช่น ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น วิชาชีพเฉพาะทางที่มีประสบการณ์เป็ นที่ประจักษ์ ฯลฯ ไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี
2. เป็ นบุคคลที่ได้รับการยอมรับในสังคมว่า มีผลงานทางด้านการศึกษา เป็ นที่ประจักษ์เกี่ยวกับการจัดการเรียน
การสอน ซึ่งพิจารณาแล้วเห็นว่าสามารถใช้ผลงานดังกล่าวในการประกอบวิชาชีพครู ให้เกิดประโยชน์ เช่น เป็ น
อาจารย์ในสถาบันผลิตครู และรับผิดชอบสอนในรายวิชาชีพครู หรื อเป็ นบุคลากรทางการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ที่มีผลงานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริ มการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและอุดมศึกษาที่ต่ากว่าปริ ญญา ที่มี
ประสบการณ์ไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี

141
การขอรับรองคุณวุฒิให้การรับรองเฉพาะรายกรณี โดยหน่วยงานผูใ้ ช้เป็ นผูข้ อรับรองคุณวุฒิจากคุรุสภา และ
ต้องนาเสนอคุณสมบัติอ่ืนของผูข้ อรับรองคุณวุฒิ ประกอบการพิจารณา ข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี ้

หลักเกณฑ์การพิจารณา
วิชาชีพ คุณวุฒิ
ครู 3. มีประสบการณ์ดา้ นการสอน การบริ หารสถานศึกษา การบริ หาร
การศึกษา หรื อการนิเทศการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและ
อุดมศึกษาที่ต่ากว่าปริ ญญา ที่มีประสบการณ์ ไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี

142
การขอรับรองคุณวุฒิให้การรับรองเฉพาะรายกรณี โดยหน่วยงานผูใ้ ช้เป็ นผูข้ อรับรองคุณวุฒิจากคุรุสภา และต้องนาเสนอ
คุณสมบัติอ่ืนของผูข้ อรับรองคุณวุฒิ ประกอบการพิจารณา ข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี ้

หลักเกณฑ์การพิจารณา
วิชาชีพ คุณวุฒิ
ผูบ้ ริหาร 1. มีประสบการณ์เป็ นที่ยอมรับ และสามารถนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อการศึกษา
ได้อย่างดีย่ิง เช่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น วิชาชีพเฉพาะทางที่มีประสบการณ์เป็ นที่ประจักษ์ ฯลฯ โดย
สถานศึกษา พิจารณาจากการมีประสบการณ์ไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี
ผูบ้ ริหาร 2. เป็ นบุคคลที่ได้รับการยอมรับในสังคมว่า มีผลงานทางด้านการศึกษา เป็ นที่ประจักษ์เกีย่ วกับ
การศึกษา การบริหาร และการส่งเสริมการศึกษา ซึ่งพิจารณาแล้วเห็นว่าสามารถใช้ผลงานดังกล่าว ใน
การประกอบวิชาชีพบริหารสถานศึกษาให้เกิดประโยชน์ เช่น เป็ นอาจารย์ในสถาบันผลิตครู และ
รับผิดชอบในการบริหาร หรื อเป็ นบุคลากรทางการศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่มีผลงานที่เกี่ยวข้อง
กับการบริหารหรือการส่ งเสริ มการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและอุดมศึกษาที่ต่ากว่า
ปริ ญญา ที่มีประสบการณ์ไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี
143
การขอรับรองคุณวุฒิให้การรับรองเฉพาะรายกรณี โดยหน่วยงานผูใ้ ช้เป็ นผูข้ อรับรองคุณวุฒิจากคุรุสภา และต้องนาเสนอ
คุณสมบัติอ่ืนของผูข้ อรับรองคุณวุฒิ ประกอบการพิจารณา ข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี ้

หลักเกณฑ์การพิจารณา
วิชาชีพ คุณวุฒิ
ผูบ้ ริหาร 3. มีประสบการณ์ดา้ นการบริ หารสถานศึกษา การบริ หารการศึกษา หรื อ
สถานศึกษา การนิเทศการศึกษา ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและอุดมศึกษาที่ต่ากว่า
ผูบ้ ริหาร ปริ ญญา ไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี
การศึกษา 4. ได้ศกึ ษารายวิชาทางการบริหารการศึกษาในหลักสูตร
ไม่นอ้ ยกว่า 18 หน่วยกิต

144
การขอรับรองคุณวุฒิให้การรับรองเฉพาะรายกรณี โดยหน่วยงานผูใ้ ช้เป็ นผูข้ อรับรองคุณวุฒิจากคุรุสภา และต้องนาเสนอคุณสมบัติอ่ืน
ของผูข้ อรับรองคุณวุฒิ ประกอบการพิจารณา ข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี ้

หลักเกณฑ์การพิจารณา
วิชาชีพ คุณวุฒิ
ศึกษานิเทศก์ (1) มีประสบการณ์เป็ นที่ยอมรับ และสามารถนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการศึกษา ได้อย่างดียงิ่
เช่น ภูมิปัญญาท้องถิ่น วิชาชีพเฉพาะทางที่มีประสบการณ์เป็ นที่ประจักษ์ ฯลฯ ไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี
(2) เป็ นบุคคลที่ได้รับการยอมรับในสังคมว่า มีผลงานทางด้านการศึกษา
เป็ นที่ประจักษ์เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน การบริหาร และการส่งเสริมการศึกษา
ซึ่ งพิจารณาแล้ว เห็นว่าสามารถใช้ผลงานดังกล่าวในการประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้เกิด
ประโยชน์ เช่น เป็ นอาจารย์ ในสถาบันผลิตครู และรับผิดชอบสอนในรายวิชาชีพครูหรือมี
ประสบการณ์ในการบริหารหรื อเป็ นบุคลากร ทางการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ที่มีผลงานที่
เกี่ยวข้องกับการบริหารหรือการส่ งเสริ มการศึกษา ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานและอุดมศึกษาที่ต่า
กว่าปริ ญญา ที่มีประสบการณ์ไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี 145
การขอรับรองคุณวุฒิให้การรับรองเฉพาะรายกรณี โดยหน่วยงานผูใ้ ช้เป็ นผูข้ อรับรองคุณวุฒิจากคุรุสภา และต้องนาเสนอคุณสมบัติอ่ืน
ของผูข้ อรับรองคุณวุฒิ ประกอบการพิจารณา ข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี ้

หลักเกณฑ์การพิจารณา
วิชาชีพ คุณวุฒิ
ศึกษานิเทศก์ 3. มีประสบการณ์ดา้ นการสอน การบริ หารสถานศึกษา การบริ หารการศึกษา หรื อ
การนิเทศการศึกษา ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
และอุดมศึกษาที่ต่ากว่าปริ ญญา ไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี
4. มีคณ
ุ วุฒิปริญญาตรี หรือประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการศึกษา

146
ขัน้ ตอนและวิธีการขอรับรองคุณวุฒิการศึกษา

147
(1) หน่วยงานผูใ้ ช้ผปู้ ระกอบวิชาชีพ ดาเนินการขอรับรองคุณวุฒิการศึกษาให้กบั บุคคล
ที่หน่วยงานจะเสนอขอรับรองคุณวุฒิการศึกษา

กลุ่มวิชาชีพ หน่วยงานผู้ยนื่ ผู้ยนื่ คาขอ


ครู สถานศึกษาทุกสังกัด ทัง้ รัฐและเอกชน ผูบ้ ริหารสถานศึกษา
ผู้บริหาร หน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษา เช่น หัวหน้าหน่วยงานต้นสังกัด
สถานศึกษา 1. สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ของสถานศึกษา นัน้ ๆ
2. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
3. กรมส่งเสริมการเรียนรู ้
4. สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษา
5. สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา
6. หน่วยงานอื่น ๆ

148
กลุ่ม หน่วยงานผู้ยน่ื ผู้ยน่ื คาขอ
วิชาชีพ
ผู้บริหาร หน่วยงานต้นสังกัด เช่น หัวหน้าหน่วยงานต้น
การศึกษา 1. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สังกัดของหน่วยงานนัน้ ๆ
2. สานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขัน้ พืน้ ฐาน

149
กลุ่มวิชาชีพ หน่วยงานผู้ยนื่ ผู้ยนื่ คาขอ
ศึกษานิเท หน่วยงานต้นสังกัดของศึกษานิเทศก์ เช่น หัวหน้าหน่วยงาน
ศก์ 1. สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ต้นสังกัด
2. สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ของหน่วยงานนัน้ ๆ
เอกเอกชน
3. กรมส่งเสริมการเรียนรู ้
4. สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา
ประถมศึกษา
5. สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา
มัธยมศึกษา

150
(2) ยืน่ คาขอรับรองคุณวุฒกิ ารศึกษา ผ่านระบบ KSP-SCHOOL (ระบบรับรองคุณวุฒกิ ารศึกษา)
ของสานักงานเลขาธิการคุรุสภา โดยแนบเอกสารหลักฐานประกอบการพิจารณา ดังนี้
1) หนังสือนาส่งจากหน่วยงานผูใ้ ช้ผปู้ ระกอบวิชาชีพ (ระบุเหตุผลความจาเป็ นหรือความต้องการ
ของหน่วยงานผูใ้ ช้ประกอบการพิจารณาขอรับรองคุณวุฒิการศึกษา)
2) แบบคาขอรับรองคุณวุฒิการศึกษา
3) สาเนาเอกสารหลักฐานประกอบการพิจารณาตามหลักเกณฑ์การรับรองคุณวุฒิการศึกษา

151
(3) หน่วยงานผูใ้ ช้ผปู้ ระกอบวิชาชีพที่ขอรับรองคุณวุฒิการศึกษา จัดส่งเอกสารหลักฐานฉบับจริง
ทางไปรษณีย ์ มายังสานักงานเลขาธิการคุรุสภา 128/1 ถนนนครราชสีมา แขวงดุสติ เขตดุสติ
กทม. 10300

152
ขั้นตอนการพิจารณา

(1) สานักงานเลขาธิการคุรุสภา ดาเนินการตรวจสอบเอกสารหลักฐานและคุณสมบัติของ


บุคคลที่หน่วยงานผูใ้ ช้ผปู้ ระกอบวิชาชีพเสนอขอรับรองคุณวุฒิการศึกษาตามหลักเกณฑ์การ
รับรองคุณวุฒิการศึกษา ทีย่ นื่ คาขอผ่านระบบ KSP-SCHOOL (ระบบรับรองคุณวุฒิ
การศึกษา) และแจ้งผลการตรวจสอบเบือ้ งต้นผ่านระบบดังกล่าว
(2) นาเสนอข้อมูลคาขอรับรองคุณวุฒิการศึกษาต่อคณะอนุกรรมการที่เกี่ยวข้อง

(3) จัดทามติ และแจ้งผลการพิจารณารับรองคุณวุฒิการศึกษาไปยังหน่วยงานผูใ้ ช้ท่ีเสนอ


ขอรับรองฯ

153
การใช้ผลการรับรองคุณวุฒิการศึกษา

ผูไ้ ด้รบั การรับรองคุณวุฒิการศึกษา สามารถนาหลักฐานการผ่านการรับรองคุณวุฒิ


การศึกษา มาใช้เป็ นเอกสารหลักฐานประกอบการขอขึน้ ทะเบียนเพื่อรับใบอนุญาตประกอบ
วิชาชีพทางการศึกษาได้ กรณีผปู้ ระกอบวิชาชพครู จะได้ ( B-License) มีอายุ 5 ปี นับแต่วนั ที่
คุรุสภาออกใบอนุญาต

154
การรับรองคุณวุฒเิ พือ่ การขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
กรณีสาเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ

สานักมาตรฐานวิชาชีพ
กลุ่มรับรองความรู้และความชานาญ
โทรศัพท์ 02 282 4862
155
ประกาศคุรุสภา
เรื่อง การรับรองคุณวุฒเิ พือ่ การขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู
กรณีสาเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๖
ซึ่งมีผลใช้บงั คับตัง้ แต่วันที่ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
พ.ศ. ๒๕๖๕ ใช้บังคับ (๑๕ มีนาคม ๒๕๖๖)

156
1. คำนิยำมศัพท์ทสี่ ำคัญ

“การรับรองคุณวุฒ”ิ หมายความว่า การรับรองคุณวุฒิการศึกษา


ของผู้ที่สาเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ เพื่อการขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู

“หนังสือรับรองคุณวุฒิ” หมายความว่า หนังสือที่สานักงานเลขาธิการคุรุสภา


อนุมัติและออกให้กับผู้ที่ผ่านการรับรองคุณวุฒิตามประกาศนี้

157
2. คุณสมบัติของผู้ขอรับรองคุณวุฒิ ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
คุณสมบัติ เอกสำรและหลักฐำนที่ใช้ในกำรยื่นคำขอ

2.1 มีคุณวุฒิปริญญาทางการศึกษา (1) สำเนำหนังสือรับรองกำรสำเร็จ


หรือเทียบเท่า หรือ กำรศึกษำ
(2) สำเนำใบรำยงำนผลกำรศึกษำ

158
คุณสมบัติของผู้ขอรับรองคุณวุฒิ ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
คุณสมบัติ เอกสำรและหลักฐำนที่ใช้ในกำรยื่นคำขอ
2.2 มีคุณวุฒิปริญญาอื่นและผ่าน (1) สำเนำหนังสือรับรอง
การรับรองความรู้ตามมาตรฐาน กำรสำเร็จกำรศึกษำ
ความรู้วิชาชีพของคุรสุ ภา หรือ (2) สำเนำใบรำยงำนผลกำรศึกษำ
(3) หลักฐำนกำรผ่ำนกำรรับรอง
ควำมรู้ตำมมำตรฐำนควำมรู้
วิชำชีพของคุรสุ ภำ

159
คุณสมบัติของผู้ขอรับรองคุณวุฒิ ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้

คุณสมบัติ เอกสำรและหลักฐำนที่ใช้ในกำรยื่นคำขอ

2.3 มีคุณวุฒิปริญญาอื่นและ (1) สำเนำหนังสือรับรอง


มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู กำรสำเร็จกำรศึกษำ
จากต่างประเทศ (2) สำเนำใบรำยงำนผลกำรศึกษำ และ
(3) สำเนำใบอนุญำตประกอบ
วิชำชีพครูจำกต่ำงประเทศ

160
3. เอกสารประกอบคาขอรับหนังสือรับรองคุณวุฒิ

3.1 สาเนาเอกสารยืนยันตัวตนที่ออกโดยหน่วยงานราชการ
(1) บัตรประจำตัวประชำชน หรือ
(2) บัตรประจำตัวบุคคลซึ่งไม่มีสัญชำติไทย หรือ
(3) บัตรประจำตัวบุคคลที่ไม่มีสถำนะทำงทะเบียน หรือ
(4) เอกสำรอื่นที่มิได้กำหนดไว้ตำมข้อ (1) ถึงข้อ (3)
ที่หน่วยงำนรำชกำรออกให้และต้องสำมำรถจัดเก็บหรือสืบค้นข้อมูลบุคคล
จำกหน่วยงำนรำชกำรที่เกี่ยวข้องได้
161
เอกสารประกอบคาขอรับหนังสือรับรองคุณวุฒิ

3.2 สำเนำหนังสือรับรองกำรสำเร็จกำรศึกษำ หรือ


สำเนำใบรำยงำนผลกำรศึกษำ หรือ
สำเนำปริญญำบัตร หรือ
สำเนำใบอนุญำตประกอบวิชำชีพครูจำกต่ำงประเทศ
(โดยจำแนกคุณสมบัติของผู้ยื่นคำขอ)

162
เอกสำรประกอบคำขอรับหนังสือรับรองคุณวุฒิ

3.3 เอกสำรค ำแปล หนั ง สื อ รั บรองกำรส ำเร็จ กำรศึ กษำ ส ำเนำใบรำยงำนผลกำรศึ ก ษำ


ส ำเนำปริ ญ ญำบั ต ร ส ำเนำใบอนุ ญ ำตประกอบวิ ช ำชี พครู จ ำกต่ ำ งประเทศ หรื อเอกสำรอื่ น ๆ

กรณีเอกสำรไม่ใช่ภำษำอังกฤษหรือภำษำไทย ซึ่งต้องมีลำยมือชื่อของผู้แปลที่มีใบรับรอง
หรื อได้รั บอนุญำตให้ แปล (CertifieTranslator) และมี ข้อควำมรั บรองว่ ำเป็ นค ำแปลที่ถู กต้ อง
จำกหน่ ว ยงำนภำครั ฐ ล่ ำ มในศำล สถำบั น ภำษำของสถำบั น กำรศึ ก ษำ หรื อ ตำมที่ ก ำหนด
ในกฎกระทรวง (พ.ศ.2540) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
พ.ศ. 2539 เกี่ยวกับกำรรับรองควำมถูกต้องของคำแปลเป็นภำษำไทย

163
เอกสำรประกอบคำขอรับหนังสือรับรองคุณวุฒิ

3.4 สำเนำหนังสือเดินทำงหน้ำแรกที่มีรูปถ่ำย และเจ้ำหน้ำที่ตรวจลงตรำ


ประเภทคนอยู่ชั่วครำว (Non-Immigrant Visa) ที่ยังไม่หมดอำยุ
3.5 หลักฐำนกำรเปลี่ยนชื่อหรือนำมสกุล (ถ้ำมี)
3.6 หลักฐำนอื่น ๆ (ถ้ำมี)

164
4. ขั้นตอนและวิธีการขอหนังสือรับรองคุณวุฒิ ให้ดาเนินการ ดังนี้
4.1 กรอกข้อมูลใบแบบคำขอที่สำนักงำนเลขำธิกำรคุรุสภำกำหนด ให้ครบถ้วน ชัดเจน
และรับรองควำมถูกต้องของข้อมูล
4.2 ยื่นแบบคำขอและเอกสำรตำมที่คุรุสภำกำหนด ผ่ำน 2 ช่องทำง
4.1 ยื่นด้วยตนเอง 2 ช่องทำง
(1) ส่วนกลำง ณ สำนักงำนเลขำธิกำรคุรุสภำ สำนักมำตรฐำนวิชำชีพ
กลุ่มรับรองควำมรู้และควำมชำนำญ ชั้น 2 อำคำร 1 กรุงเทพมหำนคร หรือ
(2) ส่วนภูมิภำค ณ สำนักงำนศึกษำธิกำรจังหวัด 76 จังหวัด
4.2 ยื่นทำงไปรษณีย์ มำยังสำนักงำนเลขำธิกำรคุรุสภำ สำนักมำตรฐำนวิชำชีพ
กลุ่มรับรองควำมรู้และควำมชำนำญ 128/1 ถนนนครรำชสีมำ แขวงดุสิต เขตดุสิต
กรุงเทพฯ 10300 (วงเล็บมุมซองว่ำ ยื่นคำขอหนังสือรับรองคุณวุฒ)ิ 165
ขั้นตอนและวิธีการขอหนังสือรับรองคุณวุฒิ
4.3 เอกสำรกำรรับรองผลกำรศึกษำและกำรรับรองสถำนะทำงวิชำชีพให้ดำเนินกำร ดังนี้
1) ให้สถำบันกำรศึกษำ
ส่งใบรำยงำนผลกำรศึกษำที่รับรองโดยสถำบันกำรศึกษำ
(OFFICIAL TRANSCRIPT OF RECORDS) หรือ

หนังสือรับรองกำรสำเร็จกำรศึกษำ ระบุสำขำวิชำ วันที่เข้ำศึกษำ และวันสำเร็จ


กำรศึกษำ ไปยังสำนักงำนเลขำธิกำรคุรุสภำโดยตรง
2) ให้องค์กรวิชำชีพที่ออกใบอนุญำตประกอบวิชำชีพ
ส่งหนังสือรับรองสถำนะทำงวิชำชีพ (STATEMENT OF PROFESSIONAL STANDING)
166
ขั้นตอนและวิธีการขอหนังสือรับรองคุณวุฒิ

ทั้งนี้ ให้สถำบันกำรศึกษำ หรือองค์กำรวิชำชีพ ที่ออกใบอนุญำต


ประกอบวิชำชีพ ดำเนินกำรส่งเอกสำรโดยตรงมำยัง สำนักมำตรฐำนวิชำชีพ
กลุ่มรับรองควำมรู้และควำมชำนำญ
ทำงไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ email : ksc_unit@ksp.or.th

167
5. อัตรำค่ำธรรมเนียม
กำรขอรับรองคุณวุฒิ ผู้ยื่นคำขอต้องชำระค่ำธรรมเนียม
ฉบับละ 400 บำท
(ตำมอัตรำที่กำหนดในประกำศคุรุสภำ เรื่อง กำรรับรองคุณวุฒิฯ)

168
• 6. กำรชำระค่ำธรรมเนียมกำรขอรับรองคุณวุฒิฯให้ดำเนินกำรตำมขั้นตอน ดังนี้
6.1 ให้กดเพิ่มผู้ติดต่อใน Application Line และกรอก id line : @474qqxwe จะปรำกฏ
ชื่อผู้ติดต่อ “Qualification cert”
6.2 กดปุ่ม Chat แล้วกดเลือกเมนู “ใบแจ้งชำระค่ำธรรมเนียม Fee Payment”
6.3 กรอกเลขประจำตัวประชำชน 13 หลัก หรือหมำยเลขหนังสือเดินทำง 7 หลัก
แล้วกดปุ่ม Search กดปุ่ม Download
6.4 พิมพ์เอกสำรชำระค่ำธรรมเนียม และชำระค่ำธรรมเนียม ตำมช่องทำงที่ปรำกฏในเอกสำร
จำนวน 400 บำท
6.5 กดเข้ำ Application Line ชื่อผู้ติดต่อ “Qualification cert” แล้วกดเลือกเมนู “Proof of
payment
6.6 กรอกข้อมูลที่ปรำกฎในระบบ และ upload ภำพหลักฐำนกำรชำระเงิน

169
ศึกษารายละเอียดเพิม่ เติมได้ ที่ www.ksp.or.th
หรื อ สอบถามรายละเอียดได้ ที่
สานักมาตรฐานวิชาชีพ
กลุ่มรับรองความรู้ และความชานาญ (ในเวลาราชการ )
โทรศัพท์ 02 282 4862
หรื อ กดเพิม่ เติมผู้ติดต่ อใน Application Line
และกรอก id line : @474qqxwe
170
171
กำรพิจำรณำกำรรับรองคุณวุฒิ
เพื่อกำรขอรับใบอนุญำตประกอบวิชำชีพครู
กรณีสำเร็จกำรศึกษำจำกต่ำงประเทศ

พิจำรณำโดย
1. คณะกรรมกำรกลัน่ กรองและตรวจสอบคุณวุฒิกำรศึกษำ
2. คณะอนุกรรมกำรรับรองควำมรู้วิชำชีพทำงกำรศึกษำ

172
สำเร็จกำรศึกษำจำกต่ำงประเทศ

ผ่ำนกำรรับรองคุณวุฒิ สานักงานเลขาธิการคุรุสภาออก“หนังสือรับรองคุณวุฒิ”

ขอหนังสื ออนุญาตให้ ประกอบวิชาชีพครูโดยไม่ มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (หนังสื อผ่อนผัน)

ปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษาเป็ นเวลาไม่ น้อยกว่าหนึ่งปี (นับตั้งแต่ วนั ได้ รับอนุญาต)


และผ่านเกณฑ์ การประเมินการปฏิบัตกิ ารสอนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขที่คณะกรรมการคุรุสภากาหนด

รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ( p-License)
(มีอายุสองปี นับแต่ วนั ที่คุรุสภาออกใบอนุญาต)

เข้ ารับการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู (วิชาชีพครู และวิชาเอก)


สอบผ่านทุกวิชา ได้ รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูช้ันต้ น (B-License)
(มีอายุห้าปี นับแต่ วนั ที่คุรุสภาออกใบอนุญาต)

173
ใบอนุญำตประกอบวิชำชีพครู

ตำมข้อบังคับคุรุสภำ ว่ำด้วยใบอนุญำตประกอบวิชำชีพ พ.ศ. ๒๕๖๕

ที่ ชื่ อใบอนุญาต อายุใบอนุญาต


1 ใบอนุญาตปฏิบตั ิหน้าที่ครู มีอายุสองปี นับแต่วนั ที่คุรุสภาออกใบอนุญาต
(P – License)
2 ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ช้ นั ต้น มีอายุห้าปี นับแต่วนั ที่คุรุสภาออกใบอนุญาต
(B – License)
3 ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ช้ นั สู ง มีอายุเจ็ดปี นับแต่วนั ที่คุรุสภาออกใบอนุญาต
(A – License)
174

You might also like