You are on page 1of 102

ศึกษามหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พันเอกหญิงฟองสมุทร วิชามูล

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา
ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาพุทธศาสนา
บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พุทธศักราช ๒๕๕๐

(ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย)

Page 1 of 102
A STUDY OF THE GREAT CHARACTERISTICS
OF THE BUDDHA

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
FONGSMUTH VICHAMUL

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of


The Requirement for The Degree of
Master of Arts
(Buddhist Studies)

Graduate School
Mahachulalongkornrajavidyalaya University
Bangkok, Thailand

Page 2 of 102
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อนุมัติใหนบั วิทยานิพนธ
ฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
พระพุทธศาสนา

...........................................................................
(พระศรีสิทธิมุนี)

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
คณบดีบณ ั ฑิตวิทยาลัย

คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ ............................................ ประธานกรรมการ


( พระมหาทวี )

............................................ กรรมการ
(พระมหาณรงค กนฺตสีโล)

............................................ กรรมการ
(พระมหาสงา ธีรสํวโร)

............................................ กรรมการ
(ดร. วิโรจน อินทนนท)

............................................ กรรมการ
( )

คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ พระมหาณรงค กนฺตสีโล ประธานกรรมการ


พระมหาสงา ธีรสํวโร กรรมการ
ดร. วิโรจน อินทนนท กรรมการ

Page 3 of 102
ศึกษามหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา
A STUDY OF THE GREAT CHARACTERISTICS
OF THE BUDDHA

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พันเอกหญิงฟองสมุทร วิชามูล

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา
ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พุทธศักราช ๒๕๕๐

Page 4 of 102

ชื่อวิทยานิพนธ : ศึกษามหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา
ผูวิจัย : พันเอกหญิงฟองสมุทร วิชามูล
ปริญญา : พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พระพุทธศาสนา)
คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ :
: พระมหาณรงค กนฺตสีโล, ป.ธ.๔, พธบ., MA., Ph.D. (ปรัชญา)
: พระมหาสงา ธีรสํวโร, ป.ธ.๓, พธบ. (ศาสนา), ศศ.ม. (ปรัชญา)

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
: ดร. วิโรจน อินทนนท, พธบ. (ศาสนา), MA., Ph.D. (ปรัชญา)
วันสําเร็จการศึกษา :

บทคัดยอ

งานวิจัยนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษามหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา เปนการ
ศึกษาวิจัยขอมูลทางเอกสาร โดยการศึกษาคนควาและรวบรวมขอมูลจากเอกสารที่มีความ
เกี่ ย วข อ งนํ า มาวิ เ คราะห สั ง เคราะห พร อ มนํ า เสนอแนวคิ ด ของผู วิ จั ย โดยมุ ง ตอบ
วัตถุประสงคและปญหาที่ตองการทราบ ผลจากการศึกษาวิจัยพบวา
มหาปุริสลักษณะ หมายถึง ลักษณะของบุรุษผูยิ่งใหญ ไดแก มหาปุริสลักษณะ
ของพระพุทธเจา ในคัมภีรพระวินัยปฎกและพระอภิธรรมปฎกมีกลาวถึงลักษณะของมหา
บุรุษเพียงบางประการเทานั้น แตมีกลาวไวอยางละเอียดครบ ๓๒ ประการ พรอมอานิสงสที่
ทําใหไดมหาปุริสลักษณะไวในลักขณสูตรและมหาปทานสูตร พระสุตตันตปฎก ทีฆนิกาย
และกลาวถึงบุคคลผูสมบูรณดวยมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ เรียกวาพระมหาบุรุษ ซึ่งมี
คติสองอยางคือ ถาครองเรือนจะไดเปนพระมหาจักรพรรดิ์ ถาออกผนวชจะไดตรัสรูเปนพระ
สัมมาสัมพุทธเจา
ในสุมังคลวิลาสินี อรรถกถาพระสุตตันตปฎก ทีฆนิกาย พระพุทธโฆสาจารยได
อรรถาธิบายมหาปุริสลักษณะไวโดยละเอียดและเปนรูปธรรมชัดเจนมากขึ้น ในคัมภีรมิลินท
ปญหา ไดกลาวถึงมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา ในบทสนทนาระวางพระยามิลินทกับ
พระนาคเสน วาเปนพุทธลักษณะที่แตกตางจากพุทธบิดาและพุทธมารดา เปรียบไดกับ
ดอกบัวแมจะเกิดในดิน ในน้ํา แตมีสิ กลิ่น รส ที่เลิศกวาดินและน้ํา

Page 5 of 102

พระพุทธเจาสมบูรณดวยมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ เพราะอานิสงสของการ


บําเพ็ญบารมีนานนับ ๔ อสงไขยแสนกัปในอดีตชาติ จนครบ ๓๐ ประการไดแก บารมี ๑๐
อุปบารมี ๑๐ และปรมัตถบารมี ๑๐ พระองคจึงไดตรัสรูเปนพระอนุตรสัมมาสัมพุทธเจาสมดัง
ปณิธานที่พระองคไดตั้งพระทัยไว จึงกลาวไดวามหาปุริสลักษณะที่ปรากฏเฉพาะแกพระ
มหาบุรุษเกิดขึ้นเพราะอาศัยเหตุปจจัยอันเปนไปตามกระบวนการของเหตุปจจัยและผลนั่นเอง
การศึกษาวิเคราะหมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจาแงบุคลาธิษฐาน เชน รูป

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
จักรและรูปมงคล ๑๐๘ ประการที่ปรากฏบนฝาพระบาท หมายถึง การที่พระองคเสด็จไปที่
แหงใดเปนการหมุนไปของกงลอแหงพระธรรมและความเปนผูมีบริวารมาก ทรงมีพระกําลัง
เสมอชางลานเชือก หมายถึง ผูสมบูรณดวยทศพลญาณที่ทําใหพระองคสามารถประกาศพระ
ศาสนาไดแผไพศาล การศึกษาวิเคราะหมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจาแงกายวิภาคนั้น
สรุ ป ได ว า เป น ลั ก ษณะพิ เ ศษของพระมหาบุ รุ ษ ส ว นบุ ค คลอื่ น ที่ มี ม หาปุ ริ ส ลั ก ษณะไม
สมบูรณก็ยังไมไดชื่อวา เปนมหาบุรุษ
การพิสูจนขอเท็จจริงเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา เปนไปไดทั้งใน
แงอัตวิสัย กลาวคือมุงบําเพ็ญบารมีตามปณิธานของพระพุทธองคเพื่อบรรลุถึงความเปนมหา
บุรุษ และพิสูจนดวยปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ดังที่พระพุทธเจาทรงพิสูจนดวยพระองค
มาแลว ก็จะเกิดความประจักษชัดดวยตนเอง แตตราบใดที่เราไมสามารถพิสูจนในแงอัตวิสัย
ได ก็ตองแสวงหาขอเท็จจริงในแงปรวิสัย ดวยกระบวนการศึกษาวิเคราะหความสัมพันธกัน
ระหวางมหาปุริสลักษณะกับกุศลกรรม และผลแหงการบําเพ็ญบารมีกับการบรรลุโพธิญาณ
บนพื้นฐานของเหตุผล

Page 6 of 102

Thesis Title : A STUDY OF THE GREAT CHARACTERISTICS OF THE BUDDHA


Research : Phongsmuth Vichamoon
Degree : Master of Arts (Buddhist Studies)
Thesis Supervisory Committee :
: Phramaha Narong Kantasīlo, Pāli 4,

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
B.A., M.A., Ph.D. (Philosophy)
: Phramaha Sa-nga Dhīrasamvaro, Pāli 3,
B.A., (Religion.), M.A. (Philosophy)
: Dr. Viroj Inthanon, Pāli 7,
Dip. in Ed., B.A. (Religion)
M.A., Ph.D. (Philosophy)
Date of Graduate :

ABSTRACT
The purpose of this research is to study on the Great Characteristics of the
Buddha. It was a documentary study. By the way of study, the data was collected from
the concerning documents which was analyzed, synthesized the knowledge that
presented the text of Buddhism. The results of research are as follows :
The term “Mahāpurisalaksana” means the characteristics of the great person,
the Buddha. In the Tipitaka and Abhidhamma referred to some kinds of the Great
Characteristics of the Buddha. But in Lakkhanasutta and in Mahāpadānasutta of
Dīghanikāya referred to them in detail. It is stated that one who completely acquires
thirty two kinds of characteristics called “The Great Person” which either can become
the universal monarch or the Buddha.
Buddhagosa, in the Sumangalavilāsinī, a Commentary of the Suttanta Pitaka,
had commented the Great Characteristics of the Buddha in detail. Milindapañha also
stated that the Great Characteristics of the Buddha that are different from the parent can
be compared to the lotus that was born in the soil and water, but it has a great color,
smell and taste better than its sources.

Page 7 of 102

The Buddha has acquired the Great Characteristics by ways of performing the
great perfections in his previous lives for many eons. Thereby he has attained to the
enlightenment. Then it can be said that the Great Characteristics of the Buddha were
appeared according to the law of cause and effect.
From analytically study the Great Characteristics of the Buddha in perspectives
of personification, it is found that, for instance, the Cakra and one hundred and eight

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
images on the Buddha’s feet referred to his role in preaching the Dhamma surrounding
by the great mass. The Perfect One has equal powers to the million elephants referred to
his ten powers that making him in spreading the Dhamma successfully. From analytically
study the Great Characteristics of the Buddha in perspectives of human body, it is found
that those Great Characteristics appearing to the great person only.
The fact of the Great Characteristics of the Buddha can be proved both in
subjective and objective means. By mean of subjective, one should try to perform the
perfections and try to prove by the knowledge of previous births as the Buddha did.
However, since one cannot prove it by mean of subjective, one can try by mean of
analytically study its relations to the perfections and to the enlightenment.

Page 8 of 102

กิตติกรรมประกาศ

งานวิทยานิพนธเรื่องนี้สําเร็จตามวัตถุประสงคดวยดี ดวยอาศัยความเมตตาของ
อาจารยที่ปรึกษา โดยเฉพาะอาจารย ดร. พระมหาณรงค กนฺตสีโล ประธานกรรมการที่
ปรึกษา อาจารย ดร. วิโรจน อินทนนท และอาจารยพระมหาสงา ธีรสํวโร กรรมการที่
ปรึกษาในการทําวิทยานิพนธ พรอมทัง้ อาจารยบัณฑิต รอดเทียน และดร. บุณย นิลเกต

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ผูวิจัยขอขอบพระคุณทุกทานเปนอยางยิ่ง ณ โอกาสนีท้ ี่ไดใหความดูแลเอาใจใส ใหคําปรึกษา
แนะนํา ชี้แนะ ตรวจแกไขขอบกพรองตาง ๆ ในการศึกษาแกผูวิจัยเปนอยางดีมาโดยตลอด
ขอขอบคุณเจาหนาที่ธุรการศูนยบัณฑิตศึกษา บรรณารักษและเจาหนาที่หองสมุด
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม ที่บริการอํานวยความสะดวกใน
การศึกษาคนควาขอมูลในการทําวิทยานิพนธ ตลอดจนขอบคุณคุณอรุณวรรณ บุญเทียบ
ทิฆมั พร นายถาวรและอาจารยนฤมล ตันแสนทอง นายสุดปรีชา และนายยุทธภูมิ ผองใส
ที่เปนกําลังใจและสนับสนุนขอมูลทางเอกสารในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้
บุญกุศลใดๆ ที่เกิดจากการทําวิทยานิพนธนี้ ผูวิจัยขอนอมถวายเพื่อสักการบูชา
แดพระรัตนตรัย พระคุณบิดามารดา เพื่อนสนิท มิตรสหาย ตลอดจนสรรพสัตวทั้งหลายทั้ง
ปวง และหวังเปนอยางยิ่งวา งานวิทยานิพนธเลมนี้จะเปนประโยชนตอผูศึกษาทั้งในแง
ศาสตรและศิลป

พันเอกหญิงฟองสมุทร วิชามูล
วันที่ ๓ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑

Page 9 of 102

สารบัญ

เรื่อง หนา
บทคัดยอภาษาไทย ก
บทคัดยอภาษาอังกฤษ ค

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
กิตติกรรมประกาศ จ
สารบัญตาราง ซ
คําชี้แจงการใชอักษรยอชื่อคัมภีร ฌ

บทที่ ๑ บทนํา
๑.๑ ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ๑
๑.๒ วัตถุประสงคของการวิจัย ๓
๑.๓ ปญหาที่ตองการทราบ ๔
๑.๔ คําจํากัดความของศัพทที่ใชในการวิจัย ๔
๑.๕ ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ๔
๑.๖ ขอบเขตของการวิจัย ๑๑
๑.๗ วิธีดําเนินการวิจัย ๑๑
๑.๘ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ๑๑

บทที่ ๒ มหาปุริสลักษณะที่ปรากฏในคัมภีรพระพุทธศาสนา
๒.๑ ความหมายของมหาปุริสลักษณะ ๑๒
๒.๒ มหาปุริสลักษณะในคัมภีรพระไตรปฎก ๑๓
๒.๓ มหาปุริสลักษณะในคัมภีรอรรถกถา ๑๙
๒.๔ มหาปุริสลักษณะในปกรณวิเสส ๑๙
๒.๕ สรุปมหาปุริสลักษณะที่ปรากฏในคัมภีรพระพุทธศาสนา ๒๐

บทที่ ๓ มหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา
๓.๑ มหาปุริสลักษณะ ๓๒ ของพระพุทธเจา ๒๒
๓.๒ วิเคราะหมหาปุริสลักษณะและอนุพยัญชนะแงบุคลาธิษฐาน ๓๙

Page 10 of 102

๓.๒.๑ รูปจักรและรูปมงคล ๑๐๘ ๓๙


๓.๒.๒ พระกําลังเสมอชางลานเชือก ๔๐
๓.๒.๓ พระรัศมีรอบพระวรกาย ๔๓
๓.๒.๔ พระกรรณมีสัณฐานยาว ๔๔
๓.๓ วิเคราะหมหาปุริสลักษณะและอนุพยัญชนะตามหลักกายวิภาค ๔๖
๓.๓.๑ พระหัตถทั้งสองยาวจรดพระชานุ (หัวเขา) ๔๖

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๓.๓.๒ พระชิวหาออนและยาว ๔๗
๓.๓.๓ พระกรรณมีสัณฐานยาว ๔๘
๓.๓.๔ ทรงมีพระกําลังมากเทากับชางลานเชือก ๔๙
๓.๔ สรุปมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา ๕๐

บทที่ ๔ วิเคราะหขอเท็จจริงเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา
๔.๑ มหาปุริสลักษณะความเปนจริงเชิงอัตวิสัย ๕๓
๔.๑.๑ พิสจู นความจริงดวยการบําเพ็ญบารมีมุงสูความเปนมหาบุรุษ ๕๓
๔.๑.๒ พิสจู นความจริงดวยบุพเพนิวาสานุสติญาณ ๕๔
๔.๒ มหาปุริสลักษณะกับการบรรลุโพธิญาณ ๕๕
๔.๓ มหาปุริสลักษณะคือผลแหงกุศลกรรม ๕๙
๔.๔ มหาปุริสลักษณะคือผลแหงการบําเพ็ญบารมี ๖๒
๔.๕ สรุปขอเท็จจริงเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา ๖๕

บทที่ ๕ สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ
๕.๑ สรุปผลการวิจัย ๖๗
๕.๒ ขอเสนอแนะ ๗๓

บรรณานุกรม ๗๕
ภาคผนวก ๗๙
ประวัติผูวิจัย ๘๗

Page 11 of 102

สารบัญตาราง

เรื่อง หนา

ตารางที่ ๑ การจัดกลุมประเภทรูปมงคลที่รายลอมกงจักรบนฝาพระบาท
ของพระพุทธเจา ๒๓

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ตารางที่ ๒ การจัดกลุมมหาปุริสลักษณะและอนุพยัญชนะ ๓๖

Page 12 of 102

คําชี้แจงการใชอักษรชื่อยอคัมภีร

คั ม ภี ร ที่ ผู วิ จั ย ใช ศึ ก ษาค น คว า สํ า หรั บ ทํ า วิ ท ยานิ พ นธ เ ล ม นี้ ผู วิ จั ย ได ศึ ก ษา
จากพระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๓๙ สวนอรรถกถา
จะใชพระไตรปฎกภาษาไทยพรอมอรรถกถาแปลของมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๒๕
การกลาวถึงแหลงที่มา เลม / ขอ / หนา กลาวคือ เลขตัวหนาเปนเลขเลม เลข

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ตั ว กลางเป น เลขข อ เลขตั ว หลั ง เป น เลขหน า อาทิ เ ช น วิ . ม. (ไทย) ๕/๓๘๔/๒๖๘
หมายความวา วินัยปฎกมหาวรรค พระไตรปฎกเลม ๕ ขอ ๓๘๔ หนา ๒๖๘
สวนคัมภีรอรรถกถาจะแจงที่มา เลม / หนา กลาวคือ เลขหนาเปนเลขเลม เลข
ตัวหลังเปนเลขหนา อาทิเชน ที.ปา.อ. (ไทย) ๓๓/๓๗ หมายถึง ทีฆนิกาย สุมังคลวิลาสินี
ปาฏิกวรรคอรรถกถา (ภาษาไทย) เลมที่ ๓๓ หนา ๓๗

พระวินัยปฎก

วิ.ม. (ไทย) = วินัยปฎก มหาวิภังค (ภาษาไทย)


วิ.มหา (ไทย) = วินัยปฎก มหาวรรค (ภาษาไทย)

พระสุตตันตปฎก

ที.สี. (ไทย) = สุตตันตปฎก สีลขันธวรรค (ภาษาไทย)


ที.ม. (ไทย) = สุตตันตปฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค (ภาษาไทย)
ที.ปา. (ไทย) = สุตตันตปฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค (ภาษาไทย)
ม.ม. (ไทย) = สุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปณณาสก (ภาษาไทย)
ม.อุ. (ไทย) = สุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปณณาสก (ภาษาไทย)
สํ.ส. (ไทย) = สุตตันตปฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค (ภาษาไทย)
สํ.นิ (ไทย) = สุตตันตปฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค (ภาษาไทย)
สํ.ข. (ไทย) = สุตตันตปฎก ขันธวรรค (ภาษาไทย)
สํ.สฬา. (ไทย) = สุตตันตปฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค (ภาษาไทย)
สํ.ม. ( ไทย ) = สุตตันตปฎก สังยุตตนิกาย มหาวรรค ( ภาษาไทย )
ขุ.ธ. (ไทย) = สุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ธรรมบท (ภาษาไทย)

Page 13 of 102

ขุ.ขุ. (ไทย) = สุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ (ภาษาไทย)


ขุ.ชา. (ไทย) = สุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก (ภาษาไทย)
ขุ.ม. (ไทย) = สุตตันตปฎก ขุททกนิกาย มหานิเทส (ภาษาไทย)

อรรถกถาพระสุตตันตปฎก

ขุ.ข.อ. (ไทย) = ขุททกนิกาย ธรรมบทอรรถกถา (ภาษาไทย)

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ที.ปา.อ. (ไทย) = ทีฆนิกาย สุมังคลวิลาสินี ปาฏิกวรรคอรรถกถา
(ภาษาไทย)

Page 14 of 102
บทที่ ๑
บทนํา

๑.๑ ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
บุคลิกภาพของมนุษยมีมากมายหลายแบบ เปนเพราะบุคลิกภาพของมนุษยถูก
หลอหลอมดวยประสบการณ พันธุกรรม วัฒนธรรม การเรียนรู ตลอดจนวิธีการปรับตัว

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ของบุ ค คลต อ สิ่ ง แวดล อ มที่ เ ป น นามธรรมและวั ต ถุ ธ รรม จึ ง ทํ า ให บ างลั ก ษณะเป น
ลักษณะรวมกันของมนุษยเปนสากล บางลักษณะก็เปนลักษณะเฉพาะวัฒนธรรม เฉพาะ
ศาสนา เฉพาะเชื้อชาติ และบางลักษณะก็เปนแบบเฉพาะตัวแตมีบางลักษณะซับซอนลึกลับ
เหนือความเขาใจของคนธรรมดาโดยทั่วไป
ในทามกลางความหลายหลายสลับซับซอนนี้ มนุษยทุกยุคทุกสมัยก็พากเพียร
พยายามหนักหนาที่อยากจะเขาใจลักษณะบุคลิกภาพของมนุษย ความพยายามนี้สะทอนให
เห็นในศาสตรแขนงตาง ๆ ในยุคแรก ๆ วิชาบุคลิกภาพจึงอยูกับศาสตรสายศิลปะศาสตร เชน
วรรณกรรม พยากรณศาสตร ละคร ศาสนาและปรัชญา นับแตปลายศตวรรษ ๑๙ เปนตนมา
จนถึ ง ป จ จุ บั น วิ ท ยาการบุ ค ลิ ก ภาพในอารยธรรมตะวั น ตกได มี ก ารศึ ก ษาอย า งเป น
วิทยาศาสตรอยางไมหยุดยั้ง ความพยายามดังกลาวทําใหเกิดทฤษฎีบุคลิกภาพหลายแนวคิด
ขึ้นอยูกับวาผูทําการศึกษามีภูมิหลังดานความรูและวิชาชีพอยางไร ขอมูลก็คือบุคคลที่เปน
ตนแบบที่ทําการศึกษาเปนรายกลุมคนและประเภท๑
ในประวัติพุทธศาสนาก็ไดกลาวถึงความเปนมาแหงตํารามหาบุรุษลักษณะวา
มหาบุรุษลักษณะเกิดจากพวกพราหมณเหลานั้นรูตําราของมหาบุรุษไดโดยมีทาวมหาพรหม
จากชั้นสุทธาวาสทราบวาพระสัพพัญูจักบังเกิดขึ้นในโลก และจักมีมหาบุรุษลักษณะเชนนี้
จึงแปลงตนเปนพราหมณมาบัญญัติตําราวาดวยมหาบุรุษลักษณะขึ้น และพร่ําสอนผูเรียนไตร
เพทจนจบ ครั้นพระสัพพัญูพุทธเจาปรินิพพานแลวตํารานี้ก็อันตรธานหายไป ในบรรดา
พราหมณ ผู จ บไตรเพททั้ ง ๘ ท า นที่ ไ ด รั บ เชิ ญ ให เ ป น ผู พ ยากรณ ม หาบุ รุ ษ ลั ก ษณะนั้ น มี
พราหมณหนุมคนหนึ่งเพิ่งจบไตรเพทมา คือ โกณทัญญพราหมณไดพิจารณาเห็นมหาบุรุษ


ศรีเรือน แกวกังวาน, ทฤษฎีจิตวิทยาบุคลิกภาพ, (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพหมอชาวบาน,
๒๕๔๕), หนา ๖.

Page 15 of 102

ลักษณะจึงพยากรณเปนคติเดียววา “มหาบุรุษจักออกบรรพชา และจะไดตรัสรูเปนศาสดา


เอกในโลกแนนอน” ๒ จึงคอยติดตามขาวของมหาบุรุษอยูเสมอ ครั้นเมื่อไดทราบขาววามหา
บุ รุ ษ ออกบรรพชาแล ว จึ ง ได อ อกบรรพชาติ ด ตามอุ ป ฏ ฐากจนพระองค ไ ด ต รั ส รู เ ป น พระ
สัมมาสัมพุทธเจา และเมื่อไดฟงธรรมจากพระองคแลว จึงไดเปนพระอรหันตองคแรกใน
โลก ๓
บุคคลผูจะเปนมหาบุรุษไดจะตองเปนผูไดสรางบําเพ็ญบารมีครบ ๑๐ ประการ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
และยังตองบําเพ็ญบารมี ๓ ระดับอยางสมบูรณคือ บารมีธรรมดา ๑๐ ประการ อุปบารมี ๑๐
ประการ และปรมัตถบารมี ๑๐ ประการ
บารมีธรรมดา คือ การสรางความดีตามปกติวิสัย มีเจตนาขั้นธรรมดาหรือบารมี
ที่บําเพ็ญไวในชาติหางไกล
อุปบารมี คือ การสรางความดีใหมากเกินกวาปกติธรรมดา หรือเปนบารมีที่เกิด
จากเจตนาแรงกลา สามารถเสียสละอวัยวะสวนใดสวนหนึ่งได หรือเปนบารมีที่สรางในชาติ
ใกลเขามาอีก
ปรมัตถบารมี คือ การสรางความดีอยางสูงสุด มีเจตนาแรงกลากวาคนอื่น ๆ จะ
ทํ า ได สามารถเสี ย สละได แ ม ชี วิ ต หรื อ เป น บารมี ที่ ส ร า งในชาติ ที่ ใ กล จ ะได ต รั ส รู เ ป น
พระพุทธเจา ๔
ในทางพระพุทธศาสนาไดกลาวถึงเรื่องกฎแหงกรรมและตายแลวเกิดใหมวา เปน
กฎธรรมชาติไมไดขึ้นอยูกับความเชื่อและความไมเชื่อของคนเรา เชน ไฟเปนของรอน หรือ
ดวงดาวในจักรวาลอื่น ๆ มีอยูจริง ใครจะรูเห็นหรือไมก็ตาม สิ่งเหลานี้ก็ยังมีอยูเหมือนเดิม
ตามธรรมชาติของมันไมไดหายไปไหนเพราะความเชื่อ และไมไดปรากฏมีขึ้นเพราะความ
เชื่อของคนเรา แมคนเราเมื่อตายจะไมอยากเกิดก็ตองเกิดอยูนั่นเอง ถายังมีกิเลสอยูเหมือน
อยางที่คนไมอยากตายแตตองตายในที่สุดเพราะความตายเปนกฎธรรมชาติ


คติ มีความหมายหลายนัยคือ (๑) ที่ที่สัตวจะไปเกิด (๒) อัธยาศัย (๓) ที่พึง (๔) ความสําเร็จ ใน
ที่นี้หมายถึง ความสําเร็จ คือบรรลุตามจุดหมาย ดู ที.ม.อ. ๓๓/๓๗.

จันทร ชูแกว, พระพุทธประวัติ : มหาบุรุษแหงชมพูทวีป, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙), หนา ๓๐.

เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๑.

Page 16 of 102

ยิ่งเราผูนับถือพระพุทธศาสนายึดมั่นในพระพุทธเจาดวยแลว แมเรายังพิสูจน
ไมไดไมเห็นประจักษดวยตัวเองก็ควรเชื่อพระพุทธเจาไวกอน เหมือนคนทั่วไปที่ยังไมเห็น
เชื้อโรคดวยตนเองจึงเชื่อหมอไวกอน ดีกวาไมเชื่อเพราะวาการที่จะใหคนเรารูเห็นหมดทุกสิ่ง
ทุกอยางในโลกนี้และในจักรวาลอื่น ๆ นั้นยอมเปนไปไมได บางสิ่งซึ่งเหลือวิสัยของเราก็
ตองเชื่อทานผูรูไวกอน และเมื่อเราเชื่ออยางมีเหตุผลตั้งอยูบนรากฐานของปญญาแลว แมจะ
ไมเห็นประจักษดวยตาหรือไมสามารถสัมผัสรับรูดวยประสาทสัมผัสทั้งหา แตเมื่อไดศึกษา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
หรือคนควาดวยเหตุผลดวยการใชปญญาไตรตรอง หรือไดเห็นแจงดวยตัวเองจากการปฏิบัติ
แลวในที่สุดสิ่งที่สงสัยเหลานั้นจะปรากฏแกเราชัดขึ้น เพราะพระธรรมที่พระพุทธเจาตรัส
สอนไวดีแลวยอมพิสูจนดวยเหตุผลและดวยการปฏิบตั ิ๕
มหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจาบางประการยังเปนเรื่องที่ยังสงสัยและเคลือบ
แคลงใจกันในหมูพุทธศาสนิกชนและบุคคลทั่วไปที่ไดพบเห็นพุทธศิลปตางๆ แมแตผูวิจัยเอง
ก็อยากจะทราบความเปนจริง
จากประเด็นปญหาที่กลาวมา ผูวิจัยเห็นวาควรจะมีการศึกษาวิจัยแนวคิดเกี่ยวกับ
มหาปุ ริ ส ลั ก ษณะของพระพุ ท ธเจ า ว า มี นั ย สํ า คั ญ อย า งไร เป น เรื่ อ งบุ ค ลาธิ ษ ฐานหรื อ
ขอเท็จจริงเปนอยางไร หรือจะมีหลักการและเหตุผลใดที่จะนํามาเปนหลักในการวิเคราะห
ขอเท็จจริงเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา

๑.๒ วัตถุประสงคของการวิจัย
๑) เพื่ อ ศึ ก ษามหาปุ ริ ส ลั ก ษณะของพระพุ ท ธเจ า ที่ ป รากฏในคั ม ภี ร
พระพุทธศาสนา
๒) เพื่อศึกษาวิเคราะหมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจาทั้งในแงกายภาพและแง
บุคลาธิษฐาน
๓) เพื่อศึกษาวิเคราะหขอเท็จจริงเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา


พระเทพวิสุทธิกวี (พิจิตร ฐิตวโณ), กฎแหงกรรม, (กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราชวิทยาลัย,
๒๕๓๒), หนา ๕๓-๖๐.

Page 17 of 102

๑.๓ ปญหาที่ตองการทราบ
๑) คัมภีรทางพระพุทธศาสนาไดอธิบายองคความรูเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะของ
พระพุทธเจาไวอยางไร
๒) มหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจามีลักษณะเปนอยางไร และสามารถอธิบาย
ความแงกายภาพและแงบุคลาธิษฐานไดอยางไรบาง
๓) มหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจามีขอเท็จจริงอยางไร และมีความสัมพันธ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
กับเรื่องโพธิญาณ หลักกรรมนิยามและเรื่องบารมีอยางไร

๑.๔ คําจํากัดความของศัพทที่ใชในการวิจัย
มหาปุริสลักษณะ หรือมหาปุริสลักขณะ หมายถึง ลักษณะของมหาบุรุษผูที่
มีคุณสมบัติครบสมบูรณพรอมที่จะไดตรัสรูเปนพระพุทธเจา ในงานวิทยานิพนธเลมนี้
ผูวิจัยจะใชคําวา “มหาปุริสลักษณะ” ในการวิจัยตามชื่อหัวขอวิทยานิพนธ

๑.๕ ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
ก. เอกสาร
๑) หนังสือ “พุทธประวัติ” กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ เนื้อหาปริเฉทที่
๓ กลาวถึงมหาบุรุษลักษณะวา กอนพุทธศักราชประมาณ ๑,๐๐๐ ปไดมีพราหมณคณาจารย
ผูทรงคุณวุฒิหลายสํานักแตงตํารามหาบุรุษลักษณะไว ตํารานี้ตางคนตางแตงขึ้นมาตามความ
คิดเห็นของตนโดยมิไดปรึกษากันเลย ครั้นแตงเสร็จแลวก็ไดนํามาเปรียบเทียบกันดูซึ่งเปนที่
นาอัศจรรยอยางยิ่งที่ขอความในตํารานั้นตรงกันอยางไมนาเชื่อ ในตํารานี้กลาวถึงลักษณะของ
บุคคลผูเปนมหาบุรุษโดยมีองคประกอบครบ ๓๒ ประการ และไดกลาวถึงคติของบุคคลผูมี
ลักษณะตรงตามตํารามหาบุรุษลักษณะนั้นไว ๒ ประการดวยกัน คือ
๑) ถาอยูครองฆราวาส ผูนั้นจักไดเปนพระเจาจักรพรรดิราชมีมหาสมุทรทั้ง ๔
เปนขอบเขต
๒) ถาออกบวช ผูนั้นจักไดตรัสรูพระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณเปนศาสดาเอกใน
โลก
วันเวลาผานไปนับรอย ๆ ปก็หาไดมีใครเกิดมาโดยมีลักษณะตรงตามตํารานั้นไม
แตก็มิไดทําลายตํารานั้น เพราะถือวาเปนตําราที่ศักดิ์สิทธิ์และไดเก็บรักษาเปนมรดกสืบตอ

Page 18 of 102

กันมาหลายชั่วอายุคน เพราะตางก็เชื่อมั่นวาไมวันใดก็วันหนึ่งบุคคลผูมีมหาปุริสลักษณะตรง
ตามตําราจะอุบัติในโลกมนุษยเพื่อขจัดความมืดมนของสัตวโลก ๖
๒) บรรจบ บรรณรุจิ เขียนไวในหนังสือ “พระโพธิสัตวสิทธัตถะกับพระพุทธเจา
ในอดีต” เนื้อหากลาวถึงเรื่องราวกอนจะมาอุบัติเปนเจาชายสิทธัตถะและตรัสรูเปน
พระพุ ท ธเจ า ว า ทรงบํ า เพ็ ญ บารมี ด ว ยความยากลํ า บากนานนั บ ด ว ยอสงไขย ทรงพบ
พระพุ ท ธเจ า ๔๔,๘๐๓ พระองค เกิ ด เป น สุ เ มธดาบส เกิ ด เป น มนุ ษ ย ใ นยุ ค ภั ท ทกั ป กั บ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระพุทธเจาพระองคอื่นอีก ๒๓ พระองค โลกในยุคนี้เรียกภัททกัป เพราะมีพระพุทธเจา
เสด็จอุบัติขึ้นสืบสายติดตอกันถึง ๕ พระองค ซึ่งไมเคยปรากฏวาไดมีมาแลวในยุคใดของ
โลกเลย เจ า ชายสิ ท ธั ต ถะเป น พระโพธิ์ สั ต ว อ งค ที่ ๔ หลั ง จากนั้ น โลกก็ จ ะย า งเข า สู ยุ ค
พุทธันดร คือยุคที่โลกวางจากพระพุทธเจาและคําสอนของพระพุทธเจา ๗

๓) สมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส ทรงพระนิพนธ “พระปฐมสมโพธิกถา”


เนื้อหากลาวถึงประวัติพระพุทธเจาโดยพิสดารโดยเฉพาะในปริเฉทที่ ๔ ลักษณะปริคคหกปริ
วัตต ไดกลาวถึง พระดาบสองคหนึ่งนามวากาลเทวิฬไดสมาบัติ ๘ มีฤทธิ์มากเปนกุลุปกา
จารยแหงกรุงกบิลพัสดุ ไดสดับคําเทพยดาวา ราชบุตรของพระเจาสุทโธทนะซึ่งประสูตินั้น
จะไดตรัสรูเปนพระสัพพัญูพุทธเจา เมื่อพระดาบสไปถึงจึงขอดูพระลักษณะของพระราช
กุ ม าร พระเจ า สุ ท โธทนะมหาราชจึ ง ตรั ส สั่ ง ให นํ า พระราชโอรสมานมั ส การพระดาบส
ขณะนั้นพระบาททั้งสองแหงพระราชกุมารกลับขึ้นไปยืนประดิษฐานอยูบนชฎาแหงพระ
ดาบสกาลเทวิฬ เมื่อพระดาบสเห็นก็สะดุงตกใจกลัวบังเกิดมหัศจรรยจึงคุกเขาลงกระทํา
อัญชลีรับเอาพระบาทแหงพระมหาสัตว สมเด็จพระราชบิดาไดทอดพระเนตรมหัศจรรย มี
พระทัยแผไปดวยปติ ยอพระกรถวายอภิวันทนาการดวยสําคัญวา “พระโอรสของพระองคดุจ
มหาพรหม” และพระดาบสนั้นไดอภิญญา ๕ และสมาบัติ ๘ ระลึกชาติได ๘๐ กัลป คือใน
อดีต ๔๐ กัลป พิจารณาเห็นพระลักษณะแหงพระโพธิสัตวบริบูรณก็ทราบวาจะไดตรัสรูเปน
พระสัพพัญูโดยแทจริงจึงดําริวา “พระราชกุมารนี้เปนอัจฉริยมนุษย”๘

กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ, พุทธประวัติ, (กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพการศาสนา), ๒๕๓๗.

บรรจบ บรรณรุจิ, พระโพธิสัตวสิทธัตถะกับพระพุทธเจาในอดีต, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย), ๒๕๓๒.

สมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส, พระปฐมสมโพธิกถา, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพเลี่ยงเชียง),
๒๕๓๐.

Page 19 of 102

๔) สมเด็จพระสังฆราช (ปุสฺสเทว) ทรงพระนิพนธ “ปฐมสมโพธิ” เนื้อหา


กลาวถึงประวัติของสมเด็จพระบรมศาสดา แบงออกเปนกัณฑมีทั้งหมด ๑๐ กัณฑ ในกัณฑที่
๑ ไดกลาวถึงมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการครบบริบูรณ เชน มหาปุริสลักษณะที่ ๑ พื้นพระ
บาทเสมอดังพื้นฉลองพระบาททองแหงพระมหากษัตริยไมแหวงเวาสูงปลายเทาหนักสน
กระโหยงกลางเทาดังสามัญมนุษย และลักษณะมหาบุรุษลักษณะที่ ๒ ฝาพระบาทมีกงจักร มี
ซี่กําไดละพันมีกง มีดุม บริบูรณดวยอาการทั้งปวง ฝาพระบาททั้งสองวิจิตรดวยจักรเปนตน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ความบังเกิดดวยมหาปุริสลักษณะของมหาบุรุษบรมโพธิสัตวเกิดจากอานิสงสนานัปการ
บัณฑิตพึงสันนิษฐานวาการที่จะแสดงใหประชุมชนที่บังเกิดภายหลังแมในกาลอนาคตไดเห็น
พระลักษณะทั้งหลายนั้นเปนประโยชนที่จะพึงปรารถนา แมในการสรางพระพุทธพิมพ
รู ป ปฎิ ม าเจดี ย จ ะต อ งให ป ระกอบด ว ยมหาปุ ริ ส ลั ก ษณะซึ่ ง จะพึ ง แสดงได ต ามสมควร
ความสามารถแหงศิลปะ๙

๕) ดังตฤณ เขียนไวในหนังสือ “เสียดายคนตายไมไดอาน” เนื้อหากลาวถึงมหา


ปุริสลักษณะของพระพุทธเจาที่เกี่ยวกับในอดีตชาติกอนพระพุทธ เจาจะตรัสรูในพระชาติ
สุดทาย พระองคเปนปุถุชนที่คิดเกื้อกูลมหาชนเปนอันมากอยางยาวนาน คือ แตละชาติ
กรรมของทานหนักไปทางชวยคน ชวยสม่ําเสมอ ชวยเปนประจํา หรือแมพลาดพลั้งหลงกอ
กรรมตามอํานาจกิเลสไปบาง อยางนอยก็ประพฤติตนในทํานองชวยเหลือผูอื่นโดยมาก
วิบากซึ่งมีน้ําหนักดีจึงทําใหชาติสุดทายของทานไดมีลักษณะของมหาบุรุษ ๓๒ ประการ
คือไมใชแคมีรูปโฉมงดงามปานเทพเจา แตทวาทั่วองคาพยพยังบงบอกถึงพื้นชะตาวาจะ
ประสบความเจริญรุงเรืองตาง ๆ นานาอยางไรอีกดวย ซึ่งสําหรับผูมีลักษณะของมหาบุรุษ
ครบถวนนั้น พระองคทานตรัสวาจะมีฐานะอยางใดอยางหนึ่งเพียง ๒ ประการ คือเปนพระ
เจาจักรพรรดิหรือไมก็เปนพระพุทธเจา พระพุทธเจามีปกติตรัสเลาเรื่องเกี่ยวกับกรรมของ
พระองคเพื่อใหเปนแบบอยางอยูแลว เมื่อจะแสดงเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะก็เพื่อใหรูวา แม
รูปพรรณสัณฐานแตละสวนก็ไดมาโดยกรรม ๑๐


สมเด็จพระสังฆราช (ปุสฺสเทว), ปฐมสมโพธิ, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย),
๒๕๓๘.
๑๐
ดังตฤณ, เสียดายคนตายไมไดอาน, (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพดีเอ็มจี), ๒๕๔๗.

Page 20 of 102

๖) ระพีพรรณ ใจภักดี เขียนไวใน “ปางพระพุทธรูป” เนื้อหากลาวถึง ปาง


พระพุทธรูปและหัวขอธรรมมีทั้งหมด ๗๓ ปาง เชน ปางประสูติ/การงาน ปางมหาภิเนษ
กรมน/โลกเปรียบศาลาใหอาศัย ปางตัดพระเมาลี ฯลฯ
นอกจากนี้ ไ ด ก ล า วถึ ง บารมี ที่ พ ระโพธิ สั ต ว ไ ด บํ า เพ็ ญ มาเพื่ อ ให ไ ด เ ป น พระ
สัมมาสัมพุทธเจาก็คือบารมี ๓๐ ทัศ ไดแก ทานบารมี ศีลบารมี เนกขัมบารมี ปญญาบารมี
วิริยะบารมี ขันติบารมี สัจจะบารมี อธิษฐานบารมี เมตตาบารมี อุเบกขาบารมี บารมีทั้ง

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑๐ ทั ศ เมื่ อ บํ า เพ็ ญ อย า งยิ่ ง ยวดขึ้ น ไปจะกลายเป น อุ ป บารมี ๑๐ ทั ศ ถ า ทุ ม ชี วิ ต ทํ า ก็ จ ะ
กลายเปนปรมัตถบารมีอีก ๑๐ ทัศรวมกันเปน ๓๐ ทัศ เชน บําเพ็ญทานบารมีถาเสียสละสิ่งที่
ไดยาก เชน บุตร ภรรยา หรือเลือดเนื้อ ทานนี้ถือวาเปนอุปบารมี ถาเสียสละไดมากขึ้นไป
กวานี้คือ ใหชีวิตเปนทานถือวาเปนทานประมัตถบารมี บารมีทั้ง ๓๐ ทัศจะตองใชเวลาใน
การสั่งสมยาวนานมาก เมื่อพระโพธิสัตวบําเพ็ญบารมีทั้ง ๓๐ ทัศใหเต็มเปยมบริบูรณในชาติ
สุดทายที่เกิดเปนมนุษยจะทรงออกบรรพชา แลวจึงตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา หลักคํา
สอนของพระสั ม มาสั มพุ ท ธเจ าทุ ก ๆ พระองคมี ใ จความสํ าคั ญว า ละเวน ความชั่ว ทั้ ง ปวง
ทําความดีใหถึงพรอม ทําจิตของตนใหบริสุทธิ์
ชาวพุทธทั้งหลายไดตระหนักถึงพระพุทธคุณอันยิ่งใหญนี้จึงเปนเหตุใหมีการ
สรางพระพุทธรูปปางตาง ๆ ขึ้นเพื่อรําลึกถึงพระปญญาธิคุณ พระบริสุทธิคุณ และพระมหา
กรุณาธิคุณ และเปนแบบในการสั่งสมความดีตามพุทธองคนั่นเอง พระพุทธรูปปางตางๆ
ลวนสรางตามเหตุการณที่เกิดขึ้นในยุคสมัยของพระพุทธองคทั้งนั้น เพื่อเปนการถายทอด
เรื่องราวที่เกิดขึ้นในสมัยพระพุทธกาล ๑๑

๗) กรมการสงเสริมการทองเที่ยว ในหนังสือ “การทองเที่ยวแหงประเทศไทย


พุทธศิลป” เนื้ อ หากล า วถึ ง สุ น ทรี ย ศิ ล ป แ ห ง ความเชื่ อ และความศรั ท ธา คติ ก ารสร า ง
พระพุทธรูป คติการสรางพระพุทธไสยาสน ลําดับยุคสมัยพระพุทธไสยาสนในประเทศไทย
พระพุทธไสยาสนปางตาง ๆ ชื่อเรียกสวนตาง ๆ ของพระพุทธไสยาสน
โดยเฉพาะคติ ก ารสร า งพระพุ ท ธไสยาสน ไ ด ก ล า วถึ ง มหาปุ ริ ส ลั ก ษณะหรื อ
ลักษณะของมหาบุรุษ ๓๒ ประการ เปนคติที่ชางโบราณในประเทศอินเดียเชื่อวาเปนลักษณะ
ของพระพุทธเจา ซึ่งมีความแตกตางจากคนธรรมดาแสดงถึงบุญญาบารมีอันสูงสง
๑๑
ระพีพรรณ ใจภักดี, ปางพระพุทธรูป, (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแสงแดด จํากัด), ๒๕๔๖.

Page 21 of 102

ลักษณะของมหาบุรุษ ๓๒ ประการนี้ไดถูกนํามาตีความตามความเชื่อผสมผสาน
กับคติความงามของทองถิ่น เปนลักษณะทางพุทธศิลปที่กอเกิดสุนทรียทั้งภายนอกคือความ
งามทางศิลปจากการที่ไดมองเห็น และภายในคือความอิ่มเอิบภายในจิตใจซึ่งทําใหเกิดความ
เลื่อมใสศรัทธาของผูพบเห็น๑๒

๘) ลอง ธารา เขียนไวใน“พุทธศิลปนานาสมัย”เนื้อหากลาวถึงพระพุทธรูปแบบ


สมัยคันธารราฐ สมัยคุปตะ สมัยยอมราวดี พระพุทธรูปแบบสมัยลพบุรี สมัยเชียงแสน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
สมัยสุโขทัย สมัยอูทอง สมัยอยุธยา สมัยหริภูมิชัย และพระพุทธรูปแบบพมา
แนวคิดเกี่ยวกับเรื่องพระพุทธรูปมีปรากฏมาตั้งแตสมัยพระเจาอโศกมหาราช ดัง
ปรากฏในคัมภีรสมันตปาสาทิกา อรรถกาพระวินัย แสดงไววาพระเจาอโศกมหาราชได
ทอดพระเนตรเห็นพระพุทธรูปที่พระยากาฬนาคนิรมิตมีพระเศียรสีทองมีพระรัศมีที่พวยพุง
ออกมาจากพระเศียร ปรากฏเปนกลุมกอนปราศจากเครื่องยอมตาง ๆ ยอดพระเศียรแวดวง
ดวยสายรุงและสายฟา โดยภาวะเปนพระพุทธรูปมีความสวยงามดวยสีตาง ๆ เชน สีเขียว สี
เหลื อ ง สี แ ดง เป น ต น มองดู ดุ จ รั ศ มี ค วามงามแห ง หมู ด าวแผ ซ า นดุ จ พื้ น น้ํ า อั น ประดั บ
ดวยดอกบัวเยือน บัวยืน บัวขาวที่แยมบาน เปนรูปที่มีความงามคือมหาปุริสลักษณะ ๓๒
ประการ มีพระบาทเรียวงามเปนตน และประกอบดวยอนุพยัญชนะ ๘๐ มีพระนขาสีแดง
และพระนาสิกโดง เปนตน อันเกิดดวยบุญญานุภาพของพระองคที่บําเพ็ญในอดีตแตพระเจา
อโศกมหาราชไมไดทรงสรางพระพุทธรูปตามที่พระองคทรงทอดพระเนตรเห็นแตอยางใด
และสันนิษฐานวานาจะมีอิทธิพลตอการสรางพระพุทธรูปในยุคตอมา ๑๓

๙) พุทธทาสภิกขุ เขียนไวในหนังสือ “พุทธจริยา” เนื้อหากลาวถึงพุทธลักษณะ


ของพระพุทธเจาวา พุทธลักษณะก็แปลวา ลักษณะของพระพุทธเจา คําวาลักษณะนี้แปลวา
เครื่องกําหนด มาจากคําวา ดู เห็น สิ่งใดที่เราดู เราเห็นได สิ่งนั้นเปนลักษณะพุทธลักษณะ
ก็คือสิ่งที่เราจะดูจะเห็นที่องคพระพุทธเจา ดังเชนในคัมภีรพระ พุทธศาสนาวาพระองคก็ทรง
ประกอบไปดวยมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ และอนุพยัญชนะ ๑๐๘ ประการ สําหรับ

๑๒
กรมการสงเสริมการทองเที่ยว,การทองเที่ยวแหงประเทศไทย พุทธศิลป, (กรุงเทพฯ : บริษัท
แปลนโมทีฟจํากัด), ๒๕๔๘.
๑๓
ลอง ธารา, พุทธศิลปนานาสมัย, (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพฉัตรรพี), ๒๕๔๒.

Page 22 of 102

มหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการนี้รูจักกันมาก เปนลักษณะทางรางกายที่ผิดจากบุคคลอื่น ถา


ถือเอาตามตัวหนังสือนั้นแลวจะผิดมากจนดูเปนมนุษยที่มีรูปรางประหลาดที่สุดก็ได
ดังนั้น จึงขอยกตัวอยางมาใหเห็นเชนที่วาพระองคมีพระหัตถยาวจนถึงกับวา
ปลายพระหัตถนั้นแตะตองพระชานุ คือหัวเขาได ใครมือยาวอยางนี้บาง แลวยังมีอะไร ๆ ที่
ประหลาด นี้เรียกวา ทางรางกาย รวมความแลวก็คือสวยที่สุด สงาผาเผยที่สุด นาเกรงขาม
ที่สุด เรียกวา “มหาปุริสลักษณะ” มีอยูในคัมภีรที่สําคัญที่สุดของพวกพราหมณ หรือพระ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เวทวากันมาแตโบราณกาลกอนพระพุทธเจาเกิดวามีลักษณะอยางนั้นแลวจะเปนพระพุทธเจา
หรือมิฉะนั้นก็เปนจักรพรรดิ
เมื่อมองใหละเอียดก็จะมองไปทางมารยาท ทางวาจา การพูดจา การกระทํานี้ก็
ลวนแตละเอียดประณีต; เปนลักษณะทางกายทางวาจา ลักษณะทางกายในประเภทนี้ เราก็จะ
เห็นไดวามันรวมอยูในคําวา ศีล มีศีล คือการประพฤติทางกาย ทางวาจาถูกตองบริสุทธิ์
สะอาด นารัก เลื่อมใส พระพุทธลักษณะทางกายเปนอยางนี้๑๔

๑๐) ปถพีรติ สกุลไทย เขียนไวใน “พระราชประวัติของพระพุทธเจา มหาบุรุษ


ลักษณะ” เนื้อหาตอนหนึ่งกลาวถึงมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา สรุปความวา มหาปุริ
สลักษณะหรือเขียนตามรูปศัพทบาลีเปนมหาปุริสลักขณะ หมายถึง ลักษณะสําคัญของบุรุษผู
ยิ่งใหญ คือพระพุทธเจา มีกลาวถึงในมหาปทานสูตร ทีฆนิกายมหาวรรค แสดงลักษณะที่ดี
ของบุคคลผูยิ่งใหญมี ๓๒ ประการ ซึ่งเปนคติที่ชางศิลปกรรมโบราณนับแตในประเทศ
อิ น เดี ย จนถึ ง ประเทศไทย ใช เ ป น แนวทางในการสร า งสรรค ผ ลงานด า นประติ ม ากรรม
โดยเฉพาะในการสรางพระพุทธรูป ทั้งนี้เพราะเชื่อวามหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการนี้เปน
พระพุทธลักษณะ โดยเฉพาะในการสรางพระพุทธรูปทั้งนี้เพราะเชื่อวา มหาปุริสลักษณะ
๓๒ ประการนี้เปนพุทธลักษณะ โดยนําลักษณะดังกลาวมาเปนหลักและประดิษฐานแตงให
งดงามตามแนวศิลปะนิยมของแตละชาติดวย ดังนั้นเราจึงมักเห็นลักษณะของพระพุทธรูป
แตกตางไปจากลักษณะของคนธรรมดา เชน ชางสรางนิ้วมือ นิ้วเทายาวเทากัน เปนตน ๑๕

๑๔
พุทธทาสภิกขุ, พุทธจริยา, (กรุงเทพฯ : หางหุนสวนจํากัดการพิมพ), ๒๕๑๗.
๑๕
ปถพีรติ สกุลไทย, พระราชประวัติของพระพุทธเจา มหาบุรุษลักษณะ ฉบับที่ ๒๔๕๔ ปที่
๔๗ ประจําวันอังคาร เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๔.

Page 23 of 102
๑๐

ข. งานวิจัย
๑) พระมหาไกรวุฒิ มโนรัตน ไดศึกษาเรื่อง “ สังคมอุดมคติ : ศึกษาเปรียบเทียบ
แนวความคิดในคัมภีรพระไตรปฎกและคัมภีรอนาคตวงศ”, เนื้ อ หาในบทที่ ๓ กล า วถึ ง
บุคคลผูประกอบดวยมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ เปนคติของบุคคลเพียง ๒ ประเภท
คือ ของพระเจาจักรพรรดิผูทรงธรรมประการหนึ่ง และของพระสัมมาสัมพุทธเจาผูสิ้น
อาสวะกิเลสแลว อีกประการหนึ่ง การที่ พระโพธิสั ตว มี ลัก ษณะแห งมหาบุรุ ษ ก็เ นื่อ งจาก

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บุรพกรรมที่ไดกระทําแตปางกอนนอกจากนั้นพระโพธิสัตวยังประกอบดวยอนุพยัญชนะ ๘๐
เรียกวา อสีตยานุพยัญชนะอีกดวย ซึ่งอนุพยัญชนะ ๘๐ ประการนี้ ยอมมีบริบูรณในสรีระ
ของพระโพธิสัตวทุกพระองค ๑๖

๒) พระมหานิมิต สิงขรสุวณฺโณ (ทิพย ปญญาเมธี) ศึกษาเรื่อง “ปจจัยที่มีผลตอ


ความสําเร็จในการเผยแผพระพุทธศาสนาของพระศรีศิลป สุนทรวาที (สิกฺขาสโภ)” เ นื้ อ ห า
ในบทที่ ๔ กลาวถึงการวิเคราะหเกี่ยวกับบุคลิกภาพของพระพุทธเจาที่สัมพันธกับมหาปุริ
สลักษณะ ๓๒ ประการวา พระพุทธองคนั้นทรงมีคุณลักษณะอันควรแกศรัทธาปสาทะทุก
ประการ มีพระวรกายสงางามมีพระสุรเสียงไพเราะเสนาะหู มีอากัปกิริยามารยาทงดงามนา
เลื่อมใส ดังเนื้อความวา “พระสมณโคดม มีพระฉวีวรรณเปลงปลั่งดุจทองละเอียดลออ จน
ละอองธุลีไมอาจติดพระวรกายได มีพระวรกายตั้งตรงดุจกายพรหม และมีพระสุรเสียงดุจ
เสียงพรหมตรัสเสียงดุจเสียงรองของนกการะเวก พระสมณโคดมทรงละทิ้งเวนคําหยาบ คือ
ตรัสแตคําไมมีโทษ ไพเราะ นารัก จับใจ เปนคําของชาวเมืองคนสวนมากรักใครพอใจ”๑๗

๑๖
พระมหาไกรวุฒิ มโนรัตน, “ สังคมอุดมคติ : ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดในคัมภีร
พระไตรปฎกและคัมภีรอนาคตวงศ”, วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต, (สาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบ
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล), ๒๕๔๔.
๑๗
พระมหานิมิต สิงขรสุวณฺโณ (ทิพย ปญญาเมธี), “ปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จในการเผยแผ
พระพุทธศาสนาของพระศรีศิลป สุนทรวาที (สิกฺขาสโภ)” วิทยานิพนธพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (สาขาวิชา
พระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย), ๒๕๔๕.

Page 24 of 102
๑๑

๑.๖ ขอบเขตของการวิจัย
ก. ขอบเขตดานเนื้อหา
การวิจัยจะมุงศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจาที่ปรากฏใน
คัมภีรพระพุทธศาสนา ศึกษาวิเคราะหมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจาทั้งในแงกายภาพ
และแงบุคลาธิษฐาน และศึกษาวิเคราะหขอเท็จจริงเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะเชิงอัตวิสัย
ความสัมพันธกับโพธิญาณ กรรมนิยาม และอานิสงสการบําเพ็ญบารมี

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ข. ขอบเขตดานเอกสาร
การวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยศึกษาขอมูลปฐมภูมิจากคัมภีรพระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับ
มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย โรงพิ ม พ ม หาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย , ๒๕๓๙ และจาก
พระไตรปฎกพรอมอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๒๕ รวมทั้งศึกษาจาก
ปกรณวิเสส และศึกษาขอมูลทุติยภูมิจากงานวิชาการทางพระพุทธศาสนาและงานวิจัยที่
เกี่ยวของ เพื่อประกอบการวิจัยใหสมบูรณยิ่งขึ้น

๑.๗ วิธีดําเนินการวิจัย
การวิจัยเปนการศึกษาทางเอกสาร (Documentary Research) โดยมุงศึกษาขอมูล
เอกสารที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การวิ จั ย จากแหล ง ข อ มู ล ต า ง ๆ แล ว นํ า ข อ มู ล ที่ ไ ด ม าวิ เ คราะห
สั ง เคราะห แ ละเรี ย บเรี ย งเขี ย นงานวิ จั ย พร อ มเสนอแนวคิ ด ผู วิ จั ย โดยให ส อดคล อ งกั บ
วัตถุประสงคและตอบปญหาที่ตองการทราบ

๑.๘ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
๑) ทําใหทราบองคความรูเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจาที่ปรากฏใน
คัมภีรพระพุทธศาสนา
๒) ทํ า ให ท ราบรายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ มหาปุ ริ ส ลั ก ษณะ ๓๒ ประการของ
พระพุทธเจาในแนวทางที่ถูกตองอันจะกอใหเกิดความเลื่อมใสศรัทธาในหมูชาวพุทธมาก
ยิ่งขึ้น
๓) ทํ า ให ค ลายความสงสั ย เกี่ ย วกั บ มหาปุ ริ ส ลั ก ษณะของพระพุ ท ธเจ า ในแง
ความสัมพันธกับโพธิญาณ กรรม บารมี เชิงกายภาพ และเชิงบุคลาธิษฐาน

Page 25 of 102
บทที่ ๒
มหาปุริสลักษณะที่ปรากฏในคัมภีรพระพุทธศาสนา

มหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจาเปนลักษณะพิเศษ ลักษณะเฉพาะของพระองค
เพราะพระองค เ ป น “พระมหาบุ รุ ษ ” อั น เป น ลั ก ษณะของบุ ค คลผู จ ะได ต รั ส รู เ ป น
พระพุทธเจา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ในบทนี้ ผูวิจัยมุงศึกษาถึงความหมายมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจาที่ปรากฏ
ในคัมภีรพระพุทธศาสนากลาวคือ พระไตรปฎก อรรถกถา ปกรณวิเสส และสรุปวิเคราะห
แนวคิดเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะที่ปรากฏในคัมภีรพระพุทธศาสนา

๒.๑ ความหมายของมหาปุริสลักษณะ
จากการศึกษาพบวา มหาปุริสลักษณะ มีความหมายตามนัยดังตอไปนี้
มหา แปลวา มาก, ใหญ, ยิ่งใหญ
ปุริส ๑ แปลวา ผูชาย หรือ บุรุษ
ลักษณะ หรือลักขณะ แปลวาเครื่องแสดงสิ่งหนึ่งสิ่งใดใหเห็นวาตาง
จากอีกสิ่งหนึ่ง คุณภาพและประเภท เปนตน
ดังนั้น คําวา มหาปุริสลักษณะ หมายถึง ลักษณะของบุรุษผูยิ่งใหญ ไดแก มหา
ปุริสลักษณะของพระพุทธเจา ๒


ปุริส แปลวา ผูชาย หรือ บุรุษ แปลตามรูปศัพทวา ผูทําหัวใจของพอแมใหเต็ม หรือ “ผูกําจัด
นรก” แตถาแปลโดยทั่วไปวา ผูชายหรือบุรุษหรือเพศชายซึ่งโดยรากศัพท หมายถึง เพศที่ไมออกลูก
ธรรมชาติที่ทําใหเพศชายเปนคําเฉพาะ เรียกวา “ปุริสินทรีย” ซึ่งประกอบดวยทรวดทรงชาย
เครื่องหมายประจําเพศชาย รวมทั้งกิริยาอาการสภาวะเปนของบุรุษ มีคําอธิบายดังนี้
ทรวดทรง หรือ (ลิงคะ) มีลักษณะตรงขามกับหญิง เชน มือ เทา คอ และสวนทองทอนบนจะ
ล่ําสันกวาทอนลาง เครื่องหมายประจําเพศ (นิมิต) มีมือเทาใหญ ปากใหญ เนื้อขาใหญ มีหนวดเครา
กิริยา เมื่อยังเปนเด็ก ชอบเลนรถและไถ ชอบทําขอบคันดวยทราย ชอบขุดหลุม ฯลฯ
อาการ เวลาเดินก็ดูองอาจ คนทั่วไปเห็นผูหญิงเดินดวยทาทางองอาจก็จะพูดวา เดินเหมือนผูชาย
การยืนการนั่งและนอนก็ไมเหมือนอาการผูหญิง ดู ม.ม.อ. (ไทย) ๒/๒๘๓/๒๖๒.

พระอุดรคณาธิการ (ชวินทร สระคํา), พจนานุกรมบาลี-ไทย, พิมพครั้งที่ ๓, (กรุงเทพ ฯ :
บริษัทยูรวงคพริ้นติ้ง จํากัด, ๒๕๓๘), หนา ๓๖๔.

Page 26 of 102
๑๓

๒.๒ มหาปุริสลักษณะในพระไตรปฎก
จากการศึกษาวิจัยพบวา มหาปุริสลักษณะมีปรากฏในพระวินัยปฎกแตมีเพียงบาง
ประการเทานั้น และมีปรากฏอยางละเอียดในพระสุตตันตปฎก ดังผลการศึกษาดังนี้

๒.๒.๑ มหาปุริสลักษณะในพระวินัยปฎก
ในพระวินัยปฎกมีกลาวถึงมหาปุริสลักษณะตอนที่อสิตดาบสหรือกาฬเทวิลดาบส
เมื่อไดทราบขาวการประสูติก็ไดเดินทางจากอาศรมที่ติดกับภูเขาหิมพานต เพื่อ เขาเยี่ยม

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระโอรส อสิตดาบสประนมหัตถถวายอภิวาทแทบพระบาททั้งสองของพระโอรส เพราะได
เห็นรูปลักษณะของพระโอรส ปรากฏตรงตามตํารามหาบุรุษพยากรณศาสตร และไดกลาว
คําทํานายพระลักษณะของพระโอรสวามีคติเปน ๒ ตรงตามตํารา คือ ถาอยูครองเรือนจะได
เปนพระเจาจักรพรรดิราช หากเสด็จออกบรรพชาจะไดตรัสรูเปนศาสดาเอกในโลก ๓
อีกเหตุการณหนึ่ง เมื่อพระโอรสประสูติได ๕ วัน พระเจาสุทโธทนะไดเชิญ
พราหมณ ๘ คน ใหพิจารณาพระลักษณะพยากรณและขนานพระนามพระโอรสตามคุณ
พิเศษที่ปรากฏ คือ พระโอรสทรงมีพระรัศมีโอภาสงามแผซานออกจากพระวรกายเปนปกติ
จึงขนานพระนามวา “อังคีรส” และอีกพระนามหนึ่งวา “สิทธัตถะ” ซึ่งแปลวา ผูมีความ
ตองการสํ าเร็จหรื อผูปรารถนาสิ่งใดก็สําเร็ จตามความประสงค หลังจากขนานพระนาม
พระโอรสแลวพราหมณเจ็ดคนไดทํานายพระลักษณะของพระโอรสมีคติเปน ๒ อยาง คือ
ถาอยูครองฆราวาสจะไดเปนพระเจาจักรพรรดิราช ถาเสด็จออกบรรพชาจะไดตรัสรูเปน
ศาสดาเอกในโลก แตอัญญาโกณฑัญญพราหมณซึ่งหนุมที่สุดไดพิจารณาพระลักษณะของ
พระโอรสเห็นวามีลักษณะมหาบุรุษชัดเจนจึงทํานายวาพระโอรสจักตองเสด็จออกบวช ตรัสรู
เปนศาสดาเอกในโลกแนนอน ๔
จะอยางไรก็ตามจากการศึกษาพบวา เนื้อหาที่ปรากฏในพระวินัยปฎกทั้งสอง
ตอนนี้ไมมีการกลาวถึงรายละเอียดเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะแตอยางใด เพียงแตกลาวถึง
ลักษณะของพระโอรสวาตรงตามมหาบุรุษลักษณะทุกประการเทานั้น


จันทร ชูแกว, พระพุทธประวัติ : มหาบุรุษแหงชมพุทวีป, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙), หนา ๒๓.

เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๔.

Page 27 of 102
๑๔

นอกจากนี้ ในวิ นั ย ป ฎ กมหาวรรคได ก ล า วถึ ง มหาปุ ริ ส ลั ก ษณะเกี่ ย วกั บ พระ


ฉวีวรรณของพระพุทธเจาไวดังนี้
- พระผูมีพระภาคเจาทรงมีพระฉวีวรรณเสมอดวยสีลิ่มทองสิงคี ทรงฝกอินทรีย
แลวทรงพนวิเศษแลว ไดเสด็จเขาไปยังกรุงราชคฤหพรอมดวยเหลาภิกษุที่เคย
เปนชฎิลผูฝกอินทรียและทรงพนแลว วิเศษแลว
- พระผูมีพระภาคทรงมีพระฉวีวรรณเสมอดวยสีลิ่มทองสิงคีทรงพนแลว ทรง

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พนวิเศษแลว ไดเสด็จเขาไปยังกรุงราชคฤหพรอมดวยเหลาภิกษุที่เคยเปนชฎิลผู
พนแลว พนวิเศษแลว
- พระผูมีพระภาคทรงมีพระฉวีวรรณเสมอดวยสีลิ่มทองสิงคีทรงขามแลว ทรง
พนวิเศษแลวไดเสด็จไปยังกรุงราชคฤหพรอมดวยเหลาภิกษุที่เคยเปนชฎิลผูขาม
แลว พนวิเศษแลว
- พระผูมีพระภาคทรงมีพระฉวีวรรณเสมอดวยสีลิ่มทองสิงคี ทรงสงบแลว ทรง
พนวิเศษแลว ไดเสด็จเขาไปยังกรุงราชคฤหพรอมดวยเหลาภิกษุที่เคยเปนชฎิลผู
สงบแลว พนวิเศษแลว ๕
ในวินัยมหาวรรคที่กลาวมานี้ เปนการกลาวสรรเสริญพระฉวีวรรณของพระผูมี
พระภาควา ผุดผองเสมอดวยสีลิ่มทอง ซึ่งเปนอนุพยัญชนะขอที่ ๑๑ วาเปนผูมีพระฉวีสีดั่ง
ทองอันเปนองคประกอบยอยของมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ ซึ่งจะดูเปลงปลั่งกวาสีผิว
ของคนปกติทั่วไป

๒.๒.๒ มหาปุริสลักษณะในพระสุตตันตปฎก
จากการศึกษาในพระสุตตันตปฎกพบวา มีการกลาวถึงมหาปุริสลักษณะไวทั้ง
โดยตรงและโดยออม พอประมวลไดดังนี้
ในทีฆนิกาย มหาวรรคไดกลาวถึงธรรมชาติของพระโพธิสัตวไว ๑๖ ประการ
ดังตอไปนี้
๑) มีสติสัมปชัญญะตลอด ตั้งแตจุติจากสวรรคชั้นดุสิตจนถึงเสด็จลงสูพรครรภ
ของพระมารดา


วิ.ม. (ไทย) ๔ / ๔๘ / ๗๐.

Page 28 of 102
๑๕

๒) เวลาที่พระโพธิสัตวจุติจากสวรรคชั้นดุสิตเสด็จลงสูพระครรภมารดา แสง
สวางเจิดจาหาประมาณมิได ปรากฏขึ้นในโลกพรอมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลกในหมู
สัตวพรอมทั้งพราหมณเทวดาและมนุษยลวงเทวานุภาพของเหลาเทพ แมในชองวางโลกซึ่ง
ไมมีอะไรคั่น มีสภาพมืดมิดหรือที่มีดวงจันทรและดวงอาทิตยซึ่งมีฤทธิ์มาก มีอานุภาพมาก
สงแสงไปไมถึงก็มีแสงสวางเจิดจาหาประมาณมิไดปรากฏขึ้น เหลาสัตวที่เกิดในที่นั้น ๆ จึง
รูจักกันและกันวายังมีสัตวอื่นเกิดในที่นี้เหมือนกันและ ๑๐ สหัสสีโลกธาตุ สั่นสะเทือนเลื่อน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ลั่น ทั้งแสงสวางเจิดจาหาประมาณมิไดก็ปรากฏขึ้นในโลก
๓) เวลาที่พระโพธิสัตวเสด็จลงสูพระครรภของพระมารดา มีเทพบุตร ๔ องค
เขาไปอารักขาประจําชาติทั้ง ๔ ทิศดวย ตั้งใจวามนุษยหรือมนุษยอยาไดเบียดเบียนพระ
โพธิสัตวหรือพระมารดาของพระโพธิสัตวเลย
๔) เวลาที่พระโพธิสัตวเสด็จลงสูพระครรภของพระมารดา พระมารดามีปกติ
ทรงศีล คือ เวนจากการฆาสัตว เวนจากการถือเอาสิ่งของที่เจาของไมไดให เวนจากการ
ประพฤติผิดในกาม เวนจากการพูดเท็จ เวนจากการเสพของมึนเมาและเมรัยอันเปนเหตุแหง
ความประมาท
๕) เวลาที่ พระโพธิ สั ตว เ สด็จ ลงสู พระครรภ ข องพระมารดา พระมารดาของ
พระองคไมทรงมีความรูสึกทางกามารมณ เปนผูท่ีบุรุษไมมีจิตกําหนัดใด ๆ ไมสามารถ
ลวงเกินได
๖) เวลาที่พระโพธิสัตวเสด็จลงสูพระครรภของพระมารดา พระมารดาทรงได
กามคุณ ๕ อิ่มเอิบพรั่งพรอม
๗) เวลาที่พระโพธิสัตวเสด็จลงสูพระครรภของพระมารดา พระมารดาของพระ
องคไมทรงมีความเจ็บปวยใด ๆ ทรงมีความสุขไมลําบากพระวรกายมองเห็นพระโพธิสัตวอยู
ภายในพระครรภ มีพระอวัยวะสมบูรณ มีพระอินทรียไมบกพรอง
๘) เมื่อพระโพธิสัตวประสูติได ๗ วัน พระมารดาของพระองคสวรรคตไปเกิด
ในสวรรคชั้นดุสิต
๙) พระมารดาของพระโพธิสัตว ไมประสูติพระโอรสเหมือนสตรีทั่วไป ที่คลอด
บุตรหลังจากตั้งครรภได ๙ เดือน หรือ ๑๐ เดือน สวนพระมารดาของพระโพธิสัตวประสูติ
พระโอรสเมื่อทรงพระครรภ ๑๐ เดือนเทานั้น
๑๐) พระมารดาของพระโพธิสตั วไมประสูติพระโอรสเหมือนสตรีทั่วไปซึ่งจะ

Page 29 of 102
๑๖

นั่งคลอดหรือนอนคลอดก็ได สวนพระมารดาของพระโพธิสัตวประทับยืนประสูติเทานั้น
๑๑) เวลาที่พระโพธิสัตวประสูติจากพระครรภของมารดาในตอนแรกเหลาเทพ
จะทําพิธีตอนรับหลังจากนั้นเปนหนาที่ของมนุษย
๑๒) เวลาที่พระโพธิสัตวประสูติจากพระครรภของพระมารดา ยังไมทันสัมผัส
แผนดิน เทพบุตร ๔ พระองค ชวยกันประคองพระโพธิสัตวไปไวเบื้องพระพักตรของพระ
มารดาแลวกราบทูลวาโปรดพระทัยเถิดพระเทวี พระราชโอรสของพระองคที่เสด็จอุบัติขึ้น

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เปนผูมีศักดิ์ใหญ (คติ ๒ ประการ)
๑๓) เวลาที่พระโพธิสัตวประสูติจากพระครรภของพระมารดาเสด็จออกโดยงาย
ไมแปดเปอนดวยน้ําเมือก เลือด หรือสิ่งไมสะอาดใด ๆ เปนผูสะอาดบริสุทธิ์เหมือนแกว มณี
ที่บุคคลวางไวในผากาสิกพัสตรยอมไมทําใหผากาสิกพัสตรแปดเปอน ถึงผากาสิกพัสตรก็ไม
ทําใหแกมณีแปดเปอนฉันใด เวลาที่พระโพธิสัตวประสูติจากพระครรภของพระมารดาเสด็จ
ออกโดยงาย เปนผูสะอาดบริสุทธิ์ฉันนั้น
๑๔) เวลาที่พระโพธิสัตวประสูติจากพระครรภของพระมารดามีธารน้ําปรากฏใน
อากาศ ๒ สาย คือธารน้ําเย็นและธารน้ําอุน เพื่อชําระลางพระโพธิสัตวและพระมารดา
๑๕) เมื่อพระโพธิสัตวประสูติไดครูหนึ่ง ทรงยืนไดอยางมั่นคงดวยพระบาททั้ง
สองที่เสมอกัน ทรงหันพระพักตรไปทางทิศเหนือ ทรงดําเนินไป ๗ กาว ขณะที่หมูเทวดา
กั้นเศวตฉัตรตามเสด็จทอดพระเนตรไปยังทิศตาง ๆ แลวทรงเปลงพระ อาสภิวาจา (วาจา
อยางองอาจ) วา “เราคือผูเลิศของโลก เราคือผูเจริญที่สุดของโลก เราคือผูประเสริฐที่ของ
โลก ชาตินี้เปนชาติสุดทาย บัดนี้ภพใหมไมมีอีก”
๑๖) เวลาที่พระโพธิสัตวประสูติจากพระครรภของพระมารดา แสงสวางเจิดจา
ปรากฏขึ้นในโลกพรอมทั้งเทวโลก มารโลก พรหมโลก เหลาสรรพสัตวในหมื่นโลกธาตุ
สามารถมองเห็นกันได ๖
ธรรมชาติของพระโพธิสัตวทั้ง ๑๖ ประการที่ยกมานี้ แมจะไมระบุถึงมหาปุริส
ลักษณะไวอยางชัดเจนก็จริง แตบงบอกถึงความสัมพันธกันระหวางมหาบุรุษกับธรรมชาติทั้ง
๑๖ ประการเหล า นี้ เพราะเหตุ ว า ผู เ ป น มหาบุ รุ ษ ที่ ส มบู ร ณ ด ว ยมหาปุ ริ ส ลั ก ษณะ ๓๒
ประการที่ อุ บั ติ ใ นโลกมนุ ษ ย แ ละได ต รั ส รู อ นุ ต ตรสั ม มาสั ม โพธิ ญ าณเท า นั้ น จึ ง จะ


ที.ม. (ไทย) ๑๐/๑๗-๓๒/๑๑-๑๕.

Page 30 of 102
๑๗

เกิดปรากฎการณธรรมชาติ ๑๖ ประการเหลานี้ ดังนั้นจึงกลาวไดวา ปรากฏการณเหลานี้


เปนธรรมชาติของมหาบุรุษโดยแท
ในมหาปทานสูตร ทีฆนิกาย มหาวรรค พบวา พระสมณโคดมพุทธเจาตรัสกับ
ภิกษุทั้งหลายวา มหาบุรุษผูสมบูรณดวยมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ มีคติเปน ๒ อยาง
เทานั้นคือ
๑) ถาอยูครองเรือนจะไดเปนพระเจาจักรพรรดิผูทรงธรรม ครองราชยโดยธรรม

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ทรงเปนใหญในแผนดินมีมหาสมุทรทั้งสี่เปนขอบเขต ทรงไดรับชัยชนะมีพระราชอาณาจักร
มั่นคง สมบูรณดวยแกว ๗ ประการ คือ (๑) จักรแกว (๒) ชางแกว (๓) มาแกว (๔) มณี
แกว (๕) นางแกว (๖) คหบดีแกว (๗) ปรินายกแกว มีพระราชโอรสมากกวา ๑,๐๐๐
องค ซึ่งลวนแตกลาหาญมีรูปทรงสมเปนวีรกษัตริย สามารถย่ํายีราชศัตรูไดพระองคทรงชนะ
โดยธรรม ไมตองใชอาญาไมตองใชศาสตรา ครอบครองแผนดินโดยธรรม
๒) ถาเสด็จออกจากพระราชวังผนวชเปนบรรพชิต จะไดเปนพระอรหันตสัมมา
สัมพุทธเจาผูเลิศในโลก ๗
จากการศึกษาพบวา มีการกลาวถึงมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจาในมัชฌิม
นิกายบางประการ ซึ่งเสลพราหมณกลาวชื่นชมพระบารมีของพระพุทธเจาความวา
พระผูมีพระภาคเจาพระองคเสด็จอุบัติมาดวยแลวมีพระอิสริยาภาพ มีพระวรกาย
สมบูรณมีพระรัศมีเรืองงาม เปนผูนาศรัทธายิ่งนัก มีพระฉวีวรรณเปลงปลั่งดังทอง
เพราะพระลักษณะมหาบุรุษยอมมีปรากฏในพระวรกายของพระองคอ ยางครบถวน
พระองคมีพระเนตรแจมใส มีพระพักตรผุดผอง มีพระวรกายสูงใหญตรง มีพระเดช
ทรงรุงเรืองอยูในทามกลางหมูสมณะ เหมือนดวงอาทิตยรุงเรืองอยู พระองคเปนภิกษุมี
คุณสมบัติงดงามนาชมมีพระฉวีวรรณเปลงปลั่งดังทอง๘

จากการศึกษาพบวาในเนื้อความที่ยกมานี้ไดกลาวถึงมหาปุริสลักษณะ ๘ คือ
พระวรกายมีรัศมีเรืองงาม ตรงกับมหาปุริสลักษณะที่ ๑๒ พระฉวีวรรณเปลงปลั่งดังทอง
ตรงกับมหาปุริสลักษณะที่ ๑๑ พระเนตรแจมใส ตรงกับมหาปุริสลักษณะที่ ๓๐ พระ
วรกายสูงใหญตรง ตรงกับมหาปุริสลักษณะที่ ๑๕ (ดูมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ในบทที่ ๓)


ที.ม. ( ไทย ) ๑๐/๓๓/๑๕-๑๖.

ม.ม. ( ไทย ) ๑๓/๓๙๙/๔๙๘.

Page 31 of 102
๑๘

ในขุ ท ทนิ ก าย มี ก ารกล า วถึ ง มหาปุ ริ ส ลั ก ษณะเกี่ ย วกั บ พระสุ ร เสี ย งของ
พระพุทธเจา ซึ่งมีคุณลักษณะพิเศษ ๘ ประการ คือ
๑. สละสลวย ๒. ชัดเจน
๓. ไพเราะ ๔. นาฟง
๕. กลมกลอม ๖. ไมแหบพรา
๗. ลุมลึก ๘. กองกังวาน ๙

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
จากการศึกษาพบวา ธรรมชาติของพระพุทธเจาทรงมีพระสุรเสียงเปลงดุจเสียง
พรหม คือกองกังวาน ไพเราะดุจเสียงนกการเวก มีความสละสลวย กลมกลอมนาฟง อีกทั้ง
มีความลุมลึกแตชัดเจนและไมแหบพรา พระสุรเสียงของพระพุทธเจาทําใหผูฟงเกิดความ
ยินดี ปราโมทย สงบ เย็น คุณลักษณะพิเศษแหงเสียงนี้ตรงกับมหาปุริสลักษณะที่ ๒๘
ในลักขณสูตร ทีฆนิกาย ปาฏิวรรค พระพุทธเจาตรัสกับภิกษุทั้งหลายถึงมหาปุริ
สลักษณะ ๓๒ ประการ ความวา
ดูกอนภิกษุทั้งหลาย มหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ ที่พระมหาบุรุษประกอบ
แลว ยอมเปนเหตุใหมีคติสองเทานั้น ไมเปนอยางอื่น ถาครองเรือนจะไดเปนพระ
จักรพรรดิ
อนึ่ ง ถ า พระมหาบุ รุ ษ เสด็ จ ออกบวชจะเป น พระอรหั น ตสั ม มาสั ม พุ ท ธเจ า มี
หลังคา คือ กิเลสอันเปดแลวในโลก ๑๐

ในพระสูตรนี้ พระพุทธเจาตรัสแสดงมหาปุริสลักษณะโดยจําแนกอยางละเอียด
ครบทั้ง ๓๒ ประการ แตผูวิจัยนําเสนอรายละเอียดไวในบทที่ ๓ จึงไมไดนําเสนอใน
รายละเอียดในบทนี้ นอกจากพระองคจะตรัสแสดงมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการแลว ยัง
ตรัสถึงสาระสําคัญวา ชาติกอนที่จะอุบัติในโลกมนุษยมีลักษณะเปนมหาบุรุษสมบูรณดวย
มหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ จุติในโลกสวรรค เสวยทิพยสมบัติ ๑๐ ประการ คือ อายุ
ทิพย วรรณะทิพย สุขทิพย ยศทิพย อธิบดีทิพย รูปทิพย เสียงทิพย กลิ่นทิพย รสทิพย
และโผฏฐัพพะทิพย


ขุ.ม. ( ไทย ) ๒๙/๑๙๐/๕๓๖.
๑๐
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๐๐/๑๕๙.

Page 32 of 102
๑๙

๒.๓ มหาปุริสลักษณะในคัมภีรอรรถกถา
จากการศึกษาพบวา ในสุมังคลวิลาสินี อรรถกถาทีฆนิกาย (มหาปทานสูตร)
พระพุทธโฆสาจารยไดอรรถาธิบายมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการของพระพุทธเจาโดย
วิเคราะหอยางละเอียด ทําใหมองเห็นภาพพุทธลักษณะตาง ๆ เปนรูปธรรมที่ชัดเจนขึ้นดวย
การอธิบายมหาปุริส ลักษณะแงกายภาพที่มีลักษณะพิเศษแตกตางจากคนธรรมดาสามัญ อีก
ทั้งใชวิธีการอรรถาธิบายดวยการอุปมาเปรียบเทียบมหาปุริสลักษณะตาง ๆ กับสิ่งธรรมชาติ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
คน สัตว พรหม ศาสตรา สิ่งประดับ เปนตน ๑๑ ซึ่งรายละเอียดเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะ
ผูวิจัยไดนําเสนอไวในบทที่ ๓

๒.๔ มหาปุริสลักษณะในคัมภีรปกรณวิเสส
คัมภีรปกรณวิเสสที่สําคัญทางพระพุทธศาสนาไดแก คัมภีรมิลินทปญหา ซึ่ง
คัมภีรเลมนี้มีการกลาวถึงมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการไวเชนเดียวกัน
จากการศึกษาพบวา ในคัมภีรมิลินทปญหามีการกลาวถึงมหาปุริสลักษณะบาง
ประการของพระพุทธเจาในบทสนทนาระหวางพระยามิลินทกับพระนาคเสน ดังนี้
พระยามิลินท “ขาแตพระนาคเสน พระพุทธเจาประกอบดวยมหาปุริสลักษณะ
๓๒ และประดับดวยอนุพยัญชนะ ๘๐ มีสีกาย ดั่ง ทองคํา มีพระ
รัศมีสวาง
รอบพระองคดานละ ๑ วาเปนนิจจริงหรือ ?”
พระนาคเสน “ขอถวายพระพร จริงอยางนั้น”
พระยามิลินท “ขาแตพระผูเปนเจา พระมารดาบิดา ประกอบดวยลักษณะมหาบุรุษ
๓๒ ประการ กับประดับดวยอนุพยัญชนะ ๘๐ ประการ มีสีพระ
วรกาย ดั่ง ทองคํา มีพระรัศมีขางละ ๑ วาหรือไม ?”
พระนาคเสน “ขอถวายพระพร พระมารดาบิดาไมเปนอยางนั้น”
พระยามิลินท “ข า แต พ ระนาคเสน เมื่ อ พระมารดาบิ ด าไม เ ป น อย า งนั้ น
พระพุทธเจาจะเปนอยางนั้นไดหรือไม เพราะธรรมดายอมคลายกับ
มารดาหรือคลายขางบิดา ?”

๑๑
ดูรายละเอียดใน ที.ม.อ. ๑๒/๑๑๖.

Page 33 of 102
๒๐

พระนาคเสน “ขอถวายพระพร ดอกปทุ ม หรื อ ดอกอุ บ ล ดอกปุ ณ ฑริ ก มี อ ยู


หรือไม ?”
พระยามิลินท “มีอยู พระผูเปนเจา เพราะดอกบัวเหลานั้นเกิดอยูในน้ํา เกิดอยูใน
ดิน แชอยูในน้ํา”
พระนาคเสน “ขอถวายพระพร ดอกบัวเหลานั้นมีสี มีกลิ่น รส เหมือนดินกับน้ํา
หรือไม ?”

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระยามิลินท “ไมพระผูเปนเจา”
พระนาคเสน “ขอนี้ก็ฉันนั้นแหละมหาบพิตร”
พระยามิลินท “พระผูเปนเจาเขาใจแกเปนอันถูกตองดีแลว” ๑๑

ศึกษาจากบทสนทนาระหวางพระยามิลินทกับพระนาคเสน ดังที่ยกมานี้ก็เปนอีก
เหตุ ผ ลหนึ่ ง ที่ ส นั บ สนุ น ว า มหาปุ ริ ส ลั ก ษณะ ๓๒ ประการไม ป รากฏแก บุ ค คลทั่ ว ไป
แมกระทั่งพุทธบิดาหรือพุทธมารดาก็ไมทรงมีลักษณะพิเศษดังกลาว ดวยเหตุผลวามหาปุริ
สลักษณะจะปรากฏเฉพาะมหาบุรุษผูจะไดตรัสรูเปนพระพุทธเจาเทานั้น หากพิจารณาถึง
เรื่องกรรมพันธุคนทั่วไปก็จะมีรูปลักษณไมแตกตางจากผูเปนบิดามารดา แมแตมหาบุรุษ
รูปลักษณพื้นฐานทั่วไปคงไมแตกตางจากพุทธบิดาและพุทธมารดาเสียทีเดียว คงเฉพาะมหา
ปุริสลักษณะ ๓๒ ประการและอนุพยัญชนะ ๘๐ เทานั้นที่แสดงถึงความแตกตาง ซึ่งในบท
สนทนาระหวางพระยามิลินทกับพระนาคเสน พระนาคเสนก็ไดเปรียบเทียบอยางเห็นภาพ
ชัดเจน ดุจดอกบัวแมจะเกิดในดินในน้ําแตมีสีกลิ่น รส ที่เลิศกวาดินและน้ํา

๒.๕ สรุปมหาปุริสลักษณะที่ปรากฏในคัมภีรพระพุทธศาสนา
ความหมายของมหาปุริสลักษณะ หมายถึง ลักษณะของบุรุษผูยิ่งใหญ ไดแก มหา
ปุริสลักษณะของพระพุทธเจามี ๓๒ ประการ ที่เปนคติที่ชางศิลปกรรมโบราณในประเทศ
อินเดียจนถึงประเทศไทยใชเปนแนวทางในการสรางพระพุทธรูปและพุทธศิลปตางๆ
มหาปุริสลักษณะ มีปรากฏในพระวินัยปฎกแตกลาวถึงเพียงประการเทานั้น และ
มีกลาวไวอยางละเอียดในพระสุตตันปฎก โดยเฉพาะในมหาปทานสูตร ทีฆนิกาย มหาวรรค

๑๑
มหามกุฏราชวิทยาลัย, มิลินทปญหา, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓),
หนา ๙๒-๙๓.

Page 34 of 102
๒๑

และในลักขณสูตร ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค ในทั้งสองสูตรนี้ ยังกลาวถึงอานิสงสที่สงผลให


พระพุทธเจาไดมหาปุริสลักษณะทั้ง ๓๒ ประการ ไวอยางละเอียดอีกดวย
มหาปุริลักษณะยังปรากฏในอรรถกถา คือ สุมังคลวิลาสินี อรรถกถามหาปทาน
สูตร แหงทีฆนิกาย โดยพระพุทธโฆสาจารย ไดอรรถาธิบายมหาปุริสลักษณะอยางละเอียด
ทําใหมองเห็นภาพไดชัดเจนขึ้น ในปกรณวิเสส เชน คัมภีรมิลินทปญหาไดกลาวถึง มหาปุริ
สลักษณะบางประการของพระพุทธเจา ในบทสนทนาระหวางพระนาคเสนกับพระยามิลินท

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วา มหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจาแตกตางจากคนธรรมดาทั่วไปเปรียบเหมือนดอกบัวแม
จะเกิดในดิน ในน้ํา แตมีสี กลิ่น รส ที่เลิศกวาดินและน้ํา

Page 35 of 102
บทที่ ๓
มหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา

ในบทนี้ ผูวิจัยมุงศึกษาถึงมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ และอนุพยัญชนะ ๘๐


รวมทั้งศึกษาวิเคราะหมหาปุริสลักษณะแงกายภาพและแงบุคลาธิษฐาน ผลการศึกษาวิจัย
มีดังรายละเอียดตอไปนี้

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๓.๑ มหาปุริสลักษณะ ๓๒ ของพระพุทธเจา
จากการศึกษาพบวา มหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการมีกลาวไวครบบริบูรณใน
ลั ก ขณสู ต ร ที ฆ นิ ก าย ปาฏิ ก วรรคและมหาปทานสู ต ร ที ฆ นิ ก าย มหาวรรค แห ง พระ
สุตตันตปฎก มหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการของพระพุทธเจา มีรายละเอียดดังตอไปนี้
(ดูมหาปุริสลักษณะสําคัญบางประการของพระพุทธเจาในภาคผนวก รูปภาพที่ ๑)

๑. มีฝาพระบาทราบเสมอกัน
พระมหาบุรุษไมเปนเหมือนคนอื่น เมื่อคนอื่นวางเทาลงบนแผนดิน ปลายฝาเทา
สนเทา หรือขางเทายอมจรดกอน ก็แตวายังปรากฏชองในตอนกลาง แมเมื่อยกขึ้นสวนหนึ่ง
ในปลายฝาเทาเปนตน นั่นแหละก็ยกขึ้นกอน ฝาพระบาททั้งสองของพระมหาบุรุษนั้นยอม
จดพื้นโดยทรงเหยียบพระบาทครั้งหนึ่ง ดุจพื้นรองเทาทองคําฉะนั้น ทรงยกพระบาทขึ้นจาก
พื้นก็โดยทํานองเดียวกันนั่นแหละ เพราะฉะนั้น พระมหาบุรุษนี้จึงเปนผูมีพระบาทเรียบเสมอ
กัน๑

๒. พื้นพระบาททั้ง ๒ มีจักรปรากฏ
อันเปนความวิเศษของพระมหาบุรุษ เพราะวาบริบูรณดวยอาการทั้งปวง ดุมของ
จักรเหลานั้นปรากฏ ณ ทามกลางพื้นพระบาทลวดลายวงกลมกําหนดดวยดุมยอมปรากฏ
วงกลมลอมหนาดุมปรากฏ ทอน้ําปรากฏ ซี่ปรากฏ ลวดลายวงกลมในซี่ปรากฏ กงปรากฏ
กงแกวมณีปรากฏ อีกทั้งปรากฏรูปหอก รูปแวนสองพระฉาย รูปดอกพุดซอน รูปสายสรอย
รูปถาดทอง รูปมัจฉาคู รูปตั่ง รูปขอ รูปปราสาท รูปเสาระเบียด รูปเศวตฉัตร รูปพระ
ขรรค รูปพัดใบตาล รูปหางนกยูง รูปพัดวาลวิชนี รูปมงกุฎ รูปแกวมณี รูปบาตร รูปพวง


ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๐๑/๑๖๓.

Page 36 of 102
๒๓

ดอกมะลิ รูปดอกบัวขาบ รูปดอกบัวแดง รูปดอกบัวขาว รูปดอกปทุม รูปดอกบุณฑริก


รู ป หม อ เต็ ม ด ว ยน้ํ า รู ป ถาดเต็ ม ด ว ยน้ํ า รู ป มหาสมุ ท ร รู ป เขาจั ก รวาล รู ป ป า หิ ม พานต
รูปเขาสิเนรุ รูปพระจันทรพระอาทิตย รูปดาวนักษัตร รูปทวีปใหญทั้ง ๔ รูปทวีปนอย
๒,๐๐๐ ทั้งหมด โดยที่สุดถึงบริวารของพระเจาจักรพรรดิดวยเปนบริวารของจักรลักษณะ
นั่นเอง ๒ (ดูรูปภาพที่ ๗ ในภาคผนวก)

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ตารางที่ ๑ : การจัดกลุมประเภทรูปมงคลที่รายลอมกงจักรบนฝาพระบาทของพระพุทธเจา

ประเภทรูปมงคล รูปมงคลที่ปรากฏบนฝาพระบาท
๑. ประเภทศาสตรา รูปหอก รูปขอ รูปพระขรรค
๒. ประเภทดอกไมมงคล รูปดอกพุดซอน รูปพวงดอกมะลิ รูปดอกบัว
ขาบ
รูปดอกบัวแดง รูปดอกบัวขาว รูปดอกปทุม
รูปดอกบุณฑริก
๓. ประเภทเครื่องประดับและเครื่องตกแตง รูปแวนสองพระฉาย รูปสายสรอย รูปสังวาล
รูปถาดทอง รูปตั่ง รูปพัดใบตาล รูปพัดวาล
วิชนี รูปมงกุฎ รูปแกวมณี รูปบาตร รูปหมอ
เต็มดวยน้ํา รูปถาดเต็มดวยน้ํา
๔. ประเภทสัตวตาง ๆ รูปมัจฉาคู รูปหางนกยูง รูปชางอุโบสถ รูป
รูปราชสีห รูปพระยาเสือโครง พระยาหงส รูปพระยาครุฑ รูปมังกร รูปพระ
รูปพระยาเสือเหลือง ยามาอิสดร รูปชางอุโปสกะ ชางฉัตรทันต รูป
พระยานาค รูปพระยางัว
๕. ประเภทสถานที่สําคัญใน รูปปราสาท รูปเสาสะเนียด รูปเศวตฉัตร
- มนุษยโลก รูปเทวโลกหกชั้น รูปพรหมโลกสิบหกชั้น
- เทวโลก
- พรหมโลก


ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๐๔/๑๖๖.

Page 37 of 102
๒๔

๖. ประเภทธรรมชาติในจักรวาล รูปมหาสมุทร รูปเขาจักรวาล รูปพระจันทร


พระอาทิตย รูปปาหิมพานต รูปเขาสิเนรุ รูป
ทวีปใหญทั้ง ๔ ทวีปนอย ๒,๐๐๐ ทั้งหมด
๗. ประเภทพรหม พระยามาร รูปมหาพรหมสี่หนา รูปพระยามาร

๓. มีสนพระบาทยื่นยาว

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ความวา มีส นพระบาทบริ บูร ณ อธิบายว า ส น พระบาทของพระมหาบุ รุษ ไม
เหมือนสนเทาของคนอื่นที่ยาว ลําแขงตั้งอยูสุดสนเทาเปนเหมือนตัดสนเทาตั้งอยูฉะนั้น แต
ของพระมหาบุรุษพระบาทมี ๔ สวน ปลายพระบาทมี ๒ สวน ลําพระชงฆตั้งอยูในสวนที่
๓ สนพระบาทในสวนที่ ๔ เปนเชนนี้กับลูกคลีหนัง ทําดวยผากัมพลสีแดง ดุจมวนดวย
ปลายเข็มแลวตั้งไว ๓

๔. มีพระองคุลียาว
นิ้วพระหัตถของพระมหาบุรุษไมเปนเหมือนนิ้วของคนอื่นที่บางนิ้วยาว บางนิ้ว
สั้น แตของพระมหาบุรุษนิ้วพระหัตถและนิ้วพระบาทยาวเหมือนของวานร ขางโคนใหญ
แลวเรียวไปโดยลําดับ ถึงปลายนิ้วเชนเดียวกับแทงหรดาลที่ขยําดวยน้ํามันยางแลวปนไว
เพราะฉะนั้นทานจึงกลาววา มีนิ้วพระหัตถยาว ๔

๕. มีพระหัตถและพระบาทออนนุม
พระมหาบุรุษมีพระหัตถและพระบาทออนดุจปุยฝายที่ยีได ๑๐๐ ครั้ง อาจรวม
ตั้งไวในเนยใส แมในเวลาพระชนมเจริญพระหัตถและพระบาทก็จักออนนุมเหมือนเมื่อพอ
ประสูติพระหัตถและพระบาทของพระโพธิสัตวนั้นออนนุม เพราะฉะนั้นพระโพธิสัตวจึงมี
พระหัตถและพระบาทออนนุม๕


ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๐๖/๑๖๗.

อางแลว.

ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๑๐/๑๗๐.

Page 38 of 102
๒๕

๖. ฝาพระหัตถ และฝาพระบาทมีลายดุจรูปตาขาย
ในระหวางพระองคุลีหนังไมติดกัน เพราะผูมีมือติดกันเปนพืดเชนนี้ ถูกกําจัด
โดยบุรุษโทษ แมบวชก็ไมได แตพระมหาบุรุษมีนิ้วพระหัตถ ๔ นิ้ว พระบาท ๕ ชิดสนิท
เปนอันเดียวกัน ก็เพราะพระองคุลีทั้งหลายชิดสนิทเปนอันเดียวกัน พระองคุลีทั้งหลายจึง
ติดกันและกัน มีลักษณะเปนขาวเหนียวตั้งอยู พระหัตถและพระบาทของพระโพธิสัตวนั้น
เปนเชนกับหนาตาง ตาขายอันชางผูฉลาดดีประกอบแลว เพราะฉะนั้น ทานจึงกลาววา มีฝา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระหัตถและฝาพระบาทมีลายดุจตาขาย๖

๗. มีขอพระบาทสูงดุจสังขคว่ํา
ในขอนี้อธิบายวาเพราะขอพระบาทตั้งอยูเบื้องบน พระบาทของพระโพธิสัตวจึง
มีพระบาทเหมือนสังขคว่ํา จริงอยู ขอเทาของคนอื่นอยูที่หลังเทา เพราะฉะนั้น เทาของคน
เหลานั้นจึงติดกัน เหมือนติดดวยสลักกลับกลอกไมไดตามสะดวก เมื่อเดินไปฝาเทาไม
ปรากฏแตขอพระบาทของพระมหาบุรุษขึ้นไปตั้งอยูเบื้องบน เพราะฉะนั้นพระวรกายทอน
บนของพระมหาบุ รุ ษ ตั้ ง แต พ ระนาภี ขึ้ น ไปจึ ง มิ ไ ด ห วั่ น ไหวเลย ดุ จ พระสุ ว รรณปฏิ ม า
ประดิษฐานอยูในเรือ พระวรกายทอนเบื้องลางยอมไหว พระบาทกลอกกลับไดสะดวก เมื่อ
ชนทั้งหลายยืนอยูขางหนาบาง ขางหลังบางแมในขางทั้งสองก็เห็นฝาพระบาทยอมปรากฏ
แตไมปรากฏเหมือนยืนอยูขางหลัง ๗

๘. มีพระชงฆเรียวดุจแขงเนื้อทราย
มีพระชงฆบริบูรณดวยหุมพระมังสะเต็ม ไมใชเนื้อสะโพกติดโดยความเปนอัน
เดียว ประกอบดวยพระชงฆเชนกับทองขาวสาลี ทองขาวเหนียว๘

๙. เมื่อประทับยืน พระหัตถจับถึงพระชานุ
พระมหาบุรุษนั้นไมคอม ไมแคระ ก็คนที่เหลือเปนคนคอมเปนคนแคระ คน
คอมกายสวนบนไมบริบูรณ คนแคระกายสวนลางไมบริบูรณ คนเหลานั้นเพราะกายไม


อางแลว.

ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๑๒/๑๗๒.

ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๑๔/๑๗๔.

Page 39 of 102
๒๖

บริบูรณ เมื่อกมลงจึงไมสามารถลูบคลําเขาได แตพระมหาบุรุษมีพระวรกายทั้งสวนบน


สวนลางบริบูรณ จึงสามารถลูบคลําได ๙ (ดูรูปภาพที่ ๑๐ ในภาคผนวก)

๑๐. มีพระคุยเรนอยูในฝก
พระมหาบุรุษมีพระคุยหะซอนอยูในฝก ดุจฝกบัวทอง ดุจคุยหะแหงโคและชาง
เปนตน เพราะเหตุนั้น พระมหาบุรุษจึงมีพระคุยหะเรนอยูในฝก มีอรรถาธิบายวา องคชาต
ควรปกปดดวยผา ๑๐

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑๑. มีพระฉวีเปลงปลั่งดุจทอง
ในขอนี้มีอรรถาธิบายวา พระมหาบุรุษเชนกับรูปทองแทงที่คลุกเคลาดวยสีแดง
ชาดแลวขัดดวยเขี้ยวเสือแลวระบายดวยดินสอแดงตั้งไว ดวยเหตุวาพระวรกายของพระมหา
บุรุษแนนสนิทละเอียดแลวจึงแสดงพระฉวีวรรณ พระมหาบุรุษมีพระฉวีคลายสีทองคํา๑๑

๑๒. มีพระฉวีละเอียดธุลีไมติดพระวรกาย
อรรถาธิบายวา ธุลีหรือมลทินไมติด คือกลิ้งเหมือนหยาดน้ํากลิ้งจากใบบัว ก็พระ
พุทธเจาทั้งปวงทรงกระทําการชําระพระหัตถเปนตน เพื่อกําหนดฤดูเพื่อผลบุญของพวกทายก
อนึ่งทรงกระทําแมโดยหลักปฏิบัตินั้นเอง ขอนี้ทานกลาวไววา ก็ภิกษุผูจะเขาไปสูเสนาสนะ
ควรชําระเทาแลวจึงเขาไป ๑๒

๑๓. พระโลมาขุมละเสน
มนุษยทั่วไปจะมีขนเกิดขุมละสองสามเสน แตพระโลมาของพระมหาบุรุษจะมี
ขุมละเสนและมีเสนพระโลมาสีดําสนิทดุจสีดอกอัญชันทั่วทั้งพระสรีระกาย และเวียนเปน
ทักขิณาวัฏได ๕ รอบ ๑๓


ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๒๒/๑๘๐.
๑๐
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๒๐/๑๗๙.
๑๑
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๑๘/๑๗๗.
๑๒
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๑๖/๑๗๖.
๑๓
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๓๒/๑๘๙.

Page 40 of 102
๒๗

๑๔. มีพระโลมชาติปลายงอนขึ้นเวียนเปนทักษิณาวัฏ
พระมหาบุ รุ ษ มี พ ระโลมชาติ มี ป ลายช อ นขึ้ น เบื้ อ งบน ตอนปลายเวี ย นเป น
ทักษิณาวรรตตั้งอยูมองดูพระพักตรงาม เพราะฉะนั้นพระมหาบุรุษมีพระโลมชาติมีปลาย
ชอนขึ้นเบื้องบน ๑๔

๑๕. มีพระวรกายตั้งตรงดุจพระกายพรหม
พระมหาบุรุษมีพระวรกายตรงเหมือนกายพรหม คือมีพระวรกายสูงตรงขึ้นไป

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ทีเดียว ความจริงโดยมากสัตวทั้งหลายยอมนอมไปในที่ทั้งสามคือที่คอที่สะเอวที่เขาทั้งสอง
สัตวเหลานั้นเมื่อนอมไปที่สะเอวยอมไปขางหลังในที่ทั้งสองพวกนั้นยอมนอมไปขางหนา
ก็สัตวบางพวกมีรางกายสูง มีขางคดบางพวกแหงนหนาเที่ยวไปเหมือนจะนับดวงดาว บาง
พวกมีเนื้อและเลือดนอยเปนเชนคนเปนโรคเสียดทอง บางพวกงอมไปขางหนาเดินตัวสั่น
อาจารยทั้งหลายกลาววา ก็พระมหาบุรุษนี้ทรงดําเนินพระวรกายตรงทีเดียวมีประมาณเทา
สวนสูง จักเปนดุจเสาทองที่ยกขึ้นในเทพนคร อนึ่งพึงทราบวาขอนี้ทานกลาววาหมายถึงขอ
ที่มหาปุริสลักษณะของพระมหาบุรุษ ซึ่งพอประสูติยังไมบริบูรณดวยประการทั้งปวงจะเจริญ
ในโอกาสตอไป๑๕ (ดูรูปภาพที่ ๒ ในภาคผนวก)

๑๖. มีพระมังสะในที่ ๗ แหงเต็มบริบูรณ


พระมหาบุรุษมีพระมังสะฟูบริบูรณดวยดี ในวันที่ ๗ สถาน คือหลังพระหัตถ
ทั้งสอง หลังพระบาททั้งสอง จะงอยพระอังสาทั้งสอง พระศอ เพราะฉะนั้น พระมหาบุรุษ
จึงชื่อวามีพระมังสะเต็มในที่ ๗ สถาน แตของคนเหลาอื่นที่หลังมือและหลังเทา เปนตน
ปรากฏเส นเลือ ดเปน ตาขา ยที่จ ะงอยบา และคอปรากฏปลายกระดูก มนุ ษย เ หลา นั้น ยอ ม
ปรากฏเหมือนเปรต พระมหาบุรุษไมปรากฏเหมือนอยางนั้น ก็พระมหาบุรุษมีพระศอเชนกับ
คลองทองคําที่เขากลึงดวยหลังพระหัตถเปนตน มีเสนเลือดเปนตาขายซอนไวเพราะมีพระมัง
สาฟูบริบูรณในที่ ๗ สถานยอมปรากฏเหมือนรูปศิลาและรูปปน ฉันนั้น๑๖

๑๔
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๑๒/๑๗๒.
๑๕
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๐๖/๑๖๗.
๑๖
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๐๘/๑๖๙.

Page 41 of 102
๒๘

๑๗. มีพระวรกายทุกสวนบริบูรณดุจลําตัวทอนหนาของราชสีห
พระมหาบุรุษมีกึ่งกายทอนบนเหมือนถึงกายทอนหนาของราชสีห เพราะฉะนั้น
พระมหาบุ รุ ษ จึ ง ชื่ อ ว า มี ส ว นพระวรกายเบื้ อ งหน า เหมื อ นกึ่ ง กายเบื้ อ งหน า แห ง ราชสี ห
เพราะวากายเบื้องหนาของราชสีหบริบูรณ กายเบื้องหลังไมบริบูรณ ก็พระวรกายทั้งหมด
ของพระมหาบุรุษบริบูรณดุจกายเบื้องหนาของราชสีห แมพระวรกายของมหาบุรุษก็เหมือน
กายของราชสีหยอมไมตั้งอยู สูง ๆ ต่ํา ๆ ดวยสามารถแหงความฟูและความแฟบ เปนตน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
แตยาวในที่ควรยาวยอมเปนอยางนั้นในที่ควรสั้น ควรล่ํา ควรเรียว ควรกวาง ควรกลม ดังที่
พระองคตรัสไววา “ดูกรภิกษุทั้งหลาย พระมหาบุรุษทรงปลื้มพระทัยนักแล เมื่อผลกรรม
ปรากฏทรงงดงามเพราะอวัยวะสวนใดยาว อวัยวะสวนนั้นยอมตั้งอยูยาว ทรงงดงามเพราะ
อวัยวะสวนใดสั้น อวัยวะสวนนั้นยอมตั้งอยูสิ้น ทรงงดงามเพราะอวัยวะสวนใดล่ํา อวัยวะ
สวนนั้นยอมตั้งอยูล่ํา ทรงงดงามเพราะอวัยวะสวนใดเรียว อวัยวะสวนนั้นยอมตั้งอยูเรียว
ทรงงดงามเพราะอวัยวะสวนใดกวาง อวัยวะสวนนั้นยอมตั้งอยูกวาง ทรงงดงามเพราะอวัยวะ
สวนใดกลม อวัยวะสวนนั้นยอมตั้งอยูกลม” อัตภาพของพระมหาบุรุษสะสมไวดวยทานจิต
บุญจิต ตระเตรียมไวดวยบารมี ๑๐ ดวยประการฉะนี้ ศิลปนทั้งปวงหรือผูมีฤทธิ์ทั้งปวงใน
โลกไมสามารถสรางรูปเปรียบได ๑๗ (ดูรูปภาพที่ ๓ ในภาคผนวก)

๑๘. มีพระปฤษฎางคราบเรียบเต็มเสมอกัน
พระมหาบุ รุ ษ มี พ ระอั ง สาเต็ ม คื อ บริ บู ร ณ เพราะเหตุ นั้ น พระมหาบุ รุ ษ จึ ง มี
ระหวางพระอังสาเต็ม อันที่จริงฐานะนั้นของคนพวกอื่นบุม หลังและทองทั้งสองปรากฏ
เฉพาะตัว แตของพระมหาบุรุษพื้นพระมังสาตั้งแตบั้นพระองคจนถึงพระศอนี้ไปปดพระ
ปฤษฎางคตั้งอยูเหมือนแผนกระดานทองที่ยกขึ้นตั้งไว ๑๘ (ดูรูปภาพที่ ๔ ในภาคผนวก)

๑๙. มีพระวรกายเปนปริมณฑลดุจปริมณฑลของตนไทร
พระมหาบุ รุ ษ มี พ ระวรกายสู ง เท า กั บ ๑ วาของพระองค พระมหาบุ รุ ษ มี ป ริ ม ณฑลดุ จ ต น
นิโครธ อธิบายวาพระมหาบุรุษแมโดยพระวรกาย ประมาณเทากันดุจตนนิโครธมีลําตนและ
กิ่งเสมอกัน เพราะจะเปน ๕๐ ศอกก็ตาม ๑๐๐ ศอกก็ตาม ยอมมีประมาณเทากันทั้งสวน
ยาวทั้งสวนกวาง กายหรือวาของคนอื่นยาวไมเทากัน เพราะฉะนั้น พระวรกายของพระมหา

๑๗
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๒๔/๑๘๒.
๑๘
อางแลว.

Page 42 of 102
๒๙

บุรุษเทากับวาของพระองค และวาของพระมหาบุรุษเทากับกายของพระองค ๑๙ (ดูรูปภาพที่


๕ ในภาคผนวก)

๒๐. มีลําพระศอกลมงามเทากันตลอด
พระมหาบุรุษมีลําพระศอเทากัน คนบางคนมีลําคอยาว คต หนา เหมือนนกกะ
เรียน เหมือนนกยาง เหมือนหมู เวลาพูดเอ็นเปนตาขาย ยอมปรากฏเสียงออกมาแหบฉันใด
ของพระมหาบุรุษไมเหมือนอยางนั้น ก็ลําพระศอของพระมหาบุรุษเปนเชนกับกลองที่เขา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
กลึงดีแลวในเวลาตรัสเอ็นเปนตาขายไมปรากฏพระสุรเสียงดังกองดุจเสียงเมฆกระหึ่ม ๒๐

๒๑. มีเสนประสาทรับรสพระกระยาหารไดดี
เสนประสาทนําไปซึ่งรสชื่อวา รสัคคสา เปนชื่อของเสนประสาทนํารสอาหาร
ของพระมหาบุรุษนั้นเลิศ เพราะเหตุนั้น พระมหาบุรุษจึงเปนผูมีปลายเสนประสาทสําหรับ
นํารสอาหารอันเลิศ มีเสนประสาทสําหรับนํารสอาหารประมาณ ๗,๐๐๐ เสน มีปลายขึ้น
เบื้องบนแลวรวมเขาที่ลําพระศอนั่นเอง พระกระยาหารแมเพียงเมล็ดงาตั้งอยู ณ ปลายพระ
ชิวหายอมแผไปทั่วพระวรกายทุกสวน ดวยเหตุนั้นแล เมื่อพระมหาบุรุษทรงเริ่มตั้งความ
เพียรอันยิ่งใหญไดยังพระวรกายใหเปนไปอยูได ดวยขาวสารเมล็ดเดียวเปนตนบาง ดวยเพียง
ผัดดองฟายมือหนึ่งบาง แตของคนอื่นเพราะไมมีอยางนั้นรสโอชาจึงไมแผไปทั่วกาย เพราะ
เหตุนั้น ชนเหลานั้นจึงมีโรคมาก๒๑

๒๒. มีพระหนุดุจคางราชสีห
พระหนุของพระมหาบุรุษดุจคางของราชสีห เพราะเหตุนั้น พระมหาบุรุษจึงมี
พระหนุดุจคางราชสีห อธิบายวา ราชสีหมีคางทอนลางบริบูรณทอนบนไมบริบูรณ แตของ
พระมหาบุรุษบริบูรณแมทั้งสองดุจคางเบื้องลางของราชสีห เปนเชนกับพระจันทรในวันขึ้น
๑๒ ค่ํา ๒๒

๑๙
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๒๒/๑๘๐.
๒๐
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๒๔/๑๘๒.
๒๑
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๒๖/๑๘๔.
๒๒
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๓๘/๑๙๔.

Page 43 of 102
๓๐

๒๓. มีพระทนต ๔๐ ซี่


มีพระทนต ๔๐ ซี่ คือขางลาง ๒๐ ซี่ ขางบน ๒๐ ซี่ พระองคผูประเสริฐ มีพระ
ทนต ๔๐ องค คนเหลาอื่นแมมีฟนครบบริบูรณก็มี ๓๒ ซี่ แตพระกุมารนี้จักมี ๔๐ องค ๒๓

๒๔. มีพระทนตเรียบเสมอกัน
พระทนตของพระมหาบุรุษจักตั้งอยูเสมอกันไมหาง ของคนเหลาอื่น ฟนบางซี่
สูง บางซี่ต่ํา บางซี่ไมเสมอกน แตของพระมหาบุรุษนี้จักเสมอกันดุจเครื่องหุมสังข ที่ชาง

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เหล็กดัด ฉะนั้น๒๔

๒๕. มีพระทนตเรียบสนิทไมหางกัน
ฟนของพวกคนอื่นหางเหมือนฟนจระเข เมื่อเคี้ยวปลาและเนื้อยอมเต็มระหวาง
ฟน แตพระทนตของพระมหาบุรุษจักไมหางดุจแถวแกววิเชียรที่ตั้งไวบนแผนกระดานทอง ๒๕

๒๖. มีพระเขี้ยวแกวขาวงาม
ฟนของบุคคลอื่นเปนฟนเสียขึ้น เพราะเหตุนั้น เขี้ยวเขาบางซี่ดําบาง ไมมีสีบาง
แตพระมหาบุรุษนี้มีพระทาฆะขาวสะอาด จักเปนพระทาฆะประกอบดวยรัศมีรุงเรืองยิ่งกวา
แมดาวประกายพฤกษ ๒๖

๒๗. มีพระชีวหาออนและยาว
พระมหาบุรุษมีพระชิวหาออนและยาว แตลิ้นของคนอื่นหนาบาง เล็กบาง สั้น
บาง กระดางบาง ไมเสมอบาง แตพระชิวหาของพระมหาบุรุษออนและยาว สมบูรณดวยสี
พระมหาบุรุษนั้นเพื่อปลดเปลื้องความสงสัยของผูที่มาเพื่อแสวงหาลักษณะนั้น เพราะพระ
ชิวหาออนจึงทรงแลบพระชิวหานั้นดุจของแข็งที่สะอาดแลวลูบชองพระนาสิกทั้งสองได
เพราะพระชิวหายาวจึงลูบชองพระกรรณทั้งสองได ทรงประกาศความที่พระชิวหานั้นออน

๒๓
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๓๔/๑๙๑.
๒๔
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๔๐/๑๙๖.
๒๕
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๓๔/๑๙๑.
๒๖
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๔๐/๑๙๖.

Page 44 of 102
๓๑

และยาวอยางนี้ จึงทรงปลดเปลื้องความสงสัยของพราหมณผูพยากรณเหลานั้นได หมายถึง


พระชิวหาที่สมบูรณดวยลักษณะทั้ง ๒ อยางนี้๒๗

๒๘. มีพระสุรเสียงดุจเสียงพรหม
แมคนพวกอื่นยอมมีเสียงขาดบาง แตกบาง เสียงเหมือนกาบาง แตพระมหาบุรุษ
จักทรงประกอบดวยเสียง เชนกับเสียงของทาวมหาพรหม ดวยวา ทาวมหาพรหมมีเสียง
แจมใส เพราะไมกลั้วดวยน้ําดีและเสมหะ กรรมแมอันพระมหาบุรุษทรงกระทําแลวยอม

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ชําระวัตถุของเสียงนั้น เพราะวัตถุบริสุทธิ์เสียงปรากฏขึ้นตั้งแตพระนาภีเปนเสียงบริสุทธิ์
ประกอบดวยองค ๘ ยอมปรากฏชัด พระมหาบุรุษตรัสเสียงนกการเวก เพราะเหตุนั้น
พระมหาบุรุษจึงตรัสมีสําเนียงดุจเสียงนกการเวก อธิบายวา พระมหาบุรุษมีพระสุรเสียงกอง
ไพเราะดุจเสียงนกการเวกอันนาชื่นชม ๒๘

๒๙. มีพระเนตรดําสนิท
พระมหาบุรุษมีพระเนตรไมดําทั้งหมด พระเนตรของพระองคประกอบดวยสี
เขียวบริสุทธิ์ยิ่งนัก เชนกับดอกสามหาวในที่ควรเขียว ในที่ควรเหลืองก็มีสีเหลือง เชนกับ
ดอกกรรณิการ ในที่ควรแดงก็มีสีแดงเชนเดียวกับดอกชบา ในที่ที่ควรขาวก็มีสีขาวเชนกับ
ดาวประกายพฤกษ ในที่ควรดําก็มีสีดําเชนกับลูกประคําดีควาย พระเนตรยอมปรากฏ เชน
กับสีหบัญชรแกวอันเผยออก ๒๙

๓๐. มีดวงพระเนตรแจมใสดุจตาลูกโคเพิ่งคลอด
ดวงพระเนตรของพระมหาบุรุษทั้งหมดนั้นแตกตางกับดวงตาของลูกโคดําเปน
ธาตุหนาแตของลูกโคแดงผองใส อธิบายวา พระมหาบุรุษมีดวงพระเนตรเชนกับโคแดงออน
ซึ่งเกิดไดครูเดียว จริงอยู ดวงตาของคนอื่นไมบริบูรณ ประกอบดวยตาถลนออกมาบางลึก
ลงไปบาง เชนตาสัตวมีชางและหนู เปนตน๓๐

๒๗
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๓๖/๑๙๓.
๒๘
อางแลว.
๒๙
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๒๘/๑๘๖.
๓๐
อางแลว.

Page 45 of 102
๓๒

๓๑. มีพระอุณาโลมระหวางพระโขนงสีขาวออนเหมือนปุยนุน
พระอุณาโลมของพระมหาบุรุษเกิดในที่สุดพระนาสิกทามกลางพระโขนงทั้งสอง
และก็ขึ้นไปเกิดในทามกลางพระนลาฏ พระอุณาโลมมีสีเสมอดวยดาวประกายพฤกษ และ
เชนกับไยฝายที่ยีได ๑๐๐ครั้ง ซึ่งเขาใสลงไปในเนยใสตั้งไว และเสมอดวยนุนไมงิ้วและนุน
เคลือ นี้เปนขอเปรียบเทียบเพราะความขาวของนุน เมื่อจับปลายเสนพระโลมาแลวดึงออกจะ
ไดประมาณครึ่งพระพาหา ครั้นปลอยเสนพระโลมาก็จะมวนเปนทักษิณาวรรตมีปลายใน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เบื้องบนตั้งอยู พระอุณาโลมนั้นยอมรุงเรืองไปดวยสิริเปนที่จับใจนักดุจฟองน้ําเงินตั้งอยู
ณ ทามกลางแผนกระดานทอง ดุจลายน้ํานมไหลออกจากหมอทอง และดุจดาวประกายพรึก
บนทองฟายอมดวยแสงอรุณนั้น๓๑

๓๒. มีพระเศียรงามบริบูรณดุจประดับดวยกรอบพระพักตร
อาศัยอํานาจประโยชน ๒ อยาง คือความที่พระนลาฏบริบูรณและความที่พระ
เศียรบริบูรณ อธิบายวา เพราะวาพื้นพระมังสะของพระมหาบุรุษนูนขึ้นตั้งแตหมวกพระ
กรรณเบื้องขวาปกพระนลาฏทั้งสิ้ นเต็มบริบู รณไปจดหมวกพระกรรณเบื้องซา ย งดงาม
เหมือนแผนอุณหิสเครื่องประดับของพระราชา ชนทั้งหลายเห็นลักษณะนี้ของพระมหาบุรุษ
ไดกระทําทําแผนพระอุณหิสสําหรับพระราชาทั้งหลาย แตชนเหลาอื่นมีศีรษะไมบริบูรณ
บางคนมีศีรษะเหมือนลิง บางคนมีศีรษะเหมือนผลไม บางคนมีศีรษะเหมือนชาง บางคนมี
ศีรษะเหมือนหมอ บางคนมีศีรษะเหมือนเงื้อมภูเขา แตพระมหาบุรุษมีพระเศียรเชนกับฟอง
น้ําบริบูรณดีดุจมวนดวยปลายเข็มตั้งไว ในสองนัยนั้น ในนัยแรกพระกุมารมีพระเศียรดุจพระ
เศียรเปนปริมณฑลในที่ทั้งปวงดุจอุณหิส เพราะเหตุนั้นจึงชื่อวามีพระเศียรเปนปริมณฑลดุจ
อุณหิส ๓๒

จากการศึ กษาพบวา นอกเหนือ จากมหาบุ รุษ ๓๒ ประการแล ว ยัง ปรากฏ


ลั ก ษณะข อ ปลี ก ย อ ยหรื อ องค ป ระกอบย อ ยของพระมหาบุ รุ ษ ที่ นิ ย มเรี ย กว า “อสี ต ยานุ
พยัญชนะ” หรือ “อนุพยัญชนะ ๘๐ ประการ” ของพระพุทธเจา ดังตอไปนี้ (ดูอนุพยัญชนะ
สําคัญบางประการรูปภาพที่ ๖ ในภาคผนวก)

๓๑
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๓๒/๑๘๙.
๓๒
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๓๐/๑๘๗.

Page 46 of 102
๓๓

๑. นิ้วพระหัตถและนิ้วพระบาทเรียวแหลมตั้งแตโคนจนถึงปลายนิ้ว
๒. นิ้วพระหัตถและนิ้วพระบาทกลมงามดุจกลึงไว
๓. พระนขา (เล็บ) มีสีแดงสวยงาม
๔. ปลายเล็บพระหัตถ ๑๐ นิ้ว มีปลายงอนขึ้นสวยงาม (ดูรูปภาพที่ ๑๒
ในภาคผนวก)
๕. พระโขนง (คิ้ว) มีวรรณะเกลี้ยงกลมดําสนิทสวยงาม

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๖. พระบาทและขอพระหัตถซอนอยูในพระมังสะไมปรากฏนูนขึ้น
๗. ขอพระบาทและขอพระหัตถซอนอยูในพระมังสะไมปรากฏนูนขึ้น
๘. ทรงพระดําเนินสงางามดุจโคอสุภะ
๙. ขณะพระดําเนินจะยกพระบาทขวากอน พระกายเบื้องขวายักยายตาม
๑๐. พระชานุ (หัวเขา) เกลี้ยงกลม ไมปรากฏลูกสะบา
๑๑. มีพระลักษณะบุรุษสมบูรณไมมีกิริยาสตรี
๑๒. มีพระนาภี (สะดือ) กลมงามไมบกพรอง
๑๓. หนาพระอุทร (ทอง) สัณฐานลึก
๑๔. หนาพระอุทร มีลายเวียนเปนทักษิณาวรรต (เวียนขวา)
๑๕. ลําพระเพลา ทั้ง ๒ (ทอนขา) กลมงามเหมือนทอนกลวย
๑๖. ลําพระกรทั้ง ๒ (แขน) กลมงามเหมือนงาชาง
๑๗. พระอวัยวะนอยใหญงามบริบูรณหาที่ตําหนิมิได
๑๘. พระมังสะที่ควรหนาก็หนา ที่ควรบางก็บาง
๑๙. พระมังสะมิไดหดและเหี่ยวยนในที่ใดที่หนึ่ง
๒๐. มีพระสรีระทั้งปวงปราศจากไฝและปาน
๒๑. มีพระสรีระทั้งปวงปราศจากมูลแมลงวัน
๒๒. พระวรกายบริสุทธิ์ทั้งเบื้องบนและเบื้องลาง
๒๓. พระวายการบริสุทธิ์ปราศจากมลทินทั้งปวง
๒๔. ทรงมีพระกําลังมากเทากับชางลานเชือก
๒๕. พระนาสิก (จมูก) สูงโดงสวยงาม
๒๖. สัณฐานพระนาสิกงามแฉลมแชมชอย
๒๗. ริมพระโอษฐเบื้องบนเบื้องลางเสมอกันดี มีสีแดงดุจผลตําลึงสุก

Page 47 of 102
๓๔

๒๘. มีพระทนตบริสุทธิ์ปราศจากมลทินทั้งปวง
๒๙. มีพระทนตขาวบริสุทธิ์ดุจเปลือกหอยสังข
๓๐. มีพระทนตเกลี้ยงสนิทไมมีริ้วรอย
๓๑. มีพระอินทรีย ๕ มีจักขุนทรียเปนตนงามบริสุทธิ์
๓๒. มีพระเขี้ยวแกวทั้ง ๔ กลมสมบูรณดี
๓๓. ดวงพระพักตรสัณฐานยาวรูปไข

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๓๔. พระปรางคทั้งสองเต็มอิ่มบริบูรณ
๓๕. ลายพระหัตถทั้งสองมีรอยลึก
๓๖. ลายพระหัตถท้งั สองมีรอยยาว
๓๗. ลายพระหัตถทั้งสองมีรอยเสนตรงไมคด
๓๘. ลายพระหัตถทั้งสองมีรอยสีแดงรุงเรือง
๓๙. พระวรกายมีรัศมีสวางรอบเปนปริมณฑล
๔๐. กระพุงพระปรางทั้ง ๒ เต็มอิ่มบริบูรณ
๔๑. กระบอกพระเนตรทั้ง ๒ ขาง กวางและยาวเสมอกัน
๔๒. ดวงพระเนตรประกอบดวยประสาททั้ง ๔ ผองใสบริสุทธิ์
๔๓. ปลายเสนพระโลมา (ขน) ตรงไมคดงอ
๔๔. พระชิวหา (ลิ้น) มีสัณฐานสวยงาม
๔๕. พระชิวหาออนไมกระดาง
๔๖. พระชิวหามีสีแดงเขมสวยงาม
๔๗. พระกรรณ (หู) ทั้ง ๒ ขางมีสัณฐานยาวเหมือนกลีบดอกบัว
๔๘. พระกรรณทั้ง ๒ มีสัณฐานกลมงาม
๔๙. พระเสน (เอ็น) ทั้งหลายเปนระเบียบดีงาม
๕๐. พระเสนทั้งหลายไมหดขอด
๕๑. พระเสนทั้งหลายฝงอยูในพระมังสะไมนูนขึ้นใหเห็น
๕๒. มีพระเศียรสัณฐานงามเหมือนฉัตรแกว
๕๓. พระนลาฏ (หนาผาก) กวางยาวเสมอกันสวยงาม
๕๔. พระนลาฏ มีสัณฐานกลมสวยงาม
๕๕. พระโขนง (คิ้ว) โกงงามเหมือนคันธนู

Page 48 of 102
๓๕

๕๖. เสนพระโขนงละเอียดสวยงาม
๕๗. เสนพระโขนงราบเรียบโดยลําดับสวยงาม
๕๘. พระโขนงทั้ง ๒ ใหญพองาม
๕๙. พระโขนงยาวจนสุดหางพระเนตร
๖๐. ผิวพระมังสะละเอียดเหมือนเนื้อทอง
๖๑. พระวรกายรุงเรืองไปดวยพระสิริ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๖๒. พระวรกายมิไดมัวหมอง ผองใสอยูเปนนิตย
๖๓. มีพระวรกายสดชื่นอยูตลอดเวลาดุจดอกปทุมชาติ
๖๔. พระวรกายสัมผัสออนนุมสนิทไมแข็งกระดาง
๖๕. พระวรกายมีกลิ่นหอมฟุงดุจกลิ่นสุคันธชาติกฤษณา
๖๖. เสนพระโลมา (ขน) เสมอเหมือนกันหมด
๖๗. เสนพระโลมาละเอียดเสมอกันหมดทั่วสรรพางคกาย
๖๘. ลมอัสสาสะ ปสสาสะ หายพระทัยเขาออกเดินสะดวก
๖๙. พระโอษฐมีสัณฐานงดงามดุจดอกบัวแยม
๗๐. กลิ่นพระโอษฐหอมเหมือนดอกอุบล
๗๑. พระเกศาดําสนิทเปนเงางาม
๗๒. กลิ่นพระเกศามีกลิ่นหอม
๗๓. กลิ่นพระเกศาหอมดุจดอกโกมลบุปผาชาติ
๗๔. พระเกศามีสัณฐานกลมสลวยทุกเสน
๗๕. เสนพระเกศาดําสนิทเหมือนกันทุกเสน
๗๖. เสนพระเกศาละเอียดออนทุกเสน
๗๗. เสนพระเกศาขอดเปนทักษิณาวรรตทุกเสน
๗๘. เสนพระเกศาขอดเปนปลายแหลมเหมือนกนหอย
๗๙. เสนพระเกศามีรัศมีรุงเรือง
๘๐. เสนพระเกศามวนเปนขอดยอดแหลมบนพระเศียร ๓๓

๓๓
จันทร ชูแกว, พระพุทธประวัติ : มหาบุรุษแหงชมพูทวีป, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙), หนา ๒๗-๒๙.

Page 49 of 102
๓๖

(ดูภาพประกอบการศึกษาเกี่ยวกับอนุพยัญชนะบางประการของพระพุทธเจาใน
ภาคผนวก)

ตารางที่ ๒ : การจัดกลุมมหาปุริสลักษณะและอนุพยัญชนะ

มหาปุริสลักษณะ ๓๒ อนุพยัญชนะ ๘๐

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑. มหาปุริสลักษณะที่ ๑ : มีฝาพระบาทราบ อนุพยัญชนะที่ ๖ : พระบาทและขอพระหัตถ
เสมอกัน ซอนอยูในพระมังสะ
๒. มหาปุริสลักษณะที่ ๒ : พื้นฝาพระบาททั้ง -
สองมีจักร ๒ จักร ซึ่งมีคําขางละ ๑,๐๐๐ ซี่
มีกง มีดุม ฯลฯ
๓. มหาปุริ ส ลัก ษณะที่ ๓ : ส น พระบาทยื่ น -
ยาว
๔. มหาปุริสลักษณะที่ ๔ : มีพระองคุลียาว อนุพยัญชนะที่ ๑ : นิ้วพระหัตถและนิ้วพระ
บาทเรียวแหลมตั้งแตโคนจนถึงปลายนิ้ว
๕. มหาปุริสลักษณะที่ ๕ : มีพระหัตถและ -
พระบาทออนนุม
๖. มหาปุริสลักษณะที่ ๖ : ฝาพระหัตถและฝา อนุพยัญชนะที่ ๓๕, ๓๖, ๓๗, ๓๘ ดังนี้
พระบาทมีลายดุจรูปตาขาย ๓๕. ลายพระหัตถทั้งสองมีรอยลึก
๓๖. ลายพระหัตถทั้งสองมีรองยาว
๓๗. ลายพระหั ต ถ ทั้ ง สองมี ร อยเส น ตรง
ไมคด
๓๘. ลายพระหัตถทั้งสองมีรอยสีแดงรุงเรือง
๗. มหาปุ ริ ส ลั ก ษณะที่ ๗ : มี ข อ พระบาท อนุพยัญชนะที่ ๗ : ขอพระบาทและขอพระ
ตั้งอยูเบื้องบน พระบาทดุจสังขคว่ํา หัตถซอนอยูในพระมังสะ ไมปรากฏนูนขึ้น
๘. มหาปุริสลักษณะที่ ๘ : มีพระชงคเรียวดุจ -
แขงเนื้อทราย
๙. มหาปุริสลักษณะที่ ๙ : เมื่อประทับยืนพระ -

Page 50 of 102
๓๗

หัตถจับถึงพระชานุ
๑๐. มหาปุริ สลักษณะที่ ๑๐ : มีพ ระคุย ฐาน -
เรนอยูในฝก
๑๑. มหาปุริสลักษณะที่ ๑๑ : มีพระฉวีเปลง อนุ พ ยั ญ ชนะที่ ๒๐ : มี พ ระสรี ร ะทั้ ง ปวง
ปลั่งดังทองคํา ปราศจากไฝและปาน
๑๒. มหาปุ ริ ส ลั ก ษณะที่ ๑๒ : มี พ ระฉวี อนุ พ ยั ญ ชนะที่ ๖๐ : ผิ ว พระมั ง สะละเอี ย ด

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ละเอียดธุลีไมติดพระวรกายได เหมือนเนื้อทอง
๑๓. มหาปุริสลักษณะที่ ๑๓ : มีพระโลมาขุม อนุพยัญชนะที่ ๖๖, ๖๗ :
ละเสน ๖๖. เส น พระโลมา (ขน) เสมอเหมื อ นกั น
หมด
๖๗. เสนพระโลมาละเอียดเสมอกันหมดทั่ว
สรรพางคกาย
๑๔. มหาปุริสลักษณะที่ ๑๔ : มีพระโลมชาติ -
ปลายงอนขึ้น เวียนเปนทักษิณ
๑๕. มหาปุริสลักษณะที่ ๑๕ : มีพระวรกายตั้ง อนุ พ ยั ญ ชนะที่ ๑๑ : มี พ ระลั ก ษณะบุ รุ ษ
ตรงดุจกายพรหม สมบูรณไมมีกิริยาสตรีปน
๑๖. มหาปุริสลักษณะที่ ๑๖ : มีพระมังสะใน อนุพยัญชนะที่ ๑๙ : พระมังสะมิไดหดและ
ที่ ๗ แหงเต็มบริบูรณ เหี่ยวยนในที่ใดที่หนึ่ง
๑๗. มหาปุริสลักษณะที่ ๑๗ : มีพระวรกาย อนุพยัญชนะที่ ๒๒ : พระวรกายบริสุทธิ์ทั้ง
ทุ ก ส ว นบริ บู ร ณ ดุ จ ลํ า ตั ว ท อ นหน า ของ เบื้องบนและเบื้องลาง
ราชสีห
๑ ๘ . ม ห า ปุ ริ ส ลั ก ษ ณ ะ ที่ ๑ ๘ : มี พ ร ะ อนุพยัญชนะที่ ๒๗ : มีริมพระโอษฐเบื้องบน
ปฤษฎางคราบเรียบเต็มเสมอกัน เบื้องลางเสมอกันดี มีสีแดงดุจผลตําลึงสุก
๑๙. มหาปุ ริ ส ลั ก ษณะที่ ๑๙ : มี พ ระวรกาย -
เปนปริมณฑลดุจปริมณฑลของตนไทร พระ
วรกายสูงเทากับ ๑ วาของพระองค
๒๐. มหาปุ ริ ส ลั ก ษณะที่ ๒๐ : มี ลํ า พระศอ -
กลมงามเทากันตลอด

Page 51 of 102
๓๘

๒๑. มหาปุริสลักษณะที่ ๒๑ : มีเสนปราสาท -


รับรสพระกระยาหารไดดี
๒๒.มหาปุริสลักษณะที่ ๒๒ : มีพระหนุดุจ -
คางราชสีห
๒๓.มหาปุ ริ ส ลั ก ษณะที่ ๒๓ : มี พ ระทนต -
๔๐ ซี่

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒๔ มหาปุ ริ ส ลั ก ษณะที่ ๒๔ : มี พ ระทนต อนุพยัญชนะที่ ๓๐ : มีพระทนตเกลี้ยงสนิท
เรียบเสมอกัน ไมมีริ้วรอย
๒๕ มหาปุ ริ ส ลั ก ษณะที่ ๒๕ : มี พ ระทนต อนุ พ ยั ญ ชนะที่ ๒๘ : มี พ ระทนต บ ริ สุ ท ธิ์
เรียบสนิทไมหางกัน ปราศจากมลทินทั้งปวง
๒๖ มหาปุริสลักษณะที่ ๒๖ : มีพระเขี้ยวแกว อนุพยัญชนะที่ ๒๙ : มีพระทนตขาวบริสุทธิ์
ขาวงาม ดุจเปลือกหอยสังข
๓๒ : มีพระเขี้ยวทั้ง ๔ กลมสมบูรณดี
๒๗ มหาปุริส ลักษณะที่ ๒๗ : มีพระชิวหา อนุ พ ยั ญ ชนะที่ ๔๕ : มี พ ระชิ ว หาอ อ นไม
ออนและยาว กระดาง
๒๘ มหาปุริสลักษณะที่ ๒๘ : มีพระสุรเสียง อนุ พ ยั ญ ชนะที่ ๔๔ : มี พ ระชิ ว หา (ลิ้ น )
ดุจเสียงพรหม มีสัณฐานกลมและ
๔๖ : มีพระชิวหามีสีแดงเขมสวยงาม
๒๙ มหาปุริสลักษณะที่ ๒๙ : มีพระเนตรดํา อ นุ พ ยั ญ ช น ะ ที่ ๔ ๒ : ด ว ง พ ร ะ เ น ต ร
สนิท ประกอบดวยประสาททั้ง ๔ ผองใสบริสุทธิ์
๓๐. มหาปุริสลักษณะที่ ๓๐ : มีดวงพระเนตร อ นุ พ ยั ญ ช น ะ ที่ ๒ ๙ : ด ว ง พ ร ะ เ น ต ร
แจมใสดุจตาลูกโคเพิ่งคลอด ประกอบดวยประสาททั้ง ๔ ผองในบริสุทธิ์
๓๑. มหาปุริสลักษณะที่ ๓๑ : มีพระอุณาโลม -
ระหวางพระโขนงสีขาวออนเหมือนปุยนุน
๓๒. มหาปุ ริ ส ลั ก ษณะที่ ๓๒ : มี พ ระเศี ย ร อนุพยัญชนะที่ ๕๒ : มีพระเศียรสัณฐานงาม
งามบริบูรณดุจประดับดวยกรอบพระพักตร เหมือนฉัตรแกว

Page 52 of 102
๓๙

๓.๒ วิเคราะหมหาปุริสลักษณะและอนุพยัญชนะแงบุคลาธิษฐาน
ในประเด็นนี้ ผูวิจัยมุงศึกษาวิเคราะหเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะและอนุพยัญชนะ
ของพระพุทธเจาเฉพาะประเด็นที่เห็นวาอาจเปนที่เคลือบแคลงสงสัยของพุทธศาสนิกชน
ตลอดทั้งผูที่มีความสนใจศึกษาในเรื่องนี้ โดยผูวิจัยจะศึกษาวิเคราะหในแงบุคลาธิษฐานจาก
ฐานความรูที่ไดจากศึกษาคนควาจากเอกสารตาง ๆ รวมทั้งวิเคราะหจากความคิดเห็นของ
ผูวิจัยเอง ดังผลการศึกษาตอไปนี้

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๓.๒.๑ รูปจักรและรูปมงคล ๑๐๘ (ดูรูปภาพที่ ๗ ในภาคผนวก)
ตามคติอินเดียโบราณ เชื่อวาพระพุทธเจามีพุทธลักษณะสําคัญประการหนึ่ง คือ
กลางฝาพระบาทเปนรูปจักรแวดลอมดวยรูปมงคล ๑๐๘ ประการ เชน ประสาท หอยสังข
ชางแกว ฯลฯ อันแสดงถึงพระบุญญาบารมีอันยิ่งใหญไพศาล ซึ่งปรากฏใหเห็นภาพชัดเจน
บนพระพุทธบาทจําลอง ดังที่ไดเห็นตามวัดตางๆ
รูปจักรที่ปรากฏบนกลางฝาพระบาทของพระพุทธเจา หากอธิบายวิเคราะหแง
บุคลาธิษฐาน หมายถึง ธรรมจักรหรือกงลอแหงธรรมตลอดระยะเวลา ๔๕ ป ที่พระองค
เสด็จจาริกไปยังแวนแควน เมือง ตําบล หมูบานตาง ๆ เพื่อแสดงธรรมโปรดประชาชนใหมี
ความเห็ น ที่ ถู ก ต อ ง บางคนตั้ ง มั่ น ในพระรั ต นตรั ย บางคนได บ รรลุ เ ป น อริ ย บุ ค คล คื อ
โสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี และพระอรหันตตามบารมีธรรมของตน เปนดัชนีชี้วัดใหเห็น
ชั ด เจนว า การเสด็ จ จาริ ก ไปยั ง สถานที่ ต า ง ๆ ของพระพุ ท ธเจ า มี เ ป า หมายหลั ก คื อ เพื่ อ
ประโยชนเกื้อกูล เพื่อประโยชนสุขของมหาชน และเพื่ออนุเคราะหแกชาวโลก (พหุชนหิ
ตาย พหุชนสุขาย โลกานุกมฺปาย)
ดวยเหตุนี้ การปรากฏรูปจักรบนฝาพระบาทของพระพุทธเจามีนัยสําคัญที่อาจจะ
วิเคราะหไดวา การเสด็จจาริกไปสูสถานที่ตาง ๆ ของพระองคเปนดุจการหมุนไปของกงลอ
แหงธรรม อันกอเกิดประโยชนสุข เกื้อกูลแกมหาชนตราบจนเสด็จดับขันปรินิพพาน
สวนรูปมงคลตาง ๆ ที่รายลอมกงจักรมีอยูหลายประเภท ไดแก ศาสตรา ดอกไม
มงคล เครื่องประดับและเครื่องตกแตง สัตวตาง ๆ สถานที่สําคัญในโลกมนุษย เทวโลกและ
พรหมโลก ธรรมชาติในจักรวาล รูปกินนร พระยามาร พรหม ซึ่งสวนใหญเปนบริวารของ
จักรพรรดิผูยิ่งใหญ และที่รายลอมกงจักรมีนัยสําคัญที่อาจจะวิเคราะหเชิงบุคลาธิษฐานไดวา
พระพุทธเจาทรงไดรับการยกยองวาเปนธรรมราชา เปนราชาผูยิ่งใหญเหนือกวาราชาทั้งปวง
รวมทั้งเหนือกวาจักรพรรดิราช กงจักรบนฝาพระบาทของพระองคเปนดุจสัญลักษณแหง

Page 53 of 102
๔๐

ความเปนธรรมราชาที่หมุนไปเพื่อประโยชนสุข เกื้อกูลแกมวลมนุษยในทิศทั้งสี่ รวมทั้ง


เทวโลก มารโลกและพรหมโลก ดังบทสรรเสริญพุทธคุณวา “พระผูมีพระภาคเจาพระองค
ใดไดทรงทําความดับทุกขใหแจงดวยพระปญญาอันยิ่งเองแลว ทรงสอนโลกนี้พรอมทั้ง
เทวดา มาร พรหม และหมูสัตวพรอมสมพราหมณ และมนุษยใหรูแจงตาม” โดยนัยนี้ รูป
มงคลเปนดุจสัญลักษณแหงความเปนบริวารแหงธรรมราชา พระพุทธโฆสาจารยอธิบายวา
รูปมงคลตางๆ ที่แวดลอมจักร หมายถึง บริวารของพระเจาจักรพรรดิราช ๓๔

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๓.๒.๒ พระกําลังเสมอชางลานเชือก
จากการศึกษาพบวา ในคัมภีรพระปฐมสมโพธิกถาไดกลาวถึงพระกําลังเสมอชาง
ลานเชือกนี้วา “เสมอดวยกําลังแหงกุญชรชาติ ประมาณพันโกฏิชาง ถาจะประมาณดวย
กําลังบุรุษนั้น”
นอกจากนี้ ผูวิจัยยังศึกษาพบวา ในตําราพุทธประวัติไดกลาวถึงพระกําลังเสมอ
ชางลานเชือก ดังนี้
พระกําลังเสมอชางลานเชือกนี้มีอธิบายดังนี้ เมื่อพระมหาบุรุษทรงบําเพ็ญทุกร
กิ ริ ย าอย า งหนั ก ก็ เ พื่ อ ยกเศวตฉั ต รทั้ ง ๓ คื อ เศวตฉั ต รของความเป น มนุ ษ ย ที่ ส มบู ร ณ ๑
เศวตฉัตรแหงความเปนเทวดา ๑ และเศวตฉัตรของความเปนแหงความหลุดพนจากกิเลส
ตัณหาทั้ งหลายเพื่อจะไดพุ ทธเขตทั้ง ๓ คือ ชาติ เ ขต อาณาเขต และวิสั ยเขต และเพื่ อ
เอาชนะพระสวัสสวดีมาราธิราชแลวไดรับการตรัสเปนพระพุทธเจาที่เรียกวา พุทธสมบัติ
พุทธสมบัตินี้จะมาดวยพละคือกําลัง ๒ ประเภท ดังนี้คือ
๑. กํ า ลั ง พระวรกายของพระองค เ อง ซึ่ ง มี พ ระกํ า ลั ง เท า กั บ บุ รุ ษ ธรรมดา
ประมาณ ๔๐๐ ลานคน หรืออาจมากกวานี้ก็ไดมีวิธีเปรียบเทียบ ดังนี้
บุรุษ ๑๐ มีกําลังเทาชางกาฬาวกะ ๑ เชือก ชางกาฬาวกะ ๑๐ เชือก มีกําลัง
เทากับชางคังไคย ๑ เชือก
ชางคังไคย ๑๐ เชือก มีกําลังเทาชางบัณฑระ ๑ เชือก ชางบัณฑระ ๑๐ เชือก
มีกําลังเทากับชางตามพะ ๑ เชือก
ชางตามพะ ๑๐ เชือก มีกําลังเทากับมังคละ ๑ เชือก ชางปงคละ ๑๐ เชือก มี
กําลังเทากับชางปงคะ ๑๐ เชือก มีกําลังเทาชางคันธะ ๑ เชือก

๓๔
ที.ม.อ. ๑๒/๑๑๗.

Page 54 of 102
๔๑

ชางคันธะ ๑๐ เชือก มีกําลังเทาชางมังคละ ๑ เชือก ชางมังคละ ๑๐ เชือกมี


กําลังเทากับชางเหมะ ๑ เชือก
ชางเหมะ ๑๐ เชือก มีกําลังเทาชางอุโบสถ ๑ เชือก ชางอุโบสถ ๑๐ เชือก มี
กําลังเทาชางฉัททันต ๑ เชือก
ชางฉัททันต ๑๐ เชือก มีกําลังเทาพระมหาบุรุษ ๑ พระองค ๓๕
พระมหาบุรุษมีพระกําลังมากมายขนาดนี้ แตก็ยังไมสามารถที่จะเอาชนะทุกข

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เหตุใหเกิดทุกข ความดับทุกข และอริยมรรค ๘ ได จําเปนตองอาศัยกําลังที่ ๒ มีดังตอไปนี้
กําลังที่ ๒ ไดแก กําลังของบารมี ๑๐ ทัศ หรือ ๓๐ ทัศ กําลังแหงทศพลญาณ
และกําลังแหงอภิญญา ๖ ดังตอไปนี้

กําลังแหงทศบารมี ประกอบดวย
๑) ทาน เปนผูมีจิตยินดีในการให ในการเสียสละเพื่อประโยชนสุขของผูอื่น
๒) ศี ล เป น ผู มี จิ ต ยิ น ดี ใ นการรั ก ษาศี ล มี ค วามประพฤติ เ รี ย บร อ ยดี ง ามและ
ถูกตองตามระเบียบวินัย
๓) เนกขัมมะ เปนผูมีจิตยินดีในการปลีกตัวออกจากความหมุกมุนในกามคุณ
เพื่อประพฤติพรหมจรรย
๔) ปญญา เปนผูมีความรอบรูและมีเหตุผล สามารถแยกแยะผิดถูก ชั่วดี เปนที่
พึ่งของผูอื่นได
๕) วิริยะ เปนผูมีความเพียร มีความแกลวกลาไมเกรงกลัวตออุปสรรคใดๆ ใน
การบําเพ็ญคุณประโยชนแกตนเอง แกผูอื่นและแกสวนรวม
๖) ขันติ เปนผูมีความอดทนในการดําเนินชีวิตและอดกลั้นตอสิ่งยั่วยุไมลุอํานาจ
แหงกิเลสทั้งปวง
๗) สัจจะ เปนผูยึดมั่นในความสัตยจริง พูดจริงและทําจริง
๘) อธิษฐาน เปนผูมีจิตใจมุงมั่น เด็ดเดี่ยวในการดําเนินชีวิตใหบรรลุเปาหมาย
ตามที่ตั้งความหวังไวอยางไมยอทอ

๓๕
สมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส, พระปฐมสมโพธิถา, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพเลี่ยงเชียง,
๒๕๓๐), หนา ๖๙.

Page 55 of 102
๔๒

๙) เมตตา เปนผูมีจิตไมตรี มีความปรารถนาดีและหวงใยตอความสุขของผูอื่น


อยูเสมอ
๑๐) อุเบกขา เปน ผูว างใจเปน กลาง เที่ ย งธรรม ไมมีอ คติ เ พราะชอบ เพราะ
เกลียด เพราะกลัวหรือเพราะหลง ๓๖

กําลังแหงทศพลญาณ ประกอบดวย
๑) ฐานาฐานญาณ เปนผูปรีชาหยั่งรูฐานะและอฐานะ สิ่งที่เปนไปไดและเปนไป

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ไมได เกี่ยวกับสิ่งตางๆ รวมถึงสมรรถภาพของบุคคล
๒) กรรมวิปากญาณ เปนผูปรีชาหยั่งรูกรรมและผลแหงกรรม
๓) สัพพัตถคามินีปฏิปทาญาณ เปนผูปรีชาหยั่งรูขอปฏิบัติใหเขาถึงประโยชน
ปจจุบัน ประโยชนอนาคตและประโยชนสูงสุด
๔) นานาธาตุญาณ เปนผูสามารถจําแนกสภาวะของโลกอันประกอบดวยธาตุ
ตางๆ ทั้งที่เปนอุปาทินนกสังขารและอนุปาทินนกสังขาร
๕) นานาธิมุตติกญาณ เปนผูปรีชาหยั่งรูอัธยาศัย ความโนมเอียง ความสนใจ
และรูอุปนิสัยของสรรพสัตว
๖) อิน ทริ ย ปโรปริยั ตตญาณ เปน ผู ป รี ช าหยั่ ง รูค วามยิ่ง และความหยอ นแห ง
อินทรียของสรรพสัตว
๗) ฌานาทิสังกิเลสาทิญาณ เปนผูปรีชาหยั่งรูความเศราหมอง ความผองแผว
ของจิตมนุษย และมีความเชี่ยวชาญในฌานและสมาบัติ
๘) ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เปนผูสามารถระลึกชาติในอดีตได
๙) จุตูปปาตญาณ เปนผูปรีชาหยั่งรูการจุติและการอุบัติของสรรพสัตว
๑๐) อาสวักขยญาณ เปนผูปรีชาหยั่งรูความสิ้นไปแหงอาสวะทั้งหลาย ๓๗

กําลังแหงอภิญญา ๖ ประกอบดวย
๑) อิทธิวิธา เปนผูสามารถแสดงฤทธิ์ตางๆ ไดยิ่งกวาผูอื่น
๒) ทิพพโสต เปนผูมีหูทิพย

๓๖
ขุ.พุทธ. (ไทย) ๓๓/๑/๕๕๓.
๓๗
องฺ.ทสก. (ไทย) ๒๔/๒๑/๔๓-๔๗.

Page 56 of 102
๔๓

๓) เจโตปริยญาณ เปนผูหยั่งรูจิตใจของผูอื่นได
๔) ปุพเพนิวาสานุสสติ เปนผูสามารถระลึกชาติได
๕) ทิพพจักขุ เปนผูมีตาทิพย
๖) อาสวักขยญาณ เปนผูสามารถกําจัดอาสวะไดสิ้นเชิง ๓๘

เพราะเหตุที่พระพุทธเจาทรงมีกําลังแหงบารมี กําลังแหงพระทศพลญาณและมี
กําลังแหงอภิญญาญาณ ๖ ดังกลาว จึงสามารถเอาชนะเทวบุตรมารและสามารถตรัสรูเปน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระอนุตรสัมมาสัมพุทธเจาและสามารถหมุนกงลอแหงพระธรรมใหแผไพศาลไดเหนือกวา
ผูอื่นในยุคของพระองค ถึงแมวาจะมีปญหาและอุปสรรคมากมายก็ตาม

๓.๒.๓ พระรัศมีรอบพระวรกาย (ดูรูปภาพที่ ๘ ในภาคผนวก)


รัศมีรอบพระวรกายของพระพุทธเจาเปนอนุพยัญชนะที่ ๓๙ ซึ่งวิเคราะหได
หลายแงมุมตามความเห็นของผูวิจัย กลาวคือ
๑) เปนรัศมีแหงพระบริสุทธิคุณของพระองคที่ทรงเปนผูปราศจากมลทินหรือ
กิเลสเครื่องเศราหมอง
๒) เปนรัศมีแหงพระมหากรุณาธิคุณของพระองคที่แผกระจายสูสรรพสัตวในทิศ
ทั้งปวงอยางไรขอบเขตจํากัดในเรื่องชนชั้น วรรณะ ผิวพรรณ หรือเพศ ซึ่งเปนพระมหา
กรุณาจิตที่เปนสากล
๓) เปนรัศมีแหงปญญาของพระองคที่แผกระจายสูทิศทั้งปวงเพื่อกําจัดความมืด
แหงอวิชชาที่ครอบงําสรรพสัตวใหเวียนวายตายเกิดในสังสารวัฏอันไรเบื้องตนและเบื้อง
ปลายนี้
๔) เปนรัศมีแหงธรรมที่แผกระจายไปสูทุกทิศและกวางไกลไรพรมแดน เพื่อให
แสงสวางชี้ทางพนจากความทุกขแกสรรพสัตว
การที่พระพุทธเจาเสด็จไปที่แหงใด รัศมีแหงพระบริสุทธิคุณ รัศมีแหงพระมหา
กรุณาธิคุณ รัศมีแหงพระปญญาธิคุณและรัศมีแหงพระธรรม ก็แผกระจายไปถึงที่นั้นและยัง
แสงสวางแหงปญญาและประโยชนสุขใหเกิดขึ้นแกสรรพสัตวสมกับเปนภควา คือผูเสด็จไป
ดีแลว หรือผูเสด็จไปเพื่อประโยชนเกื้อกูลแกสรรพสัตว

๓๘
องฺ.ฉกฺก. (ไทย) ๒๒/๒/๔๑๒-๔๑๔.

Page 57 of 102
๔๔

๓.๒.๔ พระกรรณมีสัณฐานยาว (ดูรูปภาพที่ ๙ ในภาคผนวก)

จากการศึกษาวิเคราะหเกี่ยวกับพระกรรณของพระพุทธเจาที่มีสัณฐานยาว อันเปน
อนุพยัญชนะที่ ๔๗ เชิงบุคลาธิษฐาน มุงสอนใหเปนผูมีความหนักแนน ไมออนไหวไปตาม
กระแสจนกวาจะพิจารณาใหเห็นจริง หลายกรณีอื่นที่เราไดเห็นภาวะความเปนผูหนักแนน
มั่นคงของพระพุทธเจาเมื่อถูกพวกพราหมณจางคนใหไปดาพระองคดวยคําหยาบคายสารพัด
แตพระองคก็ไมทรงหวั่นไหว จนบางครั้งพระอานนททนอยูไมไดจึงกราบทูลพระพุทธเจาให

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เสด็จไปที่อื่น พระองคตรัสถามวา หากไปที่อื่นมีคนดาอีกจะทําอยางไร พระอานนททูลวาก็
เสด็จไปเมืองอื่นที่ไมมีคนดา พระพุทธเจาตรัสเตือนสติพระอานนทและหมูภิกษุทั้งหลายวา
หากเราไมไดเปนอยางที่คนอื่นเขาดาก็ไมพึงแสดงอาการโกรธ ควรทําใจใหสงบเย็น เมื่อชน
เหลานั้นเขาใจตามความเปนจริงแลวก็จะเลิกดาไปเอง พระภิกษุทั้งหลายก็มากราบทูลให
พระพุทธเจาทราบอีก พระองคตรัสวา “ชนทั้งหลายผูไมสํารวมยอมทิ่มแทงชนเหลาอื่นดวย
วาจาเหมือนเหลาทหารที่เปนขาศึกทิ่มแทงขาศึกที่ออกสูสงครามดวยลูกศร ฉะนั้น ภิกษุผูมี
จิตไมประทุษรายฟงคําอันหยาบคายที่คนทั้งหลายเปลงขึ้นแลว พึงอดทนอดกลั้น”๓๙
ในกรณีอื่นที่พวกเดียรถียจางใหนางจิญจามาณวิกาใสรายพระพุทธเจาขณะที่ทรง
กําลังแสดงพระธรรมเทศนาในวัดพระเชตวัน โดยนางดาพระองควาทําใหนางตั้งครรภแลว
ไมรับผิดชอบ แตพระพุทธก็ไมทรงหวั่นไหวกับคํากลาวตูของนางและทรงแสดงธรรมตอไป
เหมือนไมมีอะไรเกิดขึ้น ทําใหนางจิญจามาณวิกาเตนดวยความโกรธแคน จึงทําใหผาที่ผูกไว
ที่ทองหลุดลงพื้น ดวยความอับอายสาธารณชนที่กําลังฟงธรรมอยู นางจึงไดวิ่งหนีออกจาก
วัดพระเชตวันและเมื่อพนธรณีประตูวัดพระเชตวันก็ถูกแผนดินสูบ๔๐
จากกรณี ตั ว อย า งที่ ย กมาเราได เ ห็ น ภาวะความเป น ผู ห นั ก แน น มั่ ง คงของ
พระพุทธเจาตอกระแสของแรงเสียดทานตางๆ และสงผลใหผูประสงครายแพภัยตัวเองใน
ที่สุด หากวิเคราะหลักษณะพระกรรณยาวของพระพุทธเจาในเชิงบุคลาธิษฐานบนฐานความรู
ทางพระพุทธศาสนาก็หมายถึง ความเปนผูมีเหตุผลไมเชื่อหรือยอมรับสิ่งใดโดยไมพิจาณา
ใครครวญ มีจิตใจหนักแนนมั่นคงไมหวั่นไหวตามกระแสแรงเสียดทานตางๆ มีวิจารณญาณ

๓๙
ดูรายละเอียดใน ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๔๓/๔๖๑ และดูอักโกสสูตร สํ.ส. ๑๕/๑๘๘/๒๖๕.
๔๐
ขุ.ธ.อ. (ไทย) ๔๒/๒๕๕.

Page 58 of 102
๔๕

และมีสติปญญา เฉลียวฉลาด รอบคอบ ในการตัดสินใจโดยเปนผูยึดหลักกาลามสูตรรวม


พิจารณาดังตอไปนี้
๑) ไมดวนเชื่อสิ่งใดตามที่ไดยินไดฟงตามๆ กันมา
๒) ไมดวนเชื่อสิ่งใดตามที่ยึดถือสืบตอกันมา
๓) ไมดวนเชื่อสิ่งใดตามคําเลาลือ
๔) ไมดวนเชื่อสิ่งใดที่ไดศึกษาจากคัมภีร

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๕) ไมดวนเชื่อสิ่งใดโดยคิดเอาเอง
๖) ไมดวนเชื่อสิ่งใดที่คาดเดาเอาเอง
๗) ไมดวนเชื่อสิ่งใดจากการดูภาพลักษณภายนอก
๘) ไมดวนเชื่อสิ่งใดที่เห็นวาตรงกับความคิดเห็นของตนเอง
๙) ไมดวนเชื่อสิ่งใดเพราะคิดวาผูพูดนาเชื่อถือ
๑๐) ไมดวนเชื่อสิ่งใดเพราะเห็นวาเปนครูของตน ๔๑

หากดูคนในสังคมปจจุบัน บางครั้งจะมีลักษณะเปนคนหูเบา ใจเบา ปญญาเบา


ขาดวุฒิภาวะทางเหตุผล ขาดโยนิโสมนสิการจึงกลายเปนคนเชื่องายและถูกหลอกเพราะขาว
ลื อ ยิ่ ง ในสั ง คมไทยป จ จุ บั น จะมี ข า วลื อ ต า งๆ เกิ ด ขึ้ น อยู บ อ ยๆ ทํ า ให ค นที่ หู เ บาขาด
วิจารณญาณไมสามารถจะแยกแยะไดวาขอมูลใดจริงหรือเท็จ จึงยอมรับหรือปฏิเสธอยางไร
เหตุผล และกอใหเกิดปญหาในการตัดสินใจและเกิดปญหาในการกระทํา บางคนที่จิตใจ
หวั่นไหวงายที่เปนประเภทศรัทธาจริตและวิตกจริตแตขาดพุทธิจริต เปนคนขาดความเชื่อมั่น
ในตนเอง แมจะคิดทําสิ่งใดก็ตองฝากชีวิตไวกับหมอดูและพึ่งฤกษยาม จะสงผลใหวุฒิภาวะ
ทางความคิ ด การตั ด สิ น ใจในการกระทํ า ขาดเหตุ ผ ลและขาดวิ จ ารณญาณ ดั ง นั้ น การ
พิจารณาเอามหาปุริสลักษณะขอนี้เปนอนุสติเตือนใจใหการดําเนินชีวิตเปนไปอยางมีเหตุผล
มีจิตใจหนักแนนมั่นคง ก็นาจะเกิดประโยชนดานบวกเกิดขึ้นแกชีวิตตามมา

๔๑
องฺ.ติก. (ไทย) ๒๐/๖๖/๒๕๗.

Page 59 of 102
๔๖

๓.๓ วิเคราะหมหาปุริสลักษณะและอนุพยัญชนะตามหลักกายวิภาค
ในประเด็นนี้ ผูวิจัยมุงศึกษาวิเคราะหเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะและอนุพยัญชนะ
ของพระพุทธเจาเฉพาะประเด็นที่พุทธบริษัททั้งหลายตลอดจนผูที่สนใจใครศึกษาอาจจะมี
ความเคลือบแคลงสงสัยอยูบาง ดังนั้น ผูวิจัยจะศึกษาวิเคราะหในแงกายวิภาค จากความรูที่
ไดศึกษาคนควาจากตํารา จากเอกสารตาง ๆ รวมทั้งวิเคราะหจากความเห็นของผูวิจัยเอง

๓.๓.๑ พระหัตถยาวจรดพระชานุ (ดูรูปภาพที่ ๑๐ ในภาคผนวก)

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระหัตถทั้งสองยาวจรดพระชานุเปนมหาปุริสลักษณะที่ ๙ ในมหาปุริสลักษณะ
๓๒ ประการ ดังปรากฏในลักขณสูตร ความวา “พระมหาบุรุษนั้นไมคอม ไมแคระ คน
คอมกายสวนบนไมบริบูรณ คนแคระกายสวนลางไมบริบูรณ คนเหลานั้นเพราะกายไม
บริบูรณ เมื่อยืนอยูจึงไมสามารถลูบคลําเขาได แตพระมหาบุรุษมีพระวรกายทั้งสวนบน
สวนลางบริบูรณ จึงสามารถลูบคลําเขาไดโดยไมตองโนมพระวรกาย” ๔๒
พระพุ ท ธเจ า ได ม หาปุ ริ ส ลั ก ษณะนี้ เ พราะอานิ ส งส ที่ พ ระองค ไ ด ห มั่ น ตรวจดู
มหาชนที่ควรสงเคราะห และหยั่งทราบวาบุคคลใดควรแกการสักการะ ทรงกระทํากิจพิเศษ
แกบุคคลนั้น ๔๓ หากพิจารณาจากมหาปุริสลักษณะนี้ จะเห็นไดวา พระพุทธเจาก็ไมทรงมี
พระลักษณะที่มองดูแลวแปลกตาไปจากคนทั่วไปเทาใดนัก การที่พระองคสามารถใชพระ
หัตถลูบคลําพระชานุ (เขา) ไดโดยไมตองนอมพระวรกายลงนั้น ดวยเหตุวา พระองคทรงมี
พระวรกายที่สมสวน ดังเนื้อความแหงมหาปุริสลักษณะที่ ๑๙ ซึ่งสัมพันธกันวา “พระมหา
บุรุษมีพระวรกายสูงเทากับ ๑ วาของพระองค พระมหาบุรุษมีปริมณฑลดุจตนนิโครธ อธิบาย
วาพระมหาบุรุษแมโดยพระวรกาย ประมาณเทากันดุจตนนิโครธมีลําตนและกิ่งเสมอกัน
เพราะจะเป น ๕๐ ศอกก็ ต าม ๑๐๐ ศอกก็ ต าม ย อ มมี ป ระมาณเท า กั น ทั้ ง ส ว นยาวทั้ ง
สวนกวาง กายหรือวาของคนอื่นยาวไมเทากัน เพราะฉะนั้น พระวรกายของพระมหาบุรุษ
เทากับวาของพระองค และวาของพระมหาบุรุษเทากับกายของพระองค”๔๔
สวนคนทั่วไปจะมีรางกายสูงบาง เตี้ยบาง มีทั้งที่สมสวนและไมสมสวน คนที่มี
รางกายสมสวนอาจจะพอเหยียดนิ้วสัมผัสเขาไดบาง หากดูลักษณะของคนทั่วไปสวนมาก

๔๒
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๑๒/๑๗๓.
๔๓
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๑๒/๑๗๓.
๔๔
ที.ม.อ. ๑๒/๑๒๑-๑๒๒.

Page 60 of 102
๔๗

ปลายนิ้ ว จะห า งจากเข า เพี ย งหนึ่ ง ถึ ง สองนิ้ ว เท า นั้ น ดั ง นั้ น มหาปุ ริ ส ลั ก ษณะนี้ ข อง
พระพุทธเจาจึงมองดูไมแปลกตางจากกายวิภาคของคนทั่วไปมากนัก

๓.๓.๒ พระชิวหาออนและยาว
พระชิ ว หาอ อ นและยาวเป น มหาปุ ริ ส ลั ก ษณะที่ ๒๗ ของพระพุ ท ธเจ า ดั ง
เนื้อความวา “พระมหาบุรุษมีพระชิวหาออนและยาว แตลิ้นของคนอื่นหนาบาง เล็กบาง สั้น
บาง กระดางบาง ไมเสมอบาง แตพระชิวหาของพระมหาบุรุษออนและยาว สมบูรณดวยสี

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เพราะพระองคมีพระชิวหาออนจึงทรงแลบพระชิวหานั้นดุจของแข็งที่สะอาดแลวเลียชองพระ
นาสิกทั้งสองได เพราะพระชิวหายาวจึงเลียชองพระกรรณทั้งสองได” ๔๕ นอกจากที่กลาวมา
นี้ พระชิวหาของพระมหาบุรุษยังมีสัณฐานสวยงาม พระชิวหาออนไมกระดาง และมีพระ
ชิวหาสีแดงเขมสวยงามอันเปนอสีตนุพยัญชนะที่ ๔๔-๔๖ อีกดวย
พระพุทธเจาไดมหาปุริสลักษณะนี้ เพราะอานิสงสของการเวนจากการพูดคํา
หยาบ พูดแตคําที่ไมมีโทษ พูดคําที่ไพเราะเสนาะโสต นาฟงและจับใจ ๔๖
หากจะวิเคราะหขอเท็จจริงเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะที่ ๒๗ ของพระพุทธเจา
ที่วาทั้งออนและยาวจนสามารถเลียถึงพระกรรณ (หู) และพระนาสิก (จมูก) ไดนั้น ก็ไมได
เกินความเปนจริงทางกายวิภาคของมนุษยแตอยางใด แมบางคนในปจจุบันที่มีลิ้นใหญยาว
เป น พิ เ ศษ ก็ ส ามารถใช ลิ้ น เลี ย จมุ ก ได เ ช น กั น ดั ง ที่ เ คยปรากฏในสื่ อ ประเภทต า งๆ
เพราะฉะนั้น การที่พระพุทธเจาทรงมีลิ้นออนและยาว สามารถใชลิ้นสัมผัสที่จมูกและใบหู
ไดจึงไมใชเรื่องแปลกจนเกินความเปนจริง
เพราะเหตุที่พระองคทรงมีพระชิวหาออนและยาวนี่เอง ทําใหพระองคทรงมี
เสนประสาทในการรับรสอาหารไดดีกวาคนทั่วไป ดังเนื้อความกลาวถึงมหาปุริสลักษณะที่
๒๑ วา “พระมหาบุรุษเปนผูมีปลายเสนประสาทสําหรับนํารสอาหารอันเลิศ มีเสนประสาท
สําหรับนํารสอาหารประมาณ ๗,๐๐๐ เสน มีปลายขึ้นเบื้องบนแลวรวมเขาที่ลําพระศอ
พระกระยาหารแมเพียงเมล็ดงาตั้งอยู ณ ปลายพระชิวหายอมแผไปทั่วพระวรกายทุกสวน
ดวยเหตุนั้นแล เมื่อพระมหาบุรุษทรงเริ่มตั้งความเพียรอันยิ่งใหญไดยังพระวรกายใหเปนไป

๔๕
ที.ม.อ. ๑๒/๑๒๓.
๔๖
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๓๖/๑๙๓.

Page 61 of 102
๔๘

อยูได ดวยขาวสารเมล็ดเดียวเปนตนบาง ดวยเพียงผัดดองฟายมือหนึ่งบาง แตของคนอื่น


เพราะไมมีอยางนั้นรสโอชาจึงไมแผไปทั่วกาย เพราะเหตุนั้น ชนเหลานั้นจึงมีโรคมาก” ๔๗

๓.๓.๓ พระกรรณมีสัณฐานยาว (ดูรูปภาพที่ ๑๑ ในภาคผนวก)


พระกรรณมีสัณฐานยาว เปนอนุพยัญชนะที่ ๔๗ ของพระพุทธเจา ซึ่งถือวาเปน
ลักษณะเดนอีกประการหนึ่งที่คนทั่วไปมักจะเกิดความสงสัยเมื่อไดเห็นพุทธศิลปกรรมตางๆ
วา พุทธลักษณะขอนี้จะเปนจริงมากนอยเพียงใด เพราะคนปกติโดยทั่วไปจะมีใบหูทั้งสอง

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ขางใหญบาง บางคนก็มีใบหูเล็กบาง แตที่จะเห็นยาวเสมอปากหรือคางดังที่เราเห็นในพุทธ
ศิลปกรรมไมคอยจะมี เพื่อความชัดเจนในการวิเคราะหขอเท็จจริงทางกายวิภาคเกี่ยวกับพระ
กรรณที่มีลักษณะยาวของพระพุทธเจา
สําหรับพระพุทธเจาที่มีพระกรรณ (หู) ทั้งสองขางมีสัณฐานยาวนี้ เปนลักษณะ
พิเศษของพระมหาบุรุษผูที่จะตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา หากจะวิเคราะหขอเท็จจริงตาม
หลักกายวิภาคของมนุษยทั่วไป อนุพยัญชนะของพระพุทธเจาประการนี้ก็ดูเหมือนจะพิเศษ
กวามนุษยทั่วไป เพราะเทาที่ปรากฏในพุทธศิลปกรรมตางๆ พระกรรณขององคจะมีสัณฐาน
ยาวเสมอคาง ผูวิจัยเห็นวา การที่เราเห็นปรากฏการณทางศิลปกรรมที่ชางศิลปสื่อออกมาเปน
เชิ ง ประจัก ษ ใ นยุ คต า งๆ และแบบตา งๆ นั้น คงจะไมถ า ยทอดขอ เท็จ จริง เกี่ย วกับ พุ ท ธ
ลักษณะที่เกินความเปนจริงมากนัก อนึ่ง พุทธศิลปกรรมเกี่ยวกับการสรางพระพุทธรูปเริ่ม
นิยมสรางมาตั้งแตพุทธศตวรรษที่ ๕ ในประเทศอินเดีย ผูวิจัยเห็นวา การสืบทอดขอเท็จจริง
เกี่ยวกับบุคคลในชวงระยะเวลาไมถึงกึ่งศตวรรษ นาจะยังไมคลาดเคลื่อนจากความเปนจริง
มากนัก จากการศึกษาพุทธศิลปกรรมตางๆ จะปราฏกชัดวา ชางศิลปจะสื่อพุทธลักษณะ
หลั ก ๆ ออกมาใกล เ คี ย งกั น จะแตกต า งกั น มากก็ เ ฉพาะเรื่ อ งของโครงสร า งด า นรู ป ร า ง
พระพักตร ซึ่งก็จะเปลี่ยนแปลงไปบางตามคตินิยมของแตละยุคสมัย ดังนั้น ตามความเห็น
ของผูวิจัย พุทธลักษณะประการนี้คงจะไมคลาดเคลื่อนเกินความเปนจริงมากนัก เพราะแม
คนในปจจุบันที่มีใบหูยาวเสมอปากก็มีใหเห็นมากเชนกัน

๔๗
ที.ม.อ. ๑๒/๑๒๒.

Page 62 of 102
๔๙

๓.๓.๔ ทรงมีพระกําลังมากเทากับชางลานเชือก
พระกําลังมากเทากับชางลานเชือกเปนอสีตยานุพยัญชนะที่ ๒๔ ขยายความไดวา
พระมหาบุรุษทรงมีพระกําลังมากเสมอดวยกําลังแหงกุญชรชาติ ประมาณถึงพันโกฏิชางถา
จะประมาณดวยกําลังบุรุษไดถึงแสนโกฏิบุรุษ และพระกําลังเสมอชางลานเชือกเทากับชาง
ฉัททันต ๑ เชือก ชางฉัททันต ๑ เชือกมีกําลังเทากับกําลังพระมหาบุรุษ๔๘
ตัวอยางในทศชาติชาดกที่พระโพธิสัตวเปนผูมีกําลังมากยิ่งกวาผูอื่น ศึกษาไดจาก

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เรื่องพระมหาชนกที่สามารถดึงสายธนูซึ่งตามปกติแลวคันธนูคันหนึ่งจะตองใชคนถึง ๑,๐๐๐
คนจึงจะดึงสายธนูได ถาผูใดโกงคันธนูนี้ไดพระราชาจะใหราชสมบัติแกผูนั้น แตปรากฏวา
พระมหาชนกหยิบคันธนูขึ้นมาดุจวาของเบา แลวก็ลองขึ้นสายโกงก็โกงไดอยางงายดาย
เพราะพระมหาชนกทรงกําลังประดุจชางสาร เสร็จแลวก็ลดสายวางคันธนูลงดังเกา ในพระ
ชาตินี้พระองคทรงบําเพ็ญทุกรกิริยานานถึง ๖ ปก็ดวยพระกําลังสมบูรณทางรางกายจึง
สามารถเอาชนะตออุปสรรคทั้งปวงได ถาเปนบุคคลธรรมดาก็คงทําไมไดอยางพระองค ๔๙
ดังนั้น การเปรียบเทียบวาพระองคทรงมีพระกําลังมากเทากับชางลานเชือกจึงนาจะเปนไปได
เพราะเปนธรรมดาของพระมหาบุรุษที่ทรงมีพระกําลังมากสมกับเปนพระมหาบุรุษ และทรง
เปนเอกบุรุษหนึ่งเดียวในโลกที่จะทรงตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา
การกลาวถึงอนุพยัญชนะของพระพุทธเจาวาเปนผูมีกําลังมากดุจชางสารนั้น หาก
พิจารณาตามขอเท็จจริงเกี่ยวกับโครงสรางทางรางกายของมนุษยอันสัมพันธกับพละกําลังที่
ควรจะเปนไปได ผูวิจัยเห็นวา นาจะสื่อถึงขอเท็จจริงที่วา พระพุทธเจาทรงมีพระกําลังทั้ง
ทางกําลังทางกายภาพ กําลังทางจิตภาพและกําลังแหงสติปญญาล้ําเลิศกวามนุษย เทวดา
มาร พรหมทั้งปวง เพราะความที่พระองคเปนผูเพียบพรอมดวยกําลังทั้งที่เปนรูปธรรมและ
นามธรรมนี่เอง เกื้อหนุนใหพระองคสามารถพิชิตปญหานอยใหญและภัยทั้งปวงตรัสรูเปน
พระพุทธเจาไดสมประสงค
หากพิจารณาเฉพาะความเปนผูมีพระกําลังทางกายภาพมาก ผูวิจัยเห็นวา ก็ไม
เกินวิสัยของพระมหาบุรุษผูที่ไดบําเพ็ญบารมีมาอยางยาวนาน แมแตคนในปจจุบัน บางคน
สามารถลากเครื่องบิน ลากรถหกลอหรือสิบลอไดอยางสบายๆ และบางคนสามารถใชฟนกัด
เชือกลากรถยนตไดทั้งคัน ที่เรียกวาเปนมนุษยจอมพลัง

๔๘
จันทร ชูแกว, พระพุทธประวัติ : มหาบุรุษแหงชมพูทวีป, หนา ๒๗.
๔๙
พยัคฆ, พระเจาสิบชาติ, (กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพอํานวยสาสน, ๒๕๔๘), หนา ๒๙.

Page 63 of 102
๕๐

๓.๔ สรุปมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา
มหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการของพระพุทธเจามีรายละเอียดปรากฏอยูในมหาป
ทานสูตร และในลักขณสูตร ทีฆนิกาย แหงพระสุตตันตปฎก เรียงลําดับตั้งแตประการที่
๑-๓๒ พรอมทั้งอานิสงสของกุศลกรรมที่ทําใหไดมหาปุริสลักษณะอยางครบถวนสมบูรณ
มหาปุริสลักษณะทั้ง ๓๒ ประการ จะเกี่ยวกับลักษณะพิเศษที่ปรากฏในพระวรกายของพระ
มหาบุรุษ ซึ่งสามารถจัดกลุมไดดังนี้คือ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มหาปุริ สลักษณะเกี่ยวกับพระเศียร ๑ ประการคือ พระเศียรงามบริบูรณดุ จ
ประดับดวยกรอบพระพักตร (๓๒)
มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับพระบาทและพระหัตถ ๖ ประการคือ ฝาพระบาทราบ
เสมอกัน (๑) พื้นฝาพระบาทมีรูปกงจักร (๒) สนพระบาทยาวงาม (๓) พระหัตถและพระ
บาทออนนุม (๕) ฝาพระหัตถและฝาพระบาทมีลายดุจรูปตาขาย (๖) และขอพระบาทดุจสังข
คว่ํา (๗)
มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับองคุลี ๑ ประการคือ มีพระองคุลียาวเรียวงาม (๔)
มหาปุ ริส ลัก ษณะเกี่ยวกั บพระชงค ๑ ประการคื อ พระชงค เรี ยวงามดุ จแข ง
ทราย (๘)
มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับพระกาย ๘ ประการคือ เมื่อประทับยืนพระหัตถจับ
พระชานุ ไ ด (๙) พระวรกายตั้ ง ตรงดุ จ การพรหม (๑๕) พระมั ง สะเต็ ม บริ บู ร ณ (๑๖)
พระวรกายดุจลําตัวทอนหนาของราชสีห (๑๗) พระปฤษฎางคราบเรียบเสมอกัน (๑๘)
พระวรกายสูงเทากับ ๑ วาของพระองค (๑๙) พระศอกลมงาม (๒๐) พระหนุดุจคางราช
สีห (๒๒)
มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับพระคุยฐาน ๑ ประการคือ พระคุยฐานเรนอยูในฝก (๑๐)
มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับพระฉวีวรรณ ๒ ประการคือ พระฉวีเปลงปลั่งดั่งทอง
(๑๑) พระฉวีละเอียดปราศจากธุลี (๑๒)
มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับพระโลมา ๒ ประการคือ พระโลมามีขุมละเสน (๑๓)
พระโลมชาติปลายงอนขึ้น เวียนขวา (๑๔)
มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับเสนประสาท ๑ ประการคือ เสนประสาทรับรสอาหาร
ไดดี (๒๑)

Page 64 of 102
๕๑

มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับพระทนต ๔ ประการคือ พระทนตมี ๔๐ ซี่ (๒๓)


พระทนตเรียบเสมอกัน (๒๔) พระทนตเรียบสนิทไมหางกัน (๒๕) พระเขี้ยวแกวขาว
งาม (๒๖)
มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับพระชิวหา ๑ ประการคือ พระชิวหาออนและยาว (๒๗)
มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับพระสุรเสียง ๑ ประการคือ พระสุรเสียงกังวานดุจเสียง
พรหม (๒๘)

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับพระเนตร ๒ ประการคือ พระเนตรดําสนิท (๒๙) ดวง
พระเนตรแจมใสดุจตาลูกโคเพิ่งคลอด (๓๐)
มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับพระอุณาโลม ๑ ประการคือ พระอุณาโลมปรากฏ
ระหวางพระโขนง มีสีขาวออนเหมือนปุยนุน (๓๑)
จากการศึ ก ษาวิ จั ย พบว า รู ป มงคล ๑๐๘ บนฝ า พระบาทของพระพุ ท ธเจ า นั้ น
จัด เปน กลุม ได ๗ ประเภทด วยกั น คือ ๑) ประเภทศาสตรา ๒) ประเภทดอกไมม งคล
๓) ประเภทเครื่องประดับและเครื่องตกแตง ๔) ประเภทสัตวตางๆ ๕) ประเภทสถานที่
สําคัญ ๖) ประเภทธรรมชาติในจักรวาล ๗) ประเภทพรหมและพระยามาร
พระพุทธเจานอกจากจะสมบูรณดวยมหาปุริสลักษณะทั้ง ๓๒ ประการแลว
พระองคยังประกอบดวยอนุพยัญชนะ ๘๐ ประการ ซึ่งเปนลักษณะพิเศษปลีกยอยของมหา
ปุริสลักษณะ จากการจัดกลุมตามความสัมพันธกันของอนุพยัญชนะกับมหาปุริสลักษณะ
พบวา มหาปุริสลักษณะที่ไมมีอนุพยัญชนะปลีกยอยเลยไดแก พระชงค พระคุยฐาน พระศอ
เสนประสาท พระหนุ สวนอนุพยัญชนะที่ปรากฏกชัดเจนในพุทธศิลปกรรมทุกประเภท
ไดแก อนุพยัญชนะที่ ๔๗ คือพระกรรณมีสัณฐานยาว ไมปรากฏในมหาปุริสลักษณะ
ผลการศึกษาวิเคราะหเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะกับอนุพยัญชนะแงบุคลาธิษฐาน
และแงกายวิภาค สรุปสาระสําคัญ ไดดังนี้
รูปจักรและรูปมงคล ๑๐๘ บทพื้นฝาพระบาทของพระพุทธจา วิเคราะหในแง
บุคลาธิษฐานไดวา จักร หมายถึง การหมุนไปของกงลอแหงพระธรรมโดยธรรมราชาคือ
พระพุทธเจา สวนรูปมงคลตางๆ หมายถึง บริวารของธรรมราชาผูยิ่งใหญในทิศทั้งปวง
พระกําลังเสมอชางลานเชือก หมายถึง พระมหาบุรุษเปนผูมีกําลังแหงทศบารมี กําลังแหงทศ
พลญาณและกําลังแหงอภิญญามากยิ่งกวามนุษยทั่วไปจนทําใหพระองคตรัสรูอนุตรสัมมาสัม
พุทธเจาได และสามารถหมุนกงลอแหงพระธรรมใหแผไพศาล พระรัศมีรอบพระวรกาย

Page 65 of 102
๕๒

หมายถึง รัศมีแหงพระมหากรุณาธิคุณ พระบริสุทธิคุณและพระปญญาธิคุณอันประเสริฐของ


พระพุทธเจาแผกระจายไปทุกทิศทางอยางไรขอบเขตจํากัด ประการสุดทาย ไดแก พระ
กรรณมีสัณฐานยาว หมายถึง ความเปนผูมีเหตุผล มีวิจารณญาณ เปนคนหนักแนนและ
มั่นคง ไมหวั่นไหวตามกระแสแรงเสียดทานตางๆ
ผลการศึ ก ษาวิ เ คราะห ม หาปุ ริ ส ลั ก ษณะกั บ อนุ พ ยั ญ ชนะบางประการของ
พระพุทธเจาแงกายวิภาค ในประเด็น มีพระหัตถยาวจรดพระชานุในขณะประทับยืน สรุปได

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วา พระพุทธเจามีพระวรกายสมสวน กลาวคือ มีพระวรกายสูงเทากับวาของพระองคจึง
สามารถลูบคลําพระชานุไดโดยไมตองนอมพระวรกาย พระชิวหาออนและยาวเปนพุทธ
ลักษณะพิเศษที่ทําใหพระองคสามารถใชพระชิวหาสัมผัสพระนาสิกและพระกรรณได หาก
พิจารณาทางกายวิภาคก็ไมเกินความเปนจริงนัก เพราะแมบางคนในปจจุบันก็สามารถใชลิ้น
เลียที่จมูกและคางไดเชนกัน พระกรรณมีสัณฐานยาวเปนอนุพยัญชนะที่ปรากฏใหเห็นใน
ศิลปกรรมทั่วไป ซึ่งก็ถือวาไมแปลกตางจากคนทั่วไปมากนัก เพราะบางคนในปจจุบันที่มีใบ
หูใหญยาวเสมอปากก็มีเชนกัน และทรงมีพระกําลังเสมอชางลานเชือกนั้นก็ไมใชสิ่งเกินวิสัย
ของพระมหาบุรุษ เพราะแมแตสมัยที่พระองคเสวยชาติเปนพระมหาชนก ก็ทรงมีพระกําลัง
ยิ่งกวาบุรุษทั่วไป หรือแมแตบางคนในปจจุบันที่เปนมนุษยจอมพลังสามารถลากรถยนตหรือ
ลากเครื่องบินได การกลาวถึงพระมหาบุรุษเปนผูมีกําลังมากยิ่งกวามนุษยทั่วไปจึงไมเกินวิสัย

Page 66 of 102
บทที่ ๔
วิเคราะหขอเท็จจริงเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา

ในบทที่ ๔ นี้ ผูวิจัยมุงศึกษาวิเคราะหถึงขอเท็จจริงเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะของ


พระพุทธเจาในแงความเปนจริงเชิงอัตวิสัย มหาปุริสลักษณะกับการบรรลุโพธิญาณ มหาปุริส

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ลักษณะคือผลแหงกุศลกรรม มหาปุริสลักษณะคือผลแหงการบําเพ็ญบารมี พรอมทั้งสรุป
วิเคราะหขอเท็จจริงเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา

๔.๑ มหาปุรสิ ลักษณะความเปนจริงเชิงอัตวิสัย


ในคัมภีรพระพุทธศาสนาไดกลาวถึงพุทธลักษณะของพระพุทธเจาไววา พระองค
ประกอบดวยมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ ทําใหผูพบเห็นเกิดความเลื่อมใสศรัทธา อาจจะ
มีชาวพุทธหรือที่มิใชชาวพุทธยังมีความสงสัยเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะและอนุพยัญชนะบาง
ประการของพระพุทธเจา เนื่องจากไมมีใครสามารถพิสูจนใหเห็นเปนเชิงประจักษได เพราะ
เหตุวาพระองคไดปรินิพพานนานกวาสองพันปมาแลว ดวยเหตุนี้ ผูวิจัยจึงพยายามจะศึกษา
วิเคราะหขอมูล เพื่อเปนฐานสนับสนุนขอเท็จจริงเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา
ตามลําดับ ดังนี้

๔.๑.๑ พิสูจนความจริงดวยการบําเพ็ญบารมีมุงสูความเปนมหาบุรุษ
พระพุทธเจาในฐานะเปนบุคคลซึ่งมีตัวตนอยูจริงในประวัติศาสตร พระองคทรง
เปนผูใหกําเนิดพระพุทธศาสนาและเปนบรมศาสดาของชาวพุทธ ชาวพุทธที่นับถือพระองค
มีการสรางสังเวชนียสถานและพระพุทธรูปปางตางๆ มากมาย เพื่อเปนพุทธานุสสติ แต
สําหรับมหาปุริสลักษณะของพระองคนั้น สวนใหญก็จะเห็นไดจากพุทธศิลปกรรมซึ่งชาง
ศิลปไดสรางขึ้นตามพุทธลักษณะที่ปรากฏในมหาปุริสลักษณะและอนุพยัญชนะนั่นเอง
ในประเด็นนี้ ผูวิจัยไดมุงศึกษาวิเคราะหเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะ ๓๒ และอนุ
พยัญชนะ ๘๐ ประการของพระองค ผูที่อยากจะทราบวามหาปุริสลักษณะและอนุพยัญชนะดัง
ไดนําเสนอแลวในบทที่ผานมาเปนจริงหรือไมก็จะตองยึดหลักสันทิฏฐิโก คือ ตองมุงบําเพ็ญ
บารมีเพื่อพิสูจนขอท็จจริงดวยตนเองอันเปนเชิงอัตวิสัย โดยเอาแบบอยางของพระมหาบุรุษที่
ทรงตั้งพระปณิธานไววาจะตองตรัสรูเปนพระพุทธเจาใหได และพระองคไดทรงบําเพ็ญบารมี

Page 67 of 102
๕๔

นานนับสี่อสงไขยแสนกัป จนกระทั่งไดมหาปุริสลักษณะอันเปนลักษณะเฉพาะของบุคคลที่
จะไดตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา
ดังนั้นผูที่อยากสัมผัสกับความเปนจริงเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะและอนุพยัญชนะ
จะตองศึกษาถึงวิธีการหรือหนทางที่จะปฏิบัติใหเขาถึงความเปนมหาบุรุษอยางแทจริง เมื่อเกิด
ความประจักษเชิงอัตวิสัยแลว ก็จะไดรูไดเห็นมหาปุริสลักษณะดวยตนเองวามหาบุรุษนั้นเปน
ความจริงหรือไมอยางไรโดยไมตองเคลือบแคลงสงสัยอีกตอไป

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระพุทธเจา ไดทรงเปดโอกาสใหพิจารณาตรวจสอบคําสอนของพระองคกอนที่
จะยอมรับยึดถือปฏิบัติตามหรือปฏิเสธ และยังเปดโอกาสใหผูทยี่ ังมีความเคลือบแคลงสงสัย
ในตัวพระองคสามารถตรวจสอบพระองคไดดวย ทาทีของพระพุทธเจาดังกลาวนี้ มีปรากฏ
ชัดเจนในวิมังสกสูตร ๑ จุดประสงคในการเปดโอกาสใหผูอื่นตรวจสอบพระองคก็เพื่อใหผูที่
เลื่อมใสศรัทธาในพระองคจะไดใชปญญาพิจารณาพุทธภาวะที่แทจริง ไมใชศรัทธายึดติดอยู
เพียงแคกายเนื้อของพระองค หรือเลื่อมใสศรัทธาในพระองคเพียงเพราะเหตุผลใดเหตุผล
หนึ่งเทานั้น ดังนั้น ผูวิจัยเห็นวา หากผูใดยังมีความเคลือบแคลงสงสัยในพุทธลักษณะของ
พระพุทธเจา วิธีการแรกเปนการพิสูจนขอเท็จจริงเชิงอัตวิสัย คือตองมุงบําเพ็ญบารมีเพื่อให
เขาถึงภาวะแหงมหาบุรุษ ตามที่พระพุทธเจาไดพิสูจนพระองคมาแลว

๔.๑.๒ พิสูจนความจริงดวยปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ คือความรูเปนเครื่องระลึกไดถึงขันธที่อาศัยอยูกอนใน
อดีตชาติ ๒ โดยการหยั่งรูแจงเห็นอัตภาพ รูปราง ลักษณะ ภาวะแหงการดําเนินชีวิตของ
ตนและของบุคคลอื่น ใครมีญาณหรือความรูคุณวิเศษนี้ ก็จะเปนผูสามารถระลึกชาติได
และจะเปนผูเขาถึงขอเท็จจริงเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา เมื่อสองพันกวาปที่
แลวได วิธีการแรกเปนการพิสูจนขอเท็จจริงเชิงประจักษดวยตาเนื้อของตนเอง สวนวิธีการ
นี้มุงพิสูจนดวยตาคือญาณ อันเปนคุณวิแศษที่อาจจะเปนวิธีที่ยากก็จริง แตก็ถือวาเขาถึงงาย
กวาและอาจจะใชเวลาพิสูจนสั้นกวาวิธีการแรก


ม.มู. (ไทย) ๑๒/๔๘๗/๕๒๕.

พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลศัพท,(กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓), หนา ๑๗๕.

Page 68 of 102
๕๕

จากการศึกษาวิจัยพบวา ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เปนวิชชาที่ ๑ ในปฐมยามใน


วันตรัสรูของพระพุทธเจา ซึ่งเปนญาณที่สงผลใหพระองคทรงประจักษชัดเจนถึงเรื่องราวชีวิต
ของพระองคในอดีตชาติ และทําใหพระองคหมดสิ้นความสงสัยเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะ
ของพระองค ความสามารถในการระลึกชาติไดดวยปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยังเปนอนุสสติ
ทําใหตระหนักถึงบุพพกรรมของตนเองตามกฎแหงกรรม อันจะทําใหเปนผูละอายและเกรง
กลัวตอการทําบาปและเปนแรงผลักดันใหผูนั้นมุงสรางกรรมดีที่มีอานิสงสมากขึ้น

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดังนั้น การบําเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุถึงปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ผูวิจัยเห็นวา เปน
อีกมรรควิธีหนึ่งที่จะสามารถพิสูจนขอเท็จจริงเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะและอนุพยัญชนะของ
พระพุทธเจาไดเชนกัน ซึง่ พระพุทธเจาเองก็ทรงทราบถึงมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา
ในอดีตก็โดยอาศัยปุพเพนิวาสานุสสติญาณเปนเครื่องมือพิสูจน ซึ่งผลความชัดเจนของการ
ประจักษก็ไมตางจากมหาปุริสลักษณะที่พระองคไดครอบครอง ๓

๔.๒ มหาปุริสลักษณะกับการบรรลุโพธิญาณ
ในประเด็นนี้ ผูวิจัยไดทําการศึกษาคนควาพบวา ธรรมที่พระมหาบุรุษทรงปฏิบัติ
อันเปนเหตุใหพระองคบรรลุโพธิญาณเรียกวา อุปญญาตธรรม เปนธรรมที่ทรงปฏิบัติเห็น
ประจักษกับพระองค ไดแก ความไมสันโดษในกุศลกรรม คือไมรูอิ่ม ไมรพู อในการสราง
ความดี และสิ่งที่ดี มุงมั่นในการบําเพ็ญเพียรอยางไมหยุดยั้ง ไมยอมถอยหลัง ไมยอมแพ ไม
ยอมทอถอยตออุปสรรคและความเหนื่อยยากลําบาก ๔
จากการศึกษาในบทที่ผานมาจะพบวา ผูที่จะตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจาได
นั้น ตองเปนผูมีมหาปุริสลักษณะอยางสมบูรณเทานั้น แตบุคคลที่ยังไมสมบูรณดวยมหาปุริ
สลักษณะอาจจะเปนไดเฉพาะพระปจเจกพุทธเจา เปนพระอรหันต หรือเปนพระโพธิสัตว
สวนผูหญิงก็ยิ่งตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจาไมได เพราะผูหญิงขาดคุณสมบัติแหงมหา
บุรุษ แมขณะที่พระมหาบุรุษลงสูพระครรภของพระมารดา ดวยพระบารมีที่เต็มเปยม จึง
กอใหเกิดบุพพนิมิตมหัศจรรย ๓๒ ประการ คือ
๑) มีความสั่นสะเทือนหวั่นไหวและมีแสงสวางทั่วหมื่นโลกธาตุ
๒)โลกันตนรกที่มืดตลอดกาล ก็เกิดมีแสงสวางขึ้น


ดู ที.ปา. (ทย) ๑๑/๑๙๘/๑๕๙.

ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๒๗/๒๒๓.

Page 69 of 102
๕๖

๓) คนตาบอดก็สามารถมองเห็นได
๔) คนและสัตวที่ผูกโซตรวนก็หลุดหมด
๕) คนหูหนวกสามารถไดยิน คนหูหนวกสามารถพูดได คนเปลี้ยเดินได
๖) ไฟในนรกและอเวจีนรกก็ดับสนิท
๗) เปรตทั้งหลายไมมีความกระหายน้ําและขาว
๘) บานประตูหนาตางที่ปดไว เปดออกทั้งหมด

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๙) เรือสําเภาและเรือทั้งหลายในทองทะเลไปถึงที่หมายไดรวดเร็ว
๑๐)ไมมีอันตรายที่เกิดจากสัตวเดรัจฉานในขณะนั้น
๑๑) ไฟกิเลสและโรคของหมูสัตวโลกระงับดับไป
๑๒) หมูสัตวที่มีมีเวรภัยตอกัน ตางก็มีเมตตาตอกัน
๑๓) สัตวทั้งหลายตางเปลงวาจาที่รักตอกัน ฝูงมาตางรองหรรษา
๑๔) ฝูงชางตางก็รองกึกกองบันลือเสียงชื่นบาน
๑๕) เครื่องดุริยางคดนตรีทั้งหลาย ตางก็เปลงเสียงสําเนียงขึ้นมาเอง
๑๖) เครื่องประดับของมนุษยมีแสงสวางกระทบกันเปลงเสียง
๑๗) ทิศทั้งปวงตางมีแสงสวางไสวไปทั่ว
๑๘) มหาพายุใหญตางสงบสงัดไมมีพานพัดเลย
๑๙) พายุออนๆ เย็นสบายก็กลับกลายมีขึ้น
๒๐) ฝนนอกฤดูกาลก็บันดาลเกิดขึ้นตกลงมา
๒๑) ทอน้ําพุก็พวยพุงขึ้นมา ไหลบาไปทั่วทุกสถานที่
๒๒) ฝูงนกที่บินอยูบนอากาศตางก็ลงมาเดินลีลาลาศบนพื้นดิน
๒๓) สายน้ําที่เชี่ยวกราก ตางก็ปราศจากการไหลไดแตนิ่งเงียบ
๒๔) น้ําในมหาสมุทรตางก็หยุดเค็ม เหมือนน้ําธรรมดา
๒๕) ดอกบัว ๕ ชนิด ตางก็ผลิดอกเต็มวารีและปฐพีดล
๒๖) พืชดอกทั้งในน้ําและบนบกตางก็แยมบานกันทั้งสิ้น
๒๗) บรรดารุกขชาติตางก็มีดอกบัวออกตามลําตนและกิ่งเครือ
๒๘) ดอกบัวเกิดผุดขึ้นบนแผนหินและหอยยอยอยูในอากาศ
๒๙) บรรดาไมดอกและไมผล ตางก็ออกดอกออกผลในขณะนั้น
๓๐) เกิดหาฝนดอกไมทิพยโปรยปรายลงมาทั่วทุกทองที่

Page 70 of 102
๕๗

๓๑) เสียงทิพยดุริยางคดนตรีเปลงเสียงสําเนียงขึ้นมาเอง
๓๒) เกิดธงทิพยมีแสงสวางไสวประดับไวทั่วหมื่นโลกธาตุ ๕
นอกจากสรรสสิ่ง สรรพชีวิตตางๆ จะปรากฏความมหัศจรรยมากมายดังกลาว
แลว มหาบุรุษผูที่จะอุบัติขึ้นในโลกเพื่อตรัสรูเปนพระอนุตรสัมมาสัมพุทธเจา ยังมีความ
มหัศจรรย ๗ ประการ คือ
๑) วันเสด็จลงสูพระครรภ พระมารดาฝนเห็นชางเผือก

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒) อยูในพระครรภอยางไรมลทิน นั่งสมาธิ พระมารดาทอดพระเนตรเห็นได
๓) ขณะประสูติมีเทวดามาคอยรับ
๔) มีทอน้ําอุนไหลลงมาจากอากาศสนานทั้งสองพระองค
๕) มีทอน้ําเย็นไหลลงมาจากอากาศสนานทั้งสองพระองค
๖) ประสูติแลวเสด็จได ๗ กาว
๗) ทรงกลาวอาสภิวาจาวา “เราเปนผูประเสริฐ ผูเลิศในโลก ชาตินี้เปนชาติ
สุดทาย ภพใหมไมมีอีกแลว” ๖

จากการศึกษายังพบอีกวา มหาบุรุษผูที่จะอุบัติขึ้นในโลกเพื่อตรัสรูเปนพระอนุตร
สัมมาสัมพุทธเจานั้น นอกจากจะมีมหาปุริสลักษณะและอนุพยัญชนะครบถวนบริบูรณแลว
จะตองมีคุณสมบัติ ๑๗ ประการ คือ
๑) ตาไมบอด
๒) หูไมหนวก
๓) ไมเปนบา
๔) ไมเปนใบ
๕) ไมเปนคนงอยเปลี้ย
๖) ไมเกิดในประเทศไมเจริญ
๗) ไมเกิดในครรภคนใช
๘) ไมเปนคนเห็นผิด
๙) ไมเปนคนสองเพศ

จันทร ชูแกว, พระพุทธประวัติ : มหาบุรุษแหงชมพูทวีป, (กรุงเทพมหานครฯ :โรงพิมพมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙), หนา ๑๒-๑๓.

เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๑.

Page 71 of 102
๕๘

๑๐) ไมกระทํากรรมหนัก
๑๑) ไมเปนโรคเรื้อน
๑๒) ไมเกิดในอรูปพรหม
๑๓ ไมเกิดเปนเปรต
๑๔) ไมเกิดในอเวจีและโลกันตนรก
๑๕) ถาเกิดในสวรรคตองไมเปนมาร

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑๖) ไมเกิดในพรหมชั้นสุทธาวาส
๑๗) ถาเกิดเปนสัตวจะไมเล็กกวานกกระจาบและไมใหญกวาชาง๗

ดังนั้น มหาปุริสลักษณะจึงเปนคุณสมบัติพิเศษของมหาบุรุษ และสัมพันธกับ


การบรรลุโพธิญาณ เพราะที่ไดชื่อวา มหาบุรุษเพราะเปนผูเขาถึงความหลุดพน โดยเจริญสติ
ป ฏ ฐาน ๔ และเป น ผู ป ระกอบด ว ย ธรรม ๔ ประการ คื อ ๑) ความเป น กั ล ยาณมิ ต ร
๒) ความเชี่ยวชาญทางจิต ๓) เปนผูไดฌาน ๔ และ ๔) เปนผู ไดเจโตวิมุติ และปญญาวิมุติ
อันไมมีอาสวะ ๘
ในสังยุตตนิกาย มหาวรรคแหงพระสุตตันตปฎก พระผูมีพระภาคตรัสกับพระสา
รีบุตรไววา “มหาบุรุษ เพราะมีจิตหลุดพน ไมใชมหาบุรุษเพราะมีจิตยังไมหลุดพน” ๙

หากศึกษาวิเคราะหจากประเด็นตางๆ ดังกลาวมาแลว จะเห็นชัดเจนวา บุคคลผู


ที่จะสามารถตรัสรูเปนพระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณไดนั้น จะตองมีภาวะเปนพระมหาบุรุษที่
มีคุณลักษณะและคุณสมบัติบริบูรณสมบูรณ จึงจะไดชื่อวา เปนผูประเสริฐและเปนผูเลิศใน
โลก และสามารถตรัสรูชอบดวยพระองคเอง เปนผูต รัสรูแลว ตืน่ แลว เบิกบานแลว เปนผูรู
แจงโลก เปนบรมศาสดา เปนผูอดุ มสูงสุดดวยพระปรีชาญาณและพระมหากรุณาธิคุณตอ
สรรพสัตวไมมีที่สุดไมมีประมาณ


เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๑.

เสฐียรพงษ วรรณปก, คําบรรยายพระไตรปฎก, พิมพครั้งที่ ๓, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓), หนา ๑๒๗.

สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๓๗๗/๒๒๙.

Page 72 of 102
๕๙

๔.๓ มหาปุรสิ ลักษณะคือผลแหงกุศลกรรม


ในประเด็นนี้ ผูวิจัยสนใจมุงศึกษาวิเคราะหเกี่ยวกับที่มาหรือบอเกิดของมหาปุริส
ลักษณะของพระพุทธเจา ดังไดนําเสนอในรายละเอียดไวแลวในบทที่ ๓ จากการศึกษาวิจัย
ในลักขณสูตร ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรคพบวา พระพุทธเจาไดมหาปุริสลักษณะอยางบริบูรณ
สมบูรณ เพราะอานิสงสแหงการสรางกุศลกรรมในอดีตชาติ ดังนี้
มหาปุริสลักษณะที่ ๑ มีฝาพระบาทเรียบเสมอกัน เกิดจากอานิสงสของการยึด

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มั่นในกุศลกรรม ประพฤติชอบดวยกาย วจี มโน โดยสุจริต ยินดีในการใหทาน สมาทาน
ศีลและรักษาอุโบสถ เกือ้ กูลมารดาบิดา เกื้อกูลสมณะ และมีความประพฤติออนนอมตอ
ผูใหญในตระกูล เพราะพระองคไดกระทํา สั่งสม พอกพูนทํากรรมนั้นใหไพบูลยจึงไดมหา
ปุริสลักษณะนี้ ๑๐
มหาปุริสลักษณะที่ ๒ พื้นพระบาททั้ง ๒ มีจักรทั้ง ๒ เกิดขึ้นจักรเหลานี้มีซี่มกี ง
และดุม เกิดจากอานิสงสที่พระองคนําความสุขมาใหแกคนหมูมาก บรรเทาความหวาดกลัว
และหวาดสะดุง ปองกัน คุมครองอยางเปนธรรมและใหทานพรอมทั้งของที่เปนบริวาร๑๑
มหาปุริสลักษณะที่ ๓, ๔, ๕ มีลักษณะสนพระบาทยื่นยาว มีพระองคคุลียาว
และมีพระวรกายตรงดังกายพรหม เกิดจากอานิสงสที่พระองคไมฆาสัตว ทรงมีเมตตา และ
กรุณาตอสัตว มีความละอายและมุงประโยชนเกื้อกูลแกสรรพสัตว ๑๒
มหาปุริสลักษณะที่ ๖ มีพระมังสะเต็มบริบูรณ เกิดจากอานิสงสแหงการใหของ
ควรเคี้ยว ของควรบริโภค ของที่ควรลิ้มและควรชิม น้ําที่ควรดื่มอันประณีตและมีรสอรอย ทํา
ใหพระองคมีพระมังสะที่หลังพระหตถ หลังพระบาท ที่จะงอยบา และที่ลําพระศอเต็มบริ
บูรณ ๑๓
มหาปุริสลักษณะที่ ๗, ๘ มีพระบาทและพระหัตถออนนุม มีเสนดุจรูปตาขาย
ปรากฏบนฝาพระหัตถและฝาพระบาท เกิดจากอานิสงสที่ไดสงเคราะหประชาชนดวยสังคห
วัตถุ ๔ คือ ทาน ปยวาจา อัตถจริยาและสมานัตตตา ๑๔

๑๐
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๐๑/๑๖๓.
๑๑
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๐๔/๑๖๖.
๑๒
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๐๖/๑๖๗.
๑๓
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๐๘/๑๖๙.
๑๔
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๑๐/๑๗๐.

Page 73 of 102
๖๐

มหาปุริสลักษณะที่ ๙, ๑๐ มีขอพระบาทสูงและมีพระโลมชาติปลายงอนขึ้น เกิด


จากอานิสงสการกลาววาจาที่ประกอบดวยประโยชน ประกอบดวยธรรม แนะนําคนหมูมาก
เปนผูนําประโยชนและความสุขมาใหแกสัตวทั้งหลาย เปนผูบูชาธรรมเปนปกติ๑๕
มหาปุริสลักษณะที่ ๑๑ มีพระชงคเรียวดุจแขงเนื้อทราย เกิดจากอานิสงสเปนผู
ตั้งใจสอนศิลปะ วิชา จรณะ แกผูคนใหเขาใจไดรวดเร็วและปฏิบัติตามไดเร็ว ๑๖
มหาปุริสลักษณะที่ ๑๒ มีพระฉวีวรรณละเอียด ธุลีไมติดพระวรกาย เกิดจาก

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
อานิสงสผลบุญที่เขาไปหาสมณะหรือพราหมณ ซักถามในเรื่องกุศลกรรม อกุศลกรรม สิ่งที่
ควรเสพไมควรเสพ มีโทษไมมีโทษ ๑๗
มหาปุริสลักษณะที่ ๑๓ มีพระฉวีเปลงปลั่งดุจทองคํา เกิดจากอานิสงสของการตั้ง
สัจจะอธิษฐานเปนผูไมมีความโกรธ ไมมีความคับแคนใจ ไมโกรธ ไมพยาบาท ไมจองลาง
จองผลาญและไมแสดงความเสียใจใหปรากฏ เปนผูใหเครื่องลาดที่มีเนื้อดีออนนุม ใหผาหม
เนื้อดี ผาฝายเนื้อดี ผาไหมเนื้อดีและผากัมพลเนื้อดี ๑๘
มหาปุริสลักษณะที่ ๑๔ มีพระคุยหฐานเรนอยูในฝก เกิดจากอานิสงสของการ
เปนผูทรงนําพวกญาติมิตรที่สูญหายพลัดพรากไปนานใหมาพบกัน ถาพระองคเปนพระมหา
จักรพรรดิ พระองคจะทรงมีพระโอรสมาก แตถาพระองคเสด็จออกบรรพชาก็ไดบริวารเปน
อันมาก ๑๙
มหาปุริสลักษณะที่ ๑๕, ๑๖ เมื่อประทับยืนพระหัตถจับถึงพระชานุโดยไมนอม
พระวรกายลง และมีพระวรกายเปนปริมณฑลดุจปริมณฑลของตนไทร พระวรกายสูงเทากับ
๑ วาของพระองค เกิดจากอานิสงสที่พระองคไดตรวจดูมหาชนที่ควรสงเคราะห รูจักตนเอง
รูจักฐานะของบุคคลและปฏิบัติตอบุคคลไดอยางเหมาะสม ๒๐
มหาปุริสลักษณะที่ ๑๗, ๑๘, ๑๙ มีพระวรกายทุกสวนบริบูรณดุจลําตัวทอนหนา
ของราชสีห มีรองพระปฤษฎางคราบเรียบเต็มเสมอกัน และมีพระสอกลมงามเทากันตลอด

๑๕
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๑๒/๑๗๒.
๑๖
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๑๔/๑๗๔.
๑๗
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๑๖/๑๗๖.
๑๘
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๑๘/๑๗๗.
๑๙
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๒๐/๑๗๙.
๒๐
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๒๒/๑๘๐.

Page 74 of 102
๖๑

เกิดจากอานิสงสที่เปนผูปรารถนาความเจริญแกพหุชน เจริญดวยศรัทธา รักษาศีล เจริญดวย


สุตะ พุทธิ จาคะ เจริญดวยธรรมและปญญา ๒๑
มหาปุริสลักษณะที่ ๒๐ มีเสนประสาทรับรสพระกระยาหารไดดีเกิดจากอานิสงส
ที่ไมเบียดเบียนสัตวใดๆ ใหลําบาก ทรงมีพระเมตตาตอสัตวทั้งปวง ๒๒
มหาปุริสลักษณะที่ ๒๑, ๒๒ มีพระเนตรดําสนิท และมีดวงพระเนตรแจมใส
ดุจตาลูกโคเพิ่งคลอด เกิดจากอานิสงสเปนผูมีปยจักษุ มีใจซื่อตรงเปนปรกติ เปนผูฉลาดใน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
นิมิตตอพระหูชน และแลดูมหาชนดวยดวงตาที่เปยมดวยความรัก๒๓
มหาปุริสลักษณะที่ ๒๓ มีพระเศียรงามบริบูรณดุจประดับดวยกรอบพระพักตร
เกิดจากอานิสงสที่พระองคอนุวัตรตามหาชนที่กระทํากุศลกรรม เปนผูนําในการประพฤติกาย
สุจริต ในวจีสุจริต ในมโนสุจริต ในการใหทาน ในการรักษาศีล ในการสมาทานศีล
อุโบสถ ในการเกื้อกูลมารดาบิดา เกื้อกูลสมณะ ในความประพฤติออนนอมตอผูใหญ๒๔
มหาปุริสลักษณะที่ ๒๔,๒๕ มีพระโลมชาติเดี่ยวและมีพระอุณาโลมระหวาง
พระโขนงสีขาวออนเหมือนปุยนุน เกิดจากอานิสงสที่พระองคละเวนขาดจากการพูดเท็จ พูด
แตคําสัตย พูดแตคําที่มีสาระประโยชนนาเชื่อถือ ไมหลอกลวงชาวโลก ๒๕
มหาปุริสลักษณะที่ ๒๖, ๒๗ มีพระทนต ๔๐ องค ขางลาง ๒๐ ขางบน ๒๐ มี
พระทนตเรียบเสมอกันและมีพระทนตเรียบสนิทไมหางกัน เกิดจากอานิสงสที่พระองคเวน
ขาดจากการพูดสอเสียด พูดแตคําที่สรางสรรคความสมานสามัคคี สงเสริมและยินดีกับคนที่
ปรองดองกัน ๒๖
มหาปุริสลักษณะที่ ๒๘,๒๙ มีพระชิวหาออนและยาวและมีพระสุรเสียงดุจเสียง
พรหม เกิดจากอานิสงสการที่พระองคทรงละเวนจากการกลาววาจาหยาบ ทรงกลาวแตคําที่
ไมมีโทษ มีความไพเราะหู ชวนใหผูฟงเกิดความรักใครชอบใจเปนนิจ ๒๗

๒๑
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๒๔/๑๘๒.
๒๒
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๒๖/๑๘๔.
๒๓
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๒๘/๑๘๖.
๒๔
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๓๐/๑๘๗.
๒๕
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๓๒/๑๘๙.
๒๖
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๓๔/๑๙๑.
๒๗
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๓๖/๑๙๓.

Page 75 of 102
๖๒

มหาปุริสลักษณะที่ ๓๐ มีพระหนุดุจคางราชสีห อันเปนผลแหงกุศลกรรมที่เกิด


จากอานิสงสที่พระองคเวนขาดจากการพูดเพอเจอ พูดถูกกาล พูดแตคําสัตย พูดอิงธรรมอิง
วินัย พูดมีหลักฐาน ๒๘
มหาปุริสลักษณะที่ ๓๑,๓๒ มีพระทนตเรียบเสมอกันและมีพระเขี้ยวแกวขาวงาม
เกิดจากอานิสงสของการละมิจฉาอาชีวะ ดํารงชีพดวยสัมมาอาชีวะ เวนขาดจากการทุจริตคด
โกง การลอลวง การตลบตะแลง การฉกชิงวิ่งราว การปลนและการขูกรรโชก ๒๙

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดังนั้น จะเห็นไดวามหาปุริสลักษณะที่กลาวมานี้เกิดจากกุศลกรรมที่พระพุทธเจา
ทรงบําเพ็ญในอดีตชาติที่เกิดเปนพระโพธิสัตว พระองคไดทรงสรางมหากุสลเหลือคณาไดสั่ง
สมพอกพูนกรรมนั้น ทํากรรมนั้นใหไพบูลย ครั้นจุติจากเทวโลกแลวมาสูมนุษยโลกจึงได
มหาปุริสลักษณะอยางบริบูรณสมบูรณ

ฉะนั้น ผูวิจัยขอสรุปวา สําหรับผูที่ยังมีความเคลือบแคลงสงสัยในเรื่องมหาปุริส


ลักษณะของพระพุทธเจา จําเปนจะตองพิสูจนความจริงดวยตนเอง ดังที่ไดกลาวมาแลวโดย
การบําเพ็ญบารมีมุงสูความเปนมหาบุรุษ และพิสูจนความจริงดวยการเขาถึงปุพเพนิวาสานุส
สติญาณใหไดดวยตนเอง เพราะการกระทําใหประจักษแจงเปนเรื่องเฉพาะตน แตการจะให
ไดมหาปุริสลักษณะนั้น จะตองมุงบําเพ็ญบารมีเพื่อบรรลุถึงความเปนพระมหาบุรุษ จึงจะ
สามารถบรรลุโพธิญาณ และการจะไดโพธิญาณก็ไดจากอานิสงสของกุศลกรรมตางๆ ดังที่
พระพุทธเจาไดพิสูจนมาแลวโดยใชเวลานานนับอสงไขยแสนกัปจึงไดมหาปุริสลักษณะอยาง
ครบถวนบริบูรณ

๔.๔ มหาปุริสลักษณะคือผลแหงการบําเพ็ญบารมี
มหาปุริสลักษณะคือผลแหงการบําเพ็ญบารมีในอดีตชาติของพระพุทธเจา ไมใช
ปรากฏการณที่เกิดขึ้นโดยไมมีเหตุปจจัย แตเกิดจากการสรางบารมีหรือการสั่งสมความดีของ
พระองคเปนเวลานานนับอสงไขยแสนกัปในวัฏสงสารพระองคทรงบําเพ็ญบารมีคือไดสั่งสม

๒๘
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๓๘/๑๙๔.
๒๙
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๒๔๐/๑๙๖.

Page 76 of 102
๖๓

ความดีไวแตภพกอนๆ ดวยการเปนผูบากบั่นในกุศลกรรม ถือมั่นในกายสุจริต วจีสุจริต


และมโนสุจริต ตลอดจนการบริจาคทาน เปนตน ๓๐
จากการศึกษาวิจัยพบวา บุคคลผูจะเปนพระมหาบุรุษไดนั้นจะตองเปนผูไดสราง
บําเพ็ญบารมีครบ ๑๐ ประการ และบําเพ็ญใหครบ ๓๐ ทัศ คือ บารมีธรรมดา ๑๐ ประการ
อุปบารมี ๑๐ ประการ และปรมัตถบารมี ๑๐ ประการ
บารมีธรรมดา คือ การสรางความดีตามปกติวิสัย มีเจตนาขั้นธรรมดา หรือเปน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บารมีที่บําเพ็ญไวในชาติที่หา งไกล
อุปบารมี คือการสรางความดีใหมากเกินกวาธรรมดา มีเจตนาแรงกลา สามารถ
เสียสละอวัยวะสวนใดสวนหนึ่งได หรือเปนบารมีที่สรางในชาติใกลเขามาอีก
ปรมัตถบารมี คือ การสรางความดีอยางสูงสุด มีเจตนาแรงกลากกวาคนอื่นๆ
จะทําได สามารถเสียสละไดแมชีวิต หรือเปนบารมีที่สรางในชาติที่ใกลจะทําไดคือการตรัสรู
เปนพระพุทธเจา๓๑
จากการศึกษาในคัมภีรพระปฐมสมโพธิกถาพบวา ไดมีกลาวถึงการบําเพ็ญบารมี
ของพระพุทธเจาในอดีตชาติ เริ่มตั้งแตพระองคไดรับพยากรณในสํานักพระสัพพัญูพุทธเจา
ทั้ง ๑๔ พระองค มีพระพุทธเจาทีปงกรเปนตนจนถึงพระพุทธกัสสปะเปนปริโยสาน และ
พระองคทรงกอสรางกฤษฎาภินิหารมาไดซึ่งอานิสงสเปนอันมาก เมื่อพระองคทรงบังเกิดมา
เปนมนุษยจึงไดมหาปุริสลักษณะบริบูรณ และเมื่อทรงบังเกิดเปนมนุษยในภพใด ๆ ก็ดี พระ
หฤทัยยินดีที่จะบรรพชาและประพฤติในจริยาทั้ง ๓ และทั้งบําเพ็ญบารมีทั้ง ๓๐ ทัศ มีทาน
บารมี เปนตน จนอุเบกขาบารมีเปนที่สุด กิริยาที่สั่งสมพระบารมีเพื่อประโยชนแกพระ
โพธิญาณจัดเปนสิ่งละ ๓ ประการ คือพระบารมี ๑๐ และอุปบารมี ๑๐ และปรมัตถบารมี
๑๐ และทรงบําเพ็ญทานในชาติเปนเวลาพราหมณเปนอาทินั้นจัดเปนพระทานบารมี ทรง
ควักพระเนตรใหเปนทานในชาติ เปนพระยาสีวิราช จัดเปนอุปบารมี ทรงสละชีวิตใหเปน
ทานในชาติ เปนพระยาสสบัณฑิต จัดเปนทานปรมัตถบารมี ทรงบําเพ็ญศีลในชาติพระยา
สีลวกุญชรราชนั้น จัดเปนศีลบารมี ในชาติเปนพระยาภูริทัตนาคินทรราชนั้น จัดเปนอุป

๓๐
อ.ป. เปรียญ และ นธ. เอก, พุทธประวัติจากพระโอษฐ, (กรุงเทพมหานคร ฯ : โรงพิมพ
ธรรมทานมูลนิธิ, ๒๕๒๓), หนา ๕๘๑.
๓๑
จันทร ชูแกว, พระพุทธประวัติ : มหาบุรุษแหงชมพูทวีป, หนา ๑๑.

Page 77 of 102
๖๔

บารมี ในชาติเปนพระยาสังขบาลนาคราชนั้น จัดเปนศีลปรมัตถบารมี ทรงบําเพ็ญเนกขัมม


บรรพชา ในชาติเปนพระอโยฆราชกุมารนั้น จัดเปนเนกขัมมบารมี ในชาติเปนพระหัตถีบาล
กุมารนั้น จัดเปนเนกขัมมอุปบารมี ในพระชาติพระยาจุลสุตโสมราชนั้น จัดเปนเนกขัมมะ
ปรมัตถบารมี ทรงเปนพระปรีชาญาณในชาติเปนสัมภาะกุมาร จัดเปนปญญาบารมี ในชาติ
เปนวิธูรบัณฑิตอํามาตย จัดเปนปญญาอุปบารมี ในชาติเปนเสนกบัณฑิตพราหมณ จัดเปน
ปญญาปรมัตถบารมี ทรงพระวิริยภาพในชาติเปนพระยามหากบิลราช จัดเปนวิริยบารมี ใน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ชาติเปนพระยาสีลวมหาราช จัดเปนวิริยอุปบารมี ในชาติเปนพระยามหาชนกราช จัดเปน
วิริยปรมัตถบารมี ทรงพระขัติธรรมในชาติเปนพระจุลธรรมบาลราชกุมาร จัดเปนอุปบารมี
ในชาติเปนพระขันติวาทีดาบส จัดเปนปรมัตถบารมี ทรงกระทําสัจจกิริยาในชาติเปนสกุณ
โปดกนกคุมนั้น จัดเปนสัจจบารมี ในชาติเปนพญามัจฉาปลาชอนนั้น จัดเปนสัจจอุปบารมี
ในชาติเปนพระยามหาสุตโสมราช จัดเปนปรมัตถบารมี ทรงกระทําอธิษฐาน ในชาติเปน
พระยากุกกราช จัดเปนอธิษฐานปรมัตถบารมี ทรงเจริญพระเมตตาในชาติเปนสุวรรณสาม
ดาบส จัดเปนเมตตาบารมี ในชาติเปนพระกัณหาธิปายะดาบส จัดเปนเมตตาอุปบารมี ใน
ชาติเปนพระยาเอกราช จัดเปนเมตตาปรมัตถบารมี ทรงประพฤติอุเบกขา ในชาติเปนกัจฉ
บัณฑิต จัดเปนอุเบกขาบารมี ในชาติเปนโลมหังสบัณฑิต จัดเปนอุเบกขาปรมัตถบารมี เมื่อ
ครบบารมี ๓๐ ทัศบริบูรณแลว พระองคก็อุบัติในชาติเปนพระเวสสันดรนั้น ทรงบําเพ็ญ
พระบารมีทั้ง ๑๐ พรอมทุกประการ ๓๒
ในการบําเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตวนั้น จะเริ่มตนขึ้นหลังจากที่พระโพธิสัตว
ประกอบดวยคุณสมบัติ ๘ ประการ (อัฏฐธัมมสโมธาน) โดยบริบูรณแลว จากนั้นไดเริ่มตั้ง
ปณิธานคือความมั่นคง แนวแน ไมเปลี่ยนแปลง คือความมุงมั่นตั้งใจจริงและไมยอทอตอ
ปญหาและอุปสรรคทั้งปวง เรียกปณิธานของพระโพธิสัตวนี้วา “มหาจตุรปณิธาน” คือ
๑) เราจะละกิเลสทั้งหลายใหหมดสิ้น อยูเหนือกิเลสเครื่องเศราหมอง
๒) เราจะตั้งใจศึกษาพระธรรมทั้งหลายใหเจนจบ รูทุกอยาง (สัพพัญุตญาณ)
๓) เราจะโปรดสรรพสัตวทั้งหลายใหสิ้นใหพนจากความทุกข
๔) เราจะบําเพ็ญตนใหบรรลุถึงอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ ใหเขาถึงแดนพุทธภูมิ

๓๒
สมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส, พระปฐมสมโพธิกถา, (กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพเลี่ยงเชียง),
๒๕๓๐.

Page 78 of 102
๖๕

ตรัสรูเ ปนพระพุทธเจา ๓๓
ปณิธานทั้ง ๔ นี้ เปนจุดมุงหมายของพระโพธิสัตว และเปนเครือ่ งกระตุนความ
มุงมั่นทะเยอทะยานอันแรงกลาในการบําเพ็ญบารมีเพื่อบรรลุถึงความเปนพระมหาบุรุษ
ดังนั้น มหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจานั้น สามารถพิสูจนความจริงดวยการ
บําเพ็ญบารมีมุงสูความเปนมหาบุรุษ และพิสูจนความจริงดวยทิพยจักษุญาณดวยตนเอง
มหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจาเกิดจากผลแหงกุศลกรรม และเกิดจากการบํา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เพ็ญบารมีมานานนับ ๔ อสงไขยแสนกัป ผานโลกแหงสัตวมนุษยโลกเทวโลกพรหมโลก
มาแลวดวยปณิธานที่แนวแนจะใหไดตรัสรูเปนพระพุทธเจาดวยพระองคเอง แลวในที่สุดเมื่อ
พระองคไดมหาปุริสลักษณะแลวก็ตรัสรูดวยพระองคเองเปนพระอนุตรสัมมาสัมพุทธเจา

๔.๕ สรุปขอเท็จจริงเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา
จากการศึกษาวิเคราะหขอเท็จจริงเกีย่ วกับมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา พอสรุป
สาระสําคัญไดดังนี้
มหาปุริสลักษณะความเปนจริงเชิงอัตวิสัยนั้น สามารถพิสูจนเชิงประจักษไดดว ยมรรค
วิธี ๒ ประการ ไดแก พิสูจนความจริงดวยการบําเพ็ญบารมีมุงสูความเปนมหาบุรุษดวยตนเอง โดย
ยึดเอาพระพุทธเจาเปนแบบอยาง ในการตัง้ ปณิธานที่แนวแน จนกวาจะประสบความสําเร็จ และอีก
ประการหนึ่งไดแก การพิสูจนความจริงดวยปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ซึ่งเปนการพิสูจนขอเท็จจริง
เชิงประจักษดว ยญาณภายใน แมแตพระพุทธเจาก็ทรงทราบมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจาใน
อดีตดวยปุพเพนิวาสานุสสติญาณนี้
บุคคลผูที่จะสามารถตรัสรูสัมมาสัมโพธิญาณไดนั้น จะตองเปนพระมหาบุรุษที่มีมหา
ปุริสลักษณะอยางบริบูรณสมบูรณ สําหรับบุคคลที่ยังไมมีคุณลักษณะแหงมหาบุรุษและไมมี
คุณสมบัติของมหาบุรุษ อาจจะเปนไดเฉพาะพระปจเจกพุทธเจา หรือพระอรหันต
พระพุทธเจาไดมหาปุริสลักษณะและอนุพยัญชนะ จากผลแหงกุศลกรรมที่ทรงกระทํา
ไวในอดีตชาติ ดังนั้น การกลาวถีงพุทธลักษณะจึงเปนการกลาวถึงผลที่เกิดจากกุศลกรรม และเปน
การพูดถึงเรื่องของกรรม (การกระทํา) และผลของกรรมนั่นเอง ไมใชพูดถึงสิ่งเกินความเปนจริงที่
มนุษยจะพึงเขาถึงได

๓๓
อัฏฐธัมมสโมธาน ไดแก ความเปนมนุษย ความถึงพรอมดวยเพศ เหตุ การเห็นพระศาสดา
การบรรพชา การสมบูรณดวยคุณ การกระทําที่ยิ่งใหญ ความพอใจ (ความรัก ความปรารถนา) ที่จะบรรลุ
สัพพัญุตญาณอยางแรงกลาแมวาจะมีอุปสรรคที่ยากตอการฝาฝนไมยอมแพ ดู ขุ.ชา.อ. ๓/๒๔-๒๕.

Page 79 of 102
๖๖

มหาปุริสลักษณะ คือ ผลแหงการบําเพ็ญบารมีของพระพุทธเจานานนับสี่อสงไขยแสน


กัป ดังที่เรียกวาบําเพ็ญทศบารมีไดถึง ๓๐ ทัศ เริ่มตั้งแต บารมีธรรม ๑๐ อุปบารมี ๑๐ และปรมัตถ
บารมี ๑๐ อันเปนบารมีสูงสุด เพราะการบําเพ็ญบารมีดังกลาวอยางสมบูรณ จึงทําใหพระองคได
มหาปุริสลักษณะอยางครบถวนและไดตรัสรูเปนพระอนุตรสัมมาสัมพุทธเจา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Page 80 of 102
บทที่ ๕
สรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ

๕.๑ สรุปผลการวิจัย

ผูวิจัยเห็นวาเรื่องมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจายังเปนที่เคลือบแคลงสงสัยใน
หมูชาวพุทธและที่มิใชชาวพุทธในแงของความเปนจริง แตเนื่องจากวาไมมีผูใดสามารถ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พิสูจนใหเห็นเชิงประจักษได เพราะเหตุวาพระองคไดปรินิพพานนานกวาสองพันปแลว ดวย
เหตุนี้ผูวิจัยจึงไดมุงทําการศึกษาวิจัยขอมูลจากแหลงความรูตางๆในทางพระพุทธศาสนา เพื่อ
นํามาวิเคราะหหาขอเท็จจริงตางๆ พรอมเสนอความเห็นของผูวิจัย เพื่อตอบวัตถุประสงคและ
ปญหาที่ตองการทราบสาระสําคัญเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะ ผลการศึกษาวิจัย สรุปไดวา
มหาปุริสลักษณะ ในความหมายตามศัพท หมายถึง ลักษณะของบุรุษผูยิ่งใหญ
ในที่นี้หมายถึง มหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา ซึ่งมีกลาวไวในลักขณสูตรและมหาปทาน
สูตร ทีฆนิกาย ซึ่งแสดงถึงลักษณะของพระมหาบุรุษ ๓๒ ประการ อันเปนคติที่ชางศิลปใช
เปนแนวทางในการสรา งพุท ธศิล ปกรรมตา งๆ ทั้ งนี้ เพราะเชื่อ วา มหาปุริ สลักษณะ ๓๒
ประการ เปนพุทธลักษณะที่นาเลื่อมใสศรัทธาและเปนพุทธานุสสติ
ในพระอภิธรรมไดใหความมายคําวา ปุริส แปลวา ผูชาย หรือบุรุษ แปลโดยทั่วไป
วา ผูชาย หรือบุรุษซึ่งโดยรากศัพทหมายถึง เพศที่ไมออกลูก มีสภาวะที่แสดงความเปนบุรุษ
เชน ทรวดทรง กริยา อาการตางๆ ที่แตกตางจากความเปนหญิง ดังนั้น คําวา มหาปุริส
ลักษณะ จึงแสดงถึงคุณสมบัติหรือคุณลักษณะพิเศษของบุรุษเพศ ไมใชสตรีเพศ
ในพระวิ นั ย ป ฏ ก ได ก ล า วถึ ง ลั ก ษณะของพระพุ ท ธเจ า ว า ตรงตามมหาปุ ริ
สลักษณะทุกประการ ดังเชน พระองคมีพระฉวีวรรณเปลงปลั่งดั่งทอง ฯลฯ ผูใดมีมหาปุริส
ลักษณะเชนนี้ หากครองเรือนจะไดเปนพระเจาจักรพรรดิ หากออกบวชจะไดตรัสรูอนุตร
สัมมาโพธิญาณ
ในพระสุ ต ตั น ตป ฎ กพบว า มี ก ารกล า วถึ ง มหาปุ ริ ส ลั ก ษณะไว ทั้ ง โดยย อ บาง
ประการและโดยละเอียด หลักใจความสําคัญอยูที่วา บุคคลที่อุบัติในโลกมนุษยและจะได
ตรัสรูอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณเทานั้นจึงจะเกิดปรากฏการมหาปุริสลักษณะ และผูนั้นก็เปน
พระมหาบุรุษ

Page 81 of 102
๖๘

ในมัชฌิมนิกายไดกลาวถึงเสลพราหมณชื่นชมในพระบารมีของพระพุทธเจาวามี
พระวรกายมีรัศมีเรืองงาม ซึ่งตรงกับมหาปุริสลักษณะที่ ๑๒ มีพระฉวีวรรณเปลงปลั่งดั่งทอง
ตรงกับมหาปุริสลักษณะที่ ๑๑ มีพระเนตรแจมใสตรงกับมหาปุริสลักษณะที่ ๑๕
ในขุททนิกายไดกลาวถึงมหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับพระสุรเสียงวามีคุณลักษณะ
พิเศษ ๘ ประการดวยกันคือ สละสลวย ชัดเจน ไพเราะ นาฟง กลมกลอม ไมแหบพรา นุมลึก
และกังวาล ซึ่งตรงกับมหาปุริสลักษณะที่ ๒๘

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ในมหาปทานสูตร ทีฆนิกาย มหาวรรคไดกลาวถึงมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ
พรอมทั้งอานิสงสของกุศลกรรมที่ทําใหไดมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ โดยพระสมณโค
ดมพุทธเจา ทรงเลาถึงวิปสสีราชกุมารใหภิกษุทั้งหลายฟงวาเปนผูประกอบดวยมหาปุริส
ลักษณะ ๓๒ ประการ ซึ่งบุคคลสมบูรณดวยมหาปุริสลักษณะมีคติเปนสองออยางเทานั้น คือ
ถาอยูครองเรือนจะไดเปนพระเจาจักรพรรดิผูทรงธรรมฯ ถาออกผนวชจะไดเปนพระอรหันต
สัมมาสัมพุทธเจาผูเลิศในโลก
ในลั ก ขณะสู ต ร ที ฆ นิ ก าย ปาฏิ ก วรรค ได ก ล า วถึ ง พระพุ ท ธเจ า ได ต รั ส กั บ
พระภิกษุทั้งหลายถึงมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการ พรอมทั้งอานิสงสของกุศลกรรมที่ทําให
ไดมหาปุริสลักษณะ และบุคคลที่ประกอบดวยมหาปุริสลักษณะ มีคติเปนสองอยางคือถาอยู
ครองเรือนจะไดเปนพระเจาจักรพรรดิผูทรงธรรมฯ ถาออกผนวชจะไดเปนพระอรหันต
สัมมาสัมพุทธเจาผูเลิศในโลก และในพระสูตรนี้ยังไดตรัสถึงพระองควาวากอนที่พระองคจะ
อุบัติในโลกมนุษยมีลักษณะมหาบุรุษสมบูรณ ๓๒ ประการ จุติในโลกสวรรค เสวยทิพย
สมบัติ ๑๐ ประการ เชน อายุทิพย วรรณทิพย ฯลฯ
ในคัมภีรอรรถกถา เชน สุมังคลวิลาสินี อรรถกถาทีฆนิกาย ( มหาปทานสูตร ) ซึ่ง
พระพุทธโฆสาจารยไดอธิบายมหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการของพระพุทธเจาโดยวิเคราะห
อยางละเอียด ทําใหมองเห็นพุทธลักษณะตางๆ เปนรูปธรรมไดชัดเจนขึ้น ดวยการอธิบายให
เห็นวามหาปุริสลักษณะเปนลักษณะของพระมหาบุรุษซึ่งมีลักษณะพิเศษแตกตางจากคน
ธรรมดาทั่วไป
ในปกรณวิเสสนั้น ผูวิจัยพบวาคัมภีรมิลินทปญาไดกลาวถึงมหาปุริสลักษณะบาง
ประการของพระพุทธเจาในบทสนทนากันระหวางพระนาคเสนกับพระยามิลินทสรุปวา มหา
ปุริสลักษณะของพระพุทธเจานั้นเกิดจากอานิสงสแหงการบําเพ็ญบารมี ซึ่งแตกตางจาก
กายภาพของพระราชบิดาและพระราชมารดา เพราะเปนลักษณะพิเศษของพระมหาบุรุษผูจะ

Page 82 of 102
๖๙

ไดตรัสรูเปนพระอนุตรสัมมาสัมพุทธเจา เปรียบเทียบไดดังกับดอกบัว แมจะเกิดในดินใน


น้ํา แตมีกลิ่น รส ที่เลิศกวาดินและน้ํา
จากการศึกษาพบวามหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการของพระพุทธเจา เปนลักษณะ
ของพระมหาบุรุษและบุคคลจะเปนมหาบุรุษผูสมบูรณดวยมหาปุริสลักษณะและตรัสรูเปน
พระอนุตรสัมมาสัมพุทธเจาไดนั้น จะตองบําเพ็ญบารมีใหครบ ๓๐ ประการ ไดแก บารมี
ธรรม ๑๐ อุปบารมี ๑๐ และปรมัตถบารมี ๑๐

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มหาปุริสลักษณะ ๓๒ ประการของพระพุทธเจามีรายละเอียดปรากฏอยูในมหาป
ทานสูตร และในลักขณสูตร ทีฆนิกาย แหงพระสุตตันตปฎก เรียงลําดับตั้งแตประการที่
๑-๓๒ พรอมทั้งอานิสงสของกุศลกรรมที่ทําใหไดมหาปุริสลักษณะอยางครบถวนสมบูรณ
มหาปุริสลักษณะทั้ง ๓๒ ประการ จะเกี่ยวกับลักษณะพิเศษที่ปรากฏในพระวรกายของพระ
มหาบุรุษ ซึ่งสามารถจัดกลุมไดดังนี้คือ
มหาปุริ สลักษณะเกี่ยวกับพระเศียร ๑ ประการคือ พระเศียรงามบริบูรณดุ จ
ประดับดวยกรอบพระพักตร (๓๒)
มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับพระบาทและพระหัตถ ๖ ประการคือ ฝาพระบาทราบ
เสมอกัน (๑) พื้นฝาพระบาทมีรูปกงจักร (๒) สนพระบาทยาวงาม (๓) พระหัตถและพระ
บาทออนนุม (๕) ฝาพระหัตถและฝาพระบาทมีลายดุจรูปตาขาย (๖) และขอพระบาทดุจสังข
คว่ํา (๗)
มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับองคุลี ๑ ประการคือ มีพระองคุลียาวเรียวงาม (๔)
มหาปุ ริส ลัก ษณะเกี่ยวกั บพระชงค ๑ ประการคื อ พระชงค เรี ยวงามดุ จแข ง
ทราย (๘)
มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับพระกาย ๘ ประการคือ เมื่อประทับยืนพระหัตถจับ
พระชานุ ไ ด (๙) พระวรกายตั้ ง ตรงดุ จ การพรหม (๑๕) พระมั ง สะเต็ ม บริ บู ร ณ (๑๖)
พระวรกายดุจลําตัวทอนหนาของราชสีห (๑๗) พระปฤษฎางคราบเรียบเสมอกัน (๑๘)
พระวรกายสูงเทากับ ๑ วาของพระองค (๑๙) พระศอกลมงาม (๒๐) พระหนุดุจคางราช
สีห (๒๒)
มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับพระคุยฐาน ๑ ประการคือ พระคุยฐานเรนอยูในฝก (๑๐)
มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับพระฉวีวรรณ ๒ ประการคือ พระฉวีเปลงปลั่งดั่งทอง
(๑๑) พระฉวีละเอียดปราศจากธุลี (๑๒)

Page 83 of 102
๗๐

มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับพระโลมา ๒ ประการคือ พระโลมามีขุมละเสน (๑๓)


พระโลมชาติปลายงอนขึ้น เวียนขวา (๑๔)
มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับเสนประสาท ๑ ประการคือ เสนประสาทรับรสอาหาร
ไดดี (๒๑)
มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับพระทนต ๔ ประการคือ พระทนตมี ๔๐ ซี่ (๒๓)
พระทนตเรียบเสมอกัน (๒๔) พระทนตเรียบสนิทไมหางกัน (๒๕) พระเขี้ยวแกวขาว

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
งาม (๒๖)
มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับพระชิวหา ๑ ประการคือ พระชิวหาออนและยาว (๒๗)
มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับพระสุรเสียง ๑ ประการคือ พระสุรเสียงกังวานดุจเสียง
พรหม (๒๘)
มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับพระเนตร ๒ ประการคือ พระเนตรดําสนิท (๒๙) ดวง
พระเนตรแจมใสดุจตาลูกโคเพิ่งคลอด (๓๐)
มหาปุริสลักษณะเกี่ยวกับพระอุณาโลม ๑ ประการคือ พระอุณาโลมปรากฏ
ระหวางพระโขนง มีสีขาวออนเหมือนปุยนุน (๓๑)
จากการศึ ก ษาวิ จั ย พบว า รู ป มงคล ๑๐๘ บนฝ า พระบาทของพระพุ ท ธเจ า นั้ น
จัด เปน กลุม ได ๗ ประเภทด วยกั น คือ ๑) ประเภทศาสตรา ๒) ประเภทดอกไมม งคล
๓) ประเภทเครื่องประดับและเครื่องตกแตง ๔) ประเภทสัตวตางๆ ๕) ประเภทสถานที่
สําคัญ ๖) ประเภทธรรมชาติในจักรวาล ๗) ประเภทพรหมและพระยามาร
พระพุทธเจานอกจากจะสมบูรณดวยมหาปุริสลักษณะทั้ง ๓๒ ประการแลว
พระองคยังประกอบดวยอนุพยัญชนะ ๘๐ ประการ ซึ่งเปนลักษณะพิเศษปลีกยอยของมหา
ปุริสลักษณะ จากการจัดกลุมตามความสัมพันธกันของอนุพยัญชนะกับมหาปุริสลักษณะ
พบวา มหาปุริสลักษณะที่ไมมีอนุพยัญชนะปลีกยอยเลยไดแก พระชงค พระคุยฐาน พระศอ
เสนประสาท พระหนุ สวนอนุพยัญชนะที่ปรากฏกชัดเจนในพุทธศิลปกรรมทุกประเภท
ไดแก อนุพยัญชนะที่ ๔๗ พระกรรณมีสัณฐานยาว ไมปรากฏในมหาปุริสลักษณะ
ผลการศึกษาวิเคราะหเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะกับอนุพยัญชนะแงบุคลาธิษฐาน
และแงกายวิภาค ซึ่งเปนประเด็นที่พุทธบริษัทตลอดจนผูสนใจใครศึกษาอาจมีความเคลือบ
แคลงสงสัย สรุปสาระสําคัญของประเด็นวิจัย ดังตอไปนี้

Page 84 of 102
๗๑

มหาปุริสลักษณะ ไดแก รูปจักรและรูปมงคล ๑๐๘ บทพื้นฝาพระบาทของพระ


พุทธจา วิเคราะหในแงบุคลาธิษฐานไดวา จักร หมายถึง การหมุนไปของกงลอแหงพระ
ธรรมโดยธรรมราชาคือพระพุทธเจา สวนรูปมงคลตางๆ หมายถึง บริวารของธรรมราชาผู
ยิ่งใหญในทิศทั้งปวง พระกําลังเสมอชางลานเชือก หมายถึง พระมหาบุรุษเปนผูมีกําลังทาง
กายภาพ จิตภาพและปญญามากยิ่งกวามนุษยทั่วไปจนทําใหพระองคตรัสรูอนุตรสัมมาสัม
พุทธเจาได พระรัศมีรอบพระวรกาย หมายถึง รัศมีแหงพระมหากรุณาธิคุณ พระบริสุทธิ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
คุ ณ และพระป ญ ญาธิ คุ ณ อั น ประเสริ ฐ ของพระพุ ท ธเจ า แผ ก ระจายไปทุ ก ทิ ศ ทางอย า งไร
ขอบเขตจํากัด ประการสุดทาย ไดแกอนุพยัญชนะพระกรรณมีสัณฐานยาว หมายถึง ความ
เปนผูมีเหตุผล มีวิจารณญาณ หนักแนนและมั่นคง ไมหวั่นไหวตามกระแสแรงเสียดทาน ซึ่ง
ผลการวิเคราะหสรุปวา แตละประการมีความหมายใหความรูและแฝงไปดวยคติในการดําเนิน
ชีวิตของผูศึกษาและผูสนใจอยางยิ่ง
ผลการศึ ก ษาวิ เ คราะห ม หาปุ ริ ส ลั ก ษณะกั บ อนุ พ ยั ญ ชนะบางประการของ
พระพุทธเจา ที่เห็นวาคนทั่วไปยังมีความเคลือบแคลงสงสัย โดยผูวิจัยไดวิเคราะหในแงกาย
วิภาค ในประเด็น มีพระหัตถยาวจรดพระชานุในขณะประทับยืน ดวยเหตุผลวา พระพุทธเจา
มีพระวรกายสมสวน กลาวคือ มีพระวรกายสูงเทากับวาของพระองคจึงสามารถลูบคลําพระ
ชานุไดโดยไมตองนอมพระวรกาย พระชิวหาออนและยาวเปนพุทธลักษณะพิเศษที่ทําให
พระองคสามารถใชพระชิวหาสัมผัสพระนาสิกและพระกรรณได หากพิจารณาทางกายวิภาค
ก็ไมเกินความเปนจริงนัก เพราะแมบางคนในปจจุบันก็สามารถใชลิ้นเลียที่จมูกและคางได
เชนกัน พระกรรณมีสัณฐานยาวเปนอนุพยัญชนะที่ปรากฏใหเห็นในศิลปกรรมทั่วไป ซึ่งก็ถือ
วาไมแปลกตางจากคนทั่วไปมากนัก เพราะบางคนในปจจุบันที่มีใบหูใหญยาวก็มีเชนกัน
และทรงมีพระกําลังเสมอชางลานเชือก ซึ่งมหาปุริสลักษณะนี้เกิดจากกุศลกรรมที่ขวนขวาย
ชว ยเหลื อผู อื่ น และเพราะพระมหาบุรุ ษ มีกํ า ลั ง มากนี่ เ อง ทํา ใหพ ระองค ส ามารถมีชั ย ต อ
อุปสรรคและปญหานอยใหญทั้งปวงจนไดตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา
การศึกษาวิเคราะหขอเท็จจริงเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจาในความ
เปนจริงเชิงอัตวิสัยสามารถพิสูจนเชิงประจักษได ๒ มรรควิธี คือ ๑) พิสูจนความจริงดวย
การบําเพ็ญบารมีมุงสูความเปนมหาบุรุษ ดังที่พระพุทธเจาไดพิสูจนจนบรรลุเปาหมายมาแลว
๒) พิสูจนความจริงดวยบุพเพนิวาสานุสสติญาณ ดวยการระลึกชาติในอดีตไดซึ่งจะทําให
สามารถเห็นบุพพกรรมของสรรพสัตว ดังที่พระพุทธเจาทรงทราบมหาปุริสลักษณะของพระ

Page 85 of 102
๗๒

วิปสสีพุทธเจาดวยปุพเพนิวาสานุสสติญาณ การพิสูจนดวยมรรควิธีแรกเปนการพิสูจนดวย
ตาเนื้อ สวนมรรควิธีที่สองเปนการพิสูจนดวยญาณพิเศษ ซึ่งผูไดประจักษดวยตนเองก็จะ
หมดความเคลือบแคลงสงสัยเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจา
นอกจากจะพิ สู จ น ข อ เท็ จ จริ ง เกี่ ย วกั บ มหาปุ ริ ส ลั ก ษณะเชิ ง อั ต วิ สั ย แล ว จาก
การศึกษายังพบวา ยังสามารถตรวจสอบขอเท็จจริงไดในเชิงปรวิสัย กลาวคือ มหาปุริส
ลักษณะจะมีความสัมพันธกับการบรรลุโพธิญาณอยางมีนัยสําคัญ ดวยเหตุผลวาบุคคลผูที่จะ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
สามารถบรรลุอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณไดนั้น จะตองมีคุณสมบัติและลักษณะแหงมหาบุรุษ
อยางบริบูรณ หากมีไมสมบูรณก็จะเปนไดเพียงพระปจเจกพุทธเจาหรือพระอรหันตเทานั้น
มหาปุริสลักษณะยังสัมพันธกับเรื่องกรรมและผลของกรรม จากการศึกษาในมหาปทานสูตร
และลักขณสูตรแหงทีฆนิกายพบวา มหาปุริสลักษณะของพระพุทธเจาเกิดจากอานิสงสแหง
กุศลกรรมที่พระองคทรงบําเพ็ญตางกาลตางวาระในอดีตชาติ จนกลายเปนพลังแหงมหากุศล
กรรมแลวก็ทําใหเขาถึงภาวะแหงความเปนพระมหาบุรุษสมบูรณดวยมหาปุริสลักษณะและ
อนุพยัญชนะ ๘๐ ประการ จึงทําใหพระองคมีพระลักษณะแตกตางจากคนธรรมดาทั่วไป
มหาปุริสลักษณะ คือผลแหงการบําเพ็ญบารมี อุปบารมีและปรมัตถบารมี ของพระพุทธเจา
นานนับสี่อสงไขยแสนกัป
ดังนั้น มหาปุริสลักษณะที่ปรากฏแกพระพุทธเจาเปนสิ่งที่เกิดขึ้นตามเหตุปจจัย
และจะปรากฏจําเพาะแกพระมหาบุรุษเทานั้น การพิสูจนขอเท็จจริงเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะ
ของพระพุ ท ธผู ซึ่ ง ดั บ ขั น ธปริ นิ พ พานนานกว า สองพั น ป ก็ มี ม รรควิ ธี ใ นการพิ สู จ น เ ชิ ง
ประจักษแบบอัตวิสัย และเชิงปรวิสัยดังไดนําเสนอในรายละเอียดแลว

Page 86 of 102
๗๓

๕.๒ ขอเสนอแนะ
เพื่อใหงานวิทยานิพนธนี้มีประโยชนตอผูศึกษาและผูที่สนใจทั่วไปมากยิ่งขึ้น
ผูวิจัยมีขอเสนอแนะ ดังตอไปนี้
๕.๒.๑ ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการศึกษามหาปุริสลักษณะและอนุพยัญชนะของ
พระพุทธเจา
๑) การศึกษามหาปุริสลักษณะและอนุพยัญชนะของพระพุทธเจาควรยึดหลักกา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ลามสูตร โดยตั้งอยูบนพื้นฐานการศึกษาที่เกื้อหนุนกันระหวางศรัทธากับปญญา หากขาด
เครื่องมือนี้อยางใดอยางหนึ่งก็จะนําไปสูขอสรุปที่สุดโตงดานใดดานหนึ่ง
๒) แหลงขอมูลเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะและอนุพยัญชนะของพระพุทธเจามีอยู
หลากหลาย ทั้งดานเอกสารและพุทธศิลปกรรม ดังนั้น เพื่อใหผลการศึกษาไดขอสรุปที่
นาเชื่อถือมากที่สุด ผูศึกษาควรใหความสําคัญกับแหลงขอมูลทุกดาน
๓) วิธีการศึกษาเพื่อใหไดผลสรุปที่นาเชื่อถือมากที่สุด ควรศึกษาเชิงวิเคราะห
เทียบเคียงความสอดคลองสัมพันธกันระหวางขอมูลจากพระไตรปฎกอันเปนเอกสารชั้นตน
กับองคความรูดานพุทธศิลปยุคตน ที่ใกลเคียงกับพุทธสมัยมากที่สุด
๔) จุดมุงหมายในการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องนี้ ไมควรศึกษาเพียงเพื่อรูแตควรเนนให
เกิดพุทธานุสติ อันจะเปนไปเพื่อการพัฒนาจิต พัฒนาปญญาของผูศึกษา และเปนอนุสติใน
การมุ งมั่ น สรา งกุ ศลกรรมเพื่ อ บํา เพ็ ญ บารมี ให ม ากยิ่ ง ขึ้ นตามรอยพุ ท ธปณิ ธ าน จึ งจะเกิ ด
ประโยชนจากการศึกษาสูงสุด

๕.๒.๒ ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการสรางพุทธศิลปกรรมตามมหาปุรสิ ลักษณะ


๑) การสรางสรรคพุทธศิลปกรรมทุกประเภทควรตั้งอยูบนพื้นฐานแหงศรัทธาอัน
ประกอบดวยปญญา เพื่อใหเกิดพุทธศิลปที่สมบูรณทั้งดานศาสตรและศิลป
๒) การสรางสรรคพุทธศิลปกรรมไมควรอิงจินตนาการของชางศิลปเปนหลัก
เพราะจิ น ตนาการที่ ไ ร ขี ด จํ า กั ด จะเป น แรงผลั ก ดั น ให เ กิ ด พุ ท ธศิ ล ป ที่ ยิ่ ง คลาดเคลื่ อ นจาก
ขอเท็จจริงดานศาสตรมากยิ่งขึ้น
๓) การสรางสรรคพุทธศิลปกรรมทุกประเภท จินตนาการของชางศิลปควรมุงให
สอดคล อ งกั บ ศาสตร เ กี่ ย วกั บ มหาปุ ริ ส ลั ก ษณะและอนุ พ ยั ญ ชนะ เพื่ อ ให เ กิ ด พุ ท ธศิ ล ป ที่

Page 87 of 102
๗๔

สมบูรณและงดงามยิ่งขึ้น อันจะกอใหเกิดความศรัทธาเลื่อมใสแกผูพบเห็น และเกิดคุณคาแก


การศึกษาทั้งดานศาสตรและศิลปอยางแทจริง

๕.๒.๓ ขอเสนอแนะในการทําวิทยานิพนธ
ผูวิจัยเห็นวา การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับมหาปุริสลักษณะตอไปนั้น ควรศึกษาในประ
เด็นความรู ดังตอไปนี้
๑) ศึกษาอิทธิพลของมหาปุริสลักษณะตอคติความเชื่อการสรางพุทธปฏิมากรรม

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
หรือพระพุทธศิลปดานอื่นๆ
๒) ศึกษาคุณคาของพุทธศิลปกรรมตอการเสริมสรางคุณลักษณะของมนุษย เชน
คุณคาตอการเสริมสรางคุณลักษณะดานทักษะพิสัย ดานจิตพิสัยและดานพุทธิพิสัย

Page 88 of 102
บรรณานุกรม

ก. ขอมูลปฐมภูมิ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปฎกฉบับภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระไตรปฎกภาษาไทยพรอมอรรถกถาแปล. กรุงเทพมหานคร : โรง
พิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๒๕.
_________,พระธัมมปทัฏฐกถาแปล. พิมพครั้งที่ ๑๑. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหามกุฏ
ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๐.
______.มิลินทปญหา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓.
สมเด็จกรมพระปรมานุชิตชิโนรส. พระปฐมสมโพธิกถา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพเลี่ยง
เชียง, ๒๕๒๘.
สมเด็จพระสังฆราช (ปุสฺสเทว). ปฐมสมโพธิ. พิมพครั้งที่ ๒๓. กรุงเทพมหานคร :
สํานักพิมพมหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘.
กรมศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ. พุทธประวัติ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพการศาสนา,
๒๕๓๗.
________, พุทธประวัติ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพการศาสนา, ๒๕๓๙.

ข. ขอมูลทุติยภูมิ
(๑) หนังสือ :
กิตติโกภิกขุ (หลวงพอสุรินทร). สาระธรรม. พระนครศรีอยุธยา : โรงพิมพหางหุนสวนยุวพร
พริ้นติ้ง, ๒๕๓๙.
กรมการสงเสริมการทองเที่ยว. การทองเที่ยวแหงประเทศไทย พุทธไสยาสน. กรุงเทพฯ :
บริษัทแปลนโมทีพ จํากัด การพิมพ, ๒๕๔๘.
กองการสงเสริมแหลงทองเที่ยว. การทองเที่ยวแหงประเทศไทย พุทธศิลปเที่ยวเที่ยวถิ่นไส
ยาสน. กรุงเทพมหานคร : บริษัทแปลนโมทีป จํากัด, ๒๕๔๘.
จันทร ชูแกว. พระพุทธประวัติ : มหาบุรุษแหงชมพูทวีป. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหา

Page 89 of 102
๗๖

จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
ดัง ตฤณ. เสียดายคนตายไมไดอาน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพดีเอ็มจี, ๒๕๔๗.
ดวงใจ มหาพัฒนากุล. ยอนรอยพระพุทธเจา. กรุงเทพมหานคร : อักษรโสภณ จํากัด,
๒๕๕๐.
บุณย นิลเกษ. อุดมการณชีวิตแบบโพธิสัตว. เชียงใหม : พระสิงหการพิมพ, ๒๕๓๑.
บําเพ็ญ ระวิน. ปฐมสมโพธิ สํานวนลานนา. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพโอเดียนสโตร,

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒๕๓๕.
บรรจบ บรรณรุจิ. พระโพธิสัตวสิทธัตถะกับพระพุทธเจาในอดีต. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๒.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕. กรุงเทพมหานคร :
สํานักพิมพอักษรเจริญทัศน, ๒๕๓๑.
พระเทพวิสุทธิกวี (พิจิต ฐิตวณฺโณ). กฎแหงกรรม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๒.
พระธรรมปฎก (ประยุทธ ปยุตฺโต). พุทธธรรม. พิมพครั้งที่ ๖. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘.
พระพิมลธรรม (ชอบ อนุจารีมหาเถระ). พุทธประวัติทัศนศึกษา. กรุงเทพมหานคร :
กองทุนมูลนิธิหอไตร, ๒๕๔๑.
พยัคฆ. พระเจาสิบชาติ. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพอํานวยสาสน, ๒๕๔๘.
พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต). พุทธปรัชญา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพการศาสนา,
๒๕๓๐.
พุทธทาสภิกขุ. พุทธจริยา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพหางหุนสวนจํากัดการพิมพพระนคร,
๒๕๑๗.
_________, พระพุทธคุณที่จารึกในประวัติศาสตร. กรุงเทพมหานคร : สวนอุศมมูลนิธิ,
๒๔๘๓.
พระอุดรคณาธิการ (ชวินทร ระกํา). พจนานุกรมบาลี-ไทย. กรุงเทพมหานคร : เรืองปญญา
ทาพระจันทรการพิมพ, ๒๕๐๗.
วิชัย ตียปรัชญา. พุทธโอวาท. (เชียงใหม : โรงพิมพชางเผือก, ๒๕๔๔.
ศรีเรือน แกวกังวาน. ทฤษฎีจิตวิทยาบุคลิกภาพ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพหมอชาวบาน,

Page 90 of 102
๗๗

๒๕๔๕.
สุจินต บริหารวนเขตต. ปรมัตถธรรมสังเขป จิตวิเคราะหสังเขปและภาคผนวก.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพจงเจริญ, ๒๕๓๐.
สุเชาว พลอยชุม. สารานุกรมพระพุทธศาสนา. (ประมวลจากพระนิพนธสมเด็จพระมหา
สมณเจากรมพระยาวชิรญาณวโรรส). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหามกุฏราช
วิทยาลัย, ๒๕๒๙.

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เสฐียรพงษ วรรณปก. พระไตรปฎกวิเคราะห. นนทบุรี : รุงแสงการพิมพ, ๒๕๓๐.
_________, คําบรรยายพระไตรปฎก. พิมพครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภาและบัน
ลือธรรม, ๒๕๔๓.
สมพร ไชยภูมิธรรม. ปางพระพุทธรูป. กรุงเทพมหานคร : พัฒนาการพิมพ, ๒๕๔๓.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาปรินายก. วิธีสรางบุญบารมี.
เชียงใหม : นันทพันธพริ้นติ้ง จํากัด, ๒๕๔๘.
สมาคมศูนยคนควาทางพระพุทธศาสนา. พจนานุกรมบาลี-ไทย-อังกฤษ ฉบับภูมิพโลภิกขุ.
กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๒.
อ.ป. เปรียญและนธ. เอก. พุทธประวัติจากพระโอษฐ. กรุงเทพมหานคร : ธรรมทานมูลนิธิ,
๒๕๒๓.

( ๒ ) วิทยานิพนธ :
พระมหาไกรวุฒิ มะโนรัตน. “สังคมอุดมคติ : ศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดในคัมภีรพระไตร
ปฎกและคัมภีรอนาคตวงศ”. วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชา
ศาสนาเปรียบเทียบ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๔๔.
พระมหาทองพูน สติสมฺปนฺโน (เสือเขียว). “การคบมิตรในพระพุทธศาสนา”. วิทยานิพนธ
พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๗.
พระมหานิมิต สิขรสุวณฺโณ (ทิพย ปฺญาเมธี). “ปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จในการเผยแพร
พระพุทธศาสนาของพระศรีศีลป สุนทรวาที (ศีลป สิกฺขาสโภ)”. วิทยานิพนธ
พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๕.

Page 91 of 102
๗๘

พระมหาจูลอม ชูเลือ่ น. “ความกลาหาญทางจริยธรรมในการบําเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว


ในทศชาติชาดก”. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาจริยศาสตร
ศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๖.

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Page 92 of 102
ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ภาคผนวก

ภาพพุทธศิลปกรรมประกอบการพิจารณา
มหาปุริสลักษณะและอนุพยัญชนะ

Page 93 of 102
๘๐

๓๒. พระเศียรงาม
บริบูรณ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒๐. ลําพระศอกลม ๒๒. พระหนุดุจ
คางราชสีห

๑๕. พระวรกายตั้งตรง ๑๖. พระมังสา


เ ต็ ม บ ริ บู ร ณ

๔. พระองคุลียาว
๘. แขงดุจแขง
เนื้อทราย
๙. พระหัตถจับ
พระชานุได

๗. ขอพระบาทดุจ ๓. สนพระบาทยื่นยาว
ดุจสังขค่ํา
๑. ฝาพระบาทราบเสมอกัน

รูปภาพที่ ๑ : มหาปุริสลักษณะบางประการของพระพุทธเจา

Page 94 of 102
๘๑

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
รูปภาพที่ ๒ : พระวรกายตั้งตรงดุจกายพรหม (มหาปุริสลักษณะที่ ๑๕)

รูปภาพที่ ๓ : พระวรกายทุกสวนบริบูรณดุจลําตัวทอนหนาของหนาราชสีห
(มหาปุริสลักษณะที่ ๑๗)

Page 95 of 102
๘๒

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
รูปภาพที่ ๔ : พระปฤษฎางคราบเรียบเต็มเสมอกัน (มหาปุริสลักษณะที่ ๑๘)

รูปภาพที่ ๕ : พระวรกายเปนปริมณฑลดุจปริมณฑลของตนไทร
(มหาปุริสลักษณะที่ ๑๙)

Page 96 of 102
๘๓

๕๒. พระเศียรดุจฉัตรแกว ๘๐. เสนพระเกศา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๓๓. พระพักตรสัณฐาน มวนเปนยอดแหลม
เปนรูปไข ๗๘. พระเกศามวนขอด
๒๕. พระนาสิกโดงงาม เปนยอดแหลม
๕. พระโขนงโคงงาม
๒๗. ริมพระโอษฐบน ๓๔. พระปรางเต็ม
และลางเสมอกัน บริบูรณ
๔๗. พระกรรณมีสัณฐานยาว ๑๓. พระอุทรสัณฐานลึก
๑๒. พระนาภีกลมงาม
๑. นิ้วพระหัตถและ ๑๖. ลําพระกรทั้ง ๒
นิ้วพระบาทเรียวแหลม กลมงามเหมือนงาชาง
ตั้งแตโคนจนถึงปลายนิ้ว ๑๐. พระชานุเกลี้ยงกลม
๒. นิ้วพระหัตถและ ๑๔. พระเพลาทั้ง ๒
นิ้วพระบาทกลมงาม (ทอนขา) กลมงาม
๖. พระบาททั้งสองเทากัน

รูปภาพที่ ๖ : อนุพยัญชนะบางประการของพระพุทธเจา

Page 97 of 102
๘๔

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
รูปภาพที่ ๗ : รูปจักรและรูปมงคลบนฝาพระบาทของพระพุทธเจา
(มหาปุริสลักษณะที่ ๒)

รูปภาพที่ ๘ : พระวรกายมีรัศมี (อนุพยัญชนะที่ ๓๙)

Page 98 of 102
๘๕

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
รูปภาพที่ ๙ : อนุพยัญชนะพระกรรณมีสัณฐานยาว (อนุพยัญชนะที่ ๔๗)

รูปภาพที่ ๑๐ : พระหัตถยาวจรดพระชานุ (มหาปุริสลักษณะที่ ๙)

Page 99 of 102
๘๖

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
รูปภาพที่ ๑๑ : อนุพยัญชนะพระกรรณมีสัณฐานยาว (อนุพยัญชนะที่ ๔๗)

รูปภาพที่ ๑๒ : ปลายเล็บพระหัตถมีปลายงอนขึ้นสวยงาม (อนุพยัญชนะที่ ๔)

Page 100 of 102


๘๗

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ พ.อ.หญิง ฟองสมุทร วิชามูล


เกิด วันที่ ๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๕

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
สถานที่เกิด บานเลขที่ ๑๖ หมูที่ ๓ ตําบลขัวมุง อําเภอเมืองสารภี จังหวัดเชียงใหม
การศึกษา มัธยมศึกษาที่โรงเรียนดาราวิทยาลัย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม
อุดมศึกษาที่สหปรินสรอยแยลล-ดาราวิทยาลัย อนุปริญญา
ปริญญาตรีมหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพมหานคร
นทน. ชั้นนายพันรุนที่ ๒๑/๓๙
ที่อยูปจจุบัน บานเลขที่ ๕ ซอย ๑๐ ข. ถนนธนุษยพงษ ตําบลหนองปาครั่ง
อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม

Page 101 of 102


๙๖

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ พ.อ.หญิง ฟองสมุทร วิชามูล


เกิด วันที่ ๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๕
สถานที่เกิด บานเลขที่ ๑๖ หมูที่ ๓ ตําบลขัวมุง อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม
การศึกษา มัธยมศึกษาทีโ่ รงเรียนดาราวิทยาลัย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม
อุดมศึกษาที่สหปรินสรอยแยลล – ดาราวิทยาลัย อนุปริญญา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ปริญญาตรีมหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพมหานคร
นทน. ชั้นนายพันรุนที่ ๒๑/๓๙
ที่อยูปจจุบนั บานเลขที่ ๕ ซอย ๑๐ ข. ถนนธนุษยพงษ ตําบลหนองปาครั่ง
อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม

Page 102 of 102

You might also like