You are on page 1of 162

กุศโลบายในพระพุทธศาสนามหายาน : กรณีศึกษาสัทธรรมปุณฑรีกสูตร

THE KUŚALOPĀYA IN MAHĀYĀNA BUDDHISM :


A CASE STUDY OF SADDHARMA - PUṆḌARĪKASŪTRA

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระสมชาย สุภาจาโร (เกิดผลวัฒนา)

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา
ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาพระพุทธศาสนา
บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พุทธศักราช ๒๕๕๐

Page 1 of 162
กุศโลบายในพระพุทธศาสนามหายาน : กรณีศึกษาสัทธรรมปุณฑรีกสูตร

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระสมชาย สุภาจาโร (เกิดผลวัฒนา)

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา
ตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาพระพุทธศาสนา
บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พุทธศักราช ๒๕๕๐

(ลิขสิทธิ์เปนของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย)

Page 2 of 162
THE KUŚALOPĀYA IN MAHĀYĀNA BUDDHISM :
A CASE STUDY OF SADDHARMA - PUṆḌARĪKASŪTRA

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
PHRA SOMCHAI SUBHĀCĀRO (KERDPOLWATTANA)

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of


The Requirement For The Degree of
Master of Arts
(Buddhist Studies)

Graduate School
Mahachulalongkornrajavidyalaya University
Bangkok, Thailand

Page 3 of 162
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อนุมัติใหนับวิทยานิพนธฉบับนี้
เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา

..........................................................
( พระศรีสิทธิมุนี )

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ ...........................................................ประธานกรรมการ
( พระสุธีวรญาณ )

……………………………………...กรรมการ
( พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ )

……………………………………...กรรมการ
( พระมหาสมบูรณ วุฑฺฒกิ โร )

……………………………………...กรรมการ
( รศ.ดร.สมภาร พรมทา )

……………………………………...กรรมการ
( ผศ.สุมาลี มหณรงคชัย )

คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ ประธานกรรมการ


พระมหาสมบูรณ วุฑฺฒกิ โร กรรมการ
ผศ.สุมาลี มหณรงคชัย กรรมการ

Page 4 of 162

ชื่อวิทยานิพนธ : กุศโลบายในพระพุทธศาสนามหายาน : กรณีศึกษาสัทธรรมปุณฑรีกสูตร

ผูวิจัย : พระสมชาย สุภาจาโร (เกิดผลวัฒนา)

ปริญญา : พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พระพุทธศาสนา)

คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
: พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ, ป.ธ. ๙, ศษ.บ., พธ.ม., Ph.D.

: พระมหาสมบูรณ วุฑฺฒกิ โร, ป.ธ. ๗, พธ.บ., ศศ.ม.

: ผศ.สุมาลี มหณรงคชัย, บธ.บ., อ.ม.

วันสําเร็จการศึกษา : ๓ ธันวาคม ๒๕๕๐

บทคัดยอ

วิท ยานิ พนธ ฉบั บนี้มี วั ตถุ ประสงค ๓ ประการ คือ เพื่อศึก ษาแนวคิด เรื่องกุศโลบาย
ในพระพุ ท ธศาสนามหายาน เพื่ อ ศึ ก ษารู ป แบบและวิ ธี ก ารสอนโดยใช กุ ศ โลบายในคั ม ภี ร
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร และเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางกุศโลบายกับจริยธรรม

ผลการวิจัยพบวา กุศโลบายในพระพุทธศาสนามหายานนั้น เปนวิถีหรือวิธีดําเนินงาน


อั นหลากหลายในทางพระศาสนา ที่ปรั บให เหมาะสมสอดคล องกั บสภาพของป ญหา และอุ ปนิ สั ย
ของหมูสัตว มีเปาหมายเพื่อใหสรรพสัตวพัฒนาคุณงามความดี และบรรลุถึงสิ่งที่ดีงามสูงสุดสําหรับ
ชีวิต หรือพูดอีกแบบหนึ่งไดวา เปนวิธีการสอนธรรมแบบพลิกแพลง หรือปรับคําสอนใหเหมาะกับ
ระดับของผูฟง โดยคํานึงถึงความสามารถ ระดับปญญา และศักยภาพของผูรับคําสอน ใหสามารถ
เขาใจและไดรับประโยชนสูงสุด คือ การมุงไปสูความเปนพระพุทธเจา

กุศโลบายเปนคุณสมบัติสําคัญ ที่ทําใหสรรพสัตวกลายเปนพระโพธิสัตว อีกทั้งยังเปน


เครื่ อ งมื อ ของพระโพธิ สั ตว ในการพั ฒ นาศั ก ยภาพของตนให กา วไปสู ค วามเป น พระพุ ท ธเจ า
และชวยเหลือสรรพสัตวใหหลุดพนจากความทุกขทั้งปวง นอกจากนี้มหายานยังนํามาเปนเครื่องมือ
ในการสมานเชื่อมโยงคําสอนที่แตกตางกันใหมารวมอยูในจุดหมายเดียวคือโพธิญาณ ซึ่งเปนการ

Page 5 of 162

พยายามลดความขัดแยงทางคําสอน และใชในการเชิดชูคําสอนนิกายของตน ใหโดดเดนกวานิกาย


อื่นๆ อีกดวย

คั ม ภี ร สั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต ร แสดงให เ ห็ น ถึ ง รู ป แบบและวิ ธี ก ารใช กุ ศ โลบาย


ของมหายานไดอยางชัดเจน ซึ่งมีอยู ๓ รูปแบบ คือ ๑) รูปแบบทั่วไป ไดแก นิทานเปรียบเทียบ
การอุ ป มาอุ ป ไมย การยกอุ ท าหรณ การแสดงเหตุ ผ ล ๒) รู ป แบบที่ ใ ช อิ ท ธิ ฤ ทธิ์ ป าฏิ ห าริ ย
๓) รูปแบบที่เปนความลึกลับมหัศจรรย อันเปนวิสัยเฉพาะพระพุทธเจาเทานั้น เชน เรื่องเอกยาน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
นิพพาน ๒ ชนิด และการปรินิพพานของพระพุทธเจา กุศโลบายรูปแบบนี้ถือเปนลักษณะพิเศษ
ของมหายาน

สวนความหมิ่นเหมตอการทําผิดจริยธรรมในแงของการพูดเท็จของการใชกุศโลบาย
ทั้ง ๓ กรณี คือ เรื่องเอกยาน นิพพาน ๒ ชนิด และการปรินิพพานของพระพุทธเจานั้น ปรากฏวา
ไม เ ป น การล ว งละเมิ ด ต อ จริ ย ธรรมตามเกณฑ ตั ด สิ น ของเถรวาท เพราะเป น เจตนาที่ บ ริ สุ ท ธิ์
ปราศจากกิเ ลสทั้ ง หลาย เป น ไปเพื่ อ ประโยชน สุ ข แก เ หล า สรรพสั ต ว และมี ลั ก ษณะคล า ยกั บ
ประโยชนนิยมในแงของการมุงผล คือ ประโยชนสุขของมหาชนเปนหลัก

Page 6 of 162

Thesis Title : The Kuśalopāya in Mahāyāna Buddhism :

A Case Study of Saddharma-Pundarīkasūtra

Researcher : Phra Somchai Subhācāro (Kerdpolwattana)

Degree : Master of Arts (Buddhist Studies)

Thesis Supervisory Committee :

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
: Phramaha Somjin Sammāpañño, Pāli ΙX, B.A., M.A., Ph.D.

: Phramaha Somboon Vuddhikaro, Pāli VII, B.A., M.A.

: Asst. Prof. Sumalee Mahanarongchai, B.B.A., M.A.

Date of Graduation : 3 December 2007

ABSTRACT

This thesis has three main objectives : Firstly, to study the concepts of the skilful
means (Kuśalopāya) in Mahāyāna Buddhism. Secondly, to study the styles and the ways to
teach or use the skilful means in the Saddharma-Pundarīkasūtra Text. Thirdly, to study
the relation of the skilful means and morality.

The results of the research are as follows :- the skilful means in Mahāyāna
Buddhism is the Buddhist ways or means which are adapted verily to make it consistent with
the problematic conditions and the natures or innate characters of sentient beings. The goal
is to help sentient beings fulfill their merits and achieve their own ultimate virtue of lives.
It may be the tricky teaching, that is, to have the teaching method to be adapted to be suitable
to all levels of auditors, concerning the abilities, the levels of wisdom, and the capacities
to understand and receive the ultimate benefit, the achievement of Buddhahood to be obtained
by the auditors.

The skilful means is the important attribute by which the sentient beings become
Bodhisattvas. It is also the tool used by the Bodhisattva to develop his own potentials to be
omniscient and help the sentient beings be free from all the sufferings. In addition, it has been
applied by Mahāyāna schools as the tool to reunite many different types of teaching to

Page 7 of 162

the same aim, the achievement of Bodhiñāna. This is to resolve and reduce the conflicts of
the teaching matters and to praise its own teaching over other schools.

The scripture of Saddharma-Pundarīkasūtra obviously represents the styles and


ways to which the skilful means are applied. There are three types of them : namely :-
1) the communities or generalities which are in forms of Simile, Metaphor, Exampling and
Reasoning, 2) the supernatural power, 3) the mystery that is only in the Buddha’s nature,
such as One-Vehicle (Ekayāna), two types of Nirvāna, and the death of Lord Buddha.

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
This type of the skilful means is considered to be distinctive form of the teaching in Mahāyāna
school.

According to the issue whether or not the lying caused by the skilful means
is immoral, it is found that in three issues (the One-Vehicle, the two types of Nirvāna and
Lord Buddha’s death) there is no mistake or violation of morality or ethics in accordance with
the view of Theravāda School, because such conduct is made with immaculate mind and
without unwholesome thought, and it is for the benefits and happiness of all sentient beings.
The similarity of such conduct and a utilitarianism is to aim mainly at the general people’s
benefits and happiness.

Page 8 of 162

กิตติกรรมประกาศ

วิ ท ยานิพ นธ ฉบับนี้ สํา เร็จ ลงได ดว ยความอนุ เ คราะหจ ากบุค คลหลายฝ า ย ซึ่ ง ผูวิจั ย
ขอระบุนามไวเพื่อเปนการแสดงความขอบคุณดังตอไปนี้

พระมหาสมจิ น ต สมฺ ม าปฺ โ  รองอธิ ก ารบดี ฝ า ยวิ ช าการ อาจารย ที่ ป รึ ก ษา


วิทยานิพนธ ผูสั่งสอนความรูพุทธศาสนามหายานในหลักสูตร ซึ่งไดจุดประกายในการทําวิจัยเลมนี้

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาสมบูรณ วุฑฺฒิกโร อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ผูชี้แนวทางในการจัดทําโครงราง ใหคําแนะนํา
และตรวจแกวิทยานิพนธเปนอยางดี ผศ.สุมาลี มหณรงคชัย อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธที่ชวยเหลือ
ตรวจแกงานวิจัย และใหขอคิดเห็นดวยดีเสมอ

พระครูใบฎีกาสนั่น ทยฺยรกฺโข ผูใหคําแนะนําเกี่ยวกับการจัดรูปแบบของวิทยานิพนธ


และคําพูดที่เสริมกําลังใจ เจาหนาที่บัณฑิตวิทยาลัยทุกทาน ที่อํานวยความสะดวกใหเปนอยางดี
พระอธิการทนง ธมฺมิโก ผูใหการสนับสนุนดานการศึกษาแกผูวิจัยตลอดมา พระอนุชา อุตฺตมปฺโ
ผูแปลบทคัดยอเปนภาษาอังกฤษ พระมหาโสภณ สสิสิริ ผูตรวจแกบทคัดยอภาษาอังกฤษ และแปล
หนังสือภาษาอังกฤษให โยมพี่สาวทั้ง ๒ คือ โยมพี่อําไพ โยมพี่อําพร เกิดผลวัฒนา ที่ใหกําลัง
ในการทําวิจัย และสนับสนุนทุนการศึกษาตลอดมา ผูที่ไมสามารถเอยนามได เชน เจาหนาที่ประจํา
หอสมุดทุกแหงที่ผูวิจัยเขาไปใชบริการ เชน หอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
หอสมุดปรีดี พนมยงค มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หอสมุดกลางวังทาพระ มหาวิทยาลัยศิลปากร
หอสมุดกลางจุ ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หอสมุดแหงชาติทาวาสุก รี และบรรดาญาติโยมชุมชน
วัดสีหไกรสรที่อุปถัมภปจจัยสี่แกผูวิจัยเปนอยางดี

ความสําเร็จของวิทยานิพนธนี้ ขอนอมบูชาพระคุณ โยมแมมาลัย แซลอ ผูใหทุกสิ่งทุกอยาง


ทั้งทางโลกและทางธรรม ครู อุปชฌาย อาจารย ที่ประสิทธิ์ประสาทวิชาใหแกผูวิจัย ญาติ มิตร ผูให
การสนับสนุนทางการศึกษา ตลอดถึงผูมีพระคุณทุกทาน สุดทายขออุทิศผล แด โยมพอฮุยเมง แซลอ
และพระครูภัทรกิจนิมมาน ผูลวงลับ

พระสมชาย สุภาจาโร (เกิดผลวัฒนา)


๓ ธันวาคม ๒๕๕๐

Page 9 of 162

สารบัญ

เรื่อง หนา
บทคัดยอภาษาไทย ก

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บทคัดยอภาษาอังกฤษ ค
กิตติกรรมประกาศ จ
สารบัญ ฉ
คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ ญ

บทที่ ๑ บทนํา
๑.๑ ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ๑
๑.๒ วัตถุประสงคของการวิจยั ๔
๑.๓ คําจํากัดความของศัพทที่ใชในการวิจัย ๔
๑.๔ ทบทวนเอกสารและรายงานการวิจยั ที่เกีย่ วของ ๕
๑.๕ วิธีดําเนินการวิจัย ๗
๑.๖ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย ๘

บทที่ ๒ แนวคิดเรื่องกุศโลบายในพระพุทธศาสนามหายาน
๒.๑ ความหมายและความสําคัญของกุศโลบายในพระพุทธศาสนามหายาน ๙
๒.๑.๑ ความหมายของกุศโลบาย ๙
๒.๑.๒ ความเปนมาของกุศโลบายในพุทธศาสนา ๑๑
ก. ความเปนมาของกุศโลบายในเถรวาท ๑๑
ข. ความเปนมาของกุศโลบายในมหายาน ๑๔

Page 10 of 162

๒.๑.๓ ความสําคัญของกุศโลบาย ๑๘
ก. กุศโลบายเปนคุณสมบัตขิ องพระโพธิสัตว ๑๘
ข. กุศโลบายเปนลักษณะสําคัญของมหายาน ๒๑
๒.๒ เปาหมายของการใชกุศโลบาย ๒๓
๒.๒.๑ เปาหมายภายใน ๒๓

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ก. กุศโลบายกับการสรางกําลังใจและความเพียรในตน ๒๔
ข. กุศโลบายกับการปองกันอกุศลธรรม ๒๗
ค. กุศโลบายกับการสรางเสริมคุณธรรมใหสูงขึ้น
ตามหลักโพธิญาณ ๓๑
๒.๒.๒เปาหมายภายนอก ๓๖
ก. กุศโลบายกับอุปนิสัยที่แตกตางกันของหมูสัตว ๓๗
ข. กุศโลบายในฐานะเปนเครื่องมือทํางานของพระโพธิสัตว ๔๓

บทที่ ๓ วิเคราะหกุศโลบายในคัมภีรสทั ธรรมปุณฑรีกสูตร


๓.๑ กําเนิดคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร ๔๙
ก. ประวัติความเปนมาของคัมภีร ๕๐
ข. ความหมายของคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร ๕๐
ค. รูปแบบการแตงคัมภีร ๕๑
ง. ระยะเวลาในการแตงคัมภีร ๕๒
๓.๒ เนื้อหาเกี่ยวกับกุศโลบายในพระสูตร ๕๔
๓.๒.๑ กุศโลบายโดยการแสดงยาน ๓(ตรียาน) ๕๗
๓.๒.๒ กุศโลบายโดยการแสดงนิพพาน ๒ ขั้น ๕๘
๓.๒.๓ กุศโลบายโดยแสดงการเสด็จดับขันธปรินพิ พาน ๕๙

Page 11 of 162

๓.๓ รูปแบบและวิธีการตางๆ ในการใชกุศโลบายในพระสูตร ๕๙


๓.๓.๑ รูปแบบทั่วไป ๖๑
ก. นิทานเปรียบเทียบ ๖๑
ข. การอุปมาอุปไมย ๗๐
ค. ยกอุทาหรณ ๗๘

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ง. การแสดงเหตุผล ๘๖
๓.๓.๒ รูปแบบของการใชอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย ๘๙
ก. กุศโลบายในการแสดงธรรมของพระคัทคทัสวรโพธิสัตว ๙๐
ข. กุศโลบายในการแสดงธรรมของพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว ๙๑
ค. พระราชบุตรใชอิทธิปาฏิหาริยชักจูงพระราชบิดาใหออกจาก
มิจฉาทิฏฐิ ๙๒
๓.๓.๓ รูปแบบที่เปนความลึกลับมหัศจรรย ๙๓
ก. กุศโลบายในเรื่องเอกยาน ๙๔
ข. กุศโลบายบัญญัติพระนิพพาน ๒ ชนิด ๙๕
ค. กุศโลบายในการประกาศปรินิพพานของพระพุทธเจา ๙๖
๓.๔ กุศโลบายกับอุดมการณของพระโพธิสตั วในพระสูตร ๙๘
๓.๔.๑ ความสัมพันธระหวางปรัชญา กรุณา และกุศโลบาย ๙๙
๓.๕ การอธิบายตรียานดวยแนวคิดเรื่องกุศโลบายในพระสูตร ๑๐๒

บทที่ ๔ ความสัมพันธระหวางกุศโลบายกับจริยธรรม
๔.๑ กุศโลบายกับประเด็นปญหาทางจริยธรรม ๑๐๗
๔.๑.๑ กุศโลบายกับปญหาทางจริยธรรมเรื่องเอกยาน ๑๐๗
๔.๑.๒ กุศโลบายกับปญหาทางจริยธรรมเรื่องการปรินิพพาน
ของพระพุทธเจา ๑๐๙

Page 12 of 162

๔.๒ กุศโลบายกับมุสาวาท ๑๑๐


๔.๒.๑ ความหมายของมุสาวาท ๑๑๐
๔.๒.๒โทษของมุสาวาท ๑๑๑
๔.๒.๓ เกณฑวินจิ ฉัยปญหาเรื่องมุสาวาท ๑๑๔
๔.๒.๔ วิเคราะหกุศโลบายในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรกับมุสาวาท ๑๑๖

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๔.๓ กุศโลบายกับจริยศาสตรสํานักประโยชนนยิ ม ๑๒๕
๔.๓.๑ แนวความคิดปรัชญาสํานักประโยชนนยิ ม ๑๒๕
ก. ความหมายของประโยชนนิยม ๑๒๕
ข. แนวคิดทั่วไปของสํานักประโยชนนยิ ม ๑๒๖
ค. การคํานวณมหสุข ๑๒๖
ง. แรงจูงใจกับประโยชนนยิ ม ๑๒๗
๔.๓.๒ วิเคราะหกุศโลบายในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรกับประโยชนนิยม ๑๒๘

บทที่ ๕ สรุป อภิปรายและขอเสนอแนะ


๕.๑ สรุปผลการวิจัย ๑๓๒
๕.๒ ขอเสนอแนะ ๑๓๙

บรรณานุกรม ๑๔๐
ประวัติผูวจิ ัย ๑๔๗

Page 13 of 162

คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ

การใชอักษรยอ

อักษรยอในวิทยานิพนธฉบับนี้ ใชอางอิงจากพระไตรปฎก และอรรถกถา ภาษาไทย


พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อรรถกถาภาษาไทย ฉบับมหามกุฎราช

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาลัย เปนหลัก เรียงตามคัมภีรดังนี้

พระวินัยปฎก

วิ. มหา. (ไทย) = วินัยปฎก มหาวิภังค(ภาษาไทย)


วิ. ม. (ไทย) = วินัยปฎก มหาวรรค (ภาษาไทย)
วิ. ป. (ไทย) = วินัยปฎก ปริวารวรรค (ภาษาไทย)

พระสุตตันตปฎก

ที. ปา. (ไทย) = สุตตันตปฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค (ภาษาไทย)


ม. ม. (ไทย) = สุตตันตปฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปณณาสก (ภาษาไทย)
องฺ. ติก. (ไทย) = สุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต (ภาษาไทย)
องฺ. จตุกฺก. (ไทย) = สุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต (ภาษาไทย)
องฺ. ฉกฺก. (ไทย) = สุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาต (ภาษาไทย)
องฺ. อฏก. (ไทย) = สุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย อัฏฐกนิบาต (ภาษาไทย)
องฺ. ทสก. (ไทย) = สุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย ทสกนิบาต (ภาษาไทย)
ขุ. อุ. (ไทย) = สุตตันตปฎก ขุททกนิกาย อุทาน (ภาษาไทย)
ขุ. เถร. (ไทย) = สุตตันตปฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา (ภาษาไทย)
ขุ. จู. (ไทย) = สุตตันตปฎก ขุททกนิกาย จูฬนิเทส (ภาษาไทย)
ขุ. พุทธ. (ไทย) = สุตตันตปฎก ขุททกนิกาย พุทธวงศ (ภาษาไทย)

พระอภิธรรมปฎก

อภิ. วิ. (ไทย) = อภิธรรมปฎก วิภังค (ภาษาไทย)

Page 14 of 162

อรรถกถาพระสุตตันตปฎก

ที. สี. อ. (ไทย) = ทีฆนิกาย สุมังคลวิลาสินี สีลขันธวรรคอรรถกถา (ภาษาไทย)

อรรกถาพระอภิธรรมปฎก

อภิ. สงฺ. อ. (ไทย) = อภิธรรมปฎก ธรรมสังคณี อัฏฐสาลินีอรรถกถา (ภาษาไทย)

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
การใชหมายเลขยอ

พระไตรปฏกภาษาไทย จะแจง เลม ขอ หนา เชน วิ. ม. (ภาษาไทย) ๔/๙/๑๑ หมายถึง
วินัยปฎก มหาวรรค เลม ๔ ขอ ๙ หนา ๑๑ ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

อรรถกถาภาษาไทย จะแจง เลม ภาค หนา เชน ที.สี.อ. (ภาษาไทย) ๑/๑/๑๕๗ หมายถึง
สุมังคลวิลาสินี สีลขันธวรรค อรรถกถาแปล เลมที่ ๑ ภาคที่ ๑ หนา ๑๕๗ ฉบับมหามกุฎราชวิทยาลัย

Page 15 of 162

บทที่ ๑

บทนํา

๑.๑ ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระพุทธศาสนามหายานใหความสําคัญอยางมากกับกุศโลบายหรืออุบายในการแสดง
ธรรม จะเห็นไดจากธรรมที่เปนอุดมคติของพระโพธิสัตวที่ตองกาวไปสูความเปนพระพุทธเจา
ในอนาคต จึงตองมีลักษณะแหงความสมบูรณของพระพุทธเจา ๓ ประการ คือ ๑) มหาปญญา
๒) มหากรุณา ๓) มหาอุบาย๑ ธรรม ๓ ประการนี้มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน กลาวคือ ปญญา
กับกรุณาเปนคุณธรรมที่เปนคุณสมบัติภายใน จะแสดงออกมาภายนอกก็ดวยอาศัยอุบาย อุบายหรือ
กุ ศ โลบายจึ ง เป น ตั ว ปฏิ บั ติ ก ารที่ ทํ า ให คุ ณ สมบั ติ ภ ายในแสดงตั ว ออกมาอย า งเป น รู ป ธรรม
เพื่อดําเนินงานประกาศพระศาสนาและชวยเหลือสัตวโลก เสถียร โพธินันทะ กลาววา “มหายาน
ถือวาการปฏิบัติธรรม(การชวยเหลือสรรพสัตว) จะตองประกอบดวยปญญาและกรุณาคูกันไป
เสมอ”๒ ในวิมลเกียรตินิทเทสสูตรไดกลาวถึงความสําคัญของอุบายไววา “พระโพธิสัตวมีปรัชญา
เปนมารดา มีอุปายะเปนบิดา อันพระผูนําทางพนทุกขแกสรรพสัตว ไมมีสักพระองคหนึ่งเลยที่จัก
ไมอุบัติขึ้นจากมารดา บิดา ดังกลาวนี้”๓ อุบายยังเหมือนเปนปกอีกขางหนึ่งของนก “พระโพธิสัตว
ผูประกอบดวยปรัชญา และอุบาย(ปรัชญารวมกับกรุณา) เหมือนนกสวรรคที่กางปกทั้ง ๒ ออก
ปกปองชาวโลก”๔ ดังนั้นพระพุทธศาสนามหายานจึงถือวากุศโลบายเปนคุณสมบัติของพระพุทธเจา
และพระโพธิ สั ต ว ในฐานะเป น เครื่ อ งมื อ สํ า คั ญ ในการสอนหรื อ เผยแผ ธ รรมเพื่ อ ช ว ยเหลื อ
สรรพสัตวใหพนจากความทุกขทั้งปวง


สุมาลี มหณรงคชัย, พุทธศาสนามหายาน, (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศยาม, ๒๕๔๖), หนา ๔๗.

เสถียร โพธินันทะ, ปรัชญามหายาน, (กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑), หนา ๗.

วิมลเกียรตินิทเทสสูตร, แปลโดย เสถียร โพธินันทะ, (กรุงเทพฯ : มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๐๖), หนา ๙๖.

พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ, พระพุทธศาสนามหายานในอินเดีย พัฒนาการ และสารัตถธรรม,
(กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓), หนา ๘๓.

Page 16 of 162

คัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตรเปนคัมภีรที่เกาแกที่สุดคัมภีรหนึ่งของพระพุทธศาสนา
มหายาน๕ ที่มีความสําคัญเทากับคัมภีรมหาวัสตุ คัมภีรลลิตวิสตรสูตร คัมภีรทิวยาวทาน๖ มีคําสอน
เด น ชั ด ในเรื่ องของกุ ศโลบาย ซึ่ง พระพุทธองคไ ดทรงเนน ย้ําถึ ง เรื่องนี้บอ ยมาก ในพระสูตรนี้
พระพุทธองคไดตรัสกับพระสารีบุตรถึงความสําคัญของกุศโลบายวา

พุทธธรรมนั้นลึกซึ้ง ยากที่จะเขาใจ ยากที่หยั่งรู . . . และความลึกลับในพระตถาคตเจา


ก็ยากที่จะเขาใจได เพราะเมื่อพระองคทรงแสดงธรรมถึงเหตุแหงสรรพสิ่งนั้น พระองคทรง

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ใชกุศโลบายโดยขยายอรรถแหงธรรมทั้งปวงโดยการตั้งคําถาม โดยใชเหตุผล โดยใชความคิด
พื้ น ฐาน โดยอรรถกถา และข อ แนะนํ า ด ว ยกุ ศ โลบายวิ ธี ต า งๆ พระองค จึ ง สามารถช ว ย
ปลดเปลื้องสรรพสัตว จากสิ่งที่เกี่ยวของยึดติด . . .๗

ดังนั้นคําสอนทั้งหลายของพระพุทธองค จึงลวนแลวแตเปนกุศโลบายทั้งสิ้น เพื่อชวย


สรรพสัตวไดเขาถึงพุทธธรรม ในคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตรไดกลาวถึงการใชกุศโลบายตางๆ
ของพระพุทธเจาและพระโพธิสัตว เชน

ในบทที่ ๒ เรื่องกุศโลบาย ไดกลาววา พุทธธรรมที่พระพุทธเจาทรงแสดง แทจริงแลว


มีเพียงทางเดียวคือ พุทธยานที่จะนําไปสูความพนทุกข กลาวคือการนําไปสูเปาหมายแหงความเปน
พุทธะ แตดวยพวกศิษยสาวกยังไมพรอมที่จะเขาใจหรือยอมรับความจริงอันสูงสุดได เฉพาะฉะนั้น
พระองคจึงตองใชกุศโลบาย เพื่อนําเหลาสาวกไปตามวิธีทางสูความเขาใจที่สูงกวาขึ้นไปเรื่อยๆ
ดังที่พระพุทธองคตรัสไววา “ ดวยกุศโลบาย ตถาคตจึงแสดงพระธรรมเปน ๓ ยาน ซึ่งที่จริงแลวมี
ยานเดียวและมรรคเดียว”๘ และทรงเปรียบเทียบดวยนิทานเรื่องบานไฟไหมวา


Cf. J.N. Farquhar, An Outline of the Religious Literature of India, (Delhi : Motilal Banarsidass
Publishers Private Limited, 1984), pp. 114-115. อางใน สานิตย สีนาค, “การศึกษาเชิงวิเคราะหภาษาสันสฤตใน
คัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร ปริวรรตที่ ๑-๕”, วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, (สาขาภาษาสันสฤต :
มหาวิทยาลัยศิลปากร), ๒๕๔๕, หนา ๒๒.

D.P. Singhal, Buddhism in East Asia, (New Delhi : Books & Books Publishers, 1984), p. 7. ;
อางใน สานิตย สีนาค, “การศึกษาเชิงวิเคราะหภาษาสันสฤตในคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร ปริวรรตที่ ๑- ๕”,
หนา ๒๕.

สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ฉัตรสุมาลย กบิลสิงห, (กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,
๒๕๒๕), หนา ๓๗.

เรื่องเดียวกัน, หนา ๕๔.

Page 17 of 162

บานเศรษฐีผูหนึ่งกําลังถูกไฟไหม ในบานนั้นมีลูกๆ ของเศรษฐีกําลังเพลิดเพลินกับ


การละเลนตามประสาเด็กอยู ไมรูสึกถึงอันตรายจากไฟที่กําลังคืบคลานเขามา เศรษฐีจึงออกอุบาย
เพื่อใหลูกๆ รอดพนจากอัคคีภัย จึงตะโกนบอกลูกๆ วา พอไดเตรียมรถไวอยู ๓ อยาง คือ รถเทียม
ดวยกวาง แพะ และโค ใหลูกๆ นั้นออกมาเลือกเอาตามใจชอบ ลูกๆ ไดฟงดังนั้นก็รีบวิ่งออกจาก
บานมาหาเศรษฐีดวยใจที่หวังวาจะไดรถตามที่ตนปรารถนา เมื่อเศรษฐีเห็นลูกๆ ปลอดภัยจาก
อัคคีภัยก็เบาใจ และไมไดมอบรถทั้ง ๓ แบบใหแกลูกๆ แตไดมอบรถที่ดีกวา เปนรถที่เทียมดวย
โคขาวใหแทน ซึ่งรถทั้ง ๓ แบบแทนยานทั้ง ๓ คือ รถเทียมดวยกวางคือสาวกยาน รถเทียมดวยแพะ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
คือปจเจกยาน รถเทียมดวยโค คือ โพธิสัตวยาน และรถเทียมดวยโคขาวที่เศรษฐีมอบใหกับลูกๆ
คือ พุทธยาน๙

ในบทที่ ๑๕ เรื่องพระชนมายุกาลของพระตถาคตเจา กลาวถึงการใชกุศโลบายของ


พระพุทธองค ไววา แทจริงแลวพระตถาคตไดตรัสรูพระสัมมาสัมโพธิญาณมาเปนเวลาหลายรอย
หมื่นโกฏิกัลป และพระองคทรงมีพระชนมายุที่ไมขึ้นกับกาล แตที่พระองคทรงปรากฏในโลกนี้
ในฐานะของเจาชายสิทธัตถะผูเปนมนุษยธรรมดา ไดละทิ้งราชสมบัติออกผนวช และทรงตรัสรู
เป น พระพุ ท ธเจ า นั้ น เป น กุ ศ โลบายที่ พ ระองค ตอ งการนํ า พาสรรพสั ตว ใ หมี อิ น ทรี ยที่ แ กก ล า
เพื่อที่จะสามารถเขาถึงพุทธธรรมได และการเสด็จดับขันธปรินิพพานของพระองคนั้นก็เปนเพียง
กุศโลบายเพื่อที่จะสั่งสอนสรรพสัตว เพื่อมิใหมีความประมาท จะไดเรงขวนขวายในการศึกษา
พุทธธรรม พระองคไดยกนิทานเปรียบเทียบเรื่องลูกชายของหมอวา

มี พ อผู เ ป น นายแพทย ค นหนึ่ง ลูก ๆ เกิด ปว ยเปน โรค จึ ง ไดป รุ ง ยาเฉพาะโรคใหลู ก
ไดทานแตลูกไมชอบรสของยา และคิดวาพอยังอยูกับเราคงสามารถรักษาเราใหหายดวยการไม
กินยาได พอลวงรูถึงความคิดของลูกจึงออกอุบายเพื่อใหลูกไดกินยาโดยกลาวกับลูกๆ วา ตัวพอนี้
แกชรามากแลวไมรูวาจะตายเมื่อไร จะปกปองรักษาเจาไดนานสักเทาไร และไดปรุงยารักษาโรคไว
แลวทําอุบายวาไดตายแลว โดยการไปหลบในเมืองอื่น เมื่อลูกนึกวาบิดาตายแลว ก็สํานึกขึ้นมาไดวา
ตอนนี้ไมมีใครดูแลพวกเราแลว จึงพากันกินยาที่พอไดปรุงใหไวแลวก็หายจากโรคราย เมื่อบิดา
ทราบขาวก็กลับมา๑๐

จากตัวอยางในการใชกุศโลบายจะเห็นวา จุดมุงหมายของกุศโลบายมุงที่จะพาหมูสัตว
ใหเขาถึงพุทธธรรม โดยถือผลที่เกิดจากการใชกุศโลบายเปนสําคัญ ดังที่พระสารีบุตรตอบคําถาม


เรื่องเดียวกัน, หนา ๗๗-๘๔.
๑๐
เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๗๑-๒๗๗.

Page 18 of 162

ของพระตถาคตในนิทานเรื่องบานไฟไหมวา “ทานเศรษฐีไมไดทําผิดในการหลอกลวง เพราะเปนวิธีการ


ชวยชีวิตลูกๆ ใหปลอดภัยจากอัคคีภัย กระทําไปดวยความรักลูก แมไมไดใหอะไรเลยก็ยังไมใช
คนหลอกลวง และยังไดใหยานที่ประเสริฐแกเด็กๆ เศรษฐีผูนี้จึงไมไดทําผิดในการหลอกลวง”๑๑
ซึ่งพระพุทธเจาก็ไดตรัสรับรอง

ดั ง นั้ น ในงานวิ จั ย เล ม นี้ ผู วิ จั ย จึ ง สนใจศึ ก ษาเรื่ อ งกุ ศ โลบาย ที่ ป รากฏในคั ม ภี ร
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร เพื่อใหเห็นถึงแนวคิดเรื่องกุศโลบายในพระพุทธศาสนามหายาน รูปแบบ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
และวิ ธี ก ารสอนโดยการใช กุ ศ โลบายในคั ม ภี ร สั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต ร และความถู ก ต อ งทาง
จริยธรรมในการใชกุศโลบายที่ปรากฏในคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร

๑.๒ วัตถุประสงคของการวิจัย

๑.๒.๑ เพื่อศึกษาแนวคิดเรื่องกุศโลบายในพระพุทธศาสนามหายาน
๑.๒.๒ เพื่อศึกษารูปแบบและวิธีการสอน โดยใชกุศโลบายในคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร
๑.๒.๓ เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางกุศโลบายกับจริยธรรม

๑.๓ คําจํากัดความของศัพทที่ใชในการวิจัย

กุศโลบาย หมายถึ ง วิ ถีห รื อ วิธี ดํา เนิ น งานอัน หลากหลายที่ ป รับ ให เ หมาะสม
สอดคลองกับสภาพของปญหา และอุปนิสัยของหมูสัตว มีเปาหมายเพื่อให
สรรพสัตวพัฒนาคุณงามความดี และบรรลุถึงสิ่งที่ดีงามสําหรับชีวิต

พระโพธิสัตว หมายถึง บุคคลที่ปฏิบัติตามโพธิสัตวมรรค เพื่อมุงสูพุทธภูมิ

เถรวาท หมายถึง นิกายหนึ่งของพระพุทธศาสนา ที่ยึดมติของพระอรหันต


สาวก ในคราวสังคายนาครั้งที่ ๑

มหายาน หมายถึง นิ กายหนึ่งของพระพุทธศาสนาที่ มี กํ าเนิดเริ่ มต นในคราว


สังคายนาครั้งที่ ๒ ที่มีพระภิกษุกลุมหนึ่งเรียกวาวัชชีบุตร ประกาศตน
ไม เ ห็ น ด ว ยกั บ พระภิ ก ษุ ก ลุ ม เถรวาทแลว แยกตั ว ออกไปที่เ รีย กว า
มหาสังฆิกะ และไดพัฒนาถึงจุดสุดยอดเปนนิกายมหายาน

๑๑
เรื่องเดียวกัน, หนา ๘๐.

Page 19 of 162

สาวกยาน หมายถึง ยานที่มุงการเปนพระอรหันตสาวก เปนคําที่ฝายมหายาน


บัญญัติขึ้นเรียกสาวกฝายหีนยาน

ปจเจกพุทธยาน หมายถึงยานที่มุงการตรัสรูเฉพาะตน หรือเปนพระปจเจกพุทธเจา

โพธิสัตวยาน หมายถึง ยานที่ มุงการบําเพ็ญบารมี เปนพระโพธิ สัตว เป นชื่อเรี ยก


อีกอยางหนึ่งของมหายาน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑.๔ ทบทวนเอกสารและรายงานวิจัยที่เกี่ยวของ

๑.๔.๑ สานิตย สีนาค ไดทําการศึกษาวิเคราะหคัมภีรสัทธรรมปุณฑรี กสูตรพบว า


คั ม ภี ร สั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รเป น คั ม ภี ร ที่ เ ก า แก ที่ สุ ด คั ม ภี ร ห นึ่ ง ของพระพุ ท ธศาสนามหายาน
ซึ่งถูก จัด ให อยูใ นกลุ ม พระสูตรขนาดยาวเรียกวา ไวปุลยสู ตร ถือเปน คัมภีรบัน ทึก คําสอนของ
พระพุทธศาสนามหายานที่สําคัญเทากับ คัมภีรมหาวัสตุ คัมภีรลลิตวิสตรสูตร คัมภีรทิวยาวทาน
มีอิทธิพลมากตอประเทศที่นับถือพระพุทธศาสนามหายาน และยังยึดถือคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร
วาเปนคําตอบตอคําถามที่วา ทําไมพระพุทธเจาจึงทรงประกาศศาสนาแยกออกเปนนิกายหีนยาน
และนิกายมหายาน๑๒

๑.๔.๒ อนงค โกวิ ท เสถี ย รชั ย ได ก ล า วไว ใ นงานวิ จั ย ว า ผลบุ ญ ของพระสู ต รอื่ น
ทั้งหมดไมแนนอน เพราะสอนวาเราจะตองสรางเหตุดีเสียกอนเทานั้นเราจึงสามารถเปนพระพุทธะ
ในกาลตอมาภายหลัง สัทธรรมปุณฑรีกสูตรนั้นแตกตางอยางสิ้นเชิง มือซึ่งหยิบพระสูตรนี้ขึ้นมาจะ
บรรลุพุทธภาวะทันที และปากซึ่งสวดนั้นจะบรรลุพุทธภาวะทันที เหมือนดังที่มีเงาดวงจันทรสอง
อยูในน้ําขณะที่ดวงจันทรปรากฏจากดานหลังของภูเขาทางทิศตะวันออก หรือเหมือนวาเสียงกับ
เสียงสะทอนเกิดขึ้นพรอมกัน ดวยเหตุนี้เองพระสูตรบทที่ ๒ กุศโลบายกลาววา “ในบรรดาบุคคล
ผู ไ ด ฟ ง พระธรรมนี้ จะไม มี ผู ใ ด ที่ จ ะไม ไ ด บ รรลุ พุ ท ธภาวะ” ข อ ความตอนนี้ ห มายความว า
ถามีบุคคลรอยคนหรือพันคนซึ่งยึดมั่นศรัทธาพระสูตรนี้ โดยไมมีขอยกเวนแมแตรายเดียว บุคคล
รอยคนหรือพันคนนั้นจะไดเปนพระพุทธะ๑๓

๑๒
สานิตย สีนาค, “การศึกษาเชิงวิเคราะหภาษาสันสฤตในคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร ปริวรรตที่ ๑- ๕”,
วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตร มหาบัณฑิต, (สาขาภาษาสันสฤต : มหาวิทยาลัยศิลปากร), ๒๕๔๕.
๑๓
อนงค โกวิทเสถียรชัย, “มนุษยในอุดมคติ : ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดในคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร
และงานเขียนเรื่องอุตมรัฐของเพลโต”, วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต, (สาขาศาสนาเปรียบเทียบ :
มหาวิทยาลัยมหิดล), ๒๕๔๑.

Page 20 of 162

๑.๔.๓ เสถียร โพธินันทะ กลาวไวในหนังสือปรัชญามหายานวา ในสัทธรรมปุณฑรีกสูตร


กล า วว า พระพุ ท ธองค เ ทศนาอุ ป มายานทั้ ง ๓ ไว ดั ง นี้ สกลโลกเปรี ย บด ว ยบ า นที่ ถู ก ไฟกิ เ ลส
เผาผลาญ ประชาสัตวเปรียบดวยผูอาศัยในบานนั้น ดวยอํานาจอวิชชาทําใหไมคิดจะหลบหลีกหนีเพลิง
พระพุทธองคทรงมีพระกรุณายิ่งนัก จึงทรงประทานอุบายชักนําวา ถาแมยอมออกจากบานแลว
ก็จักประทานรถบรรทุกสมบัติเ ทียมดวยแพะ กวาง และวัว ดวยความอยากไดของประชาสัตว
เหลานั้นจึงยอมออกมา ครั้นแลวพระพุทธองคผูเปรียบดวยบิดาของปวงสัตว แทนที่จะประทาน
รถเล็กๆ อันเทียมดวยสัตวทั้ง ๓ นั้นให พระองคกลับประทานรถมหึมา บรรจุมหาสมบัติอันใช

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มิรูสิ้น เทียมดวยโคขาวที่ทรงพลังให สาวกยานเปรียบดวยยานที่เทียมดวยแพะ ปจเจกยานเปรียบ
ดวยยานที่เทียมดวยกวาง โพธิสัตวยานเปรียบดวยยานที่เทียมดวยโค ทั้ง ๓ ยานนี้เปนเพียงอุบาย
โกศลธรรม ยังหาใชยานที่แทจริงไม ยานที่แทจริงมียานเดียว คือ เอกยานหรือพุทธยานเทานั้น
หลักเอกยานนี้จึงเปนความคิดสมานเชื่อมตรียาน ใหหลอมเขามาสูจุดเดียวกันไดอยางแนบเนียน๑๔

๑.๔.๔ พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ อธิบายอุบายบารมีไววา อุปาย คือ ความเชี่ยวชาญ


หรื อ ความรู ใ นการคั ด เลื อ กวิ ธี ก ารที่ เ หมาะสมในการเผยแผ พ ระศาสนาหรื อ ในการช ว ยเหลื อ
สัตวโลก เชน กรณีของพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตวที่ปรากฏในรูปรางตางๆ เพื่ออนุวัตรตามอัธยาศัย
ของสรรพสั ตวและบริ บทของสังคม หรือกรณีพระสมันตภัทรโพธิสัตว ที่แปลงเปนหญิงสาวงาม
ใน ราชสํานัก เพื่อแสดงธรรมโปรดคนที่ลุมหลงในกามารมณ การบําเพ็ญอุบายบารมีอยางแทจริง
คือการประยุกต เอาหลักการสงเคราะหประชาชน (สังคหวัตถุ ๔) ความฉลาดรอบรู (ปฏิสัมภิทา ๔)
และธารณี (หัวใจพระสูตร) เขามาประกอบการบําเพ็ญบารมีดวย๑๕

๑.๔.๕ ฉัตรสุมาลย กบิลสิงห กลาวไวในหนังสือประเทศจีนกับพระพุทธศาสนา


(ฝายมหายาน) วา พระพุทธองคมุงสอนวิธีอันจะชวยใหมนุษยเราถึงซึ่งความรูแจง แมวาสัจธรรมนั้นจะมี
เพียงหนึ่ง แตวิธีที่จะบรรลุถึงพระธรรมนั้นแตกตางกันออกไป เพราะมนุษยเราแตละคนมีความ
แตกตางกัน ทั้งในบุคลิกลักษณะ อารมณ และความนึกคิด ดังนั้นพระองคจึงทรงสอนแยกออก
เปน ๓ วิธี วิธีหนึ่งสําหรับผูฟงเหมาะสําหรับผูที่มีจิตโนมนาวและศรัทธาในการฟ งธรรมจาก
พระพุทธองค อีกวิธีหนึ่งสําหรับพระปจเจกพุทธเจา สําหรับผูปรารถนาความสงบและการปฏิบัติ
สมาธิโดยลําพัง และวิ ธีที่สามเปนวิธีของพระโพธิสัตว ผูปรารถนาจะชวยสัตวโลกใหขามพน
โอฆสงสารกอนที่ตนจะไดเขาสูพระนิพพาน วิธีทั้งสามนี้เรียกวาเปนกุศโลบายแหงพระพุทธเจา

๑๔
เสถียร โพธินันทะ, ปรัชญามหายาน, หนา ๕.
๑๕
พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ, พระพุทธศาสนามหายานในอินเดีย พัฒนาการและสารัตถธรรม, หนา ๘๔.

Page 21 of 162

หลักกุศโลบายนี้เปนปจจัยชวยใหนักพุทธปรัชญาทั้งหลายสามารถอธิบายขอแตกตางทั้งหลาย
ในศาสนาพุทธได๑๖

๑.๔.๖ พระมหาสมบูรณ วุฑฺฒิกโร ไดอธิบายถึงการใชอุบายในการแกไขขอขัดแยง


จากการตีความคําสอนไววา ปญหายุงยากประการหนึ่งที่ชาวพุทธในยุคหลังพุทธกาลพบอยูบอยๆ
คือ ลักษณะที่ดูเหมือนจะขัดแยงกันเองของคําสอนบางประการ เชน ระหวางขอความที่วา “ทุกข
เปนสิ่งที่ควรกําหนดรู สมุทัยควรละ นิโรธควรทําใหแจง และมรรคควรใหเจริญ” กับขอความที่วา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
“ไมมีทุกข ไมมีสมุทัย ไมมีนิโรธ และไมมีมรรค” แนนอนวาขอความเหลานี้ถาถือเอาความหมาย
ตามตั ว อั ก ษร จะต องเกิด ความขัด แยง อยางแนนอน ป ญหาเหลานี้ทํ า ใหช าวพุ ทธฝา ยมหายาน
(รวมทั้งนิกายอื่นๆ) พยายามหาทางออกจากปญหาความขัดแยงดวยการพัฒนาแนวคิดเรื่อง “อุบาย”
(กุศโลบาย) ในการแสดงธรรมของพระพุทธเจา แนวคิดนี้มีความเชื่อวา พระพุทธเจาไดตรัสรู
ความจริงจํานวนหนึ่ง ที่เรียกวาอริยสัจ ๔ นี้เองไปสอนยักเยื้อง ใหสอดคลองกับความแตกตาง
หลากหลายของหมูสัตว โดยนัยนี้คําวา “อุบาย” จึงหมายถึง พุทธวิธีในการแสดงธรรมใหเหมาะสม
สอดคล อ งกั บ สภาพป ญ หา บริ บ ทแวดล อ ม ความตอ งการ และอุ ป นิสั ย ที่ แ ตกต า งหลากหลาย
ของหมูสัตว๑๗

๑.๕ วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Method) โดยศึกษาคนควาขอมูล


ทางเอกสาร (Documentary Research) โดยมีลําดับขั้นตอนดังนี้

๑.๕.๑ ศึกษาและรวบรวมขอมูลจากตํารา เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับคัมภีร


สัทธรรมปุณฑรีกสูตร

๑.๕.๒ ศึกษาวิเคราะห อธิบายความ และแสดงเหตุผลเพื่อใหเกิดความเขาใจที่ชัดเจนมากที่สุด

๑.๕.๓ เรียบเรียงและนําเสนอผลการวิจัย

๑๖
ฉัตรสุมาลย กบิลสิงห, ประเทศจีนกับพระพุทธศาสนา(ฝายมหายาน), (กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย,
๒๕๓๖), หนา ๓๓๕-๓๓๖.
๑๗
พระมหาสมบูรณ วุฑฺฒิกโร, “แนวคิดเรื่อง “จิตเทานั้นมีอยู” ของพระพุทธศาสนานิกายโยคาจาร”,
วารสารพุทธศาสนศึกษา, ปที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – เมษายน ๒๕๔๗) : ๓๙.

Page 22 of 162

๑.๖ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

๑.๖.๑ ทําใหทราบถึงแนวคิดเรื่องกุศโลบายในพระพุทธศาสนามหายาน

๑.๖.๒ ทําใหทราบรูปแบบและวิธีการสอนโดยใชกศุ โลบายในคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร

๑.๖.๓ ทําใหทราบถึงความสัมพันธระหวางกุศโลบายกับจริยธรรม

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Page 23 of 162

บทที่ ๒

แนวคิดเรื่องกุศโลบายในพระพุทธศาสนามหายาน

๒.๑ ความหมายและความสําคัญของกุศโลบายในพระพุทธศาสนามหายาน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒.๑.๑ ความหมายของกุศโลบาย

กุศโลบาย เปนคําสมาส มาจากภาษาสันสกฤตประกอบรูปมาจากคํา ๒ คํา คือ กุศล


และอุปาย

กุศล(บาลี เปนกุสล) หมายถึง บุญ กรรมดี ความดีงาม ถูกตอง ฉลาด มีฝมือ ชํานาญ๑

อุปาย หรืออุบาย มีความหมาย ๔ นัย๒ คือ

๑) การมาใกลหรือมาถึง
๒) อุบายคือ วิธีหรือกลเม็ดที่ฉลาดใดๆ ก็ตาม, หนทาง กลยุทธ กโลบาย การคิด
หาขอดีขอเสีย ตามศัพทแปลวา สิ่งที่บุคคลใชเปนเครื่องดําเนินไปสูจุดหมายของตน
๓) กลอุ บ าย คื อ วิ ธี ใ ห สํ า เร็ จ ชั ย ชนะต อ ข า ศึ ก โดยปกติ ก ล า วไว ๔ อย า ง คื อ
หวานพืชแหงการแตกราวกัน การประนีประนอม การติดสินบน และการโจมตีอยางเปดเผย
๔) การรวมรองเพลง

ความหมายของอุบายที่นําไปใชในทางพุทธศาสนาไดแกนัยที่ ๒ คือ อุบายที่บุคคลใช


เปนเครื่องดําเนินไปสูจุดมุงหมายของตน ซึ่งเสฐียร พันธรังษี ไดใหความหมายวา “อุบายไดแก
ความฉลาด และวิธีใดๆ ที่สามารถชักนําใหผูอื่นเห็นตาม”๓ คริสตมาส ฮัมพรีย กลาววา “อุบาย


พระโมคคัลลานเถระ, คัมภีรอภิธานวรรณนา, แปลโดย พระมหาสมปอง มุทิโต, (กรุงเทพฯ : ธรรมสภา,
๒๕๔๒), หนา ๑๓๑, ๘๖๗.

ฉลาด บุญลอย, เสฐียร พันธรังษี, พระมหาประยุทธ ปยุตฺโต, พจนานุกรม บาลี-สันสกฤต-ไทย-อังกฤษ,
(พระนคร : สํานักพิมพแพรวิทยา, ม.ม.ป.), หนา ๕๐๐๒.

เสฐียร พันธรังษี, พุทธศาสนามหายาน, (กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๓๔.

Page 24 of 162
๑๐

หมายถึง วิถีทาง หรือวิธีการปฏิบัติ เพื่อไปสูเปาหมายของจิตวิญญาณ”๔ และพระมหาสมบูรณ


วุฑฺฒิกโร บอกวา “อุบาย หมายถึง พุทธวิธีในการแสดงธรรมใหเหมาะสมสอดคลองกับสภาพ
ปญหา บริบทแวดลอม ความตองการ และอุปนิสัยที่แตกตางหลากหลายของหมูสัตว”๕

เมื่ อนํ าคํ าว า กุศ ล และอุ ป ายมาประกอบกัน เป น กุ ศ โลบาย(กุ ศล+อุ ป าย) จึ งมี ค วาม
หมายถึงอุบายหรือวิธีการที่ถูกตอง ดีงาม เอดเจอรตันใหความหมายของกุศโลบายเปน ๒ นัยวา
“ความฉลาดในวิธีการ หรือความฉลาดในอุบาย และหมายถึงการงานอยางหนึ่งของพุทธศาสนิกชน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
(พระโพธิสัตว)๖ นิกเกียว นิวาโน เห็นวา “กุศโลบายหมายถึงวิธีการที่เหมาะสม หรือสื่อที่เหมาะสม
หรือวิธีสอนที่เหมาะสม นําไปประยุกตใชใหถูกบุคคลและถูกโอกาส”๗ และไดซาขุ อิเคดะ บอกวา
“กุศโลบายก็คือวิธีการหรือขั้นตอนที่ พระพุทธใชในการชวยเหลือใหประชาชนรูแจงดวยความ
เมตตากรุณาเปนพื้นฐาน เพื่อชวยเหลือประชาชนทั้งหลายใหบรรลุพุทธภาวะ”๘ กุศโลบายของ
มหายานจึงมีความหมายเปน ๒ นัย๙ คือ

๑. กุศโลบายหมายถึงคําสอนเบื้องตน ชั่วคราว(เนยารถะ) สําหรับเปนวิถีทางที่จะ


นําสรรพสัตวไปสูคําสอนขั้นสุดทาย(นีตารถะ)

๒. กุ ศ โลบายหมายถึ ง ยุ ท ธศาสตร วิ ธี ก าร เครื่ อ งมื อ ที่ มี เ ป า หมายพุ ง ไปที่


ความสามารถ สถานการณ ความชอบ ความไมชอบ ของสัตวแตละคน เพื่อที่จะชวยใหพนภัยและ
นําไปสูการตรัสรู

ดั ง นั้ น คํ า ว า กุ ศ โลบายจึ ง หมายถึ ง “วิ ถี ห รื อ วิ ธี ดํ า เนิ น งานอั น หลากหลาย ในทาง


พระศาสนา ที่ ป รั บ ให เ หมาะสมสอดคล อ งกั บ สภาพป ญ หา และอุ ป นิ สั ย ของหมู สั ต ว


Humphreys Christmas, A Popular Dictionary of Buddhism, (New York : The Citadel Press,
1963), p. 207.

พระมหาสมบูรณ วุฑฺฒิกโร, “แนวคิดเรื่อง “จิตเทานั้นมีอยู” ของพระพุทธศาสนานิกายโยคาจาร”,
วารสารพุทธศาสนศึกษา, ปที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๔๗) : ๓๙.

Edgerton Franklin, Buddhist Hybrid Sanskrit Grammar and Dictionary, Vol.II., p. 146.

Nikkyo Niwano, Buddhism for Today, (New York : Weatherhill, 1980), p. 41.

ไดซาขุ อิเคดะ, บรรยายสัทธรรมปุณฑรีกสูตร บทกุศโลบายและบทการหยั่งอายุกาลของพระตถาคต,
แปลโดย สมาคมสรางคุณคาในประเทศไทย, (กรุงเทพฯ : สมาคมสรางคุณคาในประเทศไทย, ๒๕๔๓), หนา ๑๐๔-๑๐๕.

The Seeker’s Glossary of Buddhism, (Taiwan : The Corporate Body of The Buddha Educational
Foundation, 1998), pp. 201-202.

Page 25 of 162
๑๑

มีเปาหมายเพื่อใหสรรพสัตวพัฒนาคุณงามความดี และบรรลุถึงสิ่งที่ดีงามสูงสุดสําหรับชีวิต คือ


การตรัสรูเปนพระพุทธเจา”

อนึ่ง คําวา อุบาย กุศโลบาย อุปายเกาศลฺย(อุปายโกศล)นั้น เปนไวพจนกัน สามารถใช


แทนกันได และมีความหมายเหมือนกัน

๒.๑.๒ ความเปนมาของกุศโลบายในพุทธศาสนา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ก. ความเปนมาของกุศโลบายในเถรวาท

ครั้งสมัยที่พระพุทธเจาหลังจากทรงตรัสรูพระสัพพัญุตญาณ ณ ใตรมพระศรีมหาโพธิ
ทรงมีพระดําริวา ธรรมที่พระองคทรงตรัสรูนั้นสงบ สุขุม ลุมลึก ยากที่ชนทั้งหลายจะเขาใจไดงาย
มีพระทัยนอมไปในทางที่จะไมทรงแสดงธรรมแกชนเหลาอื่น แตดวยพระมหากรุณาธิคุณที่มีตอ
เวไนยสัตว พระพุทธองคทรงพิจารณาสัตวโลกทั้งหลาย ทรงเห็นถึงความหลากหลายทางอุปนิสัย
และความสามารถของหมูสัตวที่แตกตางกัน บางพวกมีกิเลสมาก บางพวกมีกิเลสนอย บางพวก
อิ น ทรี ย แ ก ก ล า บางพวกอิ น ทรี ย อ อ น บางพวกสอนยาก บางพวกสอนง า ยทรงเปรี ย บเหมื อ น
บัว ๓ เหลา๑๐ ที่จมอยูในน้ํา อยูเสมอน้ํา และอยูพนน้ํา แตที่รูจักกัน คือ บัว ๔ เหลา ดังนี้

๑. อุคฆฏิ ตัญู บุคคลที่มีปญญามาก รูเขาใจไดฉับพลัน เพียงยกหัว ขอขึ้นแสดง


เทานั้น เทียบไดกับบัวพนน้ํา แตพอรับสัมผัสรัศมีตะวันก็จะบาน ณ วันนั้น
๒. วิปจิตัญู บุคคลที่มีปญญาปานกลาง สามารถรูเขาใจได ตอเมื่อทานอธิบายความ
พิสดารออกไป เทียบไดกับบัวปริ่มน้ํา ที่จักบานในวันรุงขึ้น
๓. ไนยยะ บุคคลผูมีปญญานอย พอจะหาทางคอยชี้แจง แนะนํา ใชวิธีการยักเยื้อง
ใหเขาใจไดตอไป เทียบไดกับบัวใตพื้นน้ํา จักบานในวันตอๆ ไป
๔. ปทปรมะ บุคคลผูอับปญญา มีดวงตามืดมิด ยังไมอาจใหบรรลุคุณวิเศษไดในชาตินี้
เทียบไดกับบัวจมใตน้ํานาจักเปนอาหารแหงปลาและเตา๑๑

ในเมื่อพระพุทธองคไดทรงเห็นความตางแหงอุปนิสัยของเหลาสัตว จึงทรงนอมพระทัย
ไปในการที่จะแสดงธรรมโปรดเหลาเวไนยสัตว

๑๐
วิ. ม.(ไทย) ๔/๙/๑๑.
๑๑
องฺ. จตุกฺก.(ไทย) ๒๑/๑๓๓/๒๐๒.

Page 26 of 162
๑๒

ในสุ มั ง คลวิ ล าสิ นี ไ ด แ สดงให เ ห็ น ถึ ง เหตุ ผ ลในการแสดงธรรมของพระพุ ท ธเจ า


ที่คลอยตามอัธยาศัยของเหลาสัตว เมื่อพระผูมีพระภาคเจาทรงทราบความสามารถแหงอัธยาศัย
ของเวไนยสัตว เพงดูความพอใจ ความชอบใจ อภินิหาร(อํานาจแหงบารมี) และภาวะที่จะตรัสรูได
ของเวไนยสัตวแลว พระพุทธองคจึงทรงแสดงธรรมที่เหมาะกับอุปนิสัยของเวไนยสัตว เพื่อให
สามารถที่จะรู และเขาใจธรรมของพระองคไดโดยงาย๑๒ ทั้งนี้เพราะพระพุทธเจาทรงประกอบดวย
พระปญญาคุณ มีทศพลญาณ คือญาณอันเปนกําลังของพระตถาคตที่ทําใหพระองคสามารถบันลือ
สีหนาท ประกาศพระศาสนาไดมั่นคง และปฏิสัมภิทา คือ ปญญาแตกฉานในดานตางๆ โดยเฉพาะ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ในญาณที่ ๕ และ ๖ ในทศพลญาณ คือ นานาธิมุตติกญาณ คือปรีช าหยั่งรูอธิมุติ ( คือรูอัธยาศัย
ความโนมเอียง แนวความสนใจ ฯลฯ) ของสัตวทั้งหลายที่เปนไปตางๆ กัน อินทรียปโรปริยัตตญาณ
ปรีชาหยั่งรูความยิ่งและหยอนแหงอินทรียของสัตวทั้งหลาย รูวา สัตวนั้นๆ มีแนวความคิด ความรู
ความเขาใจ แคไหนเพียงใด มีกิเลสมาก กิเลสนอย มีอินทรียออนหรือแกกลา สอนงายหรือสอนยาก
มีความพรอมที่จะเขาสูการตรัสรูหรือไม ทําใหพระพุทธองคทรงรู คํานึงถึง และสอนใหเหมาะ
ตามความแตกตางระหวางบุคคล๑๓

เมื่อธรรมชาติของหมูสัตวมีความสามารถและอุปนิสัยที่แตกตางกัน การแสดงธรรม
ของพระพุทธองคจึงสัมพันธกับความสามารถและอุปนิสัยของหมูสัตวกลาวคือ บุคคลมีปญญามาก
สอนแบบหนึ่ง บุคคลมีปญญาปานกลางสอนอีกแบบหนึ่ง บุคคลมีปญญานอยก็สอนอีกแบบหนึ่ง
ธรรมที่พระองคทรงแสดงจึงยักเยื้องไปตามสติปญญาของแตละบุคคล แมสอนเรื่องเดียวกันแตตาง
บุค คล อาจใช วิ ธีก ารต า งกั น เช น ทรงโปรดปญ จวัค คี ย ด ว ยอริ ย สั จ ๔๑๔ โปรดยสกุล บุ ต รด ว ย
อนุปุพพิกถา แลวจึงสอนดวยอริยสัจ ๔๑๕ สอนฆราวาสดวย บุญกิริยาวัตถุ ๓๑๖ สอนบรรพชิตดวย
สิกขา ๓๑๗ เปนตน การแสดงธรรมยักเยื้องไปตามความสามารถและอุปนิสัยของแตละบุคคลนี้
ถือเปนอุบายหรือกุศโลบายในการแสดงธรรมของพระพุทธเจาที่มุงสงเคราะหหมูสัตวผูมีพื้นฐานที่
แตกตางกันใหสามารถเขาใจเขาถึงสัจธรรม ซึ่งสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส

๑๒
ที.สี.อ.(ไทย) ๑/๑/๑๕๗.
๑๓
พระธรรมปฏก (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธวิธีในการสอน, (กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม, ๒๕๔๒), หนา ๑๓-๑๘, ๓๕.
๑๔
วิ.ม.(ไทย) ๔/๑๔/๑๘.
๑๕
วิ.ม.(ไทย) ๔/๒๖/๒๙.
๑๖
องฺ.อฏก.(ไทย) ๒๓/๑๒๖/๒๐๒-๒๐๔.
๑๗
องฺ.ติก.(ไทย) ๒๐/๕๒๑/๒๖๖.

Page 27 of 162
๑๓

เรียกการแสดงธรรมที่เหมาะกับอุปนิสัยของเหลาสัตวแบบนี้วาเปนกุศโลบายของพระพุทธเจา
ที่นําเวไนยสัตวใหรูทั่วถึงธรรมวา

สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงอาศัยกุศโลบายนี้เปนที่ตั้ง เมื่อทรงสั่งสอนเวไนยสัตว
ก็อนุวัตรโดยควรแกอัธยาศัยและเวลา ชนเหลาใดมีสันดานหนาไปดวยอกุศล ก็ทรงแสดงทุจริตและ
ผลของทุจริต ใหเกิดสังเวชแลวและละเวนเสีย ชนเหลาใดมีสันดานประกอบไปดวยกุศล ก็ทรง
แสดงสุจริตและผลของสุจริต ใหเกิดปติปราโมทยแลวและสมาทาน ชนเหลาใดมีอธิมุติออน ก็ทรง

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
สั่ ง สอนด ว ยทิ ฏ ฐธั ม มิ กั ต ถประโยชน ชนเหล า ใดมี อ ธิ มุ ติ เ ป น ปานกลาง ก็ ท รงสั่ ง สอนในทาง
สัมปรายิกัตถประโยชน ในเวลาใดมีอธิมุติกลาก็ตรัสเทศนาดวยปรมัตถประโยชน ในเวลาใดควรจะ
ทรงแสดงธรรมเชนไร ก็ทรงแสดงตามควรแกเวลานั้น ศาสโนวาทของพระองคจึงมีคุณเปนอัศจรรย
ผูกระทําตามไดผลสมควรแกความปฏิบัต๑๘ิ

จะเห็นไดวาแนวคิดเรื่องกุศโลบายของเถรวาท มาจากความแตกตางทางดานอุปนิสัย
ความสามารถ ปญญา ความเพียร ที่แตกตางกันของเหลาสัตว ดังนั้นการสอนธรรมของพระพุทธองค
จึ ง คล อ ยตามคุ ณ สมบั ติ ข องสรรพสั ต ว หากบุ ค คลมี ป ญ ญาก็ ส อนธรรมขั้ น สู ง มี อ ริ ย สั จ ๔
ปฏิจจสมุปบาท เปนตน หากบุคคลมีปญญานอยก็สอนธรรมขั้นตน มีทาน เปนตน พรอมดวยวิธีการ
สอนของพระองค ที่ยืดหยุนไปตามอุปนิสัยของบุคคล เช น ใหทานจูฬปนถกลูบผาขาว จนเกิด
ปญญาสําเร็จเปนพระอรหันต เปนตน ดังนั้นกุศโลบายของเถรวาทจึงหมายถึงคําสอนและวิธีการ
สอนของพระพุทธองค ที่ปรับใหเหมาะสมกับคุณสมบัติของบุคคล เวลาและสถานการณ

ในคัมภีรพุทธศาสนาเถรวาทไดกลาวถึงวิธีการใชกุศโลบาย ในการแสดงธรรมโปรด
สัตวของพระพุทธองคไวมากมาย เชน

ทรงโปรดโจรองคุ ลิ ม าลด ว ยพระวาจาว า “เราหยุ ด แล ว ท า นต า งหากที่ ไ ม ห ยุ ด ”


องคุลิมาลไดยินพระดํารัสนี้เกิดความงุนงง คิดวาพระสมณะพูดมุสา เดินอยูแทๆ กลับพูดวา เราหยุดแลว
เราตางหากที่หยุด สมณะนี้กลับกลาวหาวาไมหยุด จึงถามพระพุทธองควา ทานหยุดอยางไร? เราไม
หยุดอยางไร? พระพุทธองคทรงตอบวา “เราหยุดจากการเบียดเบียนสรรพสัตว ตัวทานยังไมหยุด
จากการเบียดเบียนสรรพสัตว” องคุลิมาลเกิดความสํานึก ละทิ้งดาบ อาวุธ และทูลขออุปสมบท๑๙

๑๘
สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, พระมงคลวิเสสกถา, (กรุงเทพฯ : มหามกุฎ
ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘), หนา ๕๐-๕๑.
๑๙
ม.ม.(ไทย) ๑๓/๓๔๙/๔๒๓ - ๔๒๔.

Page 28 of 162
๑๔

ทรงสอนนางกิ ส าโคตรมี ที่ ต ะเวนหายาชุ บ ชี วิ ต ลู ก ชายไปทั่ ว หมู บ า น เมื่ อ มาพบ


พระพุทธเจาก็เอยปากทูลขอยาชุบชีวิตจากพระองค พระพุทธองคตรัสวา “ยามีแน แตตองไปหา
เมล็ดพันธุผักกาดจากบานที่ไมมีคนตาย” นางดีใจมากเที่ยวตะเวนขอเมล็ดพันธุผักกาดจากชาวบาน
แตเดินจนเหนื่อยออนก็หาไมได เพราะทุกบานลวนแลวแตเคยมีคนตายทั้งสิ้น ในที่สุดนางก็คิดได
วา ความตายเป น ของธรรมดาทุ ก คนตอ งตาย โลกนี้ มีค นตายมากกว า คนเป น ตั ด ใจเสีย ไดจ าก
ความเสียใจในลูกชาย แลวนางก็ทูลขอบวชเปนภิกษุณ๒๐ ี

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ทรงสอนพระจูฬปนถกผูโงเขลาดวยการใหนําผาสีขาวไปลูบคลํา ไดพิจารณาเห็นความ
เปลี่ยนแปลงจากผาสะอาดเปลี่ยนเปนผาสกปรก จนไดบรรลุเปนพระอรหันต๒๑

ทรงโปรดพระนางรูปนันทาผูหลงในรูปรางหนาตาอันสะสวยของพระองค พระพุทธองค
ทรงใชอุบายทรงเนรมิตผูหญิง ๓ วัย คือ หญิงสาวสวย หญิงแก และหญิงที่ตายแลว พระนางรูปนันทา
ก็คลายความยึดมั่นในรูปเสียได๒๒

ดังนั้นเถรวาทจึงถือวา คําสอนและวิธีการสอนของพระพุทธเจาจึงเปนอุปกรณหรือ
กุศโลบาย ที่พระองคทรงแสดง เพื่อมุงหวังใหเหลาเวไนยสัตวที่มีความแตกตางกันทางอุปนิสัย
ไดรู เขาใจ และเขาถึงธรรมที่พระองคทรงสอน ดังในอลคัททูปมสูตรที่กลาววาธรรมเปนเพียง
อุปกรณ ที่ใชเปนเครื่องมือในการกาวขามความทุกข เมื่อพนแลวตองละทิ้งเสีย เปรียบกับบุคคล
ที่ขามฝงแมน้ํา โดยใชแพเปนพาหนะขามแมน้ําไปยังฝงโนน เมื่อถึงฝงแลวควรที่จะละทิง้ แพนัน้ เสีย
ไมควรที่จะแบกแพไปดวย๒๓

ข. ความเปนมาของกุศโลบายในมหายาน

แนวคิ ด เรื่ อ งกุ ศ โลบายของมหายานมี ร ากฐานมาจากความเชื่ อ ที่ ว า คํ า สอนของ


พระพุทธเจาเปนวิธีการชั่วคราวที่จะนําสรรพสัตวไปสูการตรัสรู(โพธิ) อุปมาเชนแพ เมื่อบุคคลขาม
ถึงฝ งแลว ก็ ควรละทิ้งแพเสี ย ไม ควรแบกไปดวย และคําสอนที่พระองคทรงแสดงนั้น อาจจะ
แตกตางหลากหลาย อาจจะเหมาะสมสอดคลองกับชวงเวลาหนึ่ง แตไมเหมาะสมกับชวงเวลา

๒๐
พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๔, (กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓), หนา ๒๑๘ - ๒๒๐.
๒๑
ขุ.เถร.(ไทย) ๒๖/๕๖๐-๕๖๒/๔๓๗.
๒๒
พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๕, (กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๐), หนา ๑๖๒-๑๖๔.
๒๓
ม.ม.(ไทย) ๑๒/๒๔๐/๒๕๕-๒๖๖.

Page 29 of 162
๑๕

หนึ่ง๒๔ นิกายมหาสังฆิกะไดพัฒนาความเชื่อนี้ขึ้นเปนระบบ โดยบอกวาธรรมะของพระพุทธเจา


แบงออกเปน ๒ ระดับ คือ ระดับแรกเปนคําสอนเชิงปรากฎการณ(Phenomenological Doctrine)
เปนคําสอนที่เปดเผยความจริงเกี่ยวกับโลกและชีวิตของมนุษย ที่สาธารณชนสามารถเขาใจไดงาย
ซึ่งเหมาะกับผูที่มีอินทรียออน พระพุทธเจาทรงเห็นวาสัจธรรมที่ทรงคนพบนั้นลึกซึ้งและยากเกิน
กวาปุถุชนจะเขาใจได เพื่อเอื้อประโยชนตอสรรพสัตว พระองคจึงทรงเผยแผคําสอนที่เขาใจไดงาย
เชน อริยสัจ ๔ เปนตน ระดับที่สองเปนคําสอนแท(Ontological/Introspectional Doctrine) เปนคําสอน
ที่ครอบคลุมทุกภาวะและเปนคําสอนที่ทําใหหลุดพนไดอยางสมบูรณ คือละความยึดถือไดทั้ง

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ตัวบุคคลและธรรมทั้งปวง เปนคําสอนที่เกี่ยวกับภาวะไรจํากัดที่เรียกวาสุญญตา ซึ่งพระพุทธเจา
ทรงเปดเผยแกพระสาวกหรือผูที่มีความสามารถหยั่งรูพิเศษในบางครั้งบางคราว และทรงย้ําเปน
พิเศษในชวงทายๆ แหงพระชนมชีพ โดยอาศัยแนวคิดนี้มหายานจึงถือวาคําสอนของพระพุทธเจา
ในชวงแรก ซึ่งก็คือคําสอนแบบเถรวาท เปนคําสอนชั่วคราวที่มีลักษณะเปนอุบายเพื่อนอมใจชน
มากกว า เป น เนื้ อ หาแก น ธรรม ส ว นเนื้ อ หาแก น ธรรมที่ แ ท นั้ น มี ลั ก ษณะเป น ความคิ ด ชั้ น สู ง
เปนความจริงที่เกี่ยวกับจักรวาลทั้งหมด ซึ่งเปนคําสอนของมหายานอันเปนคําสอนที่แทจริง๒๕

แนวคิดเรื่องกุศโลบายถือเปนเรื่องสําคัญมากของมหายาน และพัฒนาไปอยางเปนระบบ
ผานทางคัมภีรในยุคตนๆ เชน อุปายเกาศลฺยสูตร๒๖ ที่แสดงถึงพระโพธิสัตวที่ถูกมองวาลวงละเมิด
พุทธบัญญัติ เชน นอนบนเตียงเดียวกับสตรี แตดวยกุศโลบายของพระโพธิสัตวที่จะทําใหสตรีนั้น
เขาสูอนุตรสัมมาสัมโพธิ จึงเปนสิ่งที่ชอบธรรมไมมีโทษ ในคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร๒๗ แสดง
ถึงพระพุทธเจาทรงใชกุศโลบายในการสอนสรรพสัตวโดยสอนอริยสัจ ๔ แกฝายสาวกยาน และ
ปจเจกยานนั้น เพียงเพื่อใหฉลาดในวิธีปฏิบัติ เพราะคนเหลานี้ยังมีภูมิปญญาต่ํา ตองแนะนําใน
ธรรมต่ําๆ เสียกอน จึงจะสอนธรรมชั้นสูงได ทางปฏิบัติ(ยาน) เพื่อความหลุดพนมีทางเดียวเทานั้น
ไมใชสามทาง กลาวคือ สาวกยาน ปจเจกพุทธยาน และโพธิสัตวยาน ยานทั้ง ๓ นี้ เปนเพียงวิธีแสดง
ธรรมของพระพุทธเจา เพื่อนําคนผูมีภูมิปญญาตางๆ กัน ใหเขาถึงความจริงชั้นสูงสุด คือ พุทธยาน

๒๔
Damien Keown, A Dictionary of Buddhism, (New York : Oxford University Press Inc, 2003), p. 318.
๒๕
สุมาลี มหณรงคชัย, พุทธศาสนามหายาน, (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศยาม, ๒๕๔๖), หนา ๓๕.
๒๖
ดูรายละเอียดใน, The Skill in Means (Upāyakauśalya) Sūtra, Translated by Mark Tatz, Delhi :
Motilal Banarsidass Publishers, 2001.
๒๗
ดูรายละเอียดใน, สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร
พริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่งจํากัด, ๒๕๔๗.

Page 30 of 162
๑๖

ในบทที่ ๒ ของคั ม ภี ร วิ ม ลเกี ย รติ นิ ท เทสสู ต ร ๒๘ ได แ สดงให เ ห็ น ถึ ง การใช กุ ศ โลบายของ


พระโพธิ สั ต ว ใ นการชั ก จู ง สรรพสั ต ว ใ ห ตั้ ง อยู ใ นอนุ ต รสั ม มาสั ม โพธิ ญ าณ ด ว ยการทํ า ให ดู
เปนแบบอยาง แมกระทั่งออกอุบายวาปวย เพื่อที่จะแสดงธรรมโปรดสัตว

นอกจากนี้นิกายตางๆ ของมหายานไดสรางระบบคําสอนของพระพุทธเจาขึ้น โดยใช


แนวคิดเรื่องกุศโลบายเปนฐาน ดังนี้

ทานปรัชญาประภา คณาจารยแหงมาธยมิกะไดจัดระบบคําสอนไวเปน ๓ ยุค๒๙ คือ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑. ยุคตน พระพุทธองคเทศนาพระธรรมฝายสาวกยาน แสดงถึงความมีอยูแหงนาม
ธาตุและรูปธาตุ ทรงแสดงแกผูมีอินทรียออน

๒. ยุคกลาง พระพุทธองคทรงเทศนาพระธรรมฝายมหายาน มีหลักธรรมของฝาย


โยคาจารหรือวิชญาณวาทเปนตน แสดงถึงความมีอยูแหงนามธาตุ แตปฏิเสธตอความดํารงแหงวิสัย
สําหรับพวกที่มีอินทรียปานกลาง

๓. ยุคสุดทาย พระพุทธองคเทศนาพระธรรมฝายมาธยมิกะ แสดงถึงความสูญแหง


นามธาตุและปวงวิสัย สําหรับพวกที่มีอินทรียสูง

สํานักโยคาจารไดจัดระบบการแสดงธรรมของพระพุทธเจาไวในสันธินิรโมจนสูตร๓๐วา

พระผูมีพระภาคทรงแสดงธรรมจักรครั้งที่ ๑ ที่ปาอิสิปตนมฤคทายวัน ทรงแสดง


อริยสัจ ๔ แกบุคคลผูเขาถึงสาวกยาน เปนเพียงธรรมเบื้องตน ชั่วคราว

พระผูมีพระภาคทรงแสดงธรรมจักรครั้งที่ ๒ ทรงแสดงศูนยตาแกบุคคลผูเขาถึง
มหายาน เปนธรรมเกี่ยวกับความไมมีแหงสวภาวะแหงธรรมทั้งหลาย เปนธรรมไมมีการเกิด ไมมี
การดับ สงบนิ่งอยูโดยพื้นฐาน และมีธรรมชาติอยูเหนือความทุกข เปนเพียงธรรมเบื้องตน ชั่วคราว

๒๘
ดูรายละเอียดใน, วิมลเกียรตินิทเทสสูตร, แปลโดย เสถียร โพธินันทะ, กรุงเทพฯ : มหามกุฎราชวิทยาลัย,
๒๕๐๖.
๒๙
เสถียร โพธินันทะ, ปรัชญามหายาน, (กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑), หนา ๗๐.
๓๐
Etienne Lamotte, ed., Samdhinirmocana Sutra : L’Explication des Mysteres, (Paris : Adrien
Maisommeuve, 1935), p. 58., อางในพระมหาสมบูรณ วุฑฺฒิกโร, “แนวคิดเรื่อง “จิตเทานั้นมีอยู” ของพระพุทธศาสนา
นิกายโยคาจาร”, หนา ๔๓.

Page 31 of 162
๑๗

พระผูมีพระภาคทรงแสดงธรรมจักรครั้งที่ ๓ เปนธรรมที่จําแนกดีแลวสําหรับบุคคล
ผูเขาถึงยานทั้งปวง ทรงแสดงถึงธรรมชาติที่เกี่ยวกับความไมมี สวภาวะแหงธรรมทั้งหลาย เปน
ธรรมที่ไมเกิด ไมดับ สงบนิ่งอยูโดยพื้นฐาน และมีธรรมชาติ อยูเหนือความทุกข ธรรมจักรนี้ ไมใช
ธรรมขั้นตน ไมใชธรรมชั่วคราว

ทานฉีอี้แหงสํานักเทียนไท ไดจัดระบบคําสอนทางพุทธศาสนาออกเปน ๕ ชวง๓๑ ดังนี้

๑. ชวงปฐมกาล คือชวงเวลาที่พระพุทธเจาตรัสรูใหมๆ ทรงสอนเรื่องปญญาขั้นสูง

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ในเรื่องของจิตหนึ่ง อันเปนที่มาของปรากฏการณทั้งหลาย แกเหลาโพธิสัตวและเทวดา จะมีปุถุชน
บางก็เปนจํานวนเล็กนอยเทานั้นที่สามารถเขาใจ เรียกยุคนี้วายุคอวตังสกะ

๒. ชวงทุติยกาล คือชวงเวลาที่พระพุทธองคทรงเล็งเห็นวาพระธรรมในชวงแรกนั้น
ลึกซึ้งเกินไป ยากที่ปุถุชนจะหยั่งถึงได เพื่อสงเคราะหผูที่มีอินทรียออน พระพุทธองคจึงทรงแสดง
ธรรมฝายสาวกยาน มีเรื่องอริยสัจสี่ เปนตน มีผูเขาใจธรรมในชวงนี้เปนอันมาก เรียกยุคนี้วายุคอาคม

๓. ชวงตติยกาล คือชวงเวลาที่พระพุทธองคทรงแสดงพระสูตรของฝายมหายาน เพื่อ


ยกระดับภูมิธรรมของเหลาสาวก ทรงเลื่อนอุดมคติของการเปนพระอรหันตไปสูอุดมคติของการ
เปนโพธิสัตว โดยใหมีใจกรุณาตอสรรพสัตวเปนที่ตั้ง เรียกวา ยุคของการพัฒนา

๔. ชวงจตุตถกาล คือชวงเวลาที่พระพุทธเจาทรงแสดงพระสูตรปรัชญาปารมิตา ซึ่งมี


สาระสําคัญอยูที่การมองทุกอยางเปนความวาง การแสดงพระสูตรนี้ก็เพื่อกําจัดความเขาใจผิดของ
สาวกบางกลุมบางคนวา สภาวธรรมมีอยู เรียกวา ยุคของปญญา

๕. ช ว งป จ ฉิ ม กาล คื อ ช ว งเวลาที่ พ ระพุ ท ธเจ า ทรงแสดงสั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต ร


อั นเป นการเป ดเผยคํ าสอนสู งสุ ดแก สาวก เพราะเป นการรวมเอาทางแห งความหลุ ดพ นทั้ งสาม
(ตรียาน) เขาดวยกันเปนยานเดียว(เอกยาน) เรียกยุคนี้วา ยุคของการเปดเผยและพบปะ

จะเห็นไดวามหายานไดพัฒนาแนวคิดเรื่องกุศโลบายไปไกลกวาเถรวาท นอกจากเห็น
วาคําสอนของพระพุทธเจาลวนเปนกุศโลบายในการนําพาสรรพสัตวใหหลุดพนจากทุกขทั้งปวง
แลว ยังนําไปเปนขอสนับสนุนในการสรางคําสอนแบบใหม เพื่อที่จะบรรยายภาพคําสอนในยุคแรกๆ
ของพระพุทธเจาวาเปนคําสอนที่มีขอบเขตจํากัด เหมาะสําหรับสาวกในยุคเริ่มตนผูมีความสามารถ

๓๑
สุมาลี มหณรงคชัย, พุทธศาสนามหายาน, หนา ๑๕๖-๑๕๘.

Page 32 of 162
๑๘

ทางดานสติปญญานอย๓๒ โดยมีนัยที่แสดงใหเห็นถึงการเชิดชูคําสอนของฝายตน พรอมทั้งเหยียด


คําสอนของฝายตรงขามที่มีแนวคิดตางจากตน กุศโลบายของมหายานจึงเปนวิธีการที่ชอบธรรม
ที่พระพุทธเจาและพระโพธิสัตวทั้งหลายนําไปใช เพื่อใหเกิดประโยชนแกสรรพสัตว

๒.๑.๓ ความสําคัญของกุศโลบาย

กุ ศ โลบายในพุ ท ธศาสนามหายานนอกจากมี ค วามหมายเป น วิ ธี ดํ า เนิ น งานทาง


พระศาสนาที่ นํ า พาสรรพสั ต ว ใ ห ลุ ถึ ง โพธิ ญ าณ ยั ง บ ง บอกถึ ง ลั ก ษณะหรื อ คุ ณ สมบั ติ ข อง

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระพุทธเจาหรือพระโพธิสัตว และมีนัยที่ครอบคลุมไปถึงความเปนเอกลักษณหรือลักษณะอันเปน
ลักษณะเฉพาะของมหายาน มีรายละเอียดดังนี้

ก. กุศโลบายเปนคุณสมบัติของพระโพธิสัตว

ในวิมลเกียรตินิทเทสสูตรบอกวา ผูที่จะเปนพระโพธิสัตวจะตองประกอบดวยคุณสมบัติ
๒ ประการ คือ ปรัชญา และอุบาย “พระโพธิสัตวมีปรัชญาเปนมารดา มีอุปายะเปนบิดา อันพระผูนํา
ทางพนทุกขแ กส่ําสัตว ไมมีสักพระองค หนึ่งเลยที่จักไมอุบัติขึ้นจากมารดา บิด า ดังกลาวนี้ ”๓๓
คุณสมบัติ ๒ ประการนี้เมื่อรวมกันเขาเปนหนึ่งเดียว [ปรัชโญบาย(ปรัชญา + อุบาย)] ขจัดความเห็น
เรื่องทิวภาวะออกไปได ถือวาไดสรางโพธิจิตใหเกิดขึ้นแลว๓๔ และถือวาเปนขั้นแรกแหงการเปน
พระโพธิสัตว∗ เสฐียร พันธรังษี อธิบายวา “ปรัชญาเปนหนึ่ง เปนสากล เปนเสมอภาค(สมตา)
พรอมๆ กับที่อุบายเปนหลายสิ่ง เปนแตละอยาง(นานตฺตตา) พระโพธิสัตวทรงบําเพ็ญ พระบารมี

๓๒
Damien Keown, A Dictionary of Buddhism, p. 318.
๓๓
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร, แปลโดยเสถียร โพธินันทะ, หนา ๗๓.
๓๔
G.S.P. Misra, Development of Buddhist Ethics, แปลโดย พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ,
เอกสารอัดสําเนา, 1993, หนา ๑๓๒.

ขอบขายของการเปนพระโพธิสัตวในคัมภีรตางๆของมหายานมีคติแตกตางกันไป เชน คัมภีร
ศึกษาสมุจจัยบอกวาการนึกถึงการชวยเหลือผูอื่น(กรุณา) เปนเหตุใหเกิดโพธิจิต, คัมภีรสุขาวตีวยูหสูตรกลาววา
การบูชาพระพุทธเจา และการตั้งอยูในกุศลมูล ทําใหเกิดโพธิจิตได, มัธยมกาวตารกลาววา เมื่อไดฟงธรรม หรือ
ประวั ติ ข องพระพุ ท ธเจ า แล ว ได ตั้ ง ปณิ ธ านว า เราจะเป น พระพุ ท ธเจ า ถื อ ว า เขาได ป ลุ ก โพธิ จิ ต ขึ้ น มาแล ว ,
พุทธตันตระกลาววาการรวมตัวของปรัชญากับกรุณา ขจัดทวิภาวะออกได ถือวาไดปลุกโพธิจิตขึ้นแลว, แมวิธีการ
จะแตกตางกันแตจุดหมายเหมือนกันคือการปลุกโพธิจิตขึ้นมา ซึ่งคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร วิมลเกียรตินิทเทสสูตร
ถือโพธิจิตวาเปนขั้นแรกของการเปนพระโพธิสัตว ซึ่งโพธิจิตนั้นมีลักษณะอยู ๒ ประการคือ โพธิกับกรุณา และ
ในยุคหลังมหายานเรียกผูที่บําเพ็ญโพธิสัตวจรรยาตั้งแตแรกเริ่ม แมยังไมเกิดโพธิจิต ยังไมตั้งปณิธานวาพระโพธิสัตว.

Page 33 of 162
๑๙

เพื่อตนตามลักษณะความเปนหนึ่ง คือ ปรัชญา แตทรงบําเพ็ญตนเพื่อผูอื่นดวยอุบาย ประกอบดวย


ความรักและความกรุณา เพื่อชักนําสรรพสัตวใหสูจุดหมายปลายทางในที่สุด”๓๕ หมายความวา
พระโพธิสัตวสามารถที่จะทํามหาปณิธานใหสําเร็จไดจําตองใชคุณสมบัติทั้ง ๒ คือ ปรัชญานําพา
ตนใหเขาถึงซึ่งโพธิญาณ และใชกุศโลบายในการนําพาเหลาสัตวใหบรรลุตามเชนกัน

กุศโลบายนับเปนหนึ่งในอุดมคติหรือจุดหมายอันสูงสุดของมหายานที่พระโพธิสัตว
จะตองสรางใหเกิดมีขึ้นโดยผานกระบวนการฝกตนตามแนวทางของโพธิสัตวจรรยา ซึ่งมหายานถือ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วาพระพุทธเจาทรงประกอบดวยคุณสมบัติที่สมบูรณ ๓ ประการ๓๖

(๑) มหาปญญา พระพุทธเจาเปนผูที่หยั่งถึงความวาง ทั้งในบุคคลและธรรมอยาง


สมบูรณ ไมมีอะไรเกาะเกี่ยวจิตใจพระองคไดอีก

(๒) มหากรุณา พระพุทธเจาทรงบรรลุจตุรปณิธานอยางครบถวน เปยมดวยบารมี


อยางหาที่สุดไมได

(๓) มหาอุบาย พระพุทธเจาทรงเปนผูที่หยั่งรูจิตใจของสัตวทั้งหลาย จนสามารถใช


กุศโลบายเพื่อชวยเหลือสรรพสัตว ไดอยางสัมฤทธิ์ผล เปรียบเสมือนนายแพทยผูฉลาดรูจักวางยาให
ถูกกับโรค

ในปารมิตา ๑๐ กุศโลบายหรืออุบายเปนคุณธรรมที่พระโพธิสัตวตองบําเพ็ญตามหลัก
ของโพธิสัตวมรรคา๓๗ โดยมีจุดหมายเพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเพื่อเปนพระพุทธเจาในอนาคต
และนําพาสรรพสัตวใหเปนอิสระ หลุดพนจากความทุกข ปารมิตา ๑๐ ประการมีดังนี้

(๑) ทานปารมิตา คือ การใหทาน พระโพธิสัตวตองมีจิตใจเมตตาตอผูตกทุกขดวย


การเสียสละทรัพย อวัยวะ และชีวิตของตน รวมถึงการสอนธรรมอีกดวย

(๒) ศีลปารมิตา คือ การรักษาศีล พระโพธิสัตวตองมีจิตใจตั้งมั่นในการรักษาศีล


มีความประพฤติปฏิบัติดี มุงทําลายความชั่วรายใหหมดไป

๓๕
เสฐียร พันธรังษี, พุทธศาสนามหายาน, หนา ๓๔.
๓๖
สุมาลี มหณรงคชัย, พุทธศาสนามหายาน, หนา ๔๗.
๓๗
ดูรายละเอียดใน พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ, พระพุทธศาสนามหายานในอินเดีย พัฒนาการ
และสารัตถธรรม, (กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓), หนา ๗๔- ๘๔.

Page 34 of 162
๒๐

(๓) กษานติปารมิตา(ขันติปารมิตา) คือ ความอดทน ความอดกลั้น พระโพธิสัตวตองมี


ความอดทนเพื่อที่จะตอสูกับอุปสรรคและความยากลําบากตางๆ ที่มายั่วยุ มีเมตตา ไมโกรธตอบ
ไมมีความพยาบาท ถอมตน และเปนผูใหอภัยเสมอ

(๔) วีริยปารมิตา คือ ความเพียรพยายาม ไมเกียจคราน พระโพธิสัตวตองมีจิตใจไมยอทอ


ในการชวยเหลือสรรพสัตว ดวยการอุทิศทั้งรางกายและจิตใจ และไมหลงเพลิดเพลินกับความสุขทางโลก

(๕) ธยานปารมิตา คือ การมีจิตใจมั่นคงสงบไมหวั่นไหว พระโพธิสัตวเปนผูฝกจิต

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
จนไดสําเร็จฌานสมาบัติ จนละกิเลสนิวรณธรรมอันเปนอารมณที่มาขัดขวางในการทําความดีได

(๖) ปรัชญาปารมิตา คือ ความรูสรรพสิ่งตามเปนจริง เปนความรูอันมาจากฌานปารมิตา


พระโพธิสัตวมีปญญาพิจารณาเห็นสรรพสิ่งตามความเปนจริง และไดทําใหแจงในปุทคลศูนยตา
และธรรมศูนยตา คือ เห็นบุคคลและธรรมทั้งปวงเปนของวาง ไมควรยึดมั่นถือมั่น

(๗) อุปายเกาศัลยปารมิตา คือความฉลาด การมีกุศโลบายโดยใชวิธีที่เหมาะสมในการ


เผยแผศาสนา และชวยเหลือสัตวโลกใหพนจากทุกข

(๘) ปณิ ธ านปารมิ ต า คื อ ความตั้ ง ใจแน ว แน ต อ หลั ก การหรื อ อุ ด มการณ ข องตน
หมายถึงพระโพธิสัตวมีความมุงมั่นพรอมที่จะชวยเหลือสรรพสัตวอยูตลอดเวลา

(๙) พลปารมิตา คือ ความสามารถในการเขาใจในธรรมตามเหตุผลและความเขาใจ


ในธรรมที่ตนอบรมบําเพ็ญมา หมายถึงการที่ไดฟงพระสัทธรรมแลวมีโยนิโสมนสิการตามแลว
ก็ไดบรรลุอนุตรโพธิญาณ แลวนําเอาหลักธรรมมาเพื่อสั่งสอนสรรพสัตวใหเขาถึงความจริง

(๑๐) ชญานปารมิตา คือญาณอันเกิดแตปารมิตา ๖ เปนปญญาระดับสูงเปนโลกุตตรปญญา

ประพจน อัศววิรุฬหการ ไดแสดงความเห็นถึงปารมิตา ๔ ขอสุดทายวาเปนปารมิตา


ที่เสริมขึ้นมา เปนเรื่องคุณสมบัติมากกวาเปนธรรมที่ควรบําเพ็ญ ซึ่งการใหพระโพธิสัตวบําเพ็ญ
ปารมิตาเหลานี้ จึงเปนการเพิ่มคุณสมบัติของพระโพธิสัตวใหเสมอกับคุณสมบัติของพระพุทธเจา๓๘

๓๘
ประพจน อัศววิรุฬหการ, “การศึกษาเชิงวิเคราะหเรื่องพระโพธิสัตวในคัมภีรเถรวาทและคัมภีรมหายาน”,
ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต, (ภาควิชาภาษาตะวันออก : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย), ๒๕๒๓, หนา ๓๒๕, ๓๒๗.

Page 35 of 162
๒๑

ข. กุศโลบายเปนลักษณะสําคัญของมหายาน

คําวามหายาน โพธิสัตวยาน พุทธยาน เอกยาน เปนชื่อที่กําหนดขึ้นมาเรียกวิถีหรือ


มรรคาที่พระโพธิสัตวดําเนินไป หรือวิถีชีวิตของพระโพธิสัตวที่มุงหมายตอพุทธภูมิ ทานอสังคะ
ไดแจกแจงลักษณะสําคัญที่เปนพื้นฐานของมหายานไว ๗ ประการ๓๙

(๑) ความครอบคลุ ม รอบด า น มหายานไม จํ า กั ด ตนอยู กั บ พุ ท ธองค แ ต อ งค เ ดี ย ว


แตครอบคลุมความจริงที่พบไดไมวา ณ สถานที่หรือกาลเวลาใด เหลาพุทธองคไมวา ณ ที่ใดหรือ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ยุคสมัยใด ไดประกาศธรรมะมากมายซึ่งประกอบกันเปนคําสอนของมหายาน

(๒) ความรักสากลสําหรับสรรพสัตว มหายานมุงเนนที่ความรอดพนสากลสําหรับ


สรรพสัตวทั้งปวง ความพยายามตางๆ ของมวลพระโพธิสัตวมุงสงเคราะหสรรพสัตวโดยไมยกเวน

(๓) ความครอบคลุมรอบดานทางภูมิธรรม มหายานอาศัยแนวคิดเรื่องอนัตตาในการ


อธิบายสรรพสิ่งทั้งหมด มิใชเพียงสําหรับอธิบายสภาวะเกี่ยวกับมนุษยเทานั้น

(๔) ความยิ่งใหญแหงพลังทางจิตวิญญาณ พระโพธิสัตวตางไมทอถอยหรือสิ้นหวัง


ในการบรรลุเปาหมายอันยิ่งใหญเพื่อชวยสรรพสัตว มหายานไมสงเสริมใหบุคคลพยายามบรรลุ
ธรรมเฉพาะตนในเวลาอันสั้นที่สุดโดยไมใสใจตอปวงสรรพสัตว

(๕) ความยิ่งใหญในกุศโลบาย การชวยเหลือสรรพสัตวอันอยูในสภาพที่แตกตางกัน


ย อ มต อ งอาศั ย กลวิ ธี ก ารสั่ ง สอนอั น แยบยล พระโพธิ สั ต ว เ ป น ดั่ ง บิ ด าผู ใ จดี ต อ งใช วิ ธี ก าร
อันหลากหลายเพื่อชวยปวงสรรพสัตวใหพนทุกข ยอมตองอาศัยกุศโลบายหลายหลากวิธี

(๖) ภาวการณบรรลุธรรมที่สูงสงกวา เปาหมายสูงสุดของมหายานอยูที่การบรรลุพุทธภาวะ

(๗) กิ จ กรรมที่ ยิ่ ง ใหญ ก ว า เมื่ อ พระโพธิ สั ต ว บ รรลุ พุ ท ธภาวะ ท า นจะปรากฏ ณ


ทุกหนแหงทั่วสากลจักรวาล เพื่อชวยเหลือหมูสรรพสัตวทั้งปวง

มีลักษณะที่สําคัญอีก ๖ ประการ๔๐ คือ

(๑) เกิดจากแรงจูงใจยิ่งใหญ

๓๙
D.T. Suzuki, Outlines of Mahayana Buddhism, (New York : Schocken Book, 1973), pp. 62-65.
๔๐
พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ, พระพุทธศาสนามหายานในอินเดีย พัฒนาการและสารัตถธรรม, หนา ๒๐๘.

Page 36 of 162
๒๒

(๒) ดําเนินไปดวยอุบายวิธียิ่งใหญ
(๓) ดําเนินไปดวยจุดประสงคมุงปรัชญายิ่งใหญ
(๔) ดําเนินไปดวยความพยายามยิ่งใหญ
(๕) ดําเนินไปพรอมดวยกิจกรรมที่ยิ่งใหญ
(๖) ดําเนินไปเพื่อความสําเร็จยิ่งใหญ

ลักษณะที่ยิ่งใหญของมหายานอีกนัยหนึ่ง สะทอนออกมาจากคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
สรุปไดดังนี๔๑้

(๑) มหัชฌาสัย คือ ภาวะที่ครอบคลุมความใจกวาง เนนความเปนสากล มุงสราง


แนวคิดเชิงศาสนาแหงมนุษยชาติ

(๒) มหากรุณา คือ ความรักสากลที่มีตอสรรพสัตว กําจัดความคิดแบงแยกเปนสอง


เคารพในธรรมเฉพาะของสัตวโลก และตระหนักในพุทธภาวะที่มีอยูในสัตวบุคคล

(๓) มหาปรัชญา คือ ความยิ่งใหญในเชิงพุทธิปญญา ปญญาในมหายานไมไดรูแจง


เฉพาะปุทคลศูนยตาเทานั้น ยังรูแจงในธรรมศูนยตา จึงตัดมานกิเลส และมานญาณหรือธรรมได

(๔) มหาอุบาย คือ ความยิ่งใหญในการดําเนินงานประกาศพระศาสนา ชวยเหลือสัตวโลก

จะเห็ น ว า ลั ก ษณะพื้ น ฐาน ๗ ประการของท า นอสั ง คะ ลั ก ษณะสํ า คั ญ ๖ ประการ


และลักษณะในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรอีก ๔ ประการ สามารถสรุปลงเปนแกนลักษณะที่ยิ่งใหญ
ของมหายานได ๒ ประการ คือ (๑) ลักษณะที่ยิ่งใหญครอบคลุมรอบดาน ความเปนสากลแหง
พุทธธรรม ทั้งแงที่สุดแหงธรรมทั้งปวง และในแงเมตตาธรรมซึ่งครอบคลุมสรรพสัตวทั้งมวล
(๒) ลักษณะที่ยิ่งใหญในความไรขอบเขตแหงกุศโลบาย และกิจกรรมของพระโพธิสัตว อันจะพา
สรรพสัตวใหพนจากทุกขไดอยางมีประสิทธิภาพ และทรงคุณประโยชนอันยิ่งใหญ

ดังนั้นกุศโลบายจึงเปนองคประกอบสําคัญที่รวมกับคุณสมบัติดานอื่นๆ สรางหรือทําให
สรรพสัตวกลายเปนพระโพธิสัตว เปนกระบวนการของพระโพธิสัตวตองพัฒนาศักยภาพของตน
เพื่อกาวไปสูความเปนพระพุทธเจา และเปนคุณลักษณะที่แสดงถึงความยิ่งใหญของมหายานในการ
ดําเนินกิจกรรมทางพระศาสนาเพื่อชวยเหลือเหลาสัตว จึงนับวาเปนสิ่งสําคัญและจําเปนอยางยิ่ง
สําหรับพระโพธิสัตวในการกาวไปเปนพระพุทธเจาในอนาคต

๔๑
เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๐๙-๒๑๐.

Page 37 of 162
๒๓

๒.๒ เปาหมายของการใชกุศโลบาย

หากมองจุ ดประสงคหรือเปาหมายการใช กุศโลบาย จะเปนไปในมุมของการแนะนํา


สอนสั่งใหกับสรรพสัตวเสียเปนสวนมาก พระโพธิสัตวที่สามารถแนะนํ า ประยุกต พลิกแพลง
ธรรมะด วยกุ ศโลบายเพื่ อให สรรพสั ตว สนใจ เข าใจ ย อมต องมี ความรู หรื อเข าใจปรั ชญาที่ สู ง
พอสมควร ซึ่งเรียกพระโพธิสัตวในระดับนี้วา พระโพธิสัตวผูที่บําเพ็ญธรรมมานานจนไดอภิญญา๔๒
ซึ่งหมายถึงพระโพธิสัตวที่อยูในภูมิที่ ๘(อจลาภูมิ)ขึ้นไป มีความสามารถที่จะสั่งสอนนําพาสรรพสัตว

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ใหพนจากสังสารวัฏได๔๓ สําหรับผูแรกเริ่มเขาสูโพธิสัตวจรรยาที่เรียกวา พระโพธิสัตวผูเริ่มบําเพ็ญ
จรรยา๔๔ ยังไมสามารถแนะนําสั่งสอนบุคคลอื่นได จําเปนที่จะตองศึกษาธรรมะเปนอันดับแรกกอน
ดังที่คัมภีรมหายานสูตราลังการกลาวไววาการประพฤติธรรมและการชวยเหลือผูอื่นได ก็ตอเมื่อได
บําเพ็ญความดีมาเต็มที่แลว๔๕ หมายความวาพระโพธิสัตวตองบรรลุธรรมบางอยาง แลวจึงจะสามารถ
ชวยผูอื่นได เปรียบเหมือนคนวายน้ําไมเปน แลวจะไปชวยคนที่จมน้ําไดอยางไร การใชกุศโลบาย
เขามาชวยในการบําเพ็ญธรรมของพระโพธิสัตว ยอมชวยในเรื่องของการยนระยะเวลาในการพัฒนา
ตนเองใหกาวหนาในการปฏิบัติตามโพธิสัตวจรรยา เมื่อคุณธรรมกาวหนาสูภูมิที่สูงขึ้นเพียงพอ
ตอการนําพาสรรพสัตวใหถึงโพธิ การใชกุศโลบายจึงมีเปาหมายที่จะนําสรรพสัตวใหพนจากความทุกข
อันเปนจุดมุงหมายหลักของพระโพธิสัตว ดังนั้นเปาหมายในการใชกุศโลบาย จึงอยูที่การใชเพื่อ
พัฒนาตนเอง และชวยเหลือผูอื่นใหมีความกาวหนาในการปฏิบัติธรรมใหยิ่งขึ้นไป

๒.๒.๑ เปาหมายภายใน

พระโพธิ สั ต ว ผู เ ริ่ ม บํ า เพ็ ญ โพธิ สั ต วจรรยา ซึ่ ง เรี ย กได อี ก อย า งหนึ่ ง ว า พระอนิ ย ต
โพธิสัตวห มายถึงพระโพธิสัตวผูยังไมไ ดรับการพยากรณจากพระพุทธเจ า ถื อได วาเป น ผูที่ ยัง
ไมมั่นคงในธรรมเพราะเปนผูใหม และกําลังเตรียมความพรอมในดานคุณธรรมเพื่อการพัฒนากาว
ไปสูการเปนพระนิยตโพธิสัตว ในขั้นตอนของการเตรียมความพรอมนี้ พระโพธิสัตวยอมมีความ
ผิดพลาด สับสน ทอถอย และเฉื่อยชาเฉยเมยได ในคัมภีรโพธิสัตวภูมิไดกลาวถึงลักษณะคุณสมบัติ

๔๒
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร, แปลโดยเสถียร โพธินันทะ, หนา ๕๐.
๔๓
Bagchi, s., ed. Mahayana-Sutralankara of Asanga, pp. 159-160. อางในประพจน อัศววิรุฬหการ,
“การศึกษาเชิงวิเคราะหเรื่องพระโพธิสัตวในคัมภีรเถรวาทและคัมภีรมหายาน”, หนา ๒๔๓.
๔๔
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร, แปลโดยเสถียร โพธินันทะ, หนา ๕๐.
๔๕
Bagchi, s., ed. Mahayana-Sutralankara of Asanga, p. 175. อางในประพจน อัศววิรุฬหการ,
“การศึกษาเชิงวิเคราะหเรื่องพระโพธิสัตวในคัมภีรเถรวาทและคัมภีรมหายาน”, หนา ๑๗๓.

Page 38 of 162
๒๔

และวิถีชีวิตของพระโพธิสัตวในขั้นของการเตรียมตัวที่เรียกวาอธิมุกติจริยาวิหารวา พระโพธิสัตว
บําเพ็ญภาวนาอยางหนัก อยูเหนือความกลัว ๕ อยาง แตบางครั้ง พระโพธิสัตวก็อธิบายสิ่งตางๆ ผิด
ดํ าเนิ นชี วิ ตอย างผิ ดๆ มี ศรั ทธาแต ไม เข าใจสั จจะ มี สุ ตตมยป ญญาและจิ ต ตามยป ญ ญาที่ จํ า กั ด
เกิดความสับสน ปฏิบัติโพธิสัตวมรรคดวยความลําบากยิ่ง มีปญญาไมเฉียบแหลม ไมไดพัฒนาจิต
มุงตอโพธิมากนัก บางครั้งมีโพธิจิตทอถอย ละเลิกความพยายาม แสวงหาความสุขเพื่อตัวเอง
แตเมื่อพิจารณาอยางรอบครอบแลว จึงหันมาสรางความดีใหแกบุคคลอื่นอีก มองเห็นความลมเหลว
ของตัวเองอยูเสมอ แตก็ขาดความเพียรที่จะแกไข๔๖ สิ่งเหลานี้ทําใหมองเห็นวาพระโพธิสัตวชนั้ ตน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ยอมมีขอผิดพลาด ดําเนินไปในทางที่ผิดได แตเมื่อหยุดคิดพิจารณาตอเหตุการณนั้นแลวก็สามารถ
แกไขกลับเขาสูโพธิสัตวมรรค และเดินหนาพัฒนาตนเองใหกาวสูภูมิที่สูงตอไปได ในประเด็นนี้
จะไดศึกษาถึงกุศโลบายในการพิจารณาแกปญหา สรางกําลังใจเรงเราความเพียร ขจัดอกุศล เพิ่มพูน
คุณธรรมของตัวพระโพธิสัตวเอง เพื่อความกาวหนาในโพธิสัตวจรรยา

ก. กุศโลบายกับการสรางกําลังใจและความเพียรในตน

หลักคําสอนของมหายานมีลักษณะเชิดชูคุณความดีในเชิงบวก๔๗ โดยมีจุดมุงหมาย
เพื่อสรางพลังแหงจิตใหเขมแข็งมีพลังพรอมที่จะเผชิญกับปญหาตางๆ ไดอยางไมทอถอย เชน คําสอน
ของสํานั ก สัทธรรมปุณฑรีกะ(เทียนไท ) ในประเทศจีน ไดพัฒนาและอธิบายเรื่องตถาคตครรภ
เรียกอีกอยางหนึ่งวาเอกจิตตธรรมธาตุ หรือธรรมชาติแหงพุทธะ ซึ่งสรุปไดวาจิตของพระพุทธเจา
กับจิตของปุถุชนไมมีความแตกตางกัน ประกอบไปดวยธาตุหรือภูมิทั้ง ๑๐ เหมือนกัน คือ (๑) พุทธภูมิ
(๒) โพธิสัตวภูมิ (๓) ปจเจกพุทธภูมิ (๔) สาวกภูมิ (๕) เทวภูมิ (๖) อสูรภูมิ (๗) มนุษยภูมิ (๘) เปรตภูมิ
(๙) เดรัจฉานภูมิ (๑๐) นรกภูมิ๔๘ ในจิตสรรพสัตวรวมทั้งพระพุทธเจาทั้งหลายยอมมีธาตุทั้ง ๑๐ นี้
แตหากธาตุใดแสดงตัวอยางเดนชัดก็จะไปเกิดในภพภูมินั้นๆ โดยนัยนี้สรรพสัตวยอมมีพุทธภาวะ
แฝงอยูในตัว และสามารถจะตรัสรูพระอนุตรสัมมาสัมโพธิไดในวันใดวันหนึ่งเบื้องหนา ในสัทธรรม
ปุณฑรีกสูตรไดกลาวถึงพระเทวทัตผูซึ่งเปนภัยคุกคามตอพระศากยมุนีพุทธเจาวา พระเทวทัตคือ
กัลยาณมิตรของพระพุทธองค การตรัสรูของพระองคก็อาศัยพระเทวทัตนี้จึงสําเร็จได และทรง
พยากรณพระเทวทัตจะตรัสรูเปนพระพุทธเจาในอนาคตพระนามวาเทวราช สถิตยอยูในเทวโลปาน
โลกธาตุ๔๙ ตัวอยางที่ยกมาขางตนจะเห็นวาเปนคําสอนที่ปลุกเรากําลังใจและเรงความเพียร ในการ

๔๖
พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ, พระพุทธศาสนามหายานในอินเดีย พัฒนาการและสารัตถธรรม, หนา ๗๔.
๔๗
G.S.P. Misra, Development of Buddhist Ethics, แปลโดย พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ, หนา ๑๒๐.
๔๘
สุมาลี มหณรงคชัย, พุทธศาสนามหายาน, หนา ๑๘๓-๑๘๔.
๔๙
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๑๔๖..

Page 39 of 162
๒๕

ประพฤติธรรมใหเกิดขึ้นกับพระโพธิสัตว เมื่อมองเห็นบุคคลที่ต่ํากวาทั้งทางปญญา ฐานะและ


โอกาสมีสัตวในอบายภูมิเปนตน หรือแมแตพระเทวทัตซึ่งถือวาเปนบุคคลที่ชั่วรายหาทางทําลาย
พระศากยมุนีพุทธเจาเสมอยังสามารถที่จะตรัสรูเปนพระพุทธเจาในอนาคตได ดังที่ทานศานติเทวะ
กลาวไววา “หากมีกําลังความเพียรแมแตแมลงวัน ยุง ผึ้ง ก็ยอมเขาถึงความรูแจงได หากไมละวาง
โพธิสัตวมรรค ทําไมมนุษยจึงจะไมไดตรัสรูในเมื่อรูสิ่งที่เปนประโยชนและโทษ(มากกวาสัตว
เหลานั้น )”๕๐ นอกจากคําสอนที่สรางพลังใจและความเพียรแลว จะไดแ สดงตั วอยางในการใช
กุศโลบายเพื่อเรงเรากําลังใจและความเพียรในแบบตางๆ ตอไป

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑. การสํานึกผิดหรือการสารภาพบาป

ในโพธิสัตตวจรรยาวตารพระโพธิสัตวผูดําเนินตามแนวแหงโพธิสัตวมรรคขั้นแรก
ที่ตองทําคือการเปดเผยความชั่วหรือการสารภาพบาปและความผิดทั้งหลาย ที่ไดสรางอกุศลกรรม
ไวในพระรัตนตรัย บิดามารดา อาจารย รวมถึงสัตวทั้งปวงดวยความหลงผิด ในอดีตชาติและปจจุบัน
ชาติ ตอพระพุทธเจาโดยการระลึกถึงพระพุทธองคและปฏิญาณวาจะไมประพฤติเชนนั้นอีกตอไป
ดังที่ทานศานติเทวะกลาวเปนโศลกไววา

ขาฯขอนอมรําลึกถึงพระผูชี้นําแหงโลกทั้งหลาย
ขอไดโปรดยอมรับ(การสารภาพ)บาป และความผิดทั้งปวงของขาฯ
ดวยสิ่งไมดีเหลานี้
ในกาลตอไปขาจะไมประพฤติปฏิบัติอีก ๕๑

ในคัมภีรพระพุทธวจนะ ๔๒ บท(พระสูตร ๔๒ บท) บอกไววา บุคคลทําความผิด


เขาใจความผิดนั้น รูสึกตัววาเปนความผิด และแกไขความผิดใหเปนความดี โทษที่เกิดขึ้นก็จะ
ดับสูญไป เหมือนมีเหงื่อออกเมื่อยามเปนไข จึงหายและสบายขึ้น๕๒

การสํานึกในความผิดหรือการสารภาพบาปดวยความจริงใจนั้นยอมสงผลตอจิตใจ
และพฤติกรรมใหเปนไปในดานตรงขาม เพราะรูสึกละอายในความผิดที่ไดกระทําลงไปถึงแม

๕๐
ศานติเทวะ, โพธิสัตตวจรรยาวตาร, ฉบับภาษาอังกฤษของ Stephen Batchelor แปลโดย ฉัตรสุมาลย
กบิลสิงห, (กรุงเทพฯ : ศูนยไทย-ธิเบต , ๒๕๔๓), หนา ๙๗-๙๘.
๕๑
เรื่องเดียวกัน , หนา ๑๖, ๒๓.
๕๒
พระพุทธวจนะ ๔๒ บท, แปลโดย เย็นเหี่ยง ภิกฺขุ, (กรุงเทพฯ : กรุงสยามการพิมพ, ๒๕๑๖), หนา ๒๒-๒๓.

Page 40 of 162
๒๖

จะเปนเรื่องเล็กๆ นอยๆ ก็ตาม กอใหเกิดการสํารวมระวังเพื่อจะไมกอใหเกิดการประพฤติผิดนั้น


ซ้ําอีก อีกทั้งยังมีผลในดานของพลังใจและความมุงมั่นในการสรางคุณความดีตอไป

๒. พิจารณาถึงทุกขและกุศลเพื่อเราใหเกิดกําลังใจและความเพียร

วิธีนี้เปนการใชปญญาใครควรพิจารณาถึงความทุกขดวยเหตุผล ดังในคัมภีรมหายาน
ศรัทโธตปาทศาสตรกลาววา “(พระโพธิสัตว)ไมควรเกียจคราน ควรระลึกไววาจากอดีตอันยาวนาน
เธอไดทนทุกขทรมานดวยความลมเหลวจากความทุกขยากทั้งรางกายและใจที่แสนสาหัสทั้งปวง

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เธอจึงควรสรางกุศลกรรมทั้งปวงเพื่อเกื้อกูลตัวเองและผูอื่นใหปลดเปลื้องจากความทุกขโดยเร็ว” ๕๓
และควรคิดวา

ปาณะชีพทั้งปวงถูกอวิทยา(อวิชชา)ครอบงําจิตใจจึงเวียนวายในสังสารวัฏ ตองทุกขทน
ทั้งรางกายและจิตใจทั้งในอดีต ปจจุบันก็ถูกกดดันบีบคั้นสุดจะคณานับ ในอนาคตก็ตอง
ทนทุกขอันไมมีขอบเขตจํากัดเชนกัน ความทุกขเหลานี้ยากที่จะสลัดทิ้ง ยากที่จะปลดเปลื้อง
สรรพสัตวยังไมรูสึกสํานึกตัววาตนถูกความทุกขบีบคั้น จึงเปนที่นาสมเพชเวทนายิ่งนัก๕๔

เมื่ อ พระโพธิ สั ต ว พิ จ ารณาเห็ น ถึ ง ความทุ ก ข เ ช น นี้ ย อ มปลุ ก เร า ความกล า หาญ


มีความกระตือรือรนขึ้นมา ตั้งมหาปณิธานเพื่อเดินไปสูการบรรลุผลอันนี้ ดวยการคิดถึงการชวย
สรรพสัตวใหพนทุกข

เพื่อเพิ่มความเพียรใหเกิดขึ้นกับพระโพธิสัตว ทานศานติเทวะแนะนําวา

ดังนั้นเพื่อเพิ่มพูนความกระตือรือรน
ขาฯ พึงเพียรพยายามละวางพลังที่ตรงกันขาม
โดย(เพิ่มพูน)ความมุงมั่น ความเชื่อมั่นในตน ความเบิกบาน การพักผอน
โดยการปฏิบัติดวยความสุจริตใจที่จะควบคุมตนอยางมั่นคง๕๕

จากโศลกขางตนจะเห็นความคิดที่จะสลัดความทอแท ความไมมีศรัทธา ความหดหู


สิ้นหวัง และการสิ้นเปลืองเวลาไปกับการเกียจครานดวยการนอน แลวเสริมพลังในแงบวกที่เปน

๕๓
อัศวโฆษ, มหายานศรัทโธตปาทศาสตร, โยชิโตะ เอส. ฮะเกดะ ปริวรรตและอรรถาธิบาย ; แปลโดย
กัมพล สิริมุนินท, (ปตตานี : ภาควิชาปรัชญาและศาสนา, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, ๒๕๓๕), หนา ๙๘.
๕๔
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๐๕.
๕๕
ศานติเทวะ, โพธิสัตตวจรรยาวตาร, แปลโดย ฉัตรสุมาลย กบิลสิงห, หนา ๑๐๐.

Page 41 of 162
๒๗

ฝายตรงขามคือ ความมุงมั่น ความศรัทธา ความสดชื่นเบิกบานใจ และการพักผอนอยางพอดี สิ่ง


เหลานี้กอใหเกิดพลังใจและความเพียรในการลุกขึ้นเพื่อปฏิบัติธรรม

๓. การระลึกถึงพระพุทธเจา

มหายานมี ค ติ ว า พระชนมายุ ข องพระพุ ท ธเจ า ไม มี ข อบเขตหมายความว า แม ใ น


ปจจุบันนี้พระพุทธองคก็ยังคงดํารงอยูไมไดปรินิพพานอยางที่เขาใจกัน พระองคทรงดํารงอยูตลอด
กาลในฐานะของธรรมกาย พระองคยังคงเฝาดูความเปนไปของหมูสัตวในฐานะของพระโพธิสัตว

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มหาสัตว ในคัมภีรมหายานศรัทโธตปาทศาสตรบอกวาหากพระโพธิสัตวขาดความกลาหาญและ
พละกําลัง ควรตระหนักวาพระตถาคตเจาทั้งหลายทรงมีอุบายวิธีชั้นเลิศที่พระองคสามารถนํามา
คุมครองศรัทธาของเธอไดนั่นคือ ดวยอาศัยพละกําลังภาวนาอยางเต็มที่ถึงพระพุทธเจา ยังความ
ปรารถนาให บ ริ บู ร ณ แ ล ว ก็ จ ะสามารถไปอุ บั ติ ใ นพุ ท ธเกษตร ได ทั ศ นาพระพุ ท ธเจ า อยู เ สมอ
และสามารถหลุดพนจากภาวะความเปนอยูที่ชั่วรายไดตลอดกาล๕๖ คัมภีรมหาสุขาวดีวยูหสูตร
กลาวอีก วา หากสรรพสั ตวจงใจภาวนาถึงพระอมิตาภะพุทธเจาในโลกสวรรคทางทิศตะวั นตก
และตั้งความปรารถนาจะไปอุบัติที่โลกนั้น พรอมดวยความดีทั้งหมดที่ไดอบรมบมเพาะไวแลว จากนั้น
ก็จะไดอุบัติ ณ แดนสุขาวดี๕๗ การระลึกถึงพระพุทธเจาของมหายานเต็มไปดวยความรูสึกที่อบอุน
ไมเดียวดายเพราะเปนการระลึกถึงพระพุทธเจาที่ยังคงดํารงอยูและกําลังเฝามองดูเหลาสัตวทั้งหลาย
หากภาวนาถึ งพระองค ด วยศรั ทธาที่ เต็ มเป ยมย อมเข าถึ งพระองค ได ซึ่ งเป นกุ ศโลบายที่ จ ะนํ า พา
เหลาสัตวใหมีความหวัง กําลังใจ และความศรัทธา มุงมั่นตามแนววิถีธรรมของมหายาน

ข. กุศโลบายกับการปองกันอกุศลธรรม

๑. กําจัดความโกรธ

ความโกรธเปนศัตรูหรือคูปรับของความกรุณาเปนบอเกิดของความอาฆาตพยาบาท
หากเกิดขึ้นกับพระโพธิสัตวยอมทําใหการปฏิบัติโพธิสัตวจรรยาไมกาวหนา เมื่อมีความโกรธเกิดขึ้น
ในโพธิสัตตวจรรยาของทานศานติเทวะ ไดแนะนํากุศโลบายในการขจัดความโกรธดังตอไปนี้

ทานศาติเทวะไดกลาวถึงกุศโลบายในการระงับความโกรธดวยวิธีการตางๆ สรุป
ความไดวา ใหพิจารณาความโกรธเกิดขึ้นเพราะมีความยึดมั่นถือมั่นในตัวตน คือวา หากมีผูมาใสราย

๕๖
อัศวโฆษ, มหายานศรัทโธตปาทศาสตร, แปลโดย กัมพล สิริมุนินท, หนา ๑๐๖-๑๐๗.
๕๗
สุมาลี มหณรงคชัย, พุทธศาสนามหายาน, หนา ๒๑๓ - ๒๑๔.

Page 42 of 162
๒๘

ตนเองก็โกรธเขา แตหากเขาไปกลาวรายคนอื่นตนเองก็จะรูสึกเฉยๆ หรือมีผูทําลายพระปฏิมา


พระธรรม อาจารย ญาติ มิ ต ร ตลอดถึ ง สรรพสั ต ว ที่ สั ม พั น ธ กั บ ตน ก็ รู สึ ก โกรธเช น เดี ย วกั น
ผูกระทําและคนโกรธตางทําลงไปเพราะความโงเขลา เมื่อพิจารณาเห็นเชนนี้แลวพึงเจริญเมตตา
กรุณาตอสรรพสัตว และอีกที่หนึ่งวาเมื่อไดยินเสียงของเด็กทะเลาะกัน พระโพธิสัตวตองไมมี
ความโกรธ เพราะว า เด็ ก ทํ า ไปเพราะความโง เ ขลา ควรจะเจริ ญ เมตตาต อ เขา และแม แ ต ศั ต รู
พระโพธิสัตวก็ใหความเมตตาตอเขาเชนกัน และหากชนะความโกรธไดก็เทากับชนะศัตรู ดังโศลกที่วา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ขอผูที่กลาวใหรายขาฯ
หรือทํารายขาฯ แมดวยวิธีใดๆ
ทั้งผูที่เยาะเยยดูถูกขาฯ
จงมีโอกาสไดตรัสรูธรรมดวยเถิด. . .
. . . แตหากแมนขาฯ เอาชนะความคิดโกรธเพียงเรื่องเดียว
ก็มีผลเทากับทําลายศัตรูทั้งปวงได๕๘

ในคัมภีรพุทธจริตกลาวถึงการพิจารณาเมื่อมีความคิดถือตัวตนเกิดขึ้นวาเมื่อเกิด
ความถือตัวถือตนขึ้น จงตอบโตมันดวยการสัมผัสศีรษะโลนที่ผมถูกโกนทิ้งไป ดวยการมองดูผา
กาสายะและบาตร และพิจารณาวัตรปฏิบัติตลอดถึงวิธีดําเนินชีวิตของคนทั้งหลาย๕๙ เปนกุศโลบาย
เพื่อใหระลึกถึงภาวะแหงบรรพชิตที่ตองขจัดความยึดมั่นถือตน อันเปนวิถีที่ทวนกระแสกับทางโลก

การระงับความโกรธดวยการใชปญญาพิจารณาถึงความจริงแทที่ไมมีอัตตาที่เที่ยงแท
กลาวคือไมมีผูทําและผูถูกกระทํา หรือผูรูกับสิ่งที่ถูกรู เปนเพียงปรากฏการณที่เกิดขึ้นตามเหตุปจจัย
จึงเปนเพียงแคมายาดุจดังเงาที่มิใชสิ่งที่เปนจริง เมื่อเห็นดังนี้จึงมิควรที่จะไปโกรธสิ่งที่ไมเปนจริง
อุปมาเหมือนดั งมายาบุรุษที่นักมายาการสรางขึ้นเปนสิ่งที่ไรแกนสาร จิตก็ จะเกิดความสงบเย็น
ทานศานติเทวะกลาวไวในโศลกวา

ดังนี้ ทุกสิ่งจึงขึ้นอยูกับสภาพการณอื่น
ซึ่ง(สภาพการณเหลานั้น) ถูกควบคุมโดยสภาพการณอื่นอีกตอหนึ่ง
เมื่อเขาใจเชนนี้ ขาฯ จึงไมควรถือโกรธ

๕๘
ศานติเทวะ, โพธิสัตตวจรรยาวตาร, แปลโดย ฉัตรสุมาลย กบิลสิงห, หนา ๒๗, ๔๕.
๕๙
อัศวโฆษ, มหากาพยพุทธจริต, แปลโดยสําเนียง เลื่อมใส, (กรุงเทพฯ : ศูนยสันสกฤตศึกษา
มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๗), หนา ๓๔๕.

Page 43 of 162
๒๙

ตอปรากฏการณที่เปรียบประดุจเงา . . .
. . . ดังนั้นเมื่อไดเห็นศัตรู หรือมิตร
กระทําการไมสมควร
พึงคิดวาสิ่งนั้นเกิดขึ้นจากสภาพการณ
ขาฯ ก็จะอยูในสภาพจิตที่เปนสุขได๖๐

พิ จ ารณาให เ ห็ น โทษของการยึ ด ติ ด ในคํ า สรรเสริ ญ และเกี ย รติ ย ศแล ว พลิ ก

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มุมมองเห็นบุคคลที่ปองรายหวังทําลายวาเปนการชวยปองกันและดึงเราไมใหติดกับโลกที่ต่ําทราม
คือเขาไปยึดติดในคําสรรเสริญและเกียรติยศ ซึ่งหมายความวาแทนที่จะไปโกรธคนทําลายเราให
เสี ย ชื่ อ เสี ย งและเกี ย รติย ศ แต เ ราควรจะขอบคุ ณ เขาทํ า ให เ ราเป น อิ ส ระจากความยึ ด ติ ด ในคํ า
สรรเสริญและเกียรติยศ ดังที่ทานศานติเทวะกลาวไววา

บรรดาผูที่ปรารถนาจะสรางความทุกขยากแกขาฯ
เปรียบไดกับพระพุทธเจาที่ทรงประทานพรเปนระลอก
เพราะเขาไดเปดประตูใหแกขาฯ มิใหตกไปในที่ต่ําทราม
ขาฯ จะโกรธพวกเขาทําไม๖๑

๒. ใชสติและความสงบ

ทานศานติเทวะไดกลาวถึงวิธีการปองกันอกุศลธรรม๖๒ที่จะเกิดขึ้นกับพระโพธิสัตว
ไวในโพธิสัตตวจรรยาวตารโดยใชสติตรวจสอบจิตกอนที่จะพูดจะทําสิ่งตางๆ หากเกิดความรูสึก
ยึดมั่น โกรธ โลภ สับสน อยากพูดดูถูกผูอื่น ถือตัว อยากพูดความผิดของผูอื่น คิดจะหลอกลวง
อยากสรรเสริญหรือกลาวโทษผูอื่น อยากกลาวถอยคําที่รุนแรงและทะเลาะวิวาท แสวงหาบริวาร
มารับใชตน ไมรับใชผูอื่น ทํางานเฉพาะของตน ไมอดทน เกียจคราน ขาดกลัว ไมละอาย อยากพูด
เรื่องไรสาระ อยากแบงพรรคแบงพวก ซึ่งเปนอกุศลธรรม เมื่อเกิดขึ้นในจิตของพระโพธิสัตวๆ ไม
ควรที่จะทําอะไรทั้งสิ้น ใหหยุดนิ่งเฉยประดุจดังทอนไม แลวใชสติตรวจสอบดูจิตที่อกุศลธรรม
เขาครอบงําและใหพยายามรักษาจิตใหมั่นคงดวยธรรม ๘ ประการไดแก (๑) ความตั้งมั่น (๒) ศรัทธา
(๓) ความสม่ําเสมอ (๔) ความเคารพ (๕) ความออนนอม (๖) หิริ (๗) ความรอบคอบ (๘) ความสงบ

๖๐
ศานติเทวะ, โพธิสัตตวจรรยาวตาร, แปลโดย ฉัตรสุมาลย กบิลสิงห, หนา ๗๒-๗๓.
๖๑
เรื่องเดียวกัน, หนา ๘๖.
๖๒
เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๙, ๕๒-๕๔, ๑๐๘.

Page 44 of 162
๓๐

เมื่อปฏิบัติไดดังนี้ยอมนํามาซึ่งประโยชนตนและสรรพสัตว ทานศานติเทวะสรุปวิธีการการปองกัน
อกุศลและขจัดอกุศลไวเปนโศลกวา

เมื่อใดก็ตามเมื่อขาฯ มีความปรารถนา
ที่จะเคลื่อนไหวรางกายของขาฯ หรือกลาวถอยคําใดใด
ขาฯ พึงตรวจสอบจิตของขาฯ เสียกอน
แลว ดวยความมั่นคง จึงจะปฏิบัติในทางที่ถูกที่ควร

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ทุกครั้งเมื่ออกุศลอุบัติขึ้น
ขาฯ พึงพิจารณาตนเอง
และทําสมาธิเปนเวลานาน
เพื่อสิ่งนี้จะไมเกิดขึ้นอีก

การระลึกถึงพระพุทธเจาอยูเสมอเปนการใชสติระลึกถึงพระพุทธเจา(พุทธานุสสติ)
ซึ่งเปนอีกวิธีหนึ่งที่สามารถปองกันและขจัดอกุศลธรรมได

ขาฯ อยู ณ เบื้องพระพักตร


แหงพระพุทธเจาและพระโพธิสัตวทั้งหลาย
ผูทรงเปยมอยูเสมอ
ในมโนภาพอันปราศจากสิ่งขัดขวาง
โดยยึดถือในความคิดเชนนี้
ขาฯ ยอมเพิ่มความละอายความเคารพและความกลัวโดยมีสติ
และโดยการปฏิบัติเชนนี้
การระลึกถึงพระพุทธเจาก็ยอมเกิดบอยขึ้น . . .
. . . หากขาฯ เริ่มขุดดินโดยไรเหตุผล
ถอนหญาหรือขีดเขียนบนพื้น
เมื่อนั้น ขาฯ พึงระลึกถึงพระโอวาทของพระพุทธเจาทั้งหลาย
ขาฯ พึงละเวนทันทีดวยความกลัว

๓. ปองกันอกุศลธรรมที่จะเกิดจากสตรี

ในคัมภีรพระพุทธวจนะ ๔๒ บทไดกลาวถึงการวางทาทีตอสตรีเพศไววา

Page 45 of 162
๓๑

ระวังอยามองดูสตรี และอยาสนทนาดวย ถาจะพูดดวย จะตองตั้งจิตมั่นวา เราเปนสมณะ


อยูในโลกอันสกปรก จะตองทําตัวเสมือนดอกปทุมที่ไมเปรอะเปอนดวยโคลนตม และตองคิด
วาผูมีอายุชราเสมือนมารดา เห็นหญิงที่อายุมากกวาเสมือนพี่สาว เห็นที่อายุนอยกวาเปน
นองสาว เห็นที่ออนแอกวามากเปนลูก และตั้งจิตที่จะโปรด ระงับจิตที่ชั่วราย๖๓

คัมภีรพุทธจริตพระพุทธองคไดตรัสถึงวิธีวางทาทีตอสตรีแกภิกษุวา

สตรี ที่ กํ า ลั ง เดิ น เข า มานี้ คื อ นางอั ม รปาลี ผู เ ป น ภั ย แห ง ใจของคนที่ มี จิ ต ใจอ อ นแอ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เธอทั้งหลายดํารงตนดวยปญญาและควบคุมจิตใจของตนดวยยาคือสติหรือยัง . . . ดวยการ
มองเห็นสตรีวาไมเที่ยง เปนทุกข ไมมีตัวตน และไมบริสุทธิ์ จิตของผูเชี่ยวชาญในการดู
ยอมไมถูกย่ํายี . . . ดังนั้นเมื่อจับลูกศรคือปญญาอันเกิดจากฌาน จับคันธนูคือวิริยะไวในมือ
ใหมั่น และสวมเสื้อเกราะ คือ สติแลวเธอทั้งหลายจงไตรตรองในอารมณของอินทรีย(ที่มา
ปรากฏแกจิต)ใหดี”๖๔

พุทธพจนขางตนนี้ พระองคตรัสสําหรับผูประพฤติพรหมจรรยที่ละเวนจากกาม
หมายรวมถึงบุรุษและสตรีดวย ซึ่งความเปนสตรียอมเปนที่ยั่วใจของบุรุษ และความเปนบุรุษยอม
เปนที่ถูกใจของสตรี ซึ่งเปนธรรมชาติของเรื่องเพศ พระพุทธองคตรัสวาสตรีเปนมลทินของภิกษุ
เปนการกลาวเตือนภิกษุใหระวังอันตรายที่จะเกิดแกการประพฤติพรหมจรรย ดังนั้นสติและวิธีการคิด
ที่เปนกุศล จึงเปนวิธีการที่ชวยขจัดราคะและความคิดที่เลวรายไดเปนอยางดี

ค. กุศโลบายกับการสรางเสริมคุณธรรมใหสูงขึ้นตามหลักโพธิญาณ

“สรรพสั ต ว คื อ โพธิ สั ต ว ” เป น แนวคิ ด พื้ น ฐานของมหายาน หมายความว า สั ต ว


ทุกตัวตนเปนโพธิสัตวโดยกําเนิด แตไมไดหมายถึงวาจะบรรลุจุดสูงสุดแหงความเปนโพธิสัตว
ทุ ก ตั ว ตน ๖๕ ดั ง นั้ น พระโพธิ สั ต ว จึ ง ขวนขวายในการประพฤติ จ รรยาเพื่ อ สร า งเสริ ม คุ ณ ธรรม
ใหกาวหนาตามหลักของโพธิสัตวจรรยา มิเชนนั้นก็จะเปนเพียงโพธิสัตวแตเพียงในนามเทานั้น
ตอไปจะแสดงวิธีเสริมสรางคุณธรรมใหสูงขึ้นของพระโพธิสัตว ดังนี้

๖๓
พระพุทธวจนะ ๔๒ บท, แปลโดย เย็นเหี่ยง ภิกฺขุ, หนา ๓๓.
๖๔
อัศวโฆษ, มหากาพยพุทธจริต, แปลโดยสําเนียง เลื่อมใส, หนา ๓๑๘-๓๑๙.
๖๕
พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ, พระพุทธศาสนามหายานในอินเดีย พัฒนาการและสารัตถธรรม, หนา ๗๘.

Page 46 of 162
๓๒

๑. ใชสภาพแวดลอมชวยในการเพิ่มคุณธรรม

ในโพธิสัตตวจรรยาวตาร ทานศานติเทวะไดแนะนําวิธีการที่จะชวยใหมีสติ โดยการ


เขาไปสมาคมกับครูอาจารยผูพหูสูตไววา

โดยการอยูในกลุมของอาจารยทางวิญญาณ
โดยมั่นในคําสอนของเจาอาวาส และโดยความกลัว
ความมีสติก็จะแผไปทั่ว

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ในหมูชนที่มีโชคผูปฏิบัติตามดวยจิตคารวะ๖๖

นอกจากมีจะมีสติแลวยังเปนการเพิ่มพูนกุศลธรรมอยางอื่นที่เปนปจจัยใหกาวหนา
ในการปฏิบัติโพธิสัตวมรรคอีกดวย

๒. มองสรรพสัตวเปนบันไดกาวไปสูโพธิญาณ

วิมลเกียรตินิทเทสสูตรบอกวา สรรพสัตวทั้งปวงคือพุทธเกษตรแหงพระโพธิสัตว๖๗
หมายความวาพระโพธิสัตวจะสําเร็จพระสัมมาสัมโพธิญาณไดดวยอาศัยการบําเพ็ญประโยชนตอ
หมูสัตว ดังในโพธิสัตตวจรรยาวตารไดกลาวไววาการบรรลุพุทธภูมิลวนแลวแตมาจากการทําให
สรรพสั ต ว ยิ น ดี ทั้ ง สิ้ น สรรพสั ต ว จึ ง เป น ผู มี คุ ณ ต อ พระโพธิ สั ต ว ใ นการก า วไปสู ค วามเป น
พระพุทธเจา ทานศานติเทวะไดแนะวิธีการมองสรรพสัตวใหเกิดคุณธรรมเปนโศลกไววา

เมื่อขาฯ เห็นผูใด
พึงคิดวา ขาฯ จะไดตรัสรูธรรมโดยสมบูรณ โดยอาศัยบุคคลผูนี้
ขาฯ จึงพึงมองเขาดวยหัวใจที่เปดเผยและเปยมดวยความรัก๖๘

ในวิ ม ลเกี ย รติ นิ ท เทสสู ต รให ม องบุ ค คลผู ม าขอเรี ย นธรรมว า เป น ผู มี บุ ญ คุ ณ
เปรี ย บดั ง เปนครู อาจารย ว า “ทั ศ นาเห็น บุ คคลผูม าขอศึกษาธรรม ประหนึ่ง เขาผูนั้น เปนครู ที่ ดี
ของเรา”๖๙ หมายความวาพระโพธิสัตวไดโอกาสสั่งสอนธรรมแกเขาใหไดรูธรรม ซึ่งเขาก็มีฐานะ
เปนครูที่ชวยใหพระโพธิสัตวไดเพิ่มพูนบารมีเชนกัน

๖๖
ศานติเทวะ, โพธิสัตตวจรรยาวตาร, แปลโดย ฉัตรสุมาลย กบิลสิงห, หนา ๔๙.
๖๗
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร, แปลโดยเสถียร โพธินันทะ, หนา ๒.
๖๘
ศานติเทวะ, โพธิสัตตวจรรยาวตาร, แปลโดย ฉัตรสุมาลย กบิลสิงห, หนา ๕๙.
๖๙
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร, แปลโดยเสถียร โพธินันทะ, หนา ๑๐๘.

Page 47 of 162
๓๓

๓. พิจารณากายมีไวรับใชสรรพสัตว

ทานศานติเทวะกลาวไวในโพธิสัตตวจรรยาวตารวา ใหพิจารณากายวาเปนสิ่งที่ไมมี
แกนสาร ไมควรที่จะไปยึดติด รางกายมีประโยชนเพียงแครับใชผูอื่นใหไดรับความสุขเทานั้น

รางกายนี้มีประโยชนใดแกทาน
หากสิ่งสกปรกภายในไมเหมาะที่จะเปนอาหารของทาน
หากเลือดไมเหมาะที่จะดื่ม

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
และลําไสเล็กไมเหมาะที่จะดูดกิน
หากมีดีควรแกการปกปองรักษาไว
ก็เพียงเพื่อเปนอาหารแกแรงและสุนัขไน
(โดยแทจริง) รางกายของมนุษยนี้
ควรใชเพียงเพื่อการสรางสมบารมี . . .
. . . ขาฯ พึงพิจารณากายของขาฯ ดุจเรือ
อันเปนเพียงพาหนะใชในการขามไป-มา
และเพื่อประโยชนแกสรรพสัตว
จึงควรทําใหเปนกายที่สมแกความปรารถนา๗๐

๔. ระลึกถึงพระพุทธเจาและพระโพธิสัตว

ในโพธิสัตตวจรรยาวตารทานศานติเทวะไดบอกถึงวิธีการสรางเสริมคุณธรรมดวย
การระลึกถึงพระพุทธองคและพระโพธิสัตวทั้งหลายวา

ขาฯ อยู ณ เบื้องพระพักตร


แหงพระพุทธเจาและพระโพธิสัตวทั้งหลาย
ผูทรงเปยมอยูเสมอ
ในมโนภาพอันปราศจากสิ่งขัดขวาง
โดยยึดถือในความคิดเชนนี้
ขาฯ ยอมเพิ่มความละอายความเคารพและความกลัวโดยมีสติ
และโดยการปฏิบัติเชนนี้

๗๐
ศานติเทวะ, โพธิสัตตวจรรยาวตาร, แปลโดย ฉัตรสุมาลย กบลิสิงห, หนา ๕๖-๕๗.

Page 48 of 162
๓๔

การระลึกถึงพระพุทธเจาก็ยอมเกิดบอยขึ้น๗๑

เมื่อมีสติระลึกถึงพระพุทธเจาอยูเสมอ อกุศลธรรมก็ไมไดชองที่จะครอบงําจิตได
เป น เหตุ ที่ จ ะสร า งกุ ศ ลธรรมให เ จริ ญ งอกงามยิ่ ง ขึ้ น ส ง ผลให ก ารประพฤติ โ พธิ สั ต วมรรค
กาวหนาตอไป

๕. แปรปจจัยที่เปนปฏิปกษใหเปนการเสริมคุณธรรม

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระพุทธเจาตรัสไววาอกุศลจิตเปนปจจัยนําไปสูอบายภูมิ มีนรกเปนตน และกุศลจิต
ก็เปนปจจัยใหเกิดผลบุญกุศล และบารมียอมทวีคูณ พระโพธิสัตวหากเกิดอกุศลธรรมขึ้นในจิตก็ใช
กุศโลบายในการแปรอกุศลใหเปนกุศล ทานศานติเทวะไดกลาวถึงวิธีแปรปจจัยอกุศลใหเปนกุศล
ไวในโพธิสัตตวจรรยาวตารวา

แตหากจะมีผูขัดขวางการสรางบารมีของขาฯ เลา
แมแตกับเขาก็เชนกัน ไมเปนการสมควรที่จะขึ้งโกรธ
เพราะไมมีเกราะกําบังใดดีเทาความอดทน
ขาฯ พึงนอมนําสูภาคปฏิบัติโดยแท . . .
. . . หากปราศจากสิ่งนี้ (ศัตรู) ก็จะไมมีอะไรเกิดขึ้น
และหากมีสิ่งนี้ งานก็จะสําเร็จ
ถาเปนเชนนี้ (ศัตรู) ก็คือปจจัยแหงความอดทน
ดังนี้ ขาฯ จะพูดไดอยางไรวาเขาขัดขวาง . . .
. . . ถามีศัตรู เพราะเขาจะชวยใหขาฯ ไดปฏิบัติเพื่อความรูแจง๗๒

ศัตรูผูจองทําลาย พระโพธิสัตวตองมองเห็นเปนปจจัยแหงความอดทนที่นําไปสู
โพธิญาณ เพราะเหตุที่ความอดทนเกิดขึ้นได เพราะมีศัตรูมารบกวนขัดขวาง ดังภาษิตวามารไมมี
บารมีไมเกิด และศัตรูก็สมควรที่จะเปนผูรับผลแหงความอดทนที่เกิดขึ้นอีกดวย

การทํารายสรรพสัตวเหมือนทํารายพระพุทธเจา คติของมหายานถือวาสรรพสัตวลวนมี
พุทธภาวะอยูในตัวแตเพราะความโงเขลาทําใหมองไมเห็นธาตุแทดังเดิมภายในจิตตน หากบุคคลดําเนิน
ตามหลักโพธิสัตวมรรคอาศัยสรรพสัตวเปนฐานสรางบารมี เพราะพุทธะยอมเกิดมาจากสรรพสัตว

๗๑
เรื่องเดียวกัน, หนา ๔๙.
๗๒
เรื่องเดียวกัน, หนา ๘๖-๘๗.

Page 49 of 162
๓๕

หมายความวาการบรรลุพุทธภูมิลวนเกิดมาจากการชวยเหลือสรรพสัตว พระโพธิสัตวยอมมองเห็นและ
เคารพสรรพสัตวประหนึ่งพระพุทธเจา ในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรพระสทาปริภูติโพธิสัตวมหาสัตวได
กลาววา “เรายอมไมดูหมิ่นทาน เราไมดูหมิ่นทานทั้งหลายเลย เพราะทานทั้งหลายยอมดําเนินตามจรรยาวัตร
ของพระโพธิสัตว ทานทั้งหลายจักเปนพระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา”๗๓ ดังนั้นพระโพธิสัตว
ยอมไมทํารายสรรพสัตว หากทํารายก็เทากับทํารายพระพุทธเจา

เพื่อความสุขของเขาพระชินเจาจึงทรงยินดี

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
แตหากพวกเขาเปนอันตรายพระองคก็ยอมไมพอพระทัย
การที่ขาฯ ทําใหเขายินดี ขาฯ ก็ยอมทําใหพระองคทรงยินดีดวย
และหากทํารายเขา ก็เทากับขาฯ ทํารายพระชินเจาดวย...
. . . นับแตนี้ไป เพื่อใหเปนที่ปรีดาแกพระตถาคตเจาทั้งหลาย
ขาฯ จะรับใชโลกและจะหยุดโดยเด็ดขาด (ที่จะทําอันตราย)
แมจะมีคนเตะหรือแมเหยียบย่ําลงบนศีรษะของขาฯ
แมตองเสี่ยงกับความตาย ขาฯ ก็จะทําใหพระผูทรงคุมครองโลก
ทรงเกษม(โดยไมโตตอบ)
หากขาฯ ทําลายผูอื่น เพื่อประโยชนของตัวเอง
ขาฯ จะตองทนทรมานอยูในนรก
แตหากเพื่อผูอื่น ขาฯ กลับทํารายตัวเอง
ขาฯ ยอมไดรับสิ่งประเสริฐ๗๔

วิธีแปรความตระหนี่ใหเปนการให การชวยเหลือสรรพสัตวในทางวัตถุเปนความ
กรุณาตอสรรพสัตวในระดับตนที่นอกเหนือจากการชวยเหลือสัตวใหหลุดพน เปนการชวยเหลือ
สัตวที่พระโพธิสัตวผูเริ่มปฏิบัติสามารถกระทําได และถือเปนบารมีที่สําคัญและพระโพธิสัตว
ทุ ก ระดั บ ชั้ น ต อ งบํ า เพ็ ญ ซึ่ ง หากพระโพธิ สั ต ว เ กิ ด ความตระหนี่ ย อ มเป น การยากที่ จ ะให ท าน
ทานศานติเทวะไดแนะนําเปนโศลกไววา

หากขาฯ สละสิ่งนี้ไปแลว แลวขาฯ จะมีอะไรเหลือเพื่อความบันเทิง


ความคิดที่เห็นแกตัวเชนนี้ เปนวิธีของพวกปศาจ
หากขาฯ มีความบันเทิงในสิ่งนี้ ขาฯ จะมีอะไรเหลือเพื่อใหอีก

๗๓
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๒๑๐.
๗๔
ศานติเทวะ, โพธิสัตตวจรรยาวตาร, แปลโดย ฉัตรสุมาลย กบลิสิงห, หนา ๑๓๕.

Page 50 of 162
๓๖

ความคิดที่ไมยึดติดในตนเชนนี้ เปนวิธีแหงเทพยดา . . .
. . . หากขาฯ วาจางผูอื่นเพื่องานของขาฯ
ตัวขาฯ เองจะตกเปนทาส
แตหากขาฯ ใชตัวเองเพื่อประโยชนของผูอื่น
ขาฯ จะประสบกับความเปนนาย๗๕

จะเห็นวากุศโลบายที่พระโพธิสัตวใชเพื่อพัฒนาตนเอง เปนการสรางเสริมคุณธรรม

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ทางดานปญญาใหเกิดขึ้น เพื่อจะนําพาตนไปสูความรูแจงเห็นจริง อันเปนไปเพื่อประโยชนตน
กอนที่จะพาเหลาสัตวใหรูแจงตาม

๒.๒.๒ เปาหมายภายนอก

กุศโลบายที่ มุงช ว ยเหลื อสรรพสัตวชนิด นี้ม หายานใหความสํ าคั ญอย างมาก เพราะ
สอดรับกับอุดมคติที่เนนความกรุณาอันเปนลักษณะเดนของมหายาน กุศโลบายชนิดนี้จึงมีหลาย
ระดับทั้ งที่เ ห็นได งา ยๆ และระดับที่ ลึก ซึ้งที่ตองใชปญญาพิ จารณาอย างรอบคอบจึ งจะเห็ น ได
และจะสัมพันธกับลักษณะอุปนิสัยของสรรพสัตว๗๖ ทานศานติเทวะบอกวาพระโพธิสัตวไมควร
แสดงธรรมที่ เ หมาะกั บ ผู มี ป ญ ญาน อ ยให แ ก บุ ค คลผู มี ป ญ ญามากซึ่ ง เหมาะกั บ ธรรมขั้ น สู ง๗๗
กลาวคือหากคนมีปญญามากแตสอนดวยความรูขั้นต่ํา คนที่มีปญญามากก็ใชปญญาของตนเอง
ไมไดเต็มที่ ตรงกันขามคนมีปญญานอยสอนดวยความรูชั้นสูง คนมีปญญานอยก็ไมเขาใจ ไมรูเรื่อง
ดังนั้นเมื่อทราบถึงความตางแหงอุปนิสัยของสัตวกุศโลบายจึงถูกหยิบมาใชในฐานะเปนอุปกรณ
หรือเครื่องมือในการชวยเหลือสรรพสัตวใหบรรลุเปาหมาย ดังที่พระพุทธเจาไดตรัสวา “ตถาคตรูวา
สรรพสัตวมีธาตุแทและความปรารถนาไมเทากัน จึงใชกุศโลบายสอนธรรมตางๆ กันมาเปนเวลา
กวา ๔๐ ป”๗๘

๗๕
เรื่องเดียวกัน, ๑๓๕-๑๓๖.
๗๖
โมหมาลา, แปลโดย เย็นเหี่ยง ภิกขุ, อนุสรณเนื่องในงานทําบุญคลายวันมรณภาพทานเจาคุณวิสุทธิธรรมา
จารย(ทรัพย สีลวิสุทธเถร), ๒๒ ส.ค. ๒๕๑๘. หนา ๒๖.
๗๗
ศานติเทวะ, โพธิสัตตวจรรยาวตาร, แปลโดย ฉัตรสุมาลย กบลิสิงห, หนา ๖๑.
๗๘
Nikkyo Niwano, Buddhism for Today, pp. 10-11.

Page 51 of 162
๓๗

ก. กุศโลบายกับอุปนิสัยที่แตกตางกันของหมูสัตว

พุทธศาสนาทั้งเถรวาทและมหายานยอมรับเหมือนกันวาสรรพสัตวมีความตางกัน
ทางดานสติปญญา จริตและอุปนิสัย พระพุทธเจาตรัสรูอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณที่โคนตนโพธิ์
พระองค พิจารณาถึ งธรรมที่ทรงตรัสรูว าเปนธรรมที่ลึกซึ้งรูไดย ากเขาใจไดยาก ทรงตระหนั ก
เชนกันวาเปนไปไมไดที่สรรพสัตวทั้งหลายจะเขาใจคําสอนอันลึกซึ้งของพระองค เพราะมีความ
แตกตางกันทางดานอุปนิสัยและสติปญญา บางก็เขาใจงาย บางก็ไมเขาใจเลย พระพุทธองคทรง

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
แสดงข อเปรีย บเทีย บไวในอริยปริเยสณาสูตรวา ในสระแหงหนึ่งมีดอกบัวอยูเ ปนจํ านวนมาก
บางเหลางอกขึ้นมาอยูเหนือระดับน้ํา บางเหลาอยูเสมอน้ํา ในขณะที่ยังมีดอกบัวอีกเปนจํานวนมาก
ที่ยังจมอยูใตน้ํา ในขอนี้พระพุทธองคหมายถึงวาพระโพธิสัตวทั้งหลายเปรียบเหมือนดอกบัวที่อยู
พนน้ํา สวนพวกสาวกหรือหีนยานเปรียบเหมือนดอกบัวที่อยูเสมอระดับน้ํา พวกที่เหลือคือพวกปุถชุ น
เปนเหมือนดอกบัวที่จมอยูในน้ํา๗๙ มหายานยังแบงความแตกตางของบุคคลที่เรียกวาโคตรตางกันไป
คื อ แบ งเป น โคตร ๓ บาง โคตร ๕ บาง โคตรเหลานี้ เมื่อว าโดยสาระแลวเหมือนกัน จะตางกั น
ที่รายละเอียดปลีกยอยเทานั้น ดังนี้

โคตร ๓๘๐

โคตรคือความสืบตอแหงเชื้อสายภายใน อันเปนคุณสมบัติภายในหรือสภาวะภายใน
ของปวงสัตว เปนพีชะพื้นฐาน มีนัยเหมือนพีชะของโยคาจาร โคตรโดยนัยที่ลึกซึ้งคือ เปนพีชะของ
โพธิจิต เปนธรรมฐิติ ธรรมนิยามมีอยูโดยธรรมชาตินับแตกาลไมปรากฏ มหายานสูตราลังการ
กลาวถึงลักษณะแหงโคตรไววา “ความมีอยูแหงโคตรยอมสืบคนไดจากความแตกตางแหงธาตุ
การหลุดพน การปฏิบัติ และการบรรลุผลที่แตกตางกัน๘๑ โคตร ๓ มีดังนี้

(๑) สาวกโคตร สัตวผูมีสาวกพีชะ บรรลุไดเพียงอรหัตภูมิเปนอยางสูง ละมานคือกิเลสได

(๒) ปจเจกโคตร สัตวผูมีปจเจกพีชะ บรรลุไดเพียงปจเจกภูมิ ละมานคือกิเลสได

๗๙
Nalinaksha Dutt, Mahayana Buddhism , แปลโดย พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ, เอกสารอัดสําเนา,
1993, หนา ๕๘.
๘๐
พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ, พระพุทธศาสนามหายานในอินเดีย พัฒนาการและสารัตถธรรม, หนา ๗๕.
๘๑
พระมหาพุทธรักษ ปราบนอก, “การศึกษาวิเคราะหคัมภีรมหายานสูตราลังการ”, วิทยานิพนธ
ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต, (สาขาวิชาภาษาสันสกฤต : มหาวิทยาลัยศิลปากร), ๒๕๔๗, หนา ๔๒๔.

Page 52 of 162
๓๘

(๓) โพธิ สัตว โ คตร หรือสั ม มาสัมพุ ทธโคตร สัต วผูมี โพธิ สัตวพีช ะหรือ อนุต ร
สัมมาสัมโพธิพีชะ บรรลุถึงโพธิสัตตวภูมิ พุทธภูมิ

โคตร ๕๘๒

โยคาจารไดแบงภาวะของปวงสัตวออกเปน ๕ เรียกวาปญจโคตร คือ

(๑) สาวกโคตร สัตวผูมีโคตรมีสาวกพีชะอยู บรรลุไดก็แตเพียงอรหัตภูมิเปนอยางสูง

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
(๒) ปจเจกโคตร สัตวผูมีปจเจกพีชะ บรรลุไดเพียงปจเจกภูมิ ทั้ง ๒ พวกนี้ละได
แคกิเลสาวรณะ แตยังละธรรมาวรณะไมได

(๓) โพธิสัตวโคตร สัตวผูมีโพธิสัตวพีชะหรืออนุตรสัมมาสัมโพธิพีชะ บรรลุถึง


โพธิสัตตวภูมิ พุทธภูมิ ละกิเลสาวรณะและธรรมาวรณะไดเด็ดขาด

(๔) อนิยตโคตร สัตวผูมีทั้งสาวกพีชะ ปจเจกพีชะ โพธิสัตวพีชะ อาจบรรลุสาวกภูมิ


ปจเจกภูมิ สัมมาสัมพุทธภูมิได สุดแลวแตปณิธาน

(๕) อิ จ ฉั น ติ ก โคตร สั ต ว ผู ไ ม มี พี ช ะแห ง การบรรลุ อ ริ ย ภู มิ ทั้ ง ๓ เพราะไม มี


อนาสวพีชะเลย จึงไมอาจละกิเลสาวรณะ ธรรมาวรณะได บรรลุ ไ ดก็แต โลกิ ยสมบัติมีสวรรค
มนุษย เปนตน จะบรรลุโลกุตตรภูมิไมไดเลย

มหายานในชั้ นหลั งถื อวาบุ คคลที่จ ะเปน พระพุทธเจา ได ตองประกอบด ว ยโคตร
อยางใดอยางหนึ่ง คือ สาวกโคตร ปจเจกพุทธโคตร หรือโพธิสัตวโคตร๘๓

ในศรีมาลาเทวีสีหนาทสูตรก็ไดแบงภาวะของสัตวเปน ๔ จําพวก๘๔ คือ

(๑) สัตวที่บําเพ็ญกุศล สะสมบารมีแหงทวยเทพ และมนุษย (ปุถุชน)


(๒) สัตวที่สรางสมคุณธรรม โดยการบําเพ็ญตามแนวทางของสาวกยาน
(๓) สัตวที่สรางสมคุณธรรม โดยการบําเพ็ญตามแนวทางของพระปจเจกพุทธยาน
(๔) สัตวที่สรางสมคุณธรรม โดยการบําเพ็ญตามพระสัมมาสัมพุทธเจา

๘๒
เสถียร โพธินันทะ, ปรัชญามหายาน, หนา ๘๘.
๘๓
พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ, พระพุทธศาสนามหายานในอินเดีย พัฒนาการและสารัตถธรรม, หนา ๗๕.
๘๔
ศรีมาลาเทวีสีหนาทสูตร, แปลโดย ฉัตรสุมาลย กบิลสิงห, (กรุงเทพฯ : โอ.เอส. พริ้นติ้งเฮาส,
๒๕๓๒), หนา ๘๓.

Page 53 of 162
๓๙

ซึ่งเหลาสัตว ๔ ประเภทนี้เปรียบเหมือนรัตนมณีมีคาดอย รัตนมณีมีคาปานกลาง


รัตนมณีชั้นสูง และรัตนมณีอันหาคามิได ตามลําดับ

ปยะ ราชเจริญ ไดสรุปความแตกตางของบุคคลตามลําดับของภูมิธรรม ที่นิยามดวย


ธรรมะ ธรรมกาย หรือโพธิ ไว ๕ ประเภท๘๕ ดังนี้

(๑) ปุถุชน บุคคลในระดับที่จะเปลี่ยนไปสูขั้นตอไป(สรรพสัตว หรือเวไนยสัตว)


(๒) สาวกบุคคล ผูฟงคําสอน คือ ไดรูและเขาใจสัจธรรมในระดับหนึ่ง(อริยบุคคล)

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
(๓) พระปจเจกบุคคล ผูสามารถเขาถึงเนื้อแทแหงคําสอน ดวยตนเอง
(๔) พระโพธิสัตว บุคคลผูดําเนินตามโพธิสัตวยาน
(๕) พระสัมมาสัมพุทธเจา ผูตรัสรูไดโดยพระองคเอง และสั่งสอนเวไนยสัตว

มหาสังฆิกะเปนนิกายที่ถือวาเปนตนกําเนิดของมหายาน เสฐียร พันธรังษี บอกวา


มหาสังฆิกะก็คือมหายาน ๘๖ มีแนวคิดวาคําสอนของพระพุทธเจาจําแนกออกเปน ๒ ระดับตาม
อุ ป นิ สั ย ของสรรพสั ต ว กล า วคื อ สรรพสั ต ว ผู มี อิ น ทรี ย อ อ น พระองค ท รงสอนคํ า สอนเชิ ง
ปรากฏการณ ที่เปนการเปดเผยแตเพียงความจริงที่เกี่ยวของกับโลกและชีวิตมนุษย เปนความจริงที่
เขาใจงาย อีกระดับหนึ่งเปนคําสอนของสรรพสัตวผูมีอินทรียแกกลาเปนคําสอนแท เปนคําสอน
แสดงถึงความจริงความจริงที่เกี่ยวกับจักรวาลทั้งหมดครอบคลุมทุกภาวะและเปนคําสอนที่ทําให
หลุดพนอยางสมบูรณ หรือคําสอนที่เขาถึงศูนยตา๘๗

มหายานจึ ง ถื อ ว า พระธรรมคํ า สอนที่ พ ระพุ ท ธเจ า ทรงแสดงแก เ วไนยสั ต ว นั้ น


ยอมแสดงใหเหมาะแกอินทรีย อุปนิสัยชั้นภูมิแหงสัตว จึงมีประเภทปริยายธรรม คือ ธรรมที่ยังตอง
ขยายความ เชนหลักธรรมที่วาดวยการประพฤติธรรม เพื่อบรรลุสุขเยี่ยงโลกียชนเปนตนทรงแสดง
แกสัตวยังมีภูมิอินทรียออน สวนสัตวซึ่งมีอินทรียสูงกลาแลว ทรงแสดงปรมัตถธรรมชี้ใหเห็น
ความเปนมายาของโลก ชื่อวานิปปริยายธรรมคือธรรมที่ไมมีนัยที่ตองไขความกันอีก เปนการแสดง

๘๕
ปยะ ราชเจริญ, “การศึกษาเปรียบเทียบสถานะของมนุษยตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา
เถรวาทและมหายาน”, วิ ท ยานิ พ นธ ป ริ ญ ญาอั ก ษรศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต , (สาขาศาสนาเปรี ย บเที ย บ :
มหาวิทยาลัยมหิดล), ๒๕๔๑, หนา ๑๑๐.
๘๖
เสฐียร พันธรังษี, พุทธศาสนามหายาน, หนา ๒๕.
๘๗
สุมาลี มหณรงคชัย, พุทธศาสนามหายาน, หนา ๓๕.

Page 54 of 162
๔๐

ถึงแกนสูงสุดของพระพุทธศาสนา๘๘ ทานนาคารชุนไดแสดงทัศนะวาดวยการแสดงธรรมดวยอุบาย
ไวในคัมภีรรัตนาวลีที่วา

นักไวยากรณเริ่มตนดวยการสอนใหอานตัวอักษรฉันใด พระพุทธเจาก็ฉันนั้น ทรงแสดง


ธรรมที่ผูฟงจะสามารถเขาใจไดงาย สําหรับบางคนทรงสอนธรรมเพื่อใหละบาป บางคน
ทรงสอนธรรมเพื่อใหบําเพ็ญบุญ บางคนทรงสอนธรรมระดับทวิภาวะ บางคนทรงสอนธรรม
ระดับอทวิภาวะ บางคนทรงสอนธรรมระดับลึกซึ้ง เมื่อเขาใจสารัตถะแหงศูนยตาแลว ชื่อวา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เปนมรรคาแหงการบรรลุอนุตรโพธิญาณ

สิ่ งที่ ท านนาคารชุ นเน นในที่ นี้ ก็ คื อคํ าว า บางคน หมายถึ ง คนฟ งธรรมที่ มี ค วาม
แตกตางหลากหลายอันเปนเหตุใหพระพุทธเจาตองแสดงธรรมดวยกุศโลบาย๘๙

ตัวอยางการใชกุศโลบายใหเหมาะสมกับอุปนิสัยของเหลาสัตว

คัมภีรกษิติครรภโพธิสัตวมูลปณิธานสูตรบอกวาการชวยเหลือสรรพสัตวใหพนทุกขได
ตองใชกุศโลบายที่เหมาะสมกับอุปนิสัยของสรรพสัตว ดังที่พระกษิติครรภโพธิสัตวไดกราบทูล
พระพุทธเจาถึงการโปรดสัตวใหรอดพนจากทุกขทั้งปวงวา

ขอองคสมเด็จพระผูมีพระภาคเจาอยา ไดทรงปริวิตกไปเลยพระเจาขา ในอนาคตกาล


มาตรแมวามีผูใดยึดมั่นในพระสัจธรรม ขาพระบาทก็จะใชกุศโลบายอันแยบยลและเหมาะสม
(กับอุปนิสัยของสัตว) ไปฉุดชวยนําพาเขา ผูนั้นออกจากวัฏฏสงสารใหจงได๙๐

ในชาดกมาลาเรื่ องมหาโพธิ ไ ดแ สดงถึ ง การใชกุศ โลบายของมหาโพธิ์ โพธิสัต ว


เพื่อโปรดพระราชาและ เหลาอํามาตยใหพนจากทิฎฐิทั้ง ๕ คือ (๑) อเหตุวาท ที่เห็นวาทุกสิ่งเกิดขึ้น
ลอยๆ ไมมีเหตุ ไมมีปจจัย (๒) อิศวรกรณวาท ที่เห็นวาทุกๆ สิ่งเกิดขึ้นเพราะการบันดาลของเทพ
ผูเปนใหญ (๓) ปุพเพกตวาท เห็นวาทุกสิ่งเปนเกิดจากกรรมเกา (๔) อุจเฉทวาท เห็นวาทุกๆ สิ่ง
สูญเปลา (๕) พวกถือตามนิติธรรม สรุปความไดวา

๘๘
ดูเชิงอรรถ, วิมลเกียรตินิทเทสสูตร, แปลโดยเสถียร โพธินันทะ, หนา ๑๒๔-๑๒๕.
๘๙
P.L. Vaidya, ed., Madhyamakasastra of Nagarjuna, (Darbhanga : Mithila Institute, 1960), p. 310.,
อางในพระมหาสมบูรณ วุฑฺฒิกโร, “แนวคิดเรื่อง “จิตเทานั้นมีอยู” ของพระพุทธศาสนานิกายโยคาจาร”, หนา ๔๐.
๙๐
พระกษิติครรภโพธิสัตวมูลปณิธานสูตร, แปลโดย อ.โจ ชิง ฟง เรียบเรียงโดยรัศมีธรรม, (กรุงเทพฯ :
บริษัทศรีบุญอุตสาหกรรมการพิมพจํากัด, ๒๕๔๓), หนา ๑๕๙.

Page 55 of 162
๔๑

สมัยที่พระพุทธเจาทรงเปนพระโพธิสัตวเสวยพระชาติเปนปริพาชกชื่อวามหาโพธิ
ไดเห็นพระราชาและเหลาเสนาอํามาตยกําลังจะเกิดมิจฉาทิฎฐิ มหาโพธิ์โพธิสัตวจึงไดใชกุศโลบาย
สอนสั่งดวยการเนรมิตหนังลิงเพื่อเปนเครื่องนุงหม แลวเขาไปเฝาพระราชาก็ทรงแปลกพระทัย
ซึ่งโดยปรกติปริพาชกนั้นเปนผูไมเบียดเบียนสัตว หลีกจากหมูชนแสวงหาความสงบ เห็นมหาโพธิ์
โพธิสัตวนุงหมหนังลิง จึงตรัสถามวาหนังลิงใครเปนผูใหทานหรือ มหาโพธิ์โพธิสัตวทูลวาไมมี
ใครให เปนของขาพระองคเอง ขาพระองคเปนผูฆาลิงตัวนี้แ ลวนําหนังมาทําเปนเครื่องนุงหม
พระราชาไดฟงแลวสลดสวนพวกอํามาตยทั้ง ๕ ผูมีมิจฉาทิฎฐิก็กลาวตําหนิมหาโพธิ์โพธิสัตว

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มหาโพธิ์ โพธิ สัตวจึง ไดก ลา วสั่งสอนเหลาอํามาตยที่มีค วามเห็น ในอเหตุว าทวา
การตายของลิงเกิดขึ้นตามธรรมดา ของมันเอง ไมมีเหตุปจจัย ไมมีผูฆา ผูถูกฆา มันไมไดเกิดจาก
เหตุทั้งปวง แลวทานจะตําหนิวาขาเปนคนฆาลิงไดอยางไร

กลา วกั บอํ า มาตย ที่ มี ค วามเห็ น ใน อิ ศ วกรณวาทวา ทา นจะว า ขาฆ าลิ งตัว นี้ ไ มไ ด
ถึงแมวาขาจะฆาลิงจริง แตความจริงแลวคนที่ฆาตัวจริงก็คือ พระเปนเจาที่เปนตนเหตุแหงสรรพสิ่ง
และบันดาลสรรพสิ่งบนโลกใหเปนไป เมื่อเปนเชนนี้ทานจะกลาวโทษขาไดอยางไร

กลาวกับอํามาตยผูเห็นในปุพเพกตวาทวา ลิงตัวนี้ถูกขาฆา มันตายโดยชอบแลว


เพราะกรรมเกามันสงผลมันจึงถูกฆา จะมาตําหนิตัวขาวาฆาลิงไมได

กลา วกั บอํ า มาตยผูมี อุจ เฉทวาทวา ขา ฆ า ลิง เปน ความชั่ ว ขา เลี้ย งลิ ง เปน ความดี
ทั้งดีและชั่วตางก็สูญ แลวเราจะหลีกเลี่ยงการทําชั่ว มัวหลงทําความดีทําไม มันไมมีดี ไมมีเลว
ขาไดฆาลิง ไมไดฆาลิงลวนแตสูญเปลาไปทั้งสิ้น เมื่อเปนดังนั้นทานจะตําหนิขาไมได

และกลาวกับอํามาตยคนสุดทาย ที่ยึดติดกับนิติธรรมวาคําสอนของพระธรรมศาสตร
บอกวาใหทําอะไรก็ไดไมวาดีหรือชั่ว ที่จะสรางวัตถุใหเกิดขึ้น แลวนํามาใชใหเปนประโยชนถือวา
เปนธรรม ขาฆาลิงแลวนําหนังมานุงหมเปนประโยชนแกตัวขา เปนเชนนี้ทานจะกลาวโทษขา
ไดอยางไร ในเมื่อขาปฏิบัติตามคําสอน ในคัมภีรของทาน

เมื่ อ มหาโพธิ์ โ พธิ สั ต ว ก ล า วจบ พระราชา เหล า เสนาอํ า มาตย ไ ด ล ะทิ้ ง ทางแห ง
มิจฉาทิฎฐิ และมาดําเนินเขาสูสัมมาทิฎฐิอันเปนมรรคอันประเสริฐ๙๑

๙๑
อารยศูร, ชาดกมาลา, แปลโดยหลวงรัชฎาการโกศล, พิมพในงานพระราชทานเพลิงศพ หลวงเสถียร
โชติสาร(จรัล โชติกเสถียร) วันที่ ๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๑๓, หนา ๑๕๙-๑๗๑.

Page 56 of 162
๔๒

ในคัมภีรวิมลเกียรตินิทเทสสูตรไดแสดงถึงการใชกุศโลบายที่ปรับใหเหมาะสมกับ
อุปนิสัยที่แตกตางกันของสรรพสัตว

ทานแสดงการรักษาศีลใหบริสุทธิ์ไมดางพรอย ก็เพื่อเปนตัวอยางสงเคราะห ชนผูทุศีล


จักไดถือเอาเปนแบบอยาง แสดงความอดกลั้นดวยขันติคุณ ก็เพื่อเปนตัวอยางสงเคราะหชน
ผูมั กโกรธ แสดงความเป นผูมีอุตสาหวิริยะ ก็เพื่ อเป นตัวอย างสงเคราะหชนผูมีโกสัชชะ
แสดงความเปนผูมี จิตตั้งมั่ นในสมาธิญาน ก็เพื่อเปนตัว อยางสงเคราะห ชนผูมีจิตฟุงซาน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
และไดใชสติปญญาของทานสงเคราะหชนผูปราศจากปญญาใหมีความรูแจงเห็นจริงดวย๙๒

เทพธิดาโพธิสัตวกลาวตอบพระสารีบุตรเกี่ยวกับการแสดงธรรมโปรดสัตววา

ถาดิฉันจะตองแสดงธรรมโปรดบุคคลผูมีนิสัยเหมาะแกสาวกยาน ดิฉันก็สําแดงตนเปน
พระสาวก ถาจะตองแสดงปฏิจจสมุปบาทธรรมโปรดสัตว ดิฉันก็สําแดงตนเปนพระปจเจกโพธิ
และถาอาศัยมหากรุณาในการโปรดสรรพสัตว ดิฉันก็สําแดงตนเปนพระโพธิสัตวในมหายาน๙๓

วิมลเกียรติโพธิสัตวไดกลาวถึงกุศโลบายและจริยาของพระโพธิสัตวไมมีประมาณ
ไมจํากัดขอบเขต ทั้งนี้ยอมเปนไปเพื่อนําพาสรรพสัตวใหพนจากหวงแหงทุกขวา

ลางสมัยพระโพธิสัตวยอมสําแดงตนประหนึ่งเปนหญิงหนักในราคะ ชักจูงลอบรรดาชาย
ผูอภิรมยในรสกามใหมาผูกพัน ทั้งนี้ก็โดยใชวิธีเอากามคุณมาเปนเบ็ดเกี่ยวจิตใจของ ชนผู
มี นั น ทิ ร าคะให ม าติ ด เสี ย ก อ น ภายหลั ง จึ ง พร่ํ า สอนให เ ขาเหล า นั้ น บรรลุ ภู มิ ต รั ส รู ข อง
พระสัมมาสัมพุทธเจา . . . ในบุคคลผูมีความลําพองเยอหยิ่งทะนง พระโพธิสัตวยอมสําแดงตน
เปนบุรุษกํายํา มีพละแรงกลา เพื่อปราบความลําพองเยอหยิ่งนั้น ใหเขาตั้งอยูในภูมิที่เปนไป
เพื่อความตรัสรู . . . ในชนผูปรารถนามีผูรับใช พระโพธิสัตวยอมสําแดงตนเปนเด็กรับใช
ปฏิบัติกิจของผูเปนนาย ยังความยินดีของผูเปนนายใหเปนไป จึงถือโอกาสอบรมจิตของนาย
ใหมุงพระโพธิญาณ ยังความปรารถนาของเขาใหเปนไปตามหวัง กระทําใหเขาเขาสูพุทธภูมิ
ทั้งนี้ก็โดยอาศัยกําลังแหงกุศโลบาย กระทําใหสมบูรณได๙๔

๙๒
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร, แปลโดยเสถียร โพธินันทะ, หนา ๗-๘.
๙๓
เรื่องเดียวกัน, หนา ๖๒.
๙๔
เรื่องเดียวกัน, หนา ๗๖-๗๗.

Page 57 of 162
๔๓

เมื่ อ เหล า สั ต ว มี อุ ป นิ สั ย และสติ ป ญ ญาแตกต า งกั น มหายานถื อ ว า คํ า สอนของ


พระพุทธเจาก็สามารถปรับเปลี่ยนใหเหมาะสม ตามอุปนิสัยและภูมิปญญาของสัตว เพื่อที่จะฟอก
จิตของเหลาสัตวใหสูงขึ้นตามลําดับจนบรรลุเปาหมายคือโพธิญาณ ดังที่สัทธรรมปุณฑรีกสูตร
กลาวไววาพระพุทธเจาทรงรูอัธยาศัย จริต ความคิด อุปนิสัย ความสนใจของสัตวทั้งหลาย จึงทรง
แสดงธรรมดวยกุศโลบาย เพื่อชวยเหลือสัตวทั้งหลายใหถึงการตรัสรูอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ๙๕

ข. กุศโลบายในฐานะเปนเครื่องมือทํางานของพระโพธิสัตว

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มหายานถือวาการชวยเหลือสรรพสัตวใหรูแจงความจริงไดนั้น จะตองเปนผูที่ฉลาด
ในการใช กุ ศ โลบายสั่ ง สอน จึ ง จะสามารถที่ จ ะช ว ยเหลื อ สั ต ว ไ ด อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ๙๖
พระโพธิสัตวจึงตองใชกุศโลบายเทาที่จะทําได เพื่อนําสรรพสัตวไปสูจุดสุดทาย คือ โพธิญาณ
ในสั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รกล า วถึ ง กุ ศ โลบายในฐานะเป น อุ ป กรณ หรื อ เครื่ อ งมื อ ในการสอน
สรรพสัตวใหหลุดพนจากความทุกขทั้งปวงวา

พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาทั้งหลาย ทรงประกาศธรรมทั้งหลายที่เปนเฉพาะ
พระองค เพื่อใหสัตวผูของอยูในสิ่งตางๆ หลุดพนไปดวยกุศโลบายตางๆ . . .

เรา(ตถาคต) ใช กุ ศ โลบายอั น ประเสริ ฐ ของเรา กล า วธรรมหลากหลายวิ ธี ใ นโลก


จนปลดเปลื้องผูของในพันธะทั้งปวง

พระสวยัมภู ทรงใชกุศโลบายนี้เพื่อทําใหสัตวเขาใจประโยชนของการรูพุทธญาณ

พระพุทธเจาเหลานั้น ซึ่งเปนผูแนะนําชาวโลก ก็จะมีความฉลาดในอุบายอันหาที่สุดมิได


ดวยกุศโลบายพระพุทธเจาทุกพระองคก็จะแนะนําสัตวจํานวนหลายโกฏิไวในพุทธภาวะ
และญาณอันไมมีอาสวะ๙๗

กุศโลบายในฐานะเปนเครื่องมือการทํางานของพระโพธิสัตว จึงเปนจุดเนนหรือ
จุ ด มุ ง หมายของมหายานในด า นการเผยแผ ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ อุ ด มคติ ที่ เ น น เรื่ อ งความกรุ ณ า
ในสรรพสัตว กรุณาจึงเปนความรูสึกภายในที่เปนปจจัยสรางกุศโลบายซึ่งเปนดานเทคนิคขึ้นมา

๙๕
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๒๕.
๙๖
ธนิต อยูโพธิ, อุดมคติอันแตกตางกันระหวางพระพุทธศาสนาฝายหินยานกับฝายมหายานกับ
โพธิสัตวและตรีกาย, (พระนคร : หจก. ศิวพร, ๒๕๑๑), หนา ๑๓-๑๔.
๙๗
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๑๙, ๒๑, ๒๘, ๓๓.

Page 58 of 162
๔๔

เพื่อนําพาสัตวใหหลุดพนจากหวงแหงความทุกข พระโพธิสัตวจึงตองบําเพ็ญปารมิตา ๑๐ ประการ


หนึ่งในปารมิตานั้น คือ การบําเพ็ญอุปายปารมิตา ที่เนนถึงการเปนผูชาญฉลาดในการใชกุศโลบาย
สั่งสอนสรรพสัตว เพื่อที่จะใหเกิดคุณสมบัติเฉพาะของพระโพธิสัตว ๓ ประการ คือ (๑) มหาปรัชญา
(๒) มหากรุณา (๓) มหาอุปาย คุณสมบัติ ๓ ขอนี้ลวนสัมพันธกัน และถือวาเปนหัวใจในการ
ดํ า เนิน งานดา นกิ จ กรรมที่ เ กี่ ย วกับพระศาสนาทั้ งทางดา นการเผยแผ การชว ยเหลือสรรพสัต ว
ซึ่งเสถียร โพธินันทะ ถือวาเปนหัวใจของพุทธศาสนามหายาน๙๘ กุศโลบายจึงเปนการแสดงออก
ของปรัชญาและกรุณาในรูปแบบทางเทคนิค เปรียบเหมือนอุปกรณหรือเครื่องมือในการทํางานของ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระโพธิสัตว ดังที่วิมลเกียรตินิทเทสสูตรบอกไววา “อุปายนั้นแลชื่อวาธรรมมณฑล เพราะเปนเหตุ
ใหสั่งสอนโปรดสรรพสัตว”๙๙

ตัวอยางการใชกุศโลบายในฐานะเครื่องมือทํางาน

ปกติของการทํางานตางๆ ยอมจะเจอความยากงายของงาน หากเปนงานยากก็ใช


เวลานานกวา จะทํา ใหสํา เร็จ ถ า หากงานง า ยก็ใ ช เ วลาน อย เชน เดีย วกับพระโพธิสัตว ผูบํา เพ็ ญ
โพธิสัตวจรรยา ออกชวยเหลือเหล าสัตว ยอมประสบกับปญหาความยากงายในการโปรดสัตว
กุศโลบายจึงเปนเครื่องมืออยางดี ที่จะมาชวยลดปญหาความยุงยากในเรื่องนี้ เกิดความสะดวก
ซึ่งจะเปนประโยชนแกสรรพสัตวอยางมากมาย ดังที่วิมลเกียรติโพธิสัตวจะโปรดสัตวจึงไดออก
กุศโลบายแกลงทําเปนปวย พระโพธิสัตวทานนี้เปนที่เคารพของชนทุกหมูเหลา เมื่อขาววาทานปวย
แพรออกไปไมวาพระราชา อํามาตย สมณพราหมณ คฤหบดี และชาวบานจํานวนมาก ก็พากันมาเยี่ยม
ท า นวิ มลเกี ย รติ โพธิ สั ตว จึ งถื อโอกาสที่ ช นทั้ งหลายมาเยี่ ยมแสดงธรรม ยั งชนที่ ไ ด สดั บธรรม
จํานวนมากใหตั้งจิตปณิธานในอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ๑๐๐ พระโพธิสัตวประสงคจะโปรดเวไนยสัตว
บางครั้งไดใชกุศโลบายในการแสดงตัวใหเหมาะกับสภาพและสถานการณนั้นๆ เพื่อใหเขาถึงจิตใจ
ของเหล า สั ต ว ทํ า ให เ ห็ น ว า พระโพธิ สั ต ว กั บ สรรพสั ต ว นั้ น ไม ไ ด แ ตกต า งกั น เสถี ย ร โกเศศ
ไดกลาวถึงเรื่องนี้วา “พระอวโลกิเตศวรนิรมิต บิดเบือนพระกายเปนพระพุทธเจาบาง เปนพรหมบาง
เปนยักษบางแลวแตคราว เพื่อเปนเครื่องประกอบการชวยเหลือสรรพสัตวใหพนจากทุกขไดสะดวก
ยิ่งขึ้น๑๐๑ ในวิมลเกียรตินิทเทสสูตรมีการใชกุศโลบายรูปแบบนี้เชนกัน

๙๘
เสถียร โพธินันทะ, เลียง เสถียรสุต, คุณธรรมพระโพธิสัตว, (กรุงเทพฯ : พลพันธการพิมพ,
๒๕๒๙), หนา ๕.
๙๙
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร, แปลโดยเสถียร โพธินันทะ, หนา ๓๑.
๑๐๐
เรื่องเดียวกัน, หนา ๙.
๑๐๑
เสฐียรโกเศศ-นาคประทีป, ลัทธิของเพื่อน, (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพพิราบ, ๒๕๔๐), หนา ๒๘๖.

Page 59 of 162
๔๕

บรรดาผูที่เปนพญามาราธิราชในอสงไขยโลกธาตุทั่วทศทิศ แตละลวนเปนพระโพธิสัตว
ผูสถิตอยูในวิมุตติธรรมอันเปนอจินไตย แตหากไดสําแดงโดยอุบายพละ . . . จึงกระทําเปน
พญามาราธิราช . . . บางก็ปรากฏวามีผูมารองขอหัตถ บาท กรรณ นาสิก ฯลฯ บุตร ธิดา ภริยา
ชาง มา ฯลฯ ประการตางๆ บรรดาผูมารองขอเหลานี้ สวนมากลวนเปนพระโพธิสัตวผูสถิต
อยูในวิมุตติธรรมอันเปนอจินไตย ไดสําแดงโดยอุบายพละมาเพื่อทดลอง(บุคคลผูบําเพ็ญ
โพธิสัตวจริยา) และเพื่อประสงคกระทําใหผูมีจิตปณิธานตอพระโพธิญาณ มีความเขมแข็ง
มั่นคง . . . แมจักสําแดงใหเห็นประหนึ่งวาเปนผูมีอภิชฌาวิสมโลภะ แตความจริงนั้นเปน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ผูเ วนจากปวงฉันทราคะ แมจัก สําแดงใหเ ห็นประหนึ่งวาเปนผูมีโทสะ แตความจริงเปน
ผูปราศจากความกีดขวางเปนภัยตอสรรพสัตว แมจักสําแดงใหเห็นประหนึ่งวาเปนผูโงเขลา
แตความจริงเปนผูมีสติปญญาญาณ ฝกหัดอบรมจิตของตนและของผูอื่นใหอยูในอํานาจได . . .
แมจักสําแดงใหประหนึ่งวาเปนผูทุศีล แตความจริงเปนผูสถิตอยูในศีลสังวรอันบริสุทธิ์เสมอ
. . . แม จั ก สํ า แดงให เ ห็น ประหนึ่ งว า เป น ผู มี ม ารยา แต ค วามจริ ง เป น ผู อ นุ โ ลมตามอรรถ
แหงพระสูตรทั้งหลาย โดยกุศโลบายเพื่อโปรดสัตว . . . ๑๐๒

ในประวั ติ ข องเจ า แม ก วนอิ ม (พระอวโลกิ เ ตศวร) ของจี น ได แ สดงให เ ห็ น ถึ ง


กุศโลบายที่เจาหญิงนอยเมี่ยวซันใชชวยเหลือมดตางฝูง ที่กําลังทําลายลางกันใหแหลกลาญกันไป
ขางหนึ่ง ซึ่งสรุปความไดวา

พระธิ ด านอย(เมี่ย วซัน ) ชวนพระสนมไปเดิน เลนในพระราชอุท ยานไดเ ห็ น มดดํ ากั บ


มดแดง ยกพวกกัดกันอยางเอาเปนเอาตาย พระองคจึงรูสึกสงสาร จึงลองเอามือแหยเพื่อ
หามทัพ ไมทันจะถูกตัวมดก็ทรงรับหดมือมาเสียกอน ทรงหยุดคิดนิดหนึ่ง แลวหาขนม ๒ กอน
มาล อให มดกิ น โดยเอาไปวางไว ที่ รัง ของแต ล ะฝู ง ปรากฎว า มั น ได ก ลิ่ น ขนมแลว ค อ ยๆ
แยกยายกลับรัง เพื่อกินขนม จนที่ตรงนั้นเหลือแตมดตาย และบาดเจ็บปางตาย พระธิดากวาด
มดที่ตายฝงดินไว เพราะกลัวสัตวอื่นมากินจะเปนทุกข เปนกรรมซ้ําสองอีก๑๐๓

๑๐๒
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร, แปลโดยเสถียร โพธินันทะ, หนา ๕๕,๖๘-.๗๐, ๗๕.
๑๐๓
กวนอิมพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร, ประกายธรรมเรียบเรียง, (กรุงเทพฯ : ธรรมสภา, ม.ป.ป.), หนา ๙๒-๙๓.

Page 60 of 162
๔๖

กุศโลบายยังถูกนํามาใชเปนเครื่องมือเพื่อคลี่คลายปญหาความขัดแยงของคําสอนใน
นิกายตางกัน ในขณะเดียวกันก็เปนเครื่องมือสําหรับสรางความเหนือกวาของคําสอนตามแนวคิด
แหงนิกายตน๑๐๔ ในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรไดกลาวถึงการรวม ๓ ยานเปนยานเดียววา

ดูกอนศาริบุตร แมเราก็อาศัยเพียงยานเดียว แสดงธรรมแกสัตวทั้งหลาย นั่นคือพุทธยาน ที่


มีการรูสิ่งทั้งปวงเปนที่สุด . . . สัตวทั้งหลายเหลาใดไดฟงธรรมนี้ของเราจักไดอนุตรสัมมา
สัมโพธิญาณ ดูกอนศาริบุตรไมมีการประกาศยานที่สองในโลกทั้งสิบทิศ ไมวาที่ใด ดังนั้น

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
จะมีการประกาศยานทั้งสาม ณ ที่ใดเลา๑๐๕

ดูกอนศาริบุตร แมเมื่อใดพระตถาคตเจาทั้งหลายอุบัติขึ้นในกัลปแหงความเสื่อมทั้ง ๕ . . . สัตว


ทั้งหลายผูมีกุศลมูลเพียงเล็กนอย เดือดรอนใจและหมนหมองในกัลป . . . เมื่อนั้น พระตถาคต
อรหันตสัมมาสัมพุทธเจาทั้งหลาย ยอมแสดงพุทธยานเพียงหนึ่งเดียว โดยแยกแสดงเปน
๓ ยานดวยกุศโลบาย๑๐๖

เอกยานซึ่งเปนแนวคิดที่สมานเชื่อมความความแตกตางแหงคําสอนของยานทั้ง ๓
คื อ สาวกยาน ป จเจกพุ ทธยาน และโพธิ สั ตวยาน ให มาหล อหลอมเป นจุ ดเดี ยวกั นคื อพุ ทธยาน
ยานทั้ ง สามจึ ง เป น เพี ย งกุ ศ โลบายที่ นํ า สรรพสั ต ว ไ ปสู พุ ท ธยาน เสถี ย ร โพธิ นั น ทะ บอกว า
หลักเอกยานเปนการเชื่อมตรียานใหหลอมเขามาสูจุดเดียวกันไดอยางแนบเนียนและยังคงเปน
มหายานคือมุงพุทธภูมิตามเคย๑๐๗ ดังที่สัทธรรมปุณฑรีกสูตรกลาวไววา “ตถาคตชี้แจง แสดง
ยานสามอยาง ดวยกุศโลบายในตอนแรก แลวภายหลังใหสัตวทั้งหลายปรินิพพานดวยมหายาน . . .
ดูกอน ศาริบุตร พระตถาคตชี้แจงแสดงมหายานอยางเดียวเทานั้น ดวยกุศโลบายและอภินิหารที่มีอยู๑๐๘

ในสันธินิรโมจนสูตร ไดแสดงถึงการแสดงธรรมของพระพุทธเจาออกเปน ๓ ระยะ


ซึ่ ง เป น การแสดงให เ ห็ น ถึ ง กุ ศ โลบายในการประกาศธรรมของพระพุ ท ธเจ า ที่ มี ค วามลุ ม ลึ ก
ลงตามลําดับจากคําสอนเบื้องตนหรือคําสอนชั่วคราว ไปสูธรรมชั้นสูงสุดหรือคําสอนที่แท

๑๐๔
พระมหาสมบูรณ วุฑฺฒิกโร, “แนวคิดเรื่อง “จิตเทานั้นมีอยู” ของพระพุทธศาสนานิกายโยคาจาร”,
หนา ๔๓.
๑๐๕
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๒๗.
๑๐๖
อางแลว.
๑๐๗
เสถียร โพธินันทะ, ปรัชญามหายาน, หนา ๕.
๑๐๘
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๕๐-๕๑.

Page 61 of 162
๔๗

พระผูมีพระภาคทรงแสดงธรรมจักรครั้งที่ ๑ ที่ปาอิสิปตนมฤคทายวัน อันเปนธรรม


ประเสริฐ มหัศจรรย เปนธรรมอันเทวดาและมนุษยทั้งหลายไมเคยประกาศมากอน ทรงแสดง
อริยสัจ ๔ แกบุคคลผูเขาถึงสาวกยาน เปนเพียงธรรมเบื้องตน ชั่วคราว

พระผูมีพ ระภาคทรงแสดงธรรมจักรครั้งที่ ๒ เปนธรรมอันประเสริฐ มหัศจรรย


ทรงแสดงศูนยตาแกบุคคลผูเขาถึงมหายาน เปนธรรมเกี่ยวกับความไมมีแหงสวภาวะแหงธรรม
ทั้งหลาย เปนธรรมไมมีการเกิด ไมมีการดับ สงบนิ่งอยูโดยพื้นฐาน และมีธรรมชาติอยูเ หนือความทุกข

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เปนเพียงธรรมเบื้องตน ชั่วคราว

พระผูมีพระภาคทรงแสดงธรรมจักรครั้งที่ ๓ เปนธรรมอันประเสริฐ มหั ศจรรย


เปนธรรมที่จํา แนกดีแ ลว สํ า หรั บบุคคลผูเ ข า ถึง ยานทั้ง ปวง เปนธรรมชาติที่ เ กี่ ย วกับ ความไม มี
สวภาวะแห งธรรมทั้งหลาย เป นธรรมที่ไ มเ กิด ไมดับ สงบนิ่งอยูโดยพื้นฐาน และมีธรรมชาติ
อยูเหนือความทุกข ธรรมจักรนี้ ไมใชธรรมขั้นตน ไมใชธรรมชั่วคราว๑๐๙

ทานฉีอี้แหงสํานักเทียนไท ไดจัดแบงคําสอนทางพุทธศาสนาใหเปนระบบออกเปน
๕ ชวง๑๑๐ แสดงใหเห็นการใชกุศโลบายการสอนแบบคอยเปนคอยไป กลาวคือสอนธรรมจากงาย
ไปยาก เปนขั้นเปนตอน เพื่อนอมนําใหเหลาชนไดพัฒนาคุณธรรมใหมีความกาวหนาในระดับ
สูงยิ่งขึ้นไป จนถึงคําสอนอันเปนธรรมขั้นสูงสุด

๑. ชวงปฐมกาล คือชวงเวลาที่พระพุทธเจาตรัสรูใหมๆ ทรงอยูในภาวะที่หยั่งเห็น


ความหลุดพนดวยพระปญญาญาณสูงสุด จึงทรงสอนเรื่องปญญาขั้นสูงแกเหลาโพธิสัตวและเทวดา
จะมีปุถุชนบางก็เปนจํานวนเล็กนอยเทานั้นที่สามารถเขาใจได ดังนั้นคําสอนชวงนี้จึงเนนหนัก
ไปในเรื่องของจิตหนึ่ง อันเปนที่มาของปรากฏการณทั้งหลาย เรียกยุคนี้วายุคอวตังสกะ

๒. ชวงทุติยกาล คือชวงเวลาที่พระพุทธองคทรงเล็งเห็นวาพระธรรมในชวงแรกนั้น
ลึกซึ้งเกินไป ยากที่ปุถุชนจะหยั่งถึงได เพื่อสงเคราะหผูที่มีอินทรียออนใหสามารถบรรลภูมิธรรม
ขั้นสูงขึ้นไปได พระพุทธองคจึงทรงแสดงธรรมฝายเถรวาท(สาวกยาน) มีเรื่องอริยสัจสี่ เปนตน
มีผูเขาใจธรรมในชวงนี้เปนอันมาก เรียกยุคนี้วายุคอาคม

๑๐๙
Etienne Lamotte, ed., Samdhinirmocana Sutra : L’Explication des Mysteres, (Paris :
Adrien Maisommeuve, 1935), p. 58., อางใน พระมหาสมบูรณ วุฑฺฒิกโร, “แนวคิดเรื่อง “จิตเทานั้นมีอยู” ของ
พระพุทธศาสนานิกายโยคาจาร”, หนา ๔๓.
๑๑๐
สุมาลี มหณรงคชัย, พุทธศาสนามหายาน, หนา ๑๕๖-๑๕๘.

Page 62 of 162
๔๘

๓. ชวงตติยกาล คือชวงเวลาที่พระพุทธองคทรงแสดงพระสูตรของฝายมหายาน เพื่อ


ยกระดับภูมิธรรมของเหลาสาวก ทรงเลื่อนอุดมคติของการเปนพระอรหันตไปสูอุดมคติของการ
เปนโพธิสัตว โดยใหมีใจกรุณาตอสรรพสัตวเปนที่ตั้ง เรียกวา ยุคของการพัฒนา

๔. ชวงจตุตถกาล คือชวงเวลาที่พระพุทธเจาทรงแสดงพระสูตรปรัชญาปารมิตา ซึ่งมี


สาระสําคัญอยูที่การมองทุกอยางเปนสุญญะ(ความวาง) การแสดงพระสูตรนี้ก็เพื่อกําจัดความเขาใจ
ผิดของสาวกบางกลุมบางคนวา สภาวธรรมมีอยู เรียกวา ยุคของปญญา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๕. ช ว งป จ ฉิ ม กาล คื อ ช ว งเวลาที่ พ ระพุ ท ธเจ า ทรงแสดงสั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต ร
อั น เป น การเป ด เผยคํ า สอนสู ง สุ ด แก ส าวก เพราะเป น การรวมเอาทางแห ง ความหลุ ด พ น
ทั้งสาม(ตรียาน) เขาดวยกันเปนยานเดียว เรียกวา เอกยาน เรียกยุคนี้วา ยุคของการเปดเผยและพบปะ

จะเห็นวากุศโลบายนอกจากจะเปนเครื่ องมือของพระโพธิสัตวในการชวยเหลือ
สรรพสั ตว ใ ห พ น จากความทุ ก ข มหายานยั งนํามาเปนเครื่องมือ ในการสมานเชื่ อมโยงคําสอน
ใหมารวมอยูในจุดมุงหมายเดียวคือโพธิญาณ อีกทั้งเปนการพยายามลดความขัดแยงทางคําสอน
และใชในการเชิดชูคําสอนในนิกายของตนใหโดดเดนกวานิกายอื่นๆ อีกดวย

สรุ ป ได ว า กุ ศ โลบายในพระพุ ท ธศาสนาฝ า ยมหายานหมายถึ ง วิ ธี ก ารดํ า เนิ น งาน


ทางพระศาสนา ที่ปรับใหเหมาะกับสภาพปญหา อุปนิสัยของสรรพสัตว โดยมีเปาหมายเพื่อพัฒนา
ศักยภาพของสรรพสัตวใหลุถึงจุดหมายคือพุทธภาวะ และเปนคุณสมบัติที่สําคัญของพระโพธิสัตว
ในการพัฒนาตนเพื่อเปนพระพุทธเจา รวมถึงการใชเปนเครื่องมือในการปฏิบัติ เผยแผธรรมตาม
แนวทางของฝายมหายาน คัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตรถือวาเปนคัมภีรที่แสดงถึงแนวคิด รูปแบบ
และวิธีการใชกุศโลบายในฝายมหายานอยางเดนชัด ซึ่งผูวิจัยจะไดศึกษาวิเคราะหและนําเสนอ
ในบทที่ ๓ ตอไป

Page 63 of 162
๔๙

บทที่ ๓

วิเคราะหกุศโลบายในคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร

๓.๑ กําเนิดคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
คัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร เปนคัมภีรของพระพุทธศาสนานิกายมหายานที่เกาแกที่สุด
คัมภีรหนึ่ง๑ มีความสําคัญเทากับคัมภีรมหาวัสตุ คัมภีรลลิตวิสตรสูตร คัมภีรทิวยาวทาน๒ ซึ่งจัดอยู
ในกลุมพระสูตรขนาดยาวเรียกวามหาไวปุลยสูตร แปลวาพระสูตรอันไพบูลย ประกอบดวยคัมภีร
ทั้งหมด ๙ เลมคือ ๑) อัษฏสาหสริกา ปรัชญาปารมิตา ๒) คัณฑวยูหะ ๓) ทศภูมีศวระ ๔) สมาธิราชะ
๕) ลังการวตาระ ๖) สัทธรรมปุณฑรีกะ ๗) ตถาคตคุหยกะ ๘) ลลิตวิสตระ ๙) สุวรรณประภาสะ๓
ซึ่งเบอรนัฟ(Burnouf) เห็นวาหากเปรียบเทียบลักษณะพิเศษและอายุการแตงระหวางมหาไวปุลยสูตร
กั บ พระสู ต รธรรมดาทั่ ว ไป มหาไวปุ ล ยสู ต รมี ค วามเก า แก ว า พระสู ต รธรรมดาอยู ม าก คั ม ภี ร
สัทธรรมปุณฑรีกสูตรนี้เปนพระสูตรที่สําคัญและทรงอิทธิพลที่สุดในบรรดาพระสูตรหรือคัมภีร
อันศักดิ์สิทธิ์ของพุทธศาสนามหายาน ไดรับความเคารพนับถือจากคําสอนมหายานเกือบทุกสาขา
ตลอดระยะเวลาหลายศตวรรษมาแลว ซึ่งฝายจีนและญี่ปุนเชื่อวาสัทธรรมปุณฑรีกสูตรเปนพระสูตร
สุดทายของพระพุทธเจา๔ พระสูตรนี้จึงเปนที่เคารพนับถืออยางจริงจังของบรรดาพุทธศาสนิกชน
ทั่วประเทศจีน เกาหลี ญี่ปุน เวียดนาม สิงคโปร และภูมิภาคอื่นๆ ในเอเชียตะวันออก


Kimura, Ryukan, A Historical Study of the Terms Hinayana and Mahayana and the Origin
of Mahayana Buddhism, p. 140., Cf. J.N. Farquhar, An Outline of the Religious Literature of India,
pp. 114-115., อางใน สานิตย สีนาค, “การศึกษาเชิงวิเคราะหภาษาสันสฤตในคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร ปริวรรตที่ ๑-๕”,
วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, (สาขาภาษาสันสฤต : มหาวิทยาลัยศิลปากร), ๒๕๔๕, หนา ๒๒.

D.P. Singhal, Buddhism in East Asia, p. 7., อางใน สานิตย สีนาค, “การศึกษาเชิงวิเคราะหภาษา
สันสกฤตในคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร ปริวรรตที่ ๑- ๕”, หนา ๒๕.

พระมหาพุทธรักษ ปราบนอก, “การศึกษาวิเคราะหคัมภีรมหายานสูตราลังการ”, วิทยานิพนธปริญญา
ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต, (สาขาวิชาภาษาสันสกฤต : มหาวิทยาลัยศิลปากร), ๒๕๔๗, หนา ๔.

เสฐียร พันธรังษี, พุทธศาสนามหายาน, (กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔),หนา ๑๒๒.

Page 64 of 162
๕๐

ก. ประวัติความเปนมาของคัมภีร

เปนการยากที่จะชี้ชัดลงไปใหแนนอนวาคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตรแตงขึ้นครั้งแรก
เปนภาษาใด เนื่องจากเรายังไมมีหลักฐานที่แนชัด Daniel Boucher บอกวา การเกิดขึ้นของคัมภีร
สัทธรรมปุณฑรีกสูตรที่จารึกเปนภาษาสันสกฤตคงจะมีขึ้นในภายหลัง ลักษณะของภาษาในคัมภีร
รั บ อิ ท ธิ พ ลจากภาษาสั น สกฤตในภาคเหนื อ ของประเทศอิ นเดี ย ในระยะประมาณ ๑๓๐ ป ก อน
คริสตศักราช(พ.ศ. ๔๑๓)๕ สานิตย สีนาค อางคําของลือเดอรสวาหลักฐานจากการพบคําที่ลงทายวา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
“อาโห” เปนอาลปนะ พหุวจนะ ในคัมภีร จึงคิดวาคัมภีรสัทธรรรมปุณฑรีกสูตรไดรับการเรียบเรียงเปน
ภาษาปรากฤต คือ ภาษามาคธีเสียกอน แลวจึงปรับเปลี่ยนใหเปนภาษาสันสกฤตทีละนอยในภายหลัง๖

ผูเรียบเรียงไมปรากฏวาเปนใคร อาจเปนไปไดที่คัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตรนี้ไดรับ
การรวบรวมและเรี ย บเรี ย งโดยนั ก ปราชญ ห ลายท า น โดยรวบรวมจากแหล ง ที่ ม าต า งๆ กั น
จากคัมภีรของนิกายตางๆ ที่แตละนิกายก็มีคัมภีรเกาแกเปนของตนเอง ในการเรียบเรียงใหอยูในรูป
ของคัมภีรนี้ ผูเรียบเรียงพยายามที่จะทําใหเปนคัมภีรที่บันทึกคําสอนทางพระพุทธศาสนาไว โดยไมได
เครงครัดเรื่องความถูกผิดของไวยากรณภาษา สังเกตไดจากภาษาที่เปนรอยแกวและรอยกรองไมลงรอย
กันสนิทดี๗

ข. ความหมายของคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร

สัทธรรมปุณฑรีกสูตรหรือพระสูตรดอกบัวแหงธรรมมหัศจรรย M. Anesaki ไดให


ความหมายชื่อสัทธรรมปุณฑรีกสูตรไววา

ดอกบั ว เปน สัญ ลัก ษณ ข องความบริสุ ทธิ์ แ ละความสมบู รณ เพราะเจริญ จากโคลนตม
แตไมแปดเปอนดวยโคลนตมนั้น เชนเดียวกับพระพุทธเจาเสด็จขึ้นในโลกนี้ แตทรงดํารงพระชนมชพี


Daniel Boucher, “Gandhari and the early Chinese Buddhist Translations Reconsidered : the case of
the Saddharmapundarikasutra”, JAOS, 118, 4 (1998), p. 472. อางใน สานิตย สีนาค, “การศึกษาเชิงวิเคราะห
ภาษาสันสกฤตในคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร ปริวรรตที่ ๑- ๕”, หนา ๒๙.

Edgerton Franklin, Buddhist Hybrid Sanskrit Grammar and Dictionary, Vol., pp. 6-16., อางใน
สานิตย สีนาค, “การศึกษาเชิงวิเคราะหภาษาสันสกฤตในคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร ปริวรรตที่ ๑- ๕”, หนา ๓๐.

Saddharmapundarīka, (Delhi : Motilal Banarsidass Publishers Private Limited, 1992), p. xii.;

อางใน สานิตย สีนาค, “การศึกษาเชิงวิเคราะหภาษาสันสกฤตในคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร ปริวรรตที่ ๑- ๕”,


หนา ๓๐.

Page 65 of 162
๕๑

อยู เ หนื อ โลกนี้ ( โลกุ ต ตระ) และเพราะเมล็ ด บั ว นั้ น จะแก เ ต็ ม ที่ ไ ด ก็ ต อ เมื่ อ ดอกบั ว บานแล ว
เชนเดียวกับสัจธรรมที่พระพุทธองคทรงสั่งสอนจะใหผลคือการตรัสรูทันที๘

ในบทธรรมนิ พ นธ ชื่ อ หวู แ ละอี้ ห ลุ ง อธิ บ ายถึ ง ความสํ า คั ญ ของชื่ อ พระสู ต รว า
สัทธรรมปุณฑรีกสูตรนั้นเปนคําสอนที่มีระดับสูงกวาพระสูตรอื่น เพราะสอนวาเหตุและผลในการ
บรรลุพุทธภาวะเกิดขึ้นพรอมกัน เปรียบเหมือนดอกบัวที่ออกดอกและเมล็ดพรอมกัน

พฤกษชาติบางชนิดออกดอกแลวจึงออกเมล็ดพืช

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
สวนพฤกษชาติอื่นออกเมล็ดพืชกอนออกดอก
พฤกษชาติบางชนิดออกดอกๆ เดียว แตออกเมล็ดพืชหลายเมล็ด
พฤกษชาติอื่นออกดอกหลายดอก แตออกเมล็ดพืชเมล็ดเดียว
และยังมีพฤกษชาติอื่นออกเมล็ดพืชโดยไมออกดอก
แตตนบัวเปนพฤกษชาติชนิดเดียวซึ่งออกดอกและเมล็ดพืชพรอมกัน”๙

สัทธรรมปุณฑรีกสูตรจึงหมายถึงพระสัทธรรมของพระพุทธเจาที่เปรียบเสมือนดอกบัว
ที่เปนสัญลักษณของความบริสุทธิ์และบริบูรณ ดอกบัวใหผลคือการเบงบานงดงามพรอมกับเมล็ด
บัวที่แกเต็มที่ เชนเดียวกันกับสัจจธรรมที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงประกาศนั้นใหผลคือทํา
ใหผูฟงบรรลุธรรมไดโดยฉับพลัน

ค. รูปแบบการแตงคัมภีร

แบงเปน ๒ แบบคือ รอยแกว และรอยกรองหรือโศลก โดยที่รอยแกวจะเปนบทนํา


แลวกลาวเปนคาถาย้ําเนื้อความเดิมในรอยแกวอีกครั้ง เพื่อใหจดจํางายขึ้น แตยังมีปญหาถกเถียง
ในเรื่องรอยแกวถูกแตงกอนหรือรอยกรองถูกแตงกอน โดยมีความเห็นแตกตางออกไปคืออาจารย
ผูศึกษาคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตรบางทานเห็นวารอยกรองไดรับการเรียบเรียงกอน แลวจึงแตง
สวนที่เปนรอยแกว เพื่ออธิบายสวนที่เปนรอยกรองเขาไปอีกครั้ง เมื่อพิจารณาจากภาษาศาสตรจะ


สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, (กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร พริ้นติ้งแอนดพับ
ลิชชิ่งจํากัด, ๒๕๔๗), หนา ความนํา (๙).

สมาคมธรรมประทีป, “คําถาม-คําตอบ”, วารสารบัวขาว, ๒๕๒๐ : ๔๒, อางในอนงค โกวิทเสถียรชัย,
“มนุษยในอุดมคติ : ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดในคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตรและงานเขียนเรื่องอุตมรัฐของเพลโต”,
วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต, (สาขาศาสนาเปรียบเทียบ : มหาวิทยาลัยมหิดล), ๒๕๔๑, หนา ๑๙.

Page 66 of 162
๕๒

เห็นวาโศลกหรือขอความที่เปนรอยกรองมีอายุเกากวา๑๐ และเปนที่ยอมรับกันวาภาษารอยแกว
ดูเหมือนจะเปนภาษาธรรมดาตื้นกวา อาจารยบางทานไดตั้งขอสังเกตวาโศลกสวนที่เปนรอยกรอง
ไมคอยไพเราะนัก บางครั้งดูขัดเขินราวกับวาผูเรียบเรียงมิไดมีความสันทัดในภาษาเดิมมากนัก
ทํ า ให ดู เ หมื อ นเป น งานที่ แ ต ง ขึ้ น ภายหลั ง ส ว นที่ เ ป น ร อ ยแก ว ในคํ า นํ า ของฉบั บ ภาษาจี น ของ
พระชญานคุปต เถระและพระธรรมคุ ปตเ ถระพ.ศ. ๑๑๔๔ ระบุไววา “คาถาที่ ๑๓๔ บทที่ ๒๑
และ ๒๕(ตรงกับบทที่ ๑๑, ๒๔ ฉบับภาษาอังกฤษ) ที่หายไปนั้น มีอาจารยผูฉลาดไดรจนาขึ้นใหมแทน”๑๑
ซึ่งในปจจุบันขอถกเถียงในเรื่องนี้ก็ยังหาขอยุติไมได

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ง. ระยะเวลาในการแตงคัมภีร

ศาสตราจารยเคิรนกลาววาคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตรฉบับเดิมเรียบเรียงเปนภาษา
สันสกฤตในประเทศอินเดียราว พ.ศ. ๖๐๐ มีฉบับที่สําคัญ ๒ ฉบับคือ ฉบับเดิมมี ๒๑ บท บทที่ ๑-๒๐
และบทที่ ๒๗ สวนฉบับหลังนั้นมีงานเพิ่มขึ้นอีก ๖ บท คือ บทที่ ๒๑-๒๖ งานที่เขียนเพิ่มเติม
ภายหลังนี้ กระทําในราว พ.ศ. ๘๕๐ หรือกอนนั้น จึงพอสรุปไดวา ฉบับเดิมควรมีอายุประมาณ
พ.ศ. ๖๐๐๑๒ เอช. นาคมูระ กลาววาคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตรนี้ไดรับการเรียบเรียงมาแลวหลายสมัย
อยางนอยถึง ๔ ครั้ง จึงเสร็จสมบูรณตกทอดมาถึงปจจุบัน ระยะเวลาเรียบเรียงประมาณกอน ค.ศ. ๑๐๐
(ราวพ.ศ. ๖๔๓) ในระยะแรก จึงแลวเสร็จสมบูรณประมาณ ค.ศ. ๑๕๐(ราวพ.ศ. ๖๙๓)๑๓

ในข อ ความที่ ก ล า วมาข า งต น สามารถสรุ ป ถึ ง ระยะเวลาของการแต ง คั ม ภี ร


สัทธรรมปุณฑรีกสูตรอยางแคบที่สุดไดวา อยูในชวงคริสตศตวรรษที่ ๑-๒(พุทธศตวรรษที่ ๖-๗)
และภาษาที่ใชในการแตงมีลักษณะที่ไมสม่ําเสมอจึงสันนิษฐานไดวาคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร
ไดรับการเรียบเรียงในหลายสมัย โดยนักปราชญทางพระพุทธศาสนาหลายทาน

๑๐
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ความนํา (๘).
๑๑
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ฉัตรสุมาลย กบิลสิงห, (กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,
๒๕๒๕), หนา ๒-๓.
๑๒
อางแลว.
๑๓
Nakamura, Indian Buddhism, p. 186., อางในสานิตย สีนาค, “การศึกษาเชิงวิเคราะหภาษาสันสกฤต
ในคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร ปริวรรตที่ ๑- ๕”, หนา ๓๐.

Page 67 of 162
๕๓

ตนฉบับของคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร ไดถูกคนพบหลายแหลงดวยกันจะเปนใน
ประเทศเนปาล อินเดียตอนเหนือและในเอเชียกลาง๑๔ ภายหลังจากที่ไดคนพบตนฉบับของคัมภีร
สัทธรรมปุณฑรีกสูตรในสถานที่ตางๆ ดังกลาวแลว จึงมีการรวบรวม ตรวจสอบ ชําระ และจัดพิมพ
ขึ้นในครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๑-๒๔๕๕โดยศาสตราจารยเคิรน(Kern) และศาสตราจารยนันจิโอ
(Nanjio) และหลังจากนั้น มีการตรวจสอบชําระอีก ๓ ครั้ง ครั้งลาสุดโดย ดร.พี. แอล. ไวทยะ (P.L.
Vaidya) เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๓๑๕

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ในป จ จุ บั น คั ม ภี ร สั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รได รั บ การแปลจากภาษาสั น สกฤต
ไปสู ภ าษาต า งประเทศอื่ น ๆ หลายภาษาทั้ ง ในทวี ป ยุ โ รปและเอเชี ย ในประเทศจี น คั ม ภี ร
สั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต ร ได รั บ การแปลจากภาษาสั น สกฤตเป น ภาษาจี น อย า งน อ ย ๖ ครั้ ง คื อ
พ.ศ. ๗๙๘, ๘๒๙, ๘๓๓, ๘๗๘, ๙๔๙ และ ๑๑๔๔ ตามลําดับ ปจจุบันคงเหลือเฉพาะฉบับที่ ๓
(พ.ศ. ๘๓๓) โดยทานธรรมรักษ(พ.ศ. ๗๗๖-๘๔๓) แตฉบับที่นิยมมากที่สุดคือฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๙๔๙)
ของทานกุมารชีพ ถือวามีความใกลเคียงกับตนฉบับมากที่สุด๑๖

ในประเทศไทยการแปลคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตรมีหลายสํานวน ที่แปลโดยสมบูรณ
นั้นมี ๓ สํานวน ดังนี้

๑. สัทธรรมปุณฑรีกสูตร สํานวนแปลจากฉบับภาษาอังกฤษของศาสตราจารยเคิรน
โดยภิกษุณีธัมมนันทา(ฉัตรสุมาลย กบิลสิงห) พิมพครั้งแรกในงานศพ พระมหาบุญมา มหาวีโร
พ.ศ. ๒๕๒๕

๒. สั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต ร สํ า นวนแปลจากฉบั บ ภาษาอั ง กฤษของเบอตั น วั ต สั น


โดยสมาคมสรางคุณคาในประเทศไทย พิมพครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๒

๓. สัทธรรมปุณฑรีกสูตร สํานวนแปลจากฉบับภาษาสันสกฤตของ พี. แอล. ไวทยะ


โดยชะเอม แกวคลาย พิมพครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๗

๑๔
สานิตย สีนาค, “การศึกษาเชิงวิเคราะหภาษาสันสกฤตในคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร ปริวรรตที่ ๑- ๕”,
หนา ๓๕-๓๖.
๑๕
P. L. Vaidya, sp, p. vii-viii, อางในสานิตย สีนาค, “การศึกษาเชิงวิเคราะหภาษาสันสกฤตในคัมภีร
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร ปริวรรตที่ ๑- ๕”, หนา ๓๗.
๑๖
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ฉัตรสุมาลย กบิลสิงห, หนา ๓.

Page 68 of 162
๕๔

ฉบับที่แปลไมสมบูรณ หรือไมตลอด หรือเลือกแปล มี ๓ สํานวน คือ

๑. สํานวนแปลจากตนฉบับภาษาสันสกฤต โดยอิงกับตนฉบับแปลเปนภาษาฮินดีของ
รามโมหัน ทาส โดย รองศาสตราจารย ดร.จําลอง สารพัดนึก แปลลงในนิตยสารพุทธจักร ตั้งแต
ฉบับเดือนกุมภาพันธ ๒๕๓๐ – ตุลาคม ๒๕๓๕ บทที่ ๑ ถึงบทที่ ๘ แตไมจบบท ก็เลิกเสียกอน

๒. สํา นวนแปลจากต นฉบั บ ภาษาจีน ของกุ ม ารชีว ะโดย ศัก ดิ์ สัณ ห โรจนแ สงรั ต น
ซึ่งเลือกแปลแตโศลกหรือคาถา โดยเรียบเรียงในรูปของรอยแกว พิมพครั้งแรก เมื่อ พ.ศ.๒๕๒๙

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๓. สํานวนแปลจากสัทธรรมปุณฑรีกสูตร ๓ ฉบับ คือ ๑) ฉบับภาษาสันสกฤตเปน
ภาษาอังกฤษโดยศาสตราจารยเอช. เคิรน ๒) ฉบับภาษาสันสกฤตเปนภาษาไทยโดย ดร.จําลอง
สารพัดนึก ๓) ฉบับภาษาอังกฤษเปนภาษาไทยโดยภิกษุณีธัมมนันทา(ฉัตรสุมาลย กบิลสิงห)
ของสานิ ต ย สี น าค ในงานวิ จั ย เรื่ อ ง การศึ ก ษาเชิ ง วิ เ คราะห ภ าษาสั น สกฤตในคั ม ภี ร สั ท ธรรม
ปุณฑรีกสูตร ปริวรรตที่ ๑-๕ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. ๒๕๔๕

๓.๒ เนื้อหาเกี่ยวกับกุศโลบายในพระสูตร

ในบทที่ ๒ ของคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตรที่ชื่อวาอุปายโกศลปริวรรต ไดกลาวถึง


เงื่อนไขที่ทําใหพระพุทธองคทรงใชกุศโลบายในการโปรดสรรพสัตวใหมุงไปสูพุทธภูมิ มีเนื้อหา
ที่สรุปไดดังตอไปนี้

เมื่อพระผูมีพระภาคไดทรงแสดงธรรมบรรยายที่ชื่อวา “มหานิรเทศ” ณ ภูเขาคิชฌกูฎ


จบแลว พระองคทรงเขาสมาธิที่เรียกวา “อนันตนิรเทศประดิษฐาน” หลังจากที่พระองคทรงออก
จากสมาธิแลว ไดตรัสกับทานศาริบุตรวา

ดู ก อ นศาริ บุ ต ร พุ ท ธญาณ เป น สิ่ ง ลึ ก ซึ้ ง เข า ใจยากและรู ย าก แม แ ต พ ระสาวกและ


พระปจเจกพุทธเจาทั้งปวงก็เขาใจยาก แตพระตถาคตเจาทั้งหลายไดรูแลว . . . การแสดงธรรม
ของพระตถาคตเจา ทั้ งหลายเปน สิ่ งที่เ ขา ใจไดย าก เพราะวา พระตถาคตเจ าทั้ ง หลายทรง
ประกาศธรรมทั้งหลายที่เปนเฉพาะพระองค เพื่อใหสัตวผูของอยูในสิ่งตางๆ หลุดพนไป
ดวยกุ ศโลบายต างๆ คือ ดวยญาณทัศนะ การแสดงเหตุ ผล อารมณ นิรุกติ และการทํา ให
เขาใจ๑๗

๑๗
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๑๙.

Page 69 of 162
๕๕

อธิบายวาพุทธญาณหรือพระปญญาหรือพระธรรมของพระพุ ทธเจ าที่ได ทรงตรัสรู


เปนสิ่งที่ลึกซึ้ง สุขุมคัมภีรภาพ ยากที่จะรูและเขาใจ แมกระทั่งบุคคล ๔ ประเภทนี้คือ ๑) ผูที่ไดรับ
การยกยองวาฉลาดยิ่งใหญเหนือใคร เชน พระศาริบุตรเปนตน ๒) พระปจเจกพุทธเจาตรัสรูไดดวย
ตนเอง ๓) ปวงพระโพธิสัตวผูเพิ่งตั้งปณิธานขอบรรลุโพธิญาณ ๔) ปวงพระโพธิสัตวผูปฏิบัติธรรม
ได ก า วหน า จนไม ถ อยกลั บ มาตกต่ํ า อี ก ก็ ไ ม ส ามารถที่ จ ะหยั่ ง รู ไ ด มี เ พี ย งพระพุ ท ธเจ า เท า นั้ น
ที่สามารถรูแ ละเขาใจได พระพุทธเจาไดใ ชกุศโลบายอันประเสริฐ กลาวธรรมหลากหลายวิ ธี
ก็เพื่อชวยปลดเปลื้องผูแสวงหาโพธิญาณ ใหหลุดพนจากอวิชชาและความทุกขทั้งปวง

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บริ ษั ทในที่ประชุ มตางก็ไ มเขาใจพระดํารัสครั้งนี้ของพระตถาคตเจ า พระศาริบุ ตร
มหาเถระจึงทู ลถามพระตถาคตเจาว า “ขา แต พ ระผูมีพ ระภาค อะไรเป น เหตุ เ ป น ปจ จัย ที่ ทําให
พระองคทรงสรรเสริญกุศโลบาย ญาณทัศนะ และการแสดงธรรม และพระดํารัสที่วาเราไดตรัสรู
ธรรมอันลึกซึ้ง และธรรมของพระตถาคตเปนสิ่งที่เขาใจยากยิ่ง ขอพระองคทรงโปรดชี้แจงสิ่งนั้น
ดวยเถิด” พระพุทธเจาตรัสตอบวา

ดูกอนศาริบุตร วาจาของพระตถาคตนั้น เขาใจไดยาก เพราะ เราไดประกาศธรรมดวย


กุศโลบายรอยพันอยาง ที่มีการชี้แจง อธิบาย และยกตัวอยางดวยศัพทตางๆ พระสัทธรรมนั้น
เปนตถาคตญาณ ไมเปนไปดวยเหตุและผลของตรรกะ . . . พระตถาคตเจาอุบัติขึ้นในโลกนี้
พึงกระทํามหากรณียกิจ คือนํามวลสัตวใหไดบรรลุพุทธภูมิ เราอาศัยยานเดียวเทานั้นแสดง
ธรรมแกสัตวทั้งหลาย ยานนี้ก็คือพุทธยาน ยานที่สองหรือที่สามใดๆ นั้นไมมี

และทรงเน น ย้ํ า ให เ ห็ น ว า ไม ว า พระพุ ท ธเจ า ทั้ ง หลายในอดี ต อนาคต ป จ จุ บั น และ
พระองคเองก็ตาม ไดแนะนําสั่งสอนสรรพสัตวใหเขาสูพุทธภูมิดวยพุทธยานเทานั้นวา

ดูกอนศาริบุตร พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาทั้งหลาย ในอนาคตกาล . . . ในอดีต


กาล . . . ในปจจุบันกาล . . . และแมเรา ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจารูอารมณตางๆ ของ
สัตวทั้งหลาย ผูมีความสนใจ มีอารณตางๆ กัน แสดงธรรมอยูดวยกุศโลบาย คือดวยอภินิหาร
ตางๆ การชี้แจง แสดงเหตุผลตางๆ และดวยการอธิบายที่มาของคํา เพื่อประโยชน เพื่อความสุข
และอนุเคราะหสรรพสัตว เราอาศัยเพียงยานเดียวแสดงธรรมแกสัตวทั้งหลาย นั่นคือพุทธยาน
ที่มีการรูสิ่งทั้งปวงเปนที่สุด กลาวคือตถาคตแสดงธรรมที่เปนเหตุใหไดรับญาณทัศนะของ
ตถาคต . . . ที่เปนเครื่องสอน . . . ที่เปนเครื่องเปดเผย . . . ที่เปนเหตุใหเขาใจ . . . ที่เปน
เครื่องชี้ทางแหงญาณทัศนะของตถาคตแกสัตวทั้งหลาย สัตวทั้งหลายหากไดฟงธรรมของเรา

Page 70 of 162
๕๖

ณ บัดนี้ จักไดบรรลุอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ ดูกอนศาริบุตร ไมมีการประกาศยานที่สอง ใน


โลกในโลกทั้งสิบทิศไมวาที่ใด ดังนั้นจะมีการประกาศยานทั้งสาม ณ ที่ใดเลา

จากนั้นพระตถาคตเจาไดแสดงเหตุแหงกุศโลบาย ที่ทรงแยกพุทธยานออกเปนยานทั้ง ๓ วา

ดูกอนศาริบุตร แมเมื่อใด พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาทั้งหลาย อุบัติขึ้นในกัลป


ที่หม นหมอง หรื อสรรพสัตวห มนหมอง หรือวาในสมัย ที่มีความหมนหมองเพราะกิเลส
หมนหมองเพราะทิฎฐิ หมนหมองเพราะอายุ ดูกอนศาริบุตร เมื่อสัตวทั้งหลายจํานวนมาก

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ผูมีกุศลมูลเพียงเล็กนอย เดือดรอนใจและหมนหมอง ดูกอนศาริบุตรเมื่อนั้น พระตถาคต
อรหันตสัมมาสัมพุทธเจาทั้งหลาย ยอมแสดงพุทธยานเพียงหนึ่งเดียว โดยแยกเปน ๓ ยาน
ดวยกุโลบายที่ฉลาด . . .

ที่กลาวมาขางตนนั้นสามารถสรุปประเด็นหลักของการใชกุศโลบายของพระตถาคตเจา
ทั้งหลายไดเปน ๒ ประเด็นคือ

๑. เปาหมายเพียงประการเดียวในการแสดงพระธรรม โดยการใชกุศโลบายของพระตถาคต
ก็เพื่อใหสรรพสัตวนั้นไดบรรลุพุทธภาวะ เนื่องดวยพระมหากรุณาที่เห็นมวลสัตวตองทนทุกข
ทรมานอยูในวัฏฏสงสาร เมื่อพระองคไดตรัสรูพุทธธรรมแลว ก็ทรงนําพาสัตวเหลานั้นใหดํารงอยูใน
พุ ทธธรรมเช นเดี ยวกั บพระองค ด วย๑๘ และพุ ทธธรรมอั นลึ กซึ้ งที่ พระตถาคตได ตรั สรู นั้ นมี เพี ยง
พระตถาคตเจ าเช นเดี ยวกั นเท านั้ นที่ จะเข าใจได แม กระทั่ งพระอริ ยสาวก พระป จเจกพุ ทธเจ า และ
พระโพธิสัตวทั้งหลายก็ไมอาจที่จะเขาใจและหยั่งถึงในธรรมที่พระตถาคตตรัสรูได ดังนั้นเหตุผลใน
การใชกุศโลบายในการแสดงธรรมประการแรกคือ มีจุดมุงหมายที่จะนําพาสรรพสัตวเขาสูพุทธภูมิ

๒. โลกยุคแหงความเสื่อม ๕ ประการ คือ ๑) ความเสื่อมแหงกัลป ๒) ความเสื่อมแหงสรรพสัตว


๓) ความเสื่อมเพราะกิเลส ๔) ความเสื่อมเพราะทิฎฐิ ๕) ความเสื่อมเพราะอายุ โลกในยุคนีส้ รรพสัตว
ถูกอวิชชาหอหุมอยางมืดมิด ละเลยการกุศล มุงแตสรางอกุศล อีกทั้งเหลาสัตวมีความแตกตางกันไป
ทั้งทางดานปญญา และอุปนิสัย พุทธญาณที่ดีเลิศซึ่งหากไปสอนตรงๆ ก็ยากเกินไปที่สรรพสัตว
จะเขาใจได ดังนั้นพระตถาคตเจาจึงคอยๆ นําสรรพสัตวใหไปสูพุทธธรรม โดยการใชกุศโลบาย
สอนพุทธยานใหเปน ๓ ยาน คือ สาวกยาน ปจเจกพุทธยาน และโพธิสัตวยาน

๑๘
เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๙.

Page 71 of 162
๕๗

๓.๒.๑ กุศโลบายโดยการแสดงยาน ๓ (ตรียาน)

สั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รได ก ล า วถึ ง พระพุ ท ธองค ท รงปรารถที่ จ ะแสดงโพธิ ญ าณ


โดยแบงเปน ยาน ๓ ไววา

เมื่อครั้งที่พระองคทรงไดตรัสรูอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณทรงพิจารณาเห็นวาสรรพสัตว
เปนผูมีจิตใจต่ํา เต็มไปดวยอวิชชา ติดอยูในกามคุณทั้งหลาย ยากที่จะเขาใจพุทธธรรมอัน
มหัศจรรยและประเสริฐสุด ทรงมีพระทัยนอมไปที่จะไมทรงแสดงพระธรรม แตเมื่อทรง

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ระลึกถึงพระพุทธเจาทั้งหลายในอดีต ไดเห็นกุศโลบายของพระพุทธเจาทั้งหลาย จึงทรงมี
พระดําริวาจะแสดงพุทธโพธิญาณ โดยแบงเปน ๓ ภาค . . .

และพระพุทธเจาไดทรงแสดงเหตุของการแบงยานออกเปน ๓ วา

แมเมื่อใดพระตถาคตเจาทั้งหลายอุบัติขึ้นในกัลปที่หมนหมอง หรือสรรพสัตวหมนหมอง
หรื อ ความหม น หมองเพราะกิ เ ลส หม น หมองเพราะทิฏ ฐิ หม น หมองเพราะอายุ เมื่ อ นั้ น
พระตถาคตเจาทั้งหลาย ยอมแสดงพุทธยานเพียงหนึ่งเดียว โดยแยกเปน ๓ ยาน ดวยกุศโลบาย
ที่ฉลาด

อธิ บ ายว า ในโลกยุ ค แห ง ความเสื่ อ มทั้ ง ห า มวลสั ต ว ถู ก ป ด บั ง ด ว ยอวิ ช ชาโง เ ขลา
เบาปญญา ลุมหลงติดอยูในกามทั้งหลาย ยอมไมคิดถึงหนทางแหงการตรัสรู ถาหากวาพระพุทธเจา
ทรงประกาศพุ ทธยานเลย สรรพสั ตวทั้งหลายที่ไ มมีความรู และมีอุปนิสัย ต่ําทราม จะไมเ ชื่อ
คําพยากรณที่วาจะไดเปนพระพุทธเจาในอนาคต จะหันหลังใหกับคําสอน ยอมพบแตความเสื่อม
ไมหลุดพนไปจากความทุกขทรมานได และพระพุทธเจาทรงทราบถึงอัธยาศัย จริต ความคิด และ
ผลของกรรมในอดีตของเหลาสรรพสัตวที่แตกตางกันไป จึงทรงแสดงยาน ๓ คือ (๑) สาวกยาน
(๒) ปจเจกพุทธยาน (๓) โพธิสัตวยาน ทั้งนี้ก็เพื่อฟอก จิตใจ อุปนิสัย คุณธรรมและปญญาของ
สรรพสัตวใหสูงขึ้น เมื่อเหลาสัตวมีพื้นฐานแหงการตรัสรูแลวพระพุทธเจาจึงทรงประกาศพุทธยาน
อันเปนเปาหมายหนึ่งเดียวใหปรากฏ เพื่อนําพาสรรพสัตวใหเขาถึงพุทธญาณ นี้เปนหลักการที่
เรียกวา “การเปดสามยานเพื่อใหเห็นเอกยาน”๑๙ อันเปนกุศโลบายอันเยี่ยมยอดของพระตถาคตเจา
ในการนําพามวลสัตวใหหลุดพนจากความทุกขทั้งปวง และเพื่อใหเหลาสาวกผูยังมีความเคลือบแคลง
สงสัยอยูใหเขาใจ พระพุทธเจาไดตรัสเลานิทานเปรียบเทียบเรื่องบานไฟไหม

๑๙
สุรพล เพชรศร, สาระสําคัญแหงสัทธรรมปุณฑริกสูตร ฉบับภาษาจีนของพระกุมารชีวะ,
(กรุงเทพฯ : บริษัทเคล็ดไทยจํากัด, ๒๕๔๓), หนา ๑๙.

Page 72 of 162
๕๘

๓.๒.๒ กุศโลบายโดยการแสดงนิพพาน ๒ ขั้น

นิพพานถือเปนจุดหมายแหงพระพุทธศาสนา เปนภาวะแหงความหลุดพนและความดับ
สนิทจากทุกขทั้งปวง คัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตรกลาววาเมื่อพระตถาคตไดทรงแสดงพุทธธรรม
ด ว ยกุ ศ โลบายโดยแยกเป น ๓ ยาน ท า นพระมหากาศยปะ(พระมหากั ส สปะ)ได ก ราบทู ล ถาม
พระตถาคตเจาวา “สัตวทั้งหลายผูมีความประพฤติตางกัน (ที่ปฏิบัติตามคําสอนของยานทั้ง ๓)
พนจากโลกทั้งสามแลว เขาทั้งหลายจะมีหนึ่งนิพพาน สองนิพพาน หรือสามนิพพาน” พระตถาคต

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ไดตรัสวา “ดูกอนกาศยปะ นิพพานคือความเสมอภาคแหงธรรมทั้งปวง ในพระโพธิญาณ ฉะนั้น
นิพพานจึงมีเพียงหนึ่งเทานั้น ไมมีสอง สามนิพพาน”๒๐

อธิบายวาเหลาพระอริยสาวกและพระปจเจกพุทธที่บรรลุนิพพานแลวนั้น ฝายมหายาน
ถือวายังเขาไมถึงนิพพาน เพราะการเขาถึงนิพพานของมหายานนั้นเปนการรูแจงธรรมทั้งปวงดวย
พระโพธิญาณตรัสรูเปนพระพุทธเจา ดังพระดํารัสที่ตรัสกับพระมหากาศยปะวา

พระสาวกผูพนแลวจากโลกทั้ง ๓ คิดวาไดบรรลุนิพพานแลว ในเรื่องนี้พระตถาคตได


กล า วไว อย า งชัด เจนว า นั่น ไม เ รี ย กวา นิพ พาน แต เ พราะการตรั สรู ธ รรมทั้ง ปวงต า งหาก
จึงบรรลุนิพพานที่เปนอมตะ . . . พระสาวกทั้งหลายสําคัญวา ตนไดบรรลุพระนิพพานแลว
แต พ ระชิ น พุ ท ธเจ า ได ต รั ส กะพระสาวกเหล า นั้ น ว า นี่ เ ป น ความสงบระดั บ หนึ่ ง เท า นั้ น
ไมใชพระนิพพาน

พระนิพพานที่เหลาพระสาวกเขาใจนั้น ลวนเปนกุศโลบายในการสั่งสอนสรรพสัตว
ใหเขาถึงพุทธธรรมของพระพุทธองค ดังที่พระตถาคตไดตรัสกับเหลาพระภิกษุวา

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ในโลกนี้ยาน หรือปรินิพพานที่สองไมมี จะปวยกลาวไปใยถึงยาน


หรือนิพพานที่ ๓ เลา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย นี่คือ กุศโลบายของพระตถาคตอรหันตสัมมา
สัมพุทธเจา ตถาคตทราบวาสัตวทั้งหลายยังทําลายกิเลสไมได ฉะนั้น จึงบอกนิพพานที่พวก
เขาติดของอยูกับพวกเขาที่ยินดีสิ่งต่ําชา ทั้งยังจมอยูในเปอกตมคือกาม

และเพื่อ ให พ ระสาวกเข า ใจได งา ย พระตถาคตเจ า ก็ไ ด ตรั สนิ ท านเพื่ อเปรี ย บเที ย บ
เรื่องเมืองมายา

๒๐
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๗๙.

Page 73 of 162
๕๙

๓.๒.๓ กุศโลบายโดยแสดงการเสด็จดับขันธปรินิพพาน

ในบทที่ ๑๔ ของคั ม ภี ร สั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต ร ได ก ล า วถึ ง ความงวยงงของบรรดา


พระโพธิสัตวทั้งหลาย อันมีพระไมเตรยโพธิสัตวมหาสัตวเปนประธาน ในเรื่องการปรากฏกาย
ของบรรดาพระโพธิ สั ต ว ที่ ผุ ด ขึ้ น จากแผ น ดิ น ที่ ไ ม ส ามารถคํ า นวณจํ า นวนได จึ ง ได ทู ล ถาม
พระพุทธเจาวา พระผูมีพระภาคเจาไดสั่งสอนอบรมพระโพธิสัตวจํานวนมหาศาลเหลานี้ ใหถึง
พรอมในอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ ดวยการใชเวลาสั่งสอนหลังจากที่ทรงตรัสรูแลวประมาณ ๔๐

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
กวาปนี้ไดอยางไร ซึ่งเปรียบเหมือนคนอายุ ๒๕ ป ไดกลาววา คนซึ่งมีอายุ ๑๐๐ ปนี้เปนลูกของเขา
และคนอายุ ๑๐๐ ปก็กลาววาคนอายุ ๒๕ ปนี้ ก็เปนพอของเขาเชนกัน ซึ่งมันไมนา เปนไปได ไมนา เชือ่
และนาสงสัย พระผูมีพระภาคเจาตรัสตอบคําถามของปวงพระโพธิสัตว เพื่อใหเหลาพระโพธิสัตว
คลายความสงสัยวา

ปวงสัตวทั้งหลายอยาไดคิดวาพระตถาคตศากยมุนี ผูเสด็จออกจากศากยสกุล ไดทรงผนวช


และได ต รั ส รู ที่ค วงไม โ พธิ์ ณ พุ ท ธคยาได ไ ม น าน ซึ่ ง แท ที่จ ริ ง แล ว พระตถาคตได ต รั ส รู
อนุ ต ตสั ม มาสั ม โพธิ ญ าณมาแล ว เปน เวลาร อ ยพั น หมื่ น โกฏิ กั ล ป มีพ ระชนมายุ ไ ม จํา กั ด
ทรงดํารงอยูตลอดกาล และพระตถาคตยังไมเสด็จดับขันธปรินิพพาน แตประกาศการปรินิพพาน

สิ่งเหลานี้ลวนเปนกุศโลบายของพระตถาคตเจาที่กระตุนใหสรรพสัตวเกิดความเพียร
ในการศึกษาพุทธธรรมของพระองคโดยความไมประมาท ดังที่พระพุทธองคไดตรัสวา

ดูกอนกุลบุตรทั้งหลาย บัดนี้เรายังไมปรินิพพาน แตจักประกาศการปรินิพพาน เพราะ สัตว


ทั้งหลายผูไมไดสรางกุศลมูล ผูงดเวนจากการทํากุศล เปนผูทุกขยาก มีความโลภในกามคุณ
เปนผูมืดบอด ถูกครอบงําดวยตาขายแหงทิฎฐิ ทราบวา พระตถาคตยังดํารงอยู แลวปฏิบัติ
พระโพธิญาณเพื่อความสนุกสนาน ไมยังพระโพธิญาณที่ไดโดยยากนั้นใหเกิดขึ้น ดวยคิดวา
เราอยูใกลชิดพระตถาคตแลว เขาทั้งหลายจึงไมปรารภความเพียร เพื่อสลัดออกจากโลกธาตุ
ทั้งสาม ไมยังความรูที่ไดโดยยากจากพระตถาคตใหเกิดขึ้น

เมื่อพระพุทธองคตรัสแลวจึงทรงแสดงนิทานเปรียบเทียบเรื่องลูกชายของหมอ

๓.๓ รูปแบบและวิธีการตางๆ ในการใชกุศโลบายในพระสูตร

รูปแบบของการใช กุ ศโลบายในการสอนของพระพุ ทธเจาที่ ปรากฏอยูใ นสัทธรรม


ปุณฑรีกสูตร เราจะเห็นไดจากพุทธพจนที่พระองคแสดงไวในพระสูตร ดังตอไปนี้

Page 74 of 162
๖๐

พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาทั้งหลาย ทรงประกาศธรรมทั้งหลายที่เปนเฉพาะ
พระองค เพื่อใหสัตว ผูของอยูในสิ่งตางๆ หลุดพนไปดวยกุศโลบายตางๆ คือ ดวยญาณทัศนะ
การแสดงเหตุผล อารมณ นิรุกติ และการทําใหเขาใจ . . .

ดูกอนศาริบุตร เราไดประกาศธรรมดวยกุศโลบายรอย พันอยาง ที่มีการชี้แจง อธิบาย และ


ยกตัวอยางดวยศัพทตางๆ . . .

ดูกอนศาริบุตร พระผูมีพระภาคทั้งหลายเหลาใด ทรงทราบอารมณตางๆ ของสัตวทั้งหลาย

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ผูมีความสนใจ มีอารมณตางๆ กัน ไดทรงแสดงธรรมดวยกุศโลบาย คือ ดวยอภินิหารตางๆ
การชี้แจงแสดงเหตุผลตางๆ และดวยการอธิบายที่มาของคํา . . .

ดูกอนศาริบุตร . . . เรา(ตถาคต) รูอัธยาศัยจริตและความนอมนึกแหงจิตตางๆ กันของสัตว


จํานวนหลายโกฏิ เราจึ งแสดงธรรมแก สั ต ว เ หล า นั้น ด ว ยการอธิ บ ายเหตุ ผ ลต า งๆ การยก
อุทาหรณหลายรอยอยางใหเห็น . . . เรา(ตถาคต) จะตรัส สูตร คาถา อิติวฤตตกะ ชาตกะ
อัทภูตะ เคยะ อุปเทศะ พรอมดวยนิทานและอุปมาหลายรอยอยางตางๆ กัน . . .

พระพุทธเจาทั้งหลายที่เปนผูนํา ยอมชี้อุทาหรณเหตุและผลมากมาย ดวยกําลังแหงพระญาณ


พระองคทรงทราบวาสัตวทั้งหลายมีอุปนิสัยตางๆ กันแลว จึงแสดงอภินิหารตางๆ

จากพุทธพจนขางตน จะเห็นรูปแบบของกุศโลบายในการสอนที่พระพุทธองคตรัสถึง
สามารถจะสรุปเปนรูปแบบตางๆ ไดคือ กุศโลบายในรูปแบบของการใชญาณทัศนะ การอธิบาย
เหตุผลตางๆ การยกตัวอยาง การยกอุทาหรณ การแสดงอภินิหาร การใชนิทานและการอุปมาอุปไมย
ซึ่งนิกเกียว นิวาโน ไดกลาวถึงวิธีการสอนของพระพุทธเจาวามี ๓ แบบ คือ

๑) วิธีทางทฤษฎีหรือการสอนแบบวิชาการ หากผูฟงเขาใจคําสอนของพระองคไดยาก
พระองคก็จะทรงใชการสอน แบบที่ ๒) การสอนดวยการยกนิทานเปรียบเทียบ ซึ่งผูฟงจะมองเห็น
ภาพทําใหเขาใจไดงายขึ้น และถาหากผูฟงยังไมสามารถจับเอาความหมายที่แทจริงของคําสอนได
พระองคจะทรงใชวิธีที่ ๓) การสอนโดยชี้ใหเห็นถึงความสัมพันธกันระหวางเหตุและผล เปนการ
ยกประวัติชีวิตของพระพุทธเจาในอดีตขึ้นแสดง สัทธรรมปุณฑรีกสูตรไดใชวิธีการสอนทั้ง ๓ แบบ
เพื่อใหคนทุกระดับสามารถเขาใจในคําสอนได๒๑

๒๑
Nikkyo Niwano, Buddhism for Today, (New York : Weatherhill, 1980), p. 93.

Page 75 of 162
๖๑

ดังนั้นเราสามารถจับมาจัดเรียบเรียงใหมใหเขาหมูจะไดเปน ๓ รูปแบบดวยกัน คือ


๑) รูปแบบทั่วไป ๒) รูปแบบการใชอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย ๓) รูปแบบที่เปนความลึกลับมหัศจรรย
ดังมีรายละเอียดตอไปนี้

๓.๓.๑ รูปแบบทั่วไป

รูปแบบนี้มีอยูทั่วไปในสัทธรรมปุณฑรีกสูตร เปนการอธิบายธรรมะดวยการใชเครื่องมือ
เปนสื่อในการทําใหเขาใจธรรมะไดแจมชัดและงายยิ่งขึ้น ดังขอความที่พระพุทธเจาทรงตรัสกับ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระศาริบุตรวา “ดูกอนศาริบุตร เพื่อกระทําความขอนี้ใหแจมแจงขึ้น เราจะเปรียบเทียบใหทานฟง
เพราะวาดวยการเปรียบเทียบ คนที่มีความรูดียอมเขาใจเนื้อหาของคําที่เรากลาวนั้นไดดี”๒๒ ไดซาขุ
อิ เ คดะ กล า วว า ในพระสู ต รของพุ ท ธศาสนาเต็ ม ไปด ว ยอุ ป มาอุ ป ไมยและนิ ท านเปรี ย บเที ย บ
ซึ่ ง ก็ เ พื่ อ ที่ จ ะทํ า ให ป ระชาชนสามารถเข า ใจคํ า สอนที่ ลึ ก ซึ้ ง ของพระพุ ท ธได แ ละพร อ มที่ จ ะ
เข า ถึ ง ได ง า ย ๒๓ รู ป แบบทั่ ว ไปนี้ แ บ ง ออกเป น ๔ ลั ก ษณะด ว ยกั น คื อ นิ ท านเปรี ย บเที ย บ
อุปมาอุปไมย ยกอุทาหรณ และการแสดงเหตุผล

ก. นิทานเปรียบเทียบ

ในสั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รมี นิ ท านเปรี ย บเที ย บทั้ ง หมดอยู ๗ เรื่ อ ง เป น เรื่ อ งที่
พระพุทธเจาทรงยกขึ้นแสดงเพื่อประกอบการอธิบายธรรมะเองเกือบทั้งหมด มีเหลาพระสาวก
ยกขึ้นแสดง เพื่ออธิบายความเขาใจของพวกตนเพียง ๒ เรื่อง คือ เรื่องลูกผูนาสงสาร และเพชรในผา
นิทานเปรียบเทียบนี้ชวยใหเขาใจเนื้อหาไดงายและชัดเจน ชวยใหจําแมนยํา เห็นจริง และเกิดความ
เพลิดเพลิน นิทานทั้ง ๗ เรื่องดังมีรายละเอียดดังนี้

๑. เรื่องบานไฟไหม

เป น นิ ท านเรื่ อ งแรกในสั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รที่ พ ระพุ ท ธเจ า ทรงแสดงแก เ หล า
พระสาวกที่ยังสงสัยและไมเขาใจวาธรรมะที่พระพุทธเจาทรงแสดงนั้นแทที่จริงแลวมีพุทธประสงค
ที่จะนําพาเหลาสรรพสัตวไปสูพุทธภูมิเทานั้น นั่นคือพุทธยาน แตดวยความแตกตางของเหลาสัตว
พระพุทธเจาจึงทรงใชกุศโลบายดวยการแสดงยานทั้ง ๓ ดังมีรายละเอียดสรุปไดดังนี้

๒๒
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๔๖.
๒๓
ไดซาขุ อิเคดะ, บรรยายสัทธรรมปุณฑรีกสูตร บทกุศโลบายและบทการหยั่งอายุกาลของพระตถาคต,
แปลโดย สมาคมสรางคุณคาในประเทศไทย, (กรุงเทพฯ : สมาคมสรางคุณคาในประเทศไทย, ๒๕๔๓), หนา ๑๐๔-๑๐๕.

Page 76 of 162
๖๒

มี ค หบดี ช ราคนหนึ่ ง อาศั ย อยู ใ นเมื อ งแห ง หนึ่ ง บ า นของคหบดี เ ป น คฤหาสน


กวางขวางใหญโตมากมีประตูเขาออกเพียงประตูเดียว คฤหาสนหลังนี้เกาแกและก็ทรุดโทรม
เกือบจะพังอยูแลว กับทั้งสกปรกมีกลิ่นเหม็นและเต็มไปดวยสัตวราย ภูตผีปศาจรายนานาชนิด
วันหนึ่งคหบดีชราคนนี้ออกไปธุระนอกบาน เมื่อกลับมาไดเห็นไฟกําลังไหมคฤหาสนของตน
คหบดีผูชรานี้มีบุตรอยูในบานหลายคนกําลังเพลิดเพลินอยูกับการละเลนตางๆ ไมไดสนใจหรือรูวา
บานกําลังถูกไฟไหม คหบดีเมื่อเห็นไฟไหมบานก็ตกใจมาก ตอนแรกคิดที่จะนําเอาลูกๆ ออกจาก
บานดวยกําลังของตนเอง แตเพราะบานมีเพียงประตูเดียว เขากลัววาจะมีลูกหลงเหลือตกเปนเหยื่อ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ของไฟ เขาจึงรองตะโกนบอกใหลูกๆ รีบหนีไฟออกมาจากบานเร็วๆ แตลูกๆ ไมเขาใจวา “ไฟ”
คืออะไร คหบดีรูวาลูกๆ ชอบของเลนโดยเฉพาะของเลนที่หาไดยาก เขาจึงใชกุศโลบายใชของเลน
มาลอใหลูกๆ ออกจากบานไฟไหม โดยรองบอกกับลูกๆ วา ขางนอกบานหนาประตูมีของเลนเปน
รถสามชนิดที่พวกเขาชื่นชอบและอยากได คือ รถเทียมโค รถเทียมแพะ รถเทียมกวาง พอไดยิน
ดังนี้พวกลูกๆ ตางแยงกันออกมาจากบานทางประตูในทันทีเพื่อที่จะไดของเลนที่ตองการ

คหบดีชรามีความสุขมากที่ทําใหลูกๆ พนจากอันตรายออกจากบานที่ไฟไหม ลูกๆ


เมื่อออกมาแลวตางเรียกรองใหบิดามอบของใหตามที่สัญญาไว บางขอรถเทียมกวาง บางขอรถ
เทียมแพะ บางขอรถเทียมโค แตบิดาไดมอบรถคันใหญประดับดวยวัตถุมีคาเจ็ดชนิดอันสวยงาม
และเทียมดวยโคขาวใหญพวงพีและแข็งแรงใหกับลูกๆ ทุกคนแทนรถทั้ง ๓ ชนิด

พระพุทธเจาไดทรงอธิบายเปรียบเทียบใหเห็นวา คหบดีชราผูนั้นที่อยูในฐานะที่เปน
บิดาจึงเปนเหมือนพระพุทธเจา เหลาบุตรของคหบดีเปรียบเหมือนสรรพสัตวที่ถูกอวิชชาครอบงํา
คฤหาสนที่เกาผุพัง และมีอันตราย คือ ไตรโลกหรือสภาพจิตใจมนุษยที่มีความทุกขอยูในโลกที่มีแต
อันตราย ไฟที่ลุกไหมในคฤหาสนนั้นเปรียบไดกับทุกขตางๆ ของมนุษยไดแกความแก ความเจ็บ
และความตาย ซึ่งเหลาสัตวมัวหลงดื่มด่ําอยูกับกามคุณจึงไมรูวาความทุกขเหลานี้กําลังจะเกิดขึ้น
พระพุทธเจาไดทรงพิจารณาถึงการชวยลูกๆ ของพระองคที่ตกอยูกลางกองไฟดวยการใชอิทธิฤทธิ์
เหลาสัตว ก็จะพลาดไปจากความหลุดพนที่พระองคประสงค พระพุทธเจาจึงทรงใชกุศโลบาย
วาจะใหรถทั้ง ๓ ชนิดที่ลูกๆ ชื่นชอบ ลูกๆ ไดยินดังนั้นตางก็วิ่งกรูออกมาจากคฤหาสน และไดขอ
รถทั้ง ๓ ชนิดกับคหบดี แทนที่คหบดีจะใหรถทั้ง ๓ ชนิดกับลูกๆ กับใหรถชนิดที่ยอดเยี่ยมกวา คือ
รถที่ประดับดวยรัตนะทั้ง ๗ อันเทียมดวยโคขาวแทน ซึ่งลูกๆ ก็ดีใจและถูกใจ รถเทียมดวยกวาง

Page 77 of 162
๖๓

หมายถึงสาวกยาน รถเทียมดวยแพะหมายถึงปจเจกพุทธยาน รถเทียมดวยโคหมายถึงโพธิสัตวยาน


และรถเทียมดวยโคขาวหมายถึงพุทธยาน๒๔

นิ กเกี ยว นิ วาโนได อธิ บายว า การที่ ลู กๆ วิ่ งกรู ออกจากบ านที่ กํ าลั งถู กไฟไหม นั้ น
หมายความวาเขากําลังแสวงหาคําสอนของพระพุทธเจา เมื่อใดสรรพสัตวขจัดอวิชชาออกไปจากใจ
ของเขาได เมื่อนั้นเขาก็พนไปจากบานที่กําลังถูกไฟไหม คือความทุกขในโลกนี้ได แตอยางไรก็ตาม
พวกเขาก็ยังไมไดคิดถึงการถูกชวยเหลือใหรอดพนจากบานที่ไฟไหมกันเลย ใจของเขาแคคิดอยากได

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
รถคันโปรดสักคันในบรรดารถทั้ง ๓ คัน ครั้นแลวเขาทูลขอรถจากพระพุทธเจาซึ่งหมายถึงการขอให
ตนบรรลุ ธรรม โดยที่ไมมีใครคาดถึงพวกเขาไดเห็นคําสอนอันสูงสงที่อยูเหนือยานทั้ง ๓ นั้น คือ
การรูแจงพุทธยานอันเอก ซึ่งเปรียบเหมือนรถเทียมดวยโคขาวอันพวงพีและแข็งแรง ซึ่งความจริงแลว
พระพุทธเจาทรงมีพระประสงคจะประทานรถเทียมดวยโคขาวนี้แกสรรพสัตวทุกถวนหนา ดังนั้น
พระองคจึงทรงประทานสิ่งเดียวกันนี้โดยถวนหนาและเทาเทียมกัน๒๕

๒. ลูกผูหนาสงสาร

เป น นิ ท านที่ เ หล า พระมหาสาวก ๔ รู ป ได แ ก พ ระสุ ภู ติ พระมหากาตยายนะ


(พระมหากัจจายนะ) พระมหากาศยปะ(พระมหากัสสปะ) พระมหาเมาทคัลยานะ(พระมหาโมคคัลลานะ)
ไดยกขึ้นแสดงแกพระพุทธเจา ที่สะทอนใหเห็นถึงความศรัทธาและความเขาใจในพระประสงคของ
พระพุทธเจาที่ทรงแสดงธรรม เพื่อนําพาสรรพสัตวไปสูพุทธยานอยางเทาเทียมกัน มีรายละเอียด
สรุปไดดังนี้

บุรุษผูหนึ่งที่จากบิดาไปสูชนบทอื่น เปนเวลาหลายสิบป เขาเปนคนยากจน เที่ยวออก


หางานทําไปทั่วทุกสารทิศ เพื่อหาเงินมาเลี้ยงชีพ สวนบิดาของเขาก็ไดยายไปอยูหมูบานอื่นสรางฐานะ
จนร่ํารวย เปนเศรษฐี มีขาทาสบริวารเปนจํานวนมาก

บุรุษผูยากจนไดเที่ยวหางานไปตามหมูบานตางๆ จนถึงหนาบานบิดาของเขาโดย
บั ง เอิ ญ ไดเ ห็ น คหบดี ผูเปนบิ ดานั้น นั่ ง สง า งามอยู บ นเกา อี้ ที่ใ หญ โ ต สวยงาม มี พ วกพราหมณ
กษัตริย แพศย และศูทรหมูใหญแวดลอมอยู ดูดุจดังพระราชาหรือขุนนางผูใหญก็ไมปาน ก็ตกใจ
กลัวจึงรีบเดินหนีไปทันที คหบดีเห็นบุรุษนั้นก็จําไดทันทีวาเปนบุตรของตนก็ดีใจ จึงใหคนรับใชไป
นําตัวบุรุษ ผูยากจนนั้นมาพบตน แตดวยความกลัวบุรุษผูยากจนจึงเปนลมสลบไป เมื่อฟนขึ้นมา

๒๔
ดูรายละเอียดใน สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๔๖-๕๑.
๒๕
Nikkyo Niwano, Buddhism for Today, pp. 58-59.

Page 78 of 162
๖๔

คหบดีก็ไมไดบอกความจริงวาเปนบุตรของตน คหบดีตองการที่จะใหบุตรนั้นอยูใกลกับตน จึงไดใช


กุศโลบายวาจางใหบุตรนั้นมาทํางานกวาดขยะอยูในบาน และใหอาศัยอยูในกระทอมเล็กๆ ใกลบาน
ของคหบดี

วันหนึ่งคหบดีมองเห็นลูกชายกําลังกวาดขยะอยู ก็เปลี่ยนเครื่องแตงตัว สวมใสเสื้อผา


เกาๆ ขาดๆ แลวเขาไปหาบุตรแลวกลาววา เธอประพฤติตัวดี ไมคดโกง ไมยโสโอหัง ไมสะสม ฉันคิด
วาเธอเปนเหมือนลูกชายของฉัน บุรุษผูยากจนนั้นไดทํางานกวาดขยะอยูถึง ๒๐ ปและสามารถเขาออก

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ภายในบานคหบดีไดอยางสะดวกสบายแตเขาก็ยังพักอาศัยอยูในกระทอมเล็กๆ นั่นเอง

ตอมาคหบดีไดลมปวย จึงไดเรียกบุตรมาแลวกลาววาไมสบายมากทรัพยสินทั้งหมด
ตองการจะใหบุตรรักษาทรัพยสินนี้ไว บุตรนั้นก็รับเอาทรัพยสมบัติของคหบดีนั้นไว แตตัวไม
สนใจกับทรัพยสมบัติเลย คิดวาตนเองยังเปนคนยากไรอยู คหบดีเห็นวาบุตรของตนนั้นสามารถ
เก็บรักษาทรัพยสมบัติไวได และตนคงไมพนความตายแน จึงไดประกาศวา บุรุษผูยากจนคนนี้คือ
ลูกชายของตน ทรัพยสมบัติทั้งหมดขอมอบใหแกลูกชาย เมื่อไดยินดังนั้นบุรุษผูยากจนนั้นรูสึก
ตกใจ และไมคิดวาตนเองจะไดทรัพยสมบัติมากมายเชนนี้

เหล า พระมหาสาวกทั้ ง ๔ ได เ ปรี ย บเที ย บนิ ท านนี้ ว า คหบดี ก็ คื อ พระพุ ท ธเจ า
และพวกทานก็คือบุรุษผูยากจน เพราะเหตุแหงความทุกข ทามกลางความความเกิดและความตาย
จึงพอใจและยินดีอยูในธรรมเล็กนอยที่เปรียบเหมือนทํางานกวาดขยะ จนไดบรรลุนิพพานที่เปรียบ
เหมือนคาจางวันเดียว ก็มีความพอใจ ถือวาเพียงพอและยิ่งใหญแลว จึงไมปรารถนาที่จะใฝหา
ตถาคตญาณ ในอดีตชาติพระมหาสาวกทั้ง ๔ รูปนี้ลวนเปนทายาทแหงตถาคตญาณ หากไมไปยึดติด
กับหลักธรรมเล็กนอยและหากมีจิตคิดอยากไดสิ่งที่ยิ่งใหญแลว พระพุทธเจาจะทรงมอบตถาคตญาณ
ใหนานแลว เมื่อพระพุทธองคทรงทราบความนึกคิดของพระมหาสาวกทั้ง ๔ แลวทรงแสดงญาณ
ของพระโพธิสัตวแกพระมหาสาวกทั้ง ๔ ใหไดรับรัตนะคือความรูทุกอยาง(โพธิญาณ) ที่ไมได
หวังไว ไมไดแสวงหา ไมไดปรารถนาและไมไดคิดไว อยางคาดไมถึง๒๖

สุรพล เพชรศรไดตีความนิทานเรื่องนี้วา คหบดีคือพระพุทธเจาที่อยากมอบสมบัติ


คือ พระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณใหแกสรรพสัตว ลูกที่ยากจน คือ มนุษยปุถุชนที่ยังคงเวียนวายใน
วังวนแหงความทุกข โดยไมรูวามีธรรมชาติแหงพุทธะอยูในตน ที่ลูกชาย จําบิดาของตนไมไดและ
หวาดกลัวตออํานาจของบิดาหมายความวา เราไมรูแจงและไมสามารถเชื่อไดวาเรามีธรรมชาติแหง

๒๖
ดูรายละเอียดใน สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๖๒-๖๖.

Page 79 of 162
๖๕

พุทธะ และยึดติดกับสิ่งต่ําๆ ตกเปนทาสมโนภาพของตัวเอง กุศโลบายที่คหบดีชวยยกระดับ ลูกชาย


หมายถึ ง กุ ศ โลบายของพระพุ ท ธเจ า ที่ ต อนแรกคหบดี ใ ช ใ ห ลู ก ชาย เก็ บ ขยะ หมายความว า
พระพุทธเจาใชคําสอนแหงทวิยาน เพื่อชวยใหลูก เปนอิสระจากกิเลส ความหลงผิด เมื่อลูกมีความ
มั่นใจมากขึ้น คหบดีก็ใหรับผิดชอบการบริหารงานมากขึ้น ตรงนี้คือ คําสอนแหงมหายานชั่วคราว
หรือคําสอนแหงโพธิสัตวยาน ในที่สุดคหบดีก็ประกาศวาชายผูยากจนนั้นเปนลูกและเปนผูรับ
มรดกทั้งหมด ตรงนี้เปนการเปดเผยเอกยานอันสูงสุดของพระพุทธเจา ดั้งนั้นโดยการรูความสามารถ
ของเหลาสัตว พระพุทธเจาทรงใชกุศโลบายนําเหลาสรรพสัตวไปดวยยานทั้ง ๓ จนถึงจุดที่พวกเขา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
สามารถเขาใจเอกพุทธยานได๒๗

๓. เรื่องไมนานาพันธุ

นิทานเรื่องไมนานาพันธุเปนนิทานเปรียบเทียบที่พระพุทธเจาทรงแสดงใหเห็นวา
ธรรมที่พระองคทรงแสดงนั้นมีเพียงรสเดียว คือ วิมุตติรส สิ่งที่แตกตางกันคืออุปนิสัยของเหลาสัตว
จึงทําใหเขาใจในธรรมของพระองคไดไมเทาเทียมกัน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

เมื่อมหาเมฆฝนเริ่มกอตัวและแผขยายครอบคลุมเหนือสามพันโลกธาตุ ตลอดถึง
ตนหญา ไมเล็ก ไมใหญนานาพรรณ ก็หลั่งเปนฝนตกลงมาในพื้นที่ทั้งปวงในเวลาพรอมกัน ตนไม
เหลานั้น คือ ตนไมเล็ก ตนไมขนาดกลาง และไมใหญ ตางก็ไดรับน้ําฝนเดียวกัน ตนไมเหลานั้น
ทั้งหมดก็จะดูดน้ําฝน ตามกําลังความสามารถและความจําเปน ตนไมเหลานั้นก็จะเจริญเติบโต
ผลิดอกออกผล ตามกําลังความสามารถของไมแตละพันธุ ถึงแมตนไมเหลานี้จะงอกงามจากพื้นดิน
เดี ย วกั น และซึ ม ซั บ ความชื้ น จากน้ํ า ฝนเดี ย วกั น แต ต น ไม แ ต ล ะชนิ ด ก็ มี ค วามแตกต า งตาม
ลักษณะเฉพาะของมัน บางชนิดก็มีขนาดใหญ บางชนิดก็มีขนาดกลาง และบางชนิดก็มีขนาดเล็ก

พระพุ ท ธเจ า ทรงอธิ บ ายว า พระพุ ท ธเจ า อุ บั ติ ขึ้ น ในโลกเปรี ย บเหมื อ นมหาเมฆ
ไดทรงตักเตือนสรรพสัตววา เราเปนพระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา ยอมรูโลกนี้และโลกอื่น
ตามความเปนจริงดวยปญญาอันชอบ พวกเธอทั้งหลายจงสดับพระธรรม พระธรรมอันเปรียบเชน
ฝนที่ตกลงสูสามพันโลกธาตุที่มีคุณภาพเชนเดียวกัน ธรรมะที่พระองคทรงแสดงก็เชนกันมีรส
เดียวกัน คือ วิมุตติรส วิราครส และนิโรธรสที่มีสัพพัญุตญาณเปนที่สุด แตเพราะความแตกตาง
ตามพันธุของตนไมแตละชนิด จะดูดซับความชุมชื้นจากน้ํา ตามกําลังความสามารถของมัน คือ
ตนไมเตี้ย ตนไมปานกลาง ตนไมสูง ตนไมทั่วไป และตนไมใหญ ซึ่งเปรียบเหมือนกับสรรพสัตว

๒๗
สุรพล เพชรศร, สาระสําคัญแหงสัทธรรมปุณฑริกสูตร ฉบับภาษาจีนของพระกุมารชีวะ, หนา ๓๘-๓๙.

Page 80 of 162
๖๖

ไดสดับธรรมของพระพุทธเจา ที่มีรสแหงวิมุตติเชนเดียวกัน แตเขาใจธรรมไดไมเหมือนกัน ที่เปน


เชนนี้เพราะกําลังวิสัยและสติปญญาของสัตวเหลานั้นแตกตางกัน อันเปรียบไดกับตนไมนานาชนิด
คือ พันธุไมเตี้ยหมายถึงสาวกยาน พันธุไมปานกลางหมายถึงปจเจกพุทธยาน พันธุไมชนิดสูง
หมายถึงพระโพธิสัตวผูเขามาใหม พันธุไมทั่วไปหมายถึงพระโพธิสัตวผูมั่นคง และพันธุไมชนิด
ใหญหมายถึงพระโพธิสัตวมหาสัตว หรืออีกอยางหนึ่งคือ ตนไมเล็กหมายถึงปุถุชน ตนไมปานกลาง
หมายถึงพระสาวกและพระปจเจกพุทธเจา ตนไมใหญหมายถึงพระโพธิสัตว๒๘

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ทานฉีอี้ แหงนิกายเทียนไทไดใหความหมายของพันธุไมนานาชนิดไวในอรรถกถา
เรื่องคําอธิบายศัพทสัทธรรมปุณฑรีกสูตรวา พืชสมุนไพรขนาดเล็กหมายถึง มนุษยภูมิแลเทวภูมิ
พืชสมุนไพรขนาดกลางหมายถึง สาวกภูมิและปจเจกภูมิ และพืชสมุนไพรขนาดใหญหมายถึงภูมิแหง
พระโพธิสัตวแหงคําสอนหินยานเบื้องตน ตนไมขนาดเล็กหมายถึงพระโพธิสัตวแหงคําสอนตอเนื่อง
(เปนคําสอนหินยานชั้นสูงเพื่อเชื่อมตอกับมหายานเบื้องตน) และตนไมใหญหมายถึงพระโพธิสัตว
แหงคําสอนเฉพาะ กลาวอีกอยางหนึ่งคือ พืชสมุนไพรสามชนิดและตนไมสองชนิด หมายถึง ๕ ยาน
แหงคําสอนชั่วคราว คือ มนุษยยาน เทวยาน สาวกยาน ปจเจกพุทธยาน และโพธิสัตวยาน นั่นเอง๒๙

๔. เรื่องเมืองมายา

นิทานเปรียบเทียบเรื่องนี้แสดงใหเห็นถึงกุศโลบายที่พระพุทธเจาทรงใชชวยเหลา
สัตวทั้งหลายไมใหทอถอยหรือหันหลังใหกับการปฏิบัติตามธรรมะที่พระองคทรงประทานให
อันมีจุดหมายที่พุทธภูมิ มีรายละเอียดดังนี้

มีชนหมูใหญกําลังจะเดินทางไปยังรัตนทวีป ซึ่งทางไปนั้นจะตองผานปาทึบใหญที่
อันตรายและนากลัว ในกลุมชนนั้นมีผูนําทางเปนคนฉลาดรอบรูและคุนเคยเสนทางที่จะไปเปนอยางดี
เขานําชนทั้งหลายเขาไปในปาทึบใหญนั้น เมื่อกลุมชนนั้นเดินทางมาระยะทางไกลพอสมควรก็เริ่ม
เหน็ดเหนื่อย มีความหวาดกลัว คิดกันวาระยะทางที่ไปรัตนทวีปยังอีกไกลเหลือเกินก็ทอแทคิดจะ
เดินทางกลับ ผูนําทางรูถึงความคิดของกลุมชนเหลานั้น และคิดวากลุมชนนี้ควรจะเดินทางไปจนถึง
รัตนทวีปไมควรเดินทางกลับ จึงคิดหากุศโลบายเพื่อชวยกลุมชนนั้น จึงไดเนรมิตเมืองใหญกวาง
๓๐๐ โยชนขึ้นมาเมืองหนึ่ง แลวเชื้อเชิญใหกลุมชนนั้นเขาไปพักผอนในเมืองใหญที่ไดเนรมิตขึ้น

๒๘
ดูรายละเอียดใน สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๗๓-๗๘.
๒๙
สุรพล เพชรศร, สาระสําคัญแหงสัทธรรมปุณฑริกสูตร ฉบับภาษาจีนของพระกุมารชีวะ, หนา ๔๕.

Page 81 of 162
๖๗

กลุมชนเหลานั้นพากันประหลาดใจ คิดวาเราไดเดินทางมาถึงรัตนทวีปแลว ก็พากัน


เขาไปในเมืองเนรมิตนั้นและพากันพักผอนกันอยางสบาย เมื่อผูนําทางเห็นวากลุมชนเหลานั้น
พักผอนกันจนหายจากความเหน็ดเหนื่อยแลวพรอมที่จะเดินทางตอไป ก็เนรมิตใหเมืองใหญนั้น
หายไปแลวบอกกับกลุมชนนั้นวาเมืองใหญนี้เราเนรมิตขึ้นมาเพื่อใหทานทั้งหลายไดพักผอนใหหาย
เหนื่อยลาเทานั้น รัตนทวีปนั้นอยูไมไกลจากนี้ เราจะเดินทางไปสูรัตนทวีปกันตอไป

พระพุทธเจาไดทรงอธิบายถึงนิทานเรื่องนี้วา พระพุทธเจาทรงเปนเหมือนกับผูนําทาง

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ที่ชี้ทางสรรพสัตวใหเดินทางพนจากปาทึบซึ่งเปรียบเหมือนกับกิเลสที่สรรพสัตวควรจะกาวขาม
ใหพน หากพระองคทรงประทานพุทธญาณใหกับสรรพสัตว ก็จะพากันหันหลังและพากันละทิ้ง
ไมสนใจ เพราะคิดวาพุทธญาณเปนสิ่งที่ยากจะบรรลุถึง พระพุทธเจาทรงทราบอุปนิสัยของสรรพสัตว
ทรงอนุเคราะหสรรพสัตวโดยใชกุศโลบายดวยการประกาศภูมิของพระนิพพาน คือ นิพพานของ
สาวกภูมิและปจเจกพุทธภูมิ เพื่อใหสรรพสัตวไดหยุดพักผอนกอนที่จะมุงไปสูพุทธภูมิ เหมือนกับ
ผูนําทางไดเนรมิตเมืองใหญไวใหกลุมชนไดพักผอนใหหายเหน็ดเหนื่อย แลวไดบอกวานี้เปนเมือง
ที่เนรมิตขึ้นมา เชนเดียวกันหากสัตวทั้งหลายหยุดอยู ณ ที่นั้น พระตถาคตจะบอกกลาววา พวกเธอ
ยังทําภารกิจยังไมเสร็จสิ้น นิพพานของพวกเธอยังไมใชนิพพานที่แทจริง ฉะนั้นพวกเธอจงอยากลัว
จงมองดูและเดินไปสูพุทธญาณเถิดเพราะพุทธญาณอยูใกลพวกเธอแลวจากนี้ไป เพราะกุศโลบาย
พระตถาคตจึงไดประกาศ ๓ ยาน๓๐

๕. เรื่องเพชรในผา

นิทานเรื่องนี้เปนของหมูพระสาวก ๕๐๐ รูปที่ยกขึ้นแสดงเพื่อใหเห็นถึงความเขาใจ


หลังจากที่ไดสดับสัทธรรมปุณฑรีกสูตรและพระพุทธเจาไดพยากรณเหลาพระสาวกทั้ง ๕๐๐ รูป
จะไดเปนพระพุทธเจาในอนาคต ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

ชายคนหนึ่ง ไดไ ปเยี่ย มเยื อ นเพื่อนรัก คนหนึ่ งซึ่ง เปน เศรษฐี ก็ไ ด จั ด แจงต อ นรั บ
อยางไมมีสิ่งใดบกพรอง และชายคนนั้นก็ไดดื่มกินอยางอิ่มเอม เมาและหลับไปภายในบานของ
เพื่อน เมื่อเห็นวาชายคนนั้นหลับอยูก็ไดนํารัตนมณีอันมีคามาผูกไวที่ชายเสื้อ เมื่อชายคนนั้นตื่นขึ้น
ก็ขอลากลับและเดินทางไปยังเมืองตางๆ เพื่อหางานทํา โดยที่ชายคนนั้นไมรูเลยวาชายเสื้อของตนนั้น
มีรัตนมณีอันมีคายิ่ง

๓๐
ดูรายละเอียดใน สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๑๐๗-๑๐๘.

Page 82 of 162
๖๘

ครั้งนั้นเพื่อนผูเปนเศรษฐีก็ไดพบกับชายคนนั้นอีกครั้งโดยบังเอิญ จึงไดถามชาย
คนนั้นวา เพื่อนรักทําไมทานถึงตองลําบากดวยการหางานทําอีกเลา ทานไมรูเลยหรือวาเราไดมอบ
รัตนมณีอันมีคาใหไวกับทาน โดยผูกไวกับชายเสื้อของทาน ทานชางเปนคนโงเขลาเสียจริง เอาละ
ทานจงนํารัตนมณีที่ชายเสื้อของทานไปขาย เพื่อนําเงินมาเลี้ยงชีพของทานเองใหสะดวกสบายเถิด

นิ ท านจบลงบรรดาเหล า พระสาวกทั้ ง ๕๐๐ รู ป ได ส รุ ป ความว า ในอดี ต ที่


พระพุทธเจาทรงดํารงพระชาติเปนพระโพธิสัตว ไดบอกถึงพระโพธิญาณใหกับพวกทานใหรู

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
แตพวกทานกลับไมรับรู ไมเขาใจ และเขาใจวาพระอรหันตคือความสุขสูงสุดในโลกนี้ แตดวยกุศล
ในกาลกอนอีกทั้งปณิธานในพระโพธิญาณยังไมหายไป เมื่อพระตถาคตไดทรงแนะนําวาจงอยา
คิ ด ว า พระนิ พ พานเป น อย า งนี้ เพราะเป น กุ ศ โลบายของเรา จึ ง กล า วว า นี่ เ ป น พระนิ พ พาน
เหลาพระสาวก ๕๐๐ รูปไดเขาใจและมีความยินดีในพระโพธิญาณ๓๑

สุรพล เพชรศร ตีความนิทานเรื่องนี้วา เพื่อนผูมั่งคั่งที่ผูกรัตนมณีที่ล้ําคาไวชายเสื้อ


ของชายคนนั้นก็คือพระศากยมุนี ไดปลูกเมล็ดพันธุแหงพุทธภาวะในหัวใจของพระสาวกเปนครั้งแรก
เมื่อพระองคไดสอนสัทธรรมปุณฑรีกสูตรแกพวกเขาในสมัยสามพันธุลีกัป แตบางคราวพวกเขาได
ละทิ้ ง ศรั ท ธาในสั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รไปยึ ด ถื อ คํ า สอนชั่ ว คราว แต ด ว ยคํ า สอนแห ง เอกยาน
พระพุทธเจาไดปลุกพวกเขาใหตื่นขึ้นรูเมล็ดพันธุแหงพุทธภาวะที่ยังอยูในชีวิตของพวกเขาๆ จึง
ดีใจที่ไดรูวา อนาคตเขาจะไดเปนพระพุทธเจาดวยเหมือนกัน รัตนมณีอันล้ําคาที่ซอ นอยูในชายเสื้อ
หมายความวาธรรมชาติแหงพุทธะมีประจําอยูในชีวิตของทุกคน แตเหมือนชายยากจนที่ไมรูจัก
สมบัติอันล้ําคาของตน จึงรอนเรไปแสวงหางานทํา ก็เหมือนกับสรรพสัตวที่มุงหวังไขวควาหาสิ่งที่
เปนบุญที่จะนําความสุขความสําเร็จมาให โดยมิไดตระหนักถึงวาภายในตัวเราไดครอบครองบุญ
และความร่ํารวยเทามหาจักรวาลอยูแลว เราจึงตองเวียนวายในภูมิต่ําทั้ง ๖ อยูอยางตอเนื่องตลอดมา
แทจริงแลวชีวิตของเรากับความจริงแทที่สุดเปนหนึ่งเดียว๓๒

๖. เรื่องเพชรประดับมงกุฎ

นิ ท านเรื่ อ งนี้ พ ระพุ ท ธเจ า ทรงแสดงถึ ง ความดี เ ลิ ศ และยิ่ ง ใหญ ข องคั ม ภี ร


สั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รที่ เ ปรี ย บเหมื อ นเพชรที่ ป ระดั บ บนยอดมงกุ ฎ ของพระเจ า จั ก รพรรดิ
ที่ควรประทานใหกับบุคคลที่พรอมดวยคุณสมบัติอยางครบถวนเทานั้น ดังมีรายละเอียดดังตอไปนี้

๓๑
ดูรายละเอียดใน สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๑๒๑-๑๒๒.
๓๒
สุรพล เพชรศร, สาระสําคัญแหงสัทธรรมปุณฑริกสูตร ฉบับภาษาจีนของพระกุมารชีวะ, หนา ๗๒-๗๓.

Page 83 of 162
๖๙

มีพระเจาจักรพรรดิผูทรงอานุภาพพระองคหนึ่ง ทรงมีพระประสงคที่จะกําราบศัตรู
และพระราชาที่แข็งขอกับพระองค จึงไดยกกองทัพออกปราบปราม พระองคเห็นเหลาทหารตอสู
ศัตรูอยางหาวหาญ ไมหวั่นเกรง ก็ทรงพอพระทัย เมื่อมีชัยชนะก็พระราชทานรางวัลแกเหลาทหาร
หาญทุกคน แตคงเหลือเพียงสิ่งเดียวที่พระองคมิไดประทานแกผูใด สิ่งนั้นก็คือเพชรประดับมงกุฎ
เพราะว า เพชรเม็ ด นี้ จ ะประดั บ บนพระเศี ย รของพระเจ า จั ก รพรรดิ ในเวลาต อ มาเมื่ อ พระเจ า
จักรพรรดิทรงทอดพระเนตรเห็ นทหารหาญไดพุงรบอยางหาวหาญ เยี่ย งวี รบุ รุษ พระองคทรง
พอพระทัยยิ่งนัก พระองคไดทรงพระราชทานรางวัลตางๆ อยางมากมายและรวมทั้งเพชรประดับ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มงกุฎที่คูควรกับพระเจาจักรพรรดิแกทหารผูวีรบุรุษ

พระพุ ท ธเจ า ตรั ส สรุ ป ว า พระตถาคตก็ เ ป น เช น เดี ย วกั บ พระเจ า จั ก รพรรดิ
พระองคทรงใชอํานาจแหงฌานและปญญาเอาชนะแดนธรรมและไดเปนพระราชาแหงโลกทั้ง ๓
แตพระยามารแข็งขอไมยอมสวามิภักดิ์ พระองคจึงสงขุนพลอันไดแกเหลาสาวกเขาทําสงครามกับ
พระยามารและเสนามารจนไดรับชัยชนะ พระองคทรงประทานรางวัลดวยการสอนพระสูตรตางๆ
อยางมากมาย แมกระทั่งเมืองแหงนิพพานวาไดบรรลุถึงความดับแลว แตพระองคยังไมไดสอน
สัทธรรมปุณฑรีกสูตรแกพวกเขา แตเมื่อพระองคทรงเห็นเหลาสาวกมีชัยในการตอสูกับพระยามาร
ทํา ลายตาข า ยแห ง มารและออกจากโลกทั้ง ๓ไดแ ล ว ทรงมีความชื่ม ชมและพอพระทัย เปน ยิ่ ง
ในที่สุดพระองคทรงแสดงสัทธรรมปุณฑรีกสูตร อันเปนพระสูตรที่จะนําสรรพสัตวทั้งหลายไปสู
การตรัสรูที่ยิ่งใหญที่สุด และเชื่อไดยากที่สุดแกเหลาสาวกผูกลาหาญ เชนเดียวกันกับที่พระเจา
จักรพรรดิไดพระราชทานเพชรประดับมงกุฎใหแกทหารที่พุงรบกับขาศึกจนมีชัยชนะเยี่ยงวีรบุรุษ๓๓

๗. เรื่องลูกๆ ของหมอ

นิ ท านเรื่ อ งนี้ เ ป น เรื่ อ งสุ ด ท า ยของนิ ท านเปรี ย บเที ย บในสั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต ร
ที่พระพุทธเจาทรงยกขึ้นแสดง เพื่อใหเห็นถึงกุศโลบายที่ทําใหสรรพสัตวไดปลุกจิตในการแสวงหา
พระสัทธรรม โดยใชการปรินิพพานของพระองคเปนกุศโลบาย ดังมีรายละเอียดดังนี้

มีนายแพทยผูเชี่ยวชาญคนหนึ่ง มีความสามารถในการปรุงยา รักษาโรคไดทุกชนิด


เขามีลูกหลายคน วันหนึ่งเขาออกไปทําธุระที่ตางเมือง ลูกๆ ของเขามีอาการเจ็บปวยเปนโรคราย จนเกิด
อาการคลุมคลั่งดวยความเจ็บปวด เมื่อบิดากลับมาบานลูกๆ ตางขอรองใหบิดาชวย นายแพทยผูเปน

๓๓
ดูรายละเอียดใน สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๑๖๑-๑๖๓.

Page 84 of 162
๗๐

บิดาไดปรุงยาสมุนไพรอยางดีใหแกลูกๆ พรอมกับบอกวานี่เปนยาดี พวกเธอจงกินยานี้แลวพวกเธอ


จะหายจากความทุกขทรมานโดยเร็ว และหายจากความเจ็บปวยทั้งปวง

ลูกๆ บางคนเขาใจวายานี้เปนยาดี พวกเขาจึงกินยานี้ทันทีและความเจ็บปวยก็หายไป


โดยสิ้นเชิง แตลูกๆ อีกพวกหนึ่งกลับปฏิเสธที่จะกินยา ครั้งนั้นนายแพทยผูเปนบิดาจึงไดคิดหา
กุศโลบายเพื่อดึงดูดใจใหลูกๆ เหลานั้นไดกินยา เขาจึงบอกแกลูกๆ วา พอก็แกชราและความตาย
ก็ใกลมาถึงแลวพอจะทิ้งยาไวให พวกเธอควรกินยานี้เสียมันจะรักษาพวกเธอใหหาย แลวเขาไดจาก

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ไปยังเมืองอื่น และใหคนมาบอกลูกๆ ของเขาวา บิดาไดตายแลว

ฝายลูกๆ ไดยินวาบิดาตายแลว ตางก็มีความเศราโศกเสียใจเปนยิ่งนัก เพราะแตนี้ไป


ไมมีใครคุมครองดูแลพวกเขาอีก ในที่สุดพวกลูกๆ ไดกินยาทันที และพิษจากความเจ็บปวยทั้งหลาย
ก็ ถู กจํ ากั ดหมดไป ฝ า ยบิ ด าเมื่ อ ทราบว า ลู ก ๆ ของตนหายป ว ยแล ว จึ ง ได ก ลั บ มาบ า นในทั น ที
และปรากฏตัวใหลูกๆ ของตนไดเห็น๓๔

นิก เกีย ว นิวาโน อธิบ ายว า นายแพทยคือ พระพุทธเจา สว นลูก ๆ ก็ คือสรรพสัตว
จุ ด สํ า คั ญ ของนิ ท านเรื่ อ งนี้ อ ยู ที่ ว า สรรพสั ต ว ไ ม ส ามารถเข า ใจได ว า เขาเป น หนี้ บุ ญ คุ ณ
ของพระพุทธเจามากแคไหน ตราบที่พระองคยังทรงอยูบนโลกนี้ แตเมื่อพระองคทรงนิพพาน
จากไปแลว เขาตางปรารถนาแสวงหาคําสอนของพระองคดวยความอุตสาหะ ดวยเหตุนี้พระองค
จึงทรงใชกุศโลบายที่เปยมไปดวยความกรุณาที่จะทําใหสรรพสัตวหันมาเชื่อ และยอมรับคําสอน
ของพระองค จึงทรงประกาศวาพระองคเสด็จเขานิพพานแลว๓๕

ข. การอุปมาอุปไมย

การอุป มาอุ ป ไมยเป น กุ ศ โลบายอีก อย างหนึ่ง ที่ พ ระพุ ท ธเจา ทรงนํา มาใชใ นการ
เปรียบเทียบธรรมที่ลึกซึ้งใหเห็นภาพไดชัดเจนและเขาใจไดงาย อริสโตเติล(Aristotle) นักปรัชญา
ชาวกรีกโบราณไดกลาววา “อุปมาอุปไมยที่ดีนั้นจะแสดงนัยใหสามารถมองเขาใจไดดี ระหวาง
ความเหมือนกับความไมเหมือน”๓๖ อีกทั้งทําใหเรื่องที่ลึกซึ้งเขาใจยาก ปรากฏความหมายเดนชัด
ออกมา และเขาใจงายขึ้น โดยใชอธิบายสิ่งที่เปนนามธรรม เปรียบใหเห็นชัดดวยสิ่งที่เปนรูปธรรม

๓๔
ดูรายละเอียดใน สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๑๗๙-๑๘๒.
๓๕
Nikkyo Niwano, Buddhism for Today, pp. 246, 247.
๓๖
ไดซาขุ อิเคดะ, บรรยายสัทธรรมปุณฑรีกสูตร บทกุศโลบายและบทการหยั่งอายุกาลของพระตถาคต,
แปลโดย สมาคมสรางคุณคาในประเทศไทย, หนา ๔๕๐.

Page 85 of 162
๗๑

ในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรมีการใชอุปมาอุปไมยอยูทั่วไป ผูวิจัยขอยกอุปมาอุปไมยที่เขากับเนื้อหา
ของพระสูตร ซึ่งมีอยู ๗ เรื่อง ดังนี้

๑. แสงจันทรและแสงอาทิตย

หลั ง จากที่ พ ระพุ ท ธเจ า ทรงสรุ ป ความนิ ท านเรื่ อ งไม น านาพั น ธุ ว า จริ ง ๆ แล ว
พระธรรมที่ พ ระองค ท รงแสดงมี เ พี ย งหนึ่ ง เดี ย วคื อ พุ ท ธยาน แต ค วามแตกต า งทางอุ ป นิ สั ย
ความสามารถของสรรพสั ต ว จึ ง เห็ น เป น ๓ ยาน และเพื่ อ ความชั ด เจนยิ่ ง ขึ้ น พระองค ท รง

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
อุปมาอุปไมยเนนในเรื่องนี้อีกถึง ๓ เรื่อง๓๗ คือ เรื่องแสงจันทรและแสงอาทิตย เรื่องหมอดินเหนียว
และเรื่ อ งชายตาบอด โดยผ า นทางท า นพระมหากาศยปะ(พระมหากั ส สปะ) ดั ง มี ร ายละเอี ย ด
ตามลําดับดังนี้

ดูกอนกาศยปะ ตถาคตสั่งสอนสัตวทั้งหลายเสมอเหมือนกัน หาไดสอนตางกันไม เหมือน


แสงจันทรและแสงอาทิตย สองมายังโลก สาดสองทั่วไปไมเลือกคนดี คนชั่ว ที่สูงที่ต่ํา กลิ่น
หอม กลิ่ น เหม็ น แสงจั น ทร แ ละแสงอาทิ ต ย ต า งสาดส อ งทั่ ว ไปอย า งเสมอเท า เที ย มกั น
ในทํานองเดียวกัน การแสดงธรรมของพระพุทธเจายอมเปนไปเสมอกันในสัตวทั้งหลาย
ทั้งปวง ไมวาจะเปนสัตวเกิดในภูมิทั้ง ๕ หรือตามอุปนิสัยของโพธิสัตวยาน ปจเจกพุทธยาน
สาวกยาน ความหย อ นหรื อ ความยิ่ ง แห ง แสงญาณของตถาคต ย อ มไม มี เ พื่ อ การเข า ถึ ง
พระโพธิญาณอันประเสริฐแตอยางใด ดูกอนกาศยปะ ไมมีสามยาน แตสัตวทั้งหลายประพฤติ
ตางกัน จึงกลาววามีสามยาน

พระพุทธเจาทรงแสดงใหเห็นวาธรรมที่พระองคทรงแสดงนั้น เปนหนึ่งเดียวไม
เหลื่อมล้ํา แตเปนเพราะอุปนิสัยและความสามารถที่แตกตางกันของเหลาสัตว จึงทําใหเกิดการ
ปฏิบัติธรรมที่แตกตางกัน จึงมียาน ๓ ขึ้นมา

๒. หมอดินเหนียว

ดูกอนกาศยปะ เหมือนชางปนหมอ ปนหมอดวยดินเหนียวเหมือนกัน แตหมอดินเหลานั้น


หมอหนึ่งใสน้ําตาล หมอหนึ่งใสน้ํามันเนย หมอหนึ่งใสนมเปรี้ยวและนมสด สวนหมอที่มี
คุณภาพเลวใชใสของที่ไมสะอาด หมอดินนั้นไมตางกันเลย เพราะปนจากกอนดินเหนียว

๓๗
อุปมาอุปไมย ๓ เรื่องนี้ไมมีในฉบับภาษาจีน แตมีในฉบับภาษาสันสกฤต, ดูรายละเอียดใน
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๗๘-๘๔.

Page 86 of 162
๗๒

เดียวกัน แตความแตกตางอยูที่คุณภาพของสิ่งที่ใชบรรจุลงในหมอดินตางหาก ในทํานอง


เดียวกันยานมีเพียงหนึ่งเทานั้น คือ พุทธยาน ยานที่สอง และยานที่สามไมมี

พระพุทธองคทรงย้ําใหเห็นถึงธรรมะที่ทรงสั่งสอนวา มีเพียงหนึ่งเดียว แตสาวกนั้น


มีคุณสมบัติที่ตางกัน การปฏิบัติจึงตางกันดวย เชนเดียวกับดินเหนียวเปรียบเหมือนธรรมะ นําไปทํา
เปนหมอดินก็ไมมีความแตกตางกัน สิ่งที่จะทําใหหมอดินมีความตางกันนั้น คือ วัตถุที่ประณีตหรือ
หยาบ นํามาใสลงในหมอนั่นเอง วัตถุก็เปรียบไดกับคุณสมบัติของเหลาสาวก

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๓. ชายตาบอด

พระพุทธเจาทรงแสดงอุปมานี้แกพระมหากาศยปะ เพื่อชี้ใหเห็นถึงระดับของบุคคล
ที่มองเห็นวานิพพานมี ๓ ประเภท ซึ่งแทจริงนิพพานมีเพียงหนึ่งเดียว สรุปไดดังนี้

ดูกอนกาศยปะ ชายตาบอดยอมคิดวารูปและดวงดาวทั้งหลายนั้นไมมี เมื่อคนตาดี


บอกวารูปและดวงดาวทั้งหลายนั้นมี ก็ไมยอมเชื่อ ตอมามีนายแพทยผูเชี่ยวชาญ ไดชวยรักษาจน
ชายตาบอดกลับมามองเห็นไดอีกครั้ง และคิดวา เราชางเปนคนโงเขลา เมื่อคนทั้งหลายบอกกลาว
กลับไมยอมเชื่อ มาบัดนี้เราเห็นทุกอยาง ไมมีใครเห็นวิเศษไปกวาเรา

ขณะนั้นฤาษีผูมีอภิญญากลาววา แมเจาจะมองเห็นแลว แตยังไมเห็นอยางวิเศษ คือ


ไมมีตาทิพย ไมสามารถหยั่งรูจิตใจสัตววาดีหรือเลว ไมมีหูทิพย แสดงฤทธิ์ไมได ระลึกชาติไมได
แลวจะพูดวาไมมีใครเห็นวิเศษไปกวาเจาไดอยางไร

ชายคนนั้นจึงถามวาทําอยางไรจึงจะมีคุณวิเศษที่วานี้ ฤาษีจึงแนะนําใหบําเพ็ญเพียร
ในปาเขา เพื่อกําจัดกิเลสทั้งหลาย จึงจะไดคุณวิเศษที่วานี้ ชายคนนั้นจึงบวชเปนฤาษี บําเพ็ญเพียร
จนไดอภิญญา และยอนคิดวาเมื่อกอนนั้นเราเปนคนโงเขลา มีปญญาและความเขาใจเพียงเล็กนอย
จึงมีความคิดที่ตื้นๆ เชนนั้น

แลวพระพุทธเจาทรงอธิบายวาชายตาบอดคือบรรดาสัตวที่เวียนวายตายเกิดอยูใน
ภูมิทั้ง ๖ มืดบอดดวยอวิชชา ไมสนใจในพระสัทธรรม โงเขลา มีความยึดถือตัวตน จึงตองจมอยูใน
วังวนแหงความทุกข นายแพทยผูเชี่ยวชาญคือพระพุทธเจาไดใชยาคือพระโพธิญาณรักษาสรรพสัตว
ผูเปนโรคแหงความทุกข ใหพนไปจากกองทุกขอันยิ่งใหญได ฤาษี คือ พระโพธิสัตวผูบําเพ็ญเพียร
จนไดตรัสรูอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ สวนชายตาบอดที่หายจากบอดแลวกลับมามองเห็นคือ พระ
สาวกและพระปจเจกพุทธเจา ที่ตัดกิเลสเครื่องผูกพันในสังสารวัฏไดแลว เขาใจวาตนไดบรรลุพระ

Page 87 of 162
๗๓

นิพพานแลว แตพระพุทธเจาไดชี้ใหเห็นวาหากบุคคลยังไมเห็นแจงในธรรมทั้งปวง บุคคลนั้นชื่อวา


ยังไมบรรลุพระนิพพาน แลวพระพุทธองคทรงชักนําไปสูพระโพธิญาณ

๔. อุปมาเรื่องคนขุดบอหาน้ํา

อุ ป มาเรื่ อ งนี้ แ สดงให เ ห็ น ถึ ง การที่ ส รรพสั ต ว ไ ด ฟ ง สั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รแล ว


นอมรับไว ปฏิบัติ ทองจํา เรียนพิจารณา เจริญภาวนา ชื่อวาไดอยูใกลอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดู ก อ นไภษั ช ยราช เหมื อ นบุ รุ ษ บางคน ต อ งการน้ํ า เขาได ทํ า การขุ ด บ อ เพื่ อ ให ไ ด น้ํ า
ตราบใดดินและทรายที่เขาขุดขึ้นมายังแหงอยู เขารูวาน้ํายังอยูอีกไกล หากเขาไมลมเลิกความ
พยายามขุ ด ต อ ไปและแล ว เขาได เ ห็ น ดิ น และทรายที่ ขุ ด นั้ น ชื้ น ขึ้ น เรื่ อ ยๆ เขาขุ ด ต อ ไป
จนกระทั่ ง ได เ ห็ น ดิน โคลน ถึ ง ตอนนี้เ ขามี กํา ลัง ใจขุด ตอไป เพราะเขารู ว า จะได น้ํา อยา ง
แนนอนที่สุด

พระพุทธเจาทรงอธิบายวา พระโพธิสัตวทั้งหลาย ยอมหางไกลจากพระโพธิญาณ


ตราบเท า ที่ เ ขาไม ไ ด ฟ ง ไม ไ ด ป ฏิ บั ติ ไม ไ ด ยึ ด ถื อ ไม เ ข า ใจและไม พิ จ ารณาธรรมบรรยายนี้
เมื่อพระโพธิสัตวทั้งหลายไดฟง ปฏิบัติ ทองจํา เขาใจ เรียนพิจารณา เจริญภาวนาเมื่อนั้นเขาชื่อวา
อยูใกลพระโพธิญาณ๓๘

อธิบายวาปวงพระโพธิสัตวก็เหมือนบุรุษนี้ หากยังไมไดฟงสัทธรรมปุณฑรีกสูตร
ไมไดพิจารณาใหเห็นซึ้ง เขาก็ยังอยูไกลจากพระโพธิญาณ แตถาเขาไดฟง มีความเขาใจ พิจารณา
ใหเห็นซึ้ง เขาก็จะอยูใกลพระโพธิญาณ หากเราไดประพฤติปฏิบัติตามไดเพียงเล็กนอยแลวลมเลิก
กลางคัน ก็เหมือนคนที่ขุดดินหาน้ําเมื่อยังไมเห็นน้ําก็เลิกขุด หากเราอดทนพยายามจนกวาจะบรรลุ
พระโพธิญาณ เหมือนคนขุดดินตอไปไมหยุดจนกวาจะถึงน้ํา เราก็จะสามารถบรรลุพระโพธิญาณ
ไดแนนอน

๕. อุปมาถึงความยากในการเผยแผสัทธรรมปุณฑรีกสูตร

อุปมาของเรื่องนี้เปนการอธิบายถึงความยากลําบากที่จะเผยแผสัทธรรมปุณฑรีกสูตร
ใหเปนที่ยอมรับของประชาชนทั่วไปในยุคแหงความเสื่อม พระพุทธองคตรัสกับพระไภษัชยราช
โพธิสัตววา “ธรรมบรรยายของเราทั้งปวงนั้น ธรรมบรรยายนี้(สัทธรรมปุณฑรีกสูตร) เปนที่ตั้งแหง
การคัดคาน เปนที่ตั้งแหงความไมศรัทธาของชาวโลก ถึงแมตถาคตยังดํารงพระชนมอยูชาวโลกยัง

๓๘
ดูรายละเอียดใน สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๑๓๓.

Page 88 of 162
๗๔

บอกป ด จะปว ยกล า วไปใยหลัง จากที่ต ถาคตปรินิ พ พานไปแล ว ”๓๙ ดั ง นั้น การเผยแผ สัท ธรรม
ปุ ณ ฑรี ก สู ต รนี้ จึ ง เป น งานที่ ย ากยิ่ ง พระพุ ท ธเจ า จึ ง ทรงเปรี ย บเที ย บให เ ห็ น ที่ เ รี ย กกั น ว า
ความยากลําบาก ๖ ประการและการปฏิบัติแบบงาย ๙ ประการวา

บุคคลประกาศพระสูตรจํานวนมากหลายพัน เทียบไดกับ
เมล็ดทรายในแมน้ําคงคา ขอนั้นชื่อวาทําไมยาก

บุ ค คลใดได ร วบเขาพระสุ เ มรุ ไ ว ใ นกํ า มื อ แล ว ขว า งไป

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
สิ้นโกฏิพุทธเกษตร ก็ชื่อวาทําไมยาก

บุ ค คลใดยัง โลกนี้ใ ห ห วั่ น ไหวดว ยหั ว แม เ ทา แลว ทิ้ ง ไป


สิ้นหลายโกฏิพุทธเกษตร ก็ชื่อวาทําไมยาก

บ า ง ค น ไ ด ยื น อ ยู ที่ ป ล า ย โ ล ก แ ล ว พึ ง ก ล า ว ธ ร ร ม
สิ้นพระสูตรอื่นๆ จํานวนหลายพัน ก็ชื่อวาทําไมยาก

เมื่ อ พระพุ ท ธเจ า ปริ นิ พ พานแล ว ผู ใ ดทรงจํ า และกล า ว


พระสูตรนี้ในกาลภายหลังที่นากลัว ชื่อวาทําไดยาก

บุคคลใดวางอากาศธาตุทั้งปวงไวในกํามือ แลวโยนทิ้งไป
ชื่อวาทําไดไมยาก

บุคคลใดคิดคัดลอกพระสูตรนี้ ในภายหลังพุทธปรินิพพานแลว
ชื่อวาทําไดยาก

บุคคลใดนําพื้นดินทั้งโลกใหอยูในปลายเล็บ แลวสลัดทิ้งไป
จนถึงพรหมโลก ชื่อวาทําไดไมยาก

บุ ค คลใดพึ ง กล า วพระสู ต รนี้ แ ม เ พี ย งครู ห นึ่ ง ภายหลั ง


พุทธปรินิพพาน ชื่อวาทําไดยาก

บุ ค คลใดแบกฟ อ นหญ า เข า ไปท า มกลางไฟบรรลั ย กั ล ป


ชื่อวาทําไดไมยาก

๓๙
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๑๓๒.

Page 89 of 162
๗๕

บุ ค คลใดรั ก ษา ทรงไว และยั ง สั ต ว แ ม เ พี ย งหนึ่ ง ให ฟ ง


พระสูตรนี้ ภายหลังพุทธปรินิพพาน ชื่อวาทําไดยาก

บุคคลใดแสดงธรรมใหเหลาสัตวทั้งหลายจํานวนหลายโกฏิ
ใหตั้งอยูในอภิญญา ๕ ชื่อวาทําไดไมยาก

บุคคลใดมีศรัทธาและบอกกลาวพระสูตรนี้ ชื่อวาทําไดยาก

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บุ ค คลใดยั ง สั ต ว ทั้ ง หลายจํ า นวนมากมายหลายพั น โกฏิ
ดุจเมล็ดทรายในแมน้ําคงคา ใหบรรลุพระอรหันต ผูทรงไว
ซึ่งอภิญญา ๖ ชื่อวาทําไดไมยาก

บุคคลใดทรงจําพระสูตรนี้ไว ในภายหลังพุทธปรินิพพาน
ชื่อวาทําไดยาก๔๐

การอุปมาอุปไมยในเรื่องการกระทํายากหก งายเกานี้ เปนการเปรียบเทียบถึงการ


กระทําที่เปนไปไมไดทั้ง ๙ อยางนี้วาเปนเรื่องงาย กับจิตใจที่เขมแข็ง กลาหาญของพระโพธิสัตว
ที่ เ พี ย รพยายาม ไม ย อมแพ ใ นการเผยแผ สั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต ร ให กั บ สรรพสั ต ว ใ นยุ ค สมั ย
ปจฉิมธรรมอันเสื่อมทรามวาเปนสิ่งที่ยากมาก

๖. อุปมาเรื่องพอหนุมลูกชรา

อุปมาเรื่องนี้เปนของพระไมเตรยโพธิสัตวมหาสัตวที่แสดงความประหลาดใจ สงสัย
วาพระโพธิสัตวทั้งหลายจํานวนมากมายที่ผุดขึ้นมาจากพื้นดินที่ซึ่งใชเวลานับลานลานปก็มิอาจ
นับไดหมด วาเปนลูกศิษยของพระพุทธเจา จะเปนไปไดอยางไร ทั้งที่พระองคทรงตรัสรูไดเพียง
ไมนาน จะตรัสสอนปวงพระโพธิสัตวจํานวนมากมายเชนนี้ ใหดํารงอยูในพระสัมมาสัมโพธิญาณได

มีชายหนุมคนหนึ่งอายุ ๒๕ ป มีผิวพรรณเปลงปลั่งและผมยังดกดําอยู ไดชี้ไปที่ชาย


ชราที่มีอายุ ๑๐๐ ป ผมหงอกและหนาตาเหี่ยวยน และกลาววา นี่คือบุตรของขาพเจา หรือชายชรา
อายุ ๑๐๐ ป ชี้ไปที่ชายหนุมอายุ ๒๕ ปและกลาววา นี่คือบิดาของขาพเจา เปนผูใหกําเนิดและเลี้ยงดู
ขาพเจามา คําพูดนั้นเปนสิ่งที่ไมนาเชื่อ ชาวโลกทั่วไปยากที่จะเชื่อได๔๑

๔๐
ดูรายละเอียดใน สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๑๔๓-๑๔๔.
๔๑
ดูรายละเอียดใน สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๑๗๕-๑๗๖.

Page 90 of 162
๗๖

ความสงสัยของพระไมเตรยโพธิสัตวและพระโพธิสัตวทั้งปวงในที่นี้ ไดรับความ
กระจางแจงในบทที่ ๑๕∗ วาดวยประมาณอายุกาลของพระตถาคต สรุปโดยยอวา การตรัสรูของ
พระพุทธเจาไมใชที่โคนตนโพธิ์ที่เมืองคยา จริงๆ แลวพระพุทธเจาทรงตรัสรูพระอนุตรสัมมา
สัมโพธิญาณมานานแลว เปนเวลารอยพันหมื่นโกฏิกัลป

๗. อุปมายกยองและชื่นชมสัทธรรมปุณฑรีกสูตร

เปนอุปมาของพระพุทธเจาทรงแสดงถึงความยิ่งใหญและความสําคัญของสัทธรรม

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ปุณฑรีกสูตรใหแกพระโพธิสัตวนักษัตรราชสังกุสุมิตาภิชญะฟง เปนการยกยองสัทธรรมปุณฑรีกสูตร
๙ ประการ∗∗ และชื่นชมอีก ๑๒ ประการ โดยมีรายละเอียดดังนี้

อุปมายกยองสัทธรรมปุณฑรีกสูตร ๙ ประการ

มหาสมุ ท รเป น ยอดแห ง น้ํ า พุ สระ หนองทั้ ง ปวงฉั น ใด


สัทธรรมปุณฑรีกสูตรนี้เปนยอดแหงพระสูตรทั้งปวงฉันนั้น

เ ข า พ ร ะ สุ เ ม รุ เ ป น ร า ช า แ ห ง ภู เ ข า ทั้ ง ป ว ง ฉั น ใ ด
สัทธรรมปุณฑรีกสูตรนี้เปนราชาแหงพระสูตรทั้งปวงฉันนั้น

พระจันทรเปนยอดแหงดาวทั้งปวงฉันใด สัทธรรมปุณฑรีกสูตร
นี้เปนยอดแหงพระสูตรทั้งปวงฉันนั้น

แสงแห ง พระอาทิ ต ย ย อ มขจั ด ความมื ด ทั้ ง ปวงได ฉั น ใด


สั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รนี้ ย อ มกํ า จั ด ความมื ด แห ง อกุ ศ ล
ทั้งปวงฉันนั้น

ทาวสักกะเปนใหญกวาเทพทั้งปวงฉันใด สัทธรรมปุณฑรีกสูตร
นี้เปนใหญกวาพระสูตรทั้งปวงฉันนั้น


ฉบับภาษาจีนเปนบทที่ ๑๖ เพราะเพิ่มตอนพระเทวทัตขึ้นมาเปนบทที่ ๑๒ จึงมี ๒๘ บท สวน
ฉบับสันสกฤตตอนพระเทวทัตรวมอยูในบทที่ ๑๑ การสันทัศนาพระสถูป จึงมี ๒๗ บท.
∗∗
ฉบับภาษาจีนเพิ่มมาอีก ๑ ขอคือ เหมือนจักรพรรดิทรงอํานาจที่สุดในพระราชาใหญนอยฉันใด
สัทธรรมปุณฑรีกสูตรเปนพระสูตรที่มีเกียรติที่สุดฉันนั้น จึงเปน ๑๐ ขอ

Page 91 of 162
๗๗

ทาวสหัมบดีพรหมเปนบิดาแหงพรหมโลกฉันใด สัทธรรม
ปุณฑรีกสูตรนี้เปนก็บิดาของพระสาวก พระปจเจกพุทธเจา
และพระโพธิสัตวทั้งปวงฉันนั้น

พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต


และพระปจเจกพุทธเจาประเสริฐกวาปุถุชนทั้งหลายฉันใด
สัทธรรมปุณฑรีกสูตรนี้ยอมประเสริฐกวาพระสูตรทั้งปวงฉันนั้น

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระโพธิสัตว เปนเลิศกวาพระสาวกและพระปจเจกพุทธ
เจ า ทั้ ง ปวงฉั น ใด สั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รนี้ เ ป น เลิ ศ กว า
พระสูตรทั้งปวงฉันนั้น

พระตถาคตเจาเปนราชาแหงธรรมทั้งปวงฉันใด สัทธรรม
ปุณฑรีกสูตรนี้เปนธรรมราชาของพระสูตรทั้งปวงฉันนั้น

อุปมาชื่นชมสัทธรรมปุณฑรีกสูตร ๑๒ ประการ

สั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รนี้ ย อ มปกป อ งสรรพสั ต ว จ ากภั ย


ทั้งปวง ยอมปลดเปลื้องสัตวจากความทุกขทั้งปวง
เหมือนกับบอน้ําของผูกระหายน้ํา
เหมือนกับไฟของผูมีความหนาวเย็น
เหมือนกับเสื้อผาของคนเปลือยกาย
เหมือนกับผูนําการคาของพอคา
เหมือนกับมารดาของบุตร
เหมือนกับเรือของผูขามฝง
เหมือนกับนายแพทยสําหรับผูปวยไข
เหมือนกับประทีปสําหรับผูอยูในความมืด
เหมือนกับรัตนะของผูปรารถนาทรัพย
เหมือนกับจักรพรรดิของปอมรบทั้งปวง
เหมือนกับมหาสมุทรของแมน้ํา
เหมือนกับเปลวไฟของผูกําจัดความมืด๔๒

๔๒
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๒๒๘-๒๒๙.

Page 92 of 162
๗๘

การยกยองชื่นชมคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตรนี้ เปนการแสดงถึงความยิ่งใหญของ
คัมภีรที่สามารถทําใหสรรพสัตวไดรับการชวยเหลือใหพนจากความทุกขทั้งปวง สามารถขนถาย
สรรพสัตวใหขามพนทุกข และใหไดรับประโยชน ตอบสนองความปรารถนาของเหลาสัตวได

ค. ยกอุทาหรณ

การยกอุ ท าหรณ ขึ้ น แสดงนั้ น เป น การเล า เรื่ อ งราวที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง โดยยกขึ้ น มา
เทียบเคียงและเปนตัวอยางประกอบคําอธิบาย ทําใหผูฟงเห็นภาพ เขาใจงาย ชัดเจน ทําใหเกิดความ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
สนใจในเรื่องราวของอุทาหรณที่ยกขึ้นมาแสดง และยังเปนแบบอยางใหกับเหลาพระสาวกในการ
ปฏิบัติ อีกทั้งยังชวยกําจัดความของใจหรือสงสัยในเหตุการณบางอยาง หรือสงสัยในขอธรรมตางๆ
ได ดี อี ก ด ว ย อุ ท าหรณ ใ นสั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รนี้ จ ะมี พ ระพุ ท ธเจ า ทรงยกขึ้ น แสดงเอง หรื อ
พระสาวกและพระโพธิ สั ต ว เ ป น ผู แ สดงก็ มี ผู วิ จั ย ได ต รวจสอบการยกอุ ท าหรณ ใ นสั ท ธรรม
ปุณฑรีกสูตร ซึ่งมีอยูทั้งหมด ๘ เรื่อง ดังรายละเอียดตอไปนี้

๑. การแสดงสัทธรรมปุณฑรีกสูตรของพระพุทธเจาในอดีต

เปนการเลาเรื่องพระพุทธเจาทั้งหลายในอดีต ที่จะทรงแสดงสัทธรรมปุณฑรีกสูตร
ของพระมัญชุศรี เพื่อคลายความสงสัยของพระไมเตรยโพธิสัตวและบริษัท ๔ ที่พากันประหลาดใจ
ในนิ มิ ตอั นมหั ศจรรย ที่ ได เกิ ดขึ้ นกั บพระพุ ทธเจ าศากยมุ นี ท ามกลางเหล าบริ ษั ททั้ งหลาย เช น
ดอกไมทิพยตกลงมาจากทองฟา แผนดินไหว ภูมิทั้ง ๖ สามารถมองเห็นกันไดเปนตน

พระมัญชุศรีโพธิสัตวกลาวกับพระไมเตรยโพธิสัตวและบริษัททั้งปวงวา เคยรู และเคย


เห็นปุพพนิมิตอยางนี้ และเขาใจวา พระตถาคตคงประสงคจะทําการแสดงธรรม แลวพระมัญชุศรี
โพธิสัตวก็ไดแสดงประวัติของพระพุทธเจาในอดีตวา อดีตกาลที่ลวงมาแลวชานาน มีพระตถาคต
อรหันตสัมมาสัมพุ ทธเจาทรงพระนามวาจันทรสูรยประทีป ทรงแสดงธรรมแกพระสาวกและ
พระโพธิสัตวทั้งหลาย หลังจากนั้นไดมีพระพุทธเจาอีกจํานวน ๒๐,๐๐๐ พระองคทรงมีพระนามวา
จั น ทรสู ร ยประที ป เช น กั น พระพุ ท ธเจ า องค สุ ด ท า ยของพระพุ ท ธเจ า เหล า นี้ มี พ ระราชโอรส
๘ พระองค เมื่อทรงทราบวาพระราชบิดาไดบรรลุอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณแลว ก็ไดสละราชสมบัติ
ออกผนวชตามพระราชบิดา

เมื่อพระพุทธเจาจันทรสูรยประทีปเสด็จออกจากสมาธิแลว เพื่อโปรดพระโพธิสัตว
วรประภา พระองค ไ ด ท รงแสดงธรรมที่ ชื่ อ ว า สั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต ร เมื่ อ แสดงธรรมจบแล ว
พระพุทธเจาพระองคนั้นก็ไดประกาศการเขาสูปรินิพพาน พระโพธิสัตววรประภาไดประกาศสอน

Page 93 of 162
๗๙

สั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รนั้ น ต อ ไป ส ว นพระราชโอรสทั้ ง ๘ ได เ ป น ลู ก ศิ ษ ย ข องพระโพธิ สั ต ว


วรประภา ซึ่งทุกพระองคไดสําเร็จตรัสรูพระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ ราชโอรสองคสุดทายไดเปน
พระพุ ท ธเจ า พระนามว า ที ป ง กร ในหมู ลู ก ศิ ษ ย ๘ องค นั้ น มี อ งค ห นึ่ ง ชื่ อ ยศั ส กาม ซึ่ ง ก็ คื อ
พระโพธิสัตวไมเตรยะในเวลานี้ และพระโพธิสัตววรประภาคือตัวทานเอง พระมัญชุศรีไดสรุปวา
พระตถาคตเจาทรงปรารถนาจะแสดงธรรมเทศนาที่ชื่อวาสัทธรรมปุณฑรีกสูตร๔๓

๒. เรื่องของพระมหาภิชญาชญานาภิภูพุทธเจาและพระโอรส ๑๖ พระองค

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระพุ ท ธเจ า ทรงยกเรื่อ งนี้ ขึ้น แสดงแก เ หล า พระสาวกถึง เหตุ ก ารณ ใ นอดี ต ของ
พระมหาภิชญาชญานาภิภูพุทธเจา พระโอรส ๑๖ พระองค รวมถึงพระสาวกทั้งหลาย เพื่อทรงแสดงธรรม
ใหพระสาวกไดมีความเขาใจในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรที่พระองคทรงแสดง มีรายละเอียดโดยยอ
ดังตอไปนี้

พระพุทธเจาทรงกลาวกับเหลาพระสาวกวา เรื่องเคยมีมาแลวในอดีตอันยาวนาน
มีพระพุทธเจาทรงพระนามวามหาภิชญาชญานาภิภู อุบัติขึ้นในโลกธาตุที่ชื่อวาสมภพ ครั้งนั้น
พระพุทธเจามหาภิชญาชญานาภิภูไดประทับที่โพธิมณฑลดวยจิตใจที่สงบตลอดทั้ง ๑๐ กัลป ก็ยัง
ไมไดบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณ ครั้งนั้นเทวดาชั้นดาวดึงสไดจัดสีหบัลลังกสูงแสนโยชนถวาย
พระผูมีพระภาคเจาประทับนั่งแลวก็ไดตรัสรูอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ พระตถาคตเจานั้นทรงมีราช
โอรส ๑๖ พระองค เมื่อทรงทราบวา พระราชบิดาบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณแลว ก็เสด็จไปเฝาทูล
อาราธนาให พระพุ ทธเจ าทรงแสดงธรรม บรรดาพระพรหมทั่ วทุ กสารทิ ศต า งพากั น มาทู ล ขอให
พระพุ ท ธองค ท รงแสดงธรรม ครั้ น แล ว พระองค ไ ด ท รงแสดงธรรมคื อ อริ ย สั จ ๔ และทรง
แสดงปฏิจจสมุปบาท เจาชายทั้ง ๑๖ องคทรงเกิดศรัทธาไดบรรพชาเปนสามเณร และกราบทูลให
ทรงเทศนาพระธรรมแหงอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ

พระองค จึ งตรั สพระสู ตรที่ มี ชื่ อว า สั ทธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ตร ในท า มกลางบริ ษั ท สี่
เหลานั้น พระสาวกทั้งหลายไดถึงความหลุดพน แตสามเณร ๑๖ รูปและเหลาสัตวจํานวนมากยังมี
ความลังเลสงสัย พระพุทธเจาพระองคนั้นทรงแสดงสัทธรรมปุณฑรีกสูตรตอไป แลวเสด็จเขาสมาธิ
ในขณะที่พระพุทธเจาเสด็จเขาสมาธิ สามเณรทั้ง ๑๖ รูปตางก็แยกยายกันแสดงสัทธรรมปุณฑรีกสูตร
ทามกลางบริษัทสี่ สรรพสัตวไดบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณอยางมากมาย เมื่อพระพุทธเจาเสด็จ
ออกจากสมาธิ ไ ด ต รั ส กั บ ที่ ป ระชุ ม ว า สามเณรทั้ ง ๑๖ องค นี้ เป น ผู มี บุ ญ เป น ผู มี พุ ท ธป ญ ญา

๔๓
ดูรายละเอียดใน สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๒-๑๗.

Page 94 of 162
๘๐

และแนะนํ า ให ส รรพสั ต ว เ ข า ถึ ง พุ ท ธป ญ ญาด ว ย และได บ รรลุ อ นุ ต รสั ม มาสั ม โพธิ ญ าณ
กั น หมดแล ว ในป จ จุ บั น กํ า ลั ง แสดงธรรมอยู ใ นพุ ท ธเกษตรในทุ ก ทิ ศ ซึ่ ง องค ที่ ๑๖ได เ ป น
พระพุ ท ธเจ า ในทิ ศ ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ก็ คื อ พระพุ ท ธเจ า ศากยมุ นี ผู ไ ด บ รรลุ อ นุ ต รสั ม มา
สัมโพธิ ญาณอยูใ นสหาโลกธาตุ นี้ พระองคยัง ตรัสวาผู ที่ ไ ด ฟงธรรมของสามเณรคื อ พวกภิก ษุ
ทั้ ง หลายในเวลานี้ ในสมั ย ข า งหน า ก็ จ ะเป น ศิ ษ ย ส าวกของพระองค อี ก และจั ก ฟ ง จริ ย าของ
พระโพธิสัตวแตไมรูตัววาเปนพระโพธิสัตว และจะเขาใจในเรื่องนิพพาน จักเขาถึงปรินิพพาน๔๔

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๓. เรื่องพระเทวทัตผูเปนกัลยาณมิตร

พระพุ ท ธเจ า ทรงยกเรื่ อ งของพระเทวทั ต ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ กั บ พระองค ใ นอดี ต


และพยากรณวาพระเทวทัตจะตรัสรูเปนพระพุทธเจาในอนาคต ซึ่งในคัมภีรพระพุทธศาสนาได
ชี้ ใ ห เ ห็ น ว า พระเทวทั ต เป น ตั ว อย า งของคนชั่ ว ร า ย ตั้ ง ตั ว เป น ศั ต รู มี ค วามริ ษ ยาและคิ ด ทํ า ร า ย
พระพุทธเจาจนตองกรรมหนั กที่เรียกวาอนันตริยกรรม ๕ พระเทวทัตไดทําอนัตตริยกรรมคือ
อรหันตฆาต(กรณีทุบตีอุบลวรรณาเถรีจนตาย) โลหิตุปบาท(ทิ้งกอนหินใสพ ระพุทธเจา ) และ
สังฆเภท(ยุใหสงฆ ๕๐๐ รูปแยกตัวจากคณะสงฆ) อีกทั้งเปนคนยุใหพระเจาอชาติศัตรูปลงพระชนม
พระเจาพิมพิสารเพื่อแยงพระราชบัลลังก ก็ยังสามารถตรัสรูเปนพระพุทธเจาได ซึ่งเปนการแสดง
ให เ ห็ น ถึ ง ความใจกว า งของคํ า สอนและยื น ยั น ในหลั ก พุ ท ธภาวะที่ มี อ ยู ใ นสรรพสั ต ว ข อง
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร สรุปไดดังนี้

พระพุทธเจาตรัสกับเหลาพระสาวก พระโพธิสัตววา ในอดีตกาลพระองคไดเที่ยว


แสวงหาสัทธรรมปุ ณฑรี กสูตรมาตลอดระยะเวลามากมายหลายกั ลป ครั้งนั้นพระองค ทรงเป น
พระราชาปกครองอาณาจักรและไดตั้งปณิธานที่จะแสวงหาพระโพธิญาณอันสูงสุด และไดบําเพ็ญ
บารมี ๖ อยางขยันขันแข็งตลอดเวลา ในที่สุดพระองคไดสละราชสมบัติออกเที่ยวประกาศไปทั่ว
ทุกทิศวา ผูใดสามารถสอนธรรมอันประเสริฐแกขาพเจาได ขาพเจาจะยอมเปนทาสรับใชของผูนั้น

ครั้งนั้นมีฤาษีตนหนึ่งไดเขามาเฝาพระราชาแลวกลาววา ขาพเจามีพระสูตรหนึ่งที่ชื่อ
วาสัทธรรมปุณฑรีก ถาทานยอมปฏิบัติตามคําสั่งของขาพเจา ขาพเจาจะแสดงพระสูตรนี้ใหแกทาน
ครั้นไดฟงแลว พระราชาเกิดความปติยนิ ดียิ่งนัก ไดติดตามพระฤาษีไปในทันที ยอมรับใชทุกอยาง
ที่ฤาษีตองการ เก็บผลไม ตกน้ํา เก็บฟน จัดหาอาหาร คอยรับใชทุกเวลาทั้งกลางวันและกลางคืน
โดยไมมีความเหน็ดเหนื่อยกายหรือใจอยูเปนเวลา ๑,๐๐๐ ป

๔๔
ดูรายละเอียดใน สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๙๑-๑๐๗.

Page 95 of 162
๘๑

ครั้ น แล ว พระองค ท รงตรั ส ว า พระราชาในครั้ ง นั้ น คื อ ตั ว เราเอง ส ว นฤาษี ก็ คื อ


พระเทวทัตในเวลานี้ ทั้งหมดลวนเปนเพราะพระเทวทัตผูเปนกัลยาณมิตรของเรา เราจึงสามารถเปน
ผูสมบูรณดวย บารมี ๖ พรหมวิหาร ๔ มหาปุริสลักษณะ ๓๒ อนุพยัญชนะ ๘๐ ผิวกายสีทองเขม
พละ ๑๐ ความไมกลัว ๔ สังคหวัตถุ ๔ คุณสมบัติพิเศษเฉพาะ ๑๘ อภิญญา และพลังแหงมรรค
ที่ เ ราได บ รรลุ ค วามรู แ จ ง อั น ถู ก ต อ งและสามารถช ว ยสรรพสั ต ว อ ย า งกว า งขวางได ล ว นแล ว
เนื่อ งมาจากเทวทั ต ผูเ ป น มิ ต รที่ ดี ทั้งสิ้ น แลว พระองค ท รงพยากรณ ว า พระเทวทัต จะไปตรัส รู
เปนพระพุทธเจาพระนามวา พระเทวราชตถาคต อยูในเทวโสปานโลกธาตุ๔๕

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๔. เรื่องธิดาพญานาค

เป น เรื่ อ งที่ พ ระมั ญ ชุ ศ รี โ พธิ สั ต ว ไ ด ย กตั ว อย า งของบุ ค คลที่ ท า นได ไ ปโปรดที่
วังบาดาลอันเปนที่อยูของพญานาคทั้งหลาย จนไดสําเร็จพระสัมมาสัมโพธิญาณ แกทานปรัชญากูฏ
โพธิ สั ต ว ซึ่ ง ท า นมั ญ ชุ ศ รี โ พธิ สั ต ว ไ ด ย กธิ ด าพญานาคราช ที่ มี อ ายุ เ พี ย ง ๘ ป เ ป น ตั ว อย า ง
ธิดาพญานาคเหมือนเปนตัวแทนของผูหญิง เด็ก และสัตวเดรัจฉาน จึงเปนสิ่งย้ําใหเห็นวาธรรมชาติ
แหงพุทธภาวะลวนมีอยูในสรรพสัตวทุกชนิด ทุกเพศ ทุกวัย โดยไมมีความแตกตางในการที่จะ
เขาถึงพระสัมมาสัมโพธิญาณ ดังมีรายละเอียดตอไปนี้

พระมัญชุศรีโพธิสัตวก็ไดกลับมาเฝาพระพุทธเจาศากยมุนีหลังจากไปโปรดบรรดา
พญานาคที่เมืองบาดาล พระปรัชญากูฏโพธิสัตวไดถามพระมัญชุศรีวา เมื่อทานอยูที่เมืองบาดาล
ทานไดโปรดสรรพสัตวใหตั้งอยูในอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณมีจํานวนเทาใด พระมัญชุศรีตอบวามี
มากมายมิอาจนับได เมื่อเราอยูในเมืองบาดาลเราไดสอนสัทธรรมปุณฑรีกสูตรเพียงสูตรเดีย ว
พระปรัชญากูฏะถามตอไปวา มีใครบางไหมที่ไดฟงพระสูตรนี้แลวเขาใจและไดตรัสรูพระสัมมา
สัมโพธิญาณ พระมัญชุศรีตอบวา มีธิดาพญานาคคนหนึ่งอายุเพียง ๘ ป มีปญญาเฉียบคม มีความ
เมตตากรุณากวางใหญ เธอสามารถสําเร็จการตรัสรูอันสูงสุดไดทันที

พระปรัชญากูฏะไดฟงดังนั้นสงสัยไดกลาวแยงวา ทานไดเห็นพระศากยมุนีพุทธเจา
ทรงบําเพ็ญเพียรอยางเขมงวดและยากลําบาก ปฏิบัติโพธิสัตวมรรค ไมเคยหยุด เพื่อประโยชนของ
สรรพสั ตว ต ลอดหลายพั น กั ลป พระองค จึ งสํ าเร็ จพุ ทธมรรคได แล วธิ ดาพญานาคเพี ยงชั่ วขณะ
เธอสามารถบรรลุการตรัสรูอันถูกตองได จึงไมนาเปนไปได เมื่อพระปรัชญากูฏะกลาวจบ ธิดาพญานาค
ไดปรากฏตนขึ้น แลวประกาศวามีเพียงพระพุทธเจาเทานั้นที่สามารถรับรองการตรัสรูของเธอได

๔๕
ดูรายละเอียดใน สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๑๔๕-๑๔๖.

Page 96 of 162
๘๒

พระศาริบุตรก็สงสัยเชนกันไดกลาวกับธิดาพญานาควา โพธิจิตยอมเกิดขึ้นแกเธอได
แต ค วามเป น พระพุ ท ธเจ า นั้ น เป น ไปได ย าก เพราะว า ผู ห ญิ ง ย อ มไม เ ข า ถึ ง สถานะ ๕ อย า งคื อ
พระพรหม พระอินทร พระยามาราธิราช พระเจาจักรพรรดิราช และพระพุทธเจา ธิดาพญานาคนั้น
ได ถวายแก วมณี แด พระพุ ทธเจ า พระพุ ทธเจ าได ทรงรั บแกวมณี นั้ น ธิ ดาพญานาคได กล าวกั บ
พระปรัชญากูฎะและพระศาริบุตรวา ขาพเจาไดถวายแกวมณีแดพระพุทธเจาทรงรับโดยพลัน ขาพเจา
มีฤทธิ์มากจึงตรัสรูพระสัมมาสัมโพธิญาณไดโดยพลัน แลวธิดาพญานาคไดแสดงตนเปนบุรุษเพศ
และแสดงตนเปนพุทธะทรงแสดงธรรมไปทั่วทิศทั้ง ๑๐ ซึ่งพระปรัชญากูฏะและพระศาริบุตรได

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ยอมรับสิ่งเหลานี้โดยการนิ่ง๔๖

๕. เรื่องพระสทาปริภูตโพธิสัตว

เรื่ อ งนี้ เ ป น เรื่ อ งที่ พ ระพุ ท ธเจ า ทรงยกมาเป น อุ ท าหรณ ตรั ส เล า แก พ ระมหา
สถามปราปตะ หลังจากที่ทรงแสดงวาบุคคลใดไมเชื่อ สาปแชง ดาวา บริษัท ๔ ผูรักษาสัทธรรม
ปุ ณ ฑรี ก สู ต รย อ มได รั บ วิ บ ากกรรมที่ ไ ม พึ ง ปรารถนา และบุ ค คลผู ป ระกาศเผยแผ สั ท ธรรม
ปุณฑรีกสูตร ยอมไดรับวิบากกรรมที่ดีงามคืออายตนะ ๖ ยอมถึงความบริสุทธิ์ โดยยกพระสทา
ปริภูตเปนตัวอยาง ดังมีรายละเอียดตอไปนี้

ดู ก อ นมหาสถามปราปตะในอดี ต กาลล ว งมาแล ว มี พ ระพุ ท ธเจ า พระองค ห นึ่ ง


พระนามว า ภี ษ มครรชิ ต สวรราช พระองค ท รงโปรดสรรพสั ต ว อ ย า งกว า งขวาง หลั ง จาก
พระสัทธรรมของพระภีษมครรชิตสวรราชไดอันตรธานไปแลว และกําลังอยูในสมัยสัทธรรม
ปฏิรูป มีภิกษุผูเปนพระโพธิสัตวชื่อวาสทาปริภูตะ เหตุที่ภิกษุรูปนี้ไดชื่อวาสทาปริภูตะก็เพราะวา
เมื่อทานไดพบเห็น ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาคนใดก็ตามไดเขาไปหาแลวกลาววา “ดูกอนทาน
ผูมีอายุ เราไมเคยดูหมิ่นทานทั้งหลายเลย เพราะวาทานผูเจริญทั้งหลายทั้งปวง ยอมดําเนินตาม
จรรยาวัตรของพระโพธิสัตว ทานทั้งหลายจักไดเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา” พระโพธิสัตวสทาปริภูต
ทานไมไดสนใจในการศึกษาพระสัทธรรม และแสดงธรรมเลยไดแตคอยตามบอกเหลาบริษัท ๔
อยางนี้ จนเปนที่รําคาญและรังเกียจของภิกษุทั้งหลาย สทาปริภูตะโพธิสัตวไดกลาวกับบริษัท ๔
อยางนี้เรื่อยไป บางครั้งก็โดนดา บริภาษ ขวางปาดวยกอนดินและทอนไมบาง แตทานก็ไมโกรธ
ไมมีจิตพยาบาทแกบุคคลพวกนั้น

๔๖
ดูรายละเอียดใน สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๑๔๗-๑๕๐.

Page 97 of 162
๘๓

สทาปริ ภู ต ะโพธิ สั ต ว นั้ น ใกล ถึ ง มรณะกาลก็ ไ ด ฟ ง สั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รจาก


พระภีษมครรชิตสวรราชพระองคนั้น ทานไดรับ เขาใจและเทิดทูนไวได อายตนะ ๖ ของทานก็บริสุทธิ์
และอธิ ษฐานให ตนมี ชี วิ ตยื นยาวออกไปอี ก ยี่ สิ บร อยพั นหมื่ นโกฏิ ป เพื่ อที่ จะเผยแผ สั ทธรรม
ปุณฑรีกสูตร เหลาบริษัท ๔ ทั้งหลายที่เคยดูหมิ่นคิดรายตอทานเมื่อเห็นดังนี้ก็เกิดศรัทธาเลื่อมใส
และยอมเปนบริวารทาน เพื่อไดฟงธรรมจากทาน ทําใหสรรพสัตวจํานวนมากตั้งอยูในพระโพธิญาณ

พระพุ ทธเจาศากยมุ นี ก็ได ตรั สกับพระมหาสถามปราปตะวา ตั วเราคื อสทาปริภู ต

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
โพธิสัตวในสมัยนั้นนั่นเอง สวนบริษัท ๔ ที่ปองราย อาฆาตพยาบาทสทาปริภูตะโพธิสัตว จะไดรับ
วิบากกรรมโดยไมพบพระพุทธเจาตลอดยี่สิบรอยพันหมื่นโกฏิกัลป ไมไดยินเสียงพระธรรมและ
พระสงฆ จะตกไปในมหานรกอเวจีตลอดหมื่นกัลป แตเมื่อพนจากวิบากนั้นแลว พระโพธิสัตว
นั้นเอง จะโปรดพวกเขาเหลานั้นใหตั้งในพระสัมมาสัมโพธิญาณ

๖. เรื่องบุพกรรมของพระไภษัชยราชโพธิสัตว

เปนเรื่องที่พระพุทธเจาทรงเลาใหพระโพธิสัตวนักษัตรราชสังกุสุมิตาภิชญะที่สงสัย
เกี่ยวกับจริยาวัตรของพระไภษัชยราชโพธิสัตว ที่อดทนลําบากในการทองเที่ยวโปรดสรรพสัตว
บนโลกนี้ และเพื่ อ ให ส รรพสั ต ว ทั้ ง หลายฟ ง แล ว จะได เ กิ ด ป ติ ยิ น ดี และมี จิต ใจที่ สู ง ขึ้ น โดยมี
รายละเอียดดังตอไปนี้

ในอดีตกาลลวงมาแลว มีพระพุทธเจาพระองคหนึ่งพระนามวาจันทรสูรยวิมลประภาศรี
พระองคไดเทศนาสัทธรรมปุณฑรีกสูตรทําใหพระสรรวสัตวปริยทรรศนโพธิสัตวมีศรัทธาตั้งมั่น
นอมนํามาประพฤติปฏิบัติ จนไดบรรลุสรรวรูปสันทรรศนสมาธิ(สมาธิที่สามารถมองเห็นรูปทั้งปวง)
ไดทําการสักการบูชาแดพระพุทธเจาและสัทธรรมปุณฑรีกสูตร ดวยการบันดาลใหมีดอกไมทิพย
และผงไมจันทรหอม โปรยปรายลงมาจากทองฟา เปนเครื่องบูชาแดพระพุทธเจา แตพระโพธิสัตว
ยังรูสึกไมเพียงพอ จึงไดบริโภครสธูปไมกฤษณาและกํายาน ทั้งดื่มน้ํามันดอกจําปาเปนเวลา ๑๒ ป
แลวใชผาทิพยพันตามรางกายของตนแลวกระโจนจงในน้ํามันหอม ไดทําการอธิษฐาน และจุดไฟ
เผารางกายของตน เพื่อบูชาพระพุทธเจาและสัทธรรมปุณฑรีกสูตร โลกธาตุทั้งปวงก็สวางโชติชวง
บรรดาพระพุทธเจาทั้งปวงไดตรัสสรรเสริญ

รางกายของพระโพธิสัตวไหมไฟอยูนานถึง ๒,๔๐๐ ป จึงไดจุติเปนพระโอรสของ


พระเจาวิมลทัตตะ และไดไปเฝาพระพุทธเจาพระจันทรสูรยวิมลประภาศรี ซึ่งพระองคกําลังจะเสด็จ
เขาสูปรินิพพาน จึงไดนําเอาไมจันทรอุรคสารถวายพระเพลิงพระสรีระแลวไดรวบรวม พระอัฐิธาตุ
บรรจุไวในพระสถูป ๘๔,๐๐๐ องค แตพระโพธิสัตวนั้นยังไมพอใจ จึงไดเผาแขนของตน ณ เบื้อง

Page 98 of 162
๘๔

หนาพระสถูปเปนเวลา ๗๒,๐๐๐ ป และยังไดสั่งสอนเหลาพระสาวกและพระโพธิสัตวจํานวนมาก


ใหบรรลุสรรวรูปสันทรรศนสมาธิทุกองค

บรรดาพระสาวกพระโพธิสัตวทั้งปวงตางตกใจและเสียใจยิ่งนัก พระโพธิสัตวสรรว
สัตวปริยทรรศนจึงไดประกาศสัตยาธิษฐาน แขนของพระโพธิสัตวก็ไดกลับมาเปนเหมือนเดิม
พระพุทธเจาทรงกลาวกับพระนักษัตรราชสังกุสุมิตาภิชญโพธิสัตววา พระไภษัชยราชโพธิสัตวก็คือ
พระสรรวสัตวปริยทรรศนโพธิสตั วในกาลนั้นนั่นเอง๔๗

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ในเรื่องการเผารางกายและแขนของพระโพธิสัตวสรรวสัตวปริยทรรศนนั้น นิกเกียว
นิวาโนไดอธิบายวา ตองจับเอาสาระจากเรื่องนี้ใหได วาจริงแลวมันคืออะไร ในอินเดียโบราณโยคี
จํานวนมากก็ทําอยางนั้น ประเทศจีน ญี่ปุนก็เชนกัน และเวียดนามที่มีพระภิกษุหลายรูปไดเผาตัวเอง
และนั่งมรณภาพทามกลางเปลวไฟ ซึ่งการทําเชนนั้นยอมขัดกับคําสอนเรื่องทางสายกลางของ
พระพุทธเจา และไมสมควรไดรับการยกยอง ในกรณีของพระโพธิสัตวสรรวสัตวปริยทรรศนนั้น
เปนการแสดงสัญลักษณของจิตใจที่เต็มไปดวยความเขมแข็งและกลาหาญในการปฏิบัติตามคําสอน
ที่แสดงใหเห็นธาตุแทในการปฏิบัติตามธรรมะโดยยอมเอาชีวิตของตัวเองเขาเสี่ยง ดังนั้นจึงควรจับ
ที่สาระมากกวาความหมายที่ตื้นๆ ที่ชักนําไปผิดทาง๔๘

ในเรื่องนี้ผูวิจัยเห็นดวยกับนิกเกียว นิวาโน เพราะเปนการทํารายชีวิตและรางกาย


ของตนเอง เปนที่สุดขั้วขางอัตตกิลมถานุโยค คือ การทําตนใหลําบาก ซึ่งไมกอใหเกิดประโยชน
แตอยางใด พระพุทธองคไดตรัสไววาหากจะบูชาตถาคตแลว ใหบูชาดวยการปฏิบัติตามคําสอน
ของพระองค จึงนับวาเปนการบูชาที่แทจริง

๗. เรื่องพระคัทคทัสวรโพธิสัตว

เป นเรื่ องที่ พระพุ ทธเจ าได ยกขึ้นมาแสดงแก พระปทมศรีโพธิสั ตว ที่ สงสั ยในเหตุ
มหัศจรรยที่เกิดขึ้นของพระคัทคทัสวรโพธิสัตว จึงทูลถามพระพุทธเจาวาพระคัทคทัสวรโพธิสัตว
ไดสรางสมบุญกุศลอะไรในอดีต จึงทําใหทานมีอํานาจเหนือธรรมดาเหลานี้ มีรายละเอียดดังนี้

ครั้ ง อดี ต กาลในสมั ย ของพระพุ ท ธเจ า เมฆทุ น ทุ ภิ ส วรราชะ ประทั บ อยู ใ น


สรรวรูปสันทรตนโลกธาตุในปริยทรรศนกัลป พระคัทคทัสวรไดบรรเลงเครื่องดนตรีหนึ่งแสนชนิด

๔๗
ดูรายละเอียดใน สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๒๒๓-๒๒๘.
๔๘
Nikkyo Niwano, Buddhism for Today, pp. 350-351.

Page 99 of 162
๘๕

ตลอดเวลาสิบสองแสนป และไดถวายสัปตรัตนภาชะ ๘๔,๐๐๐ ชิ้นแดพระพุทธเจา จึงไดรับผลแหง


การกระทําเหลานี้ พระคัทคทัสวรไดเปนผูใกลชิด ไดสรางกุศล ไดเขาเฝาพระพุทธเจาทั้งหลาย
มีจํานวนเทาเมล็ดทรายในแมน้ําคงคา ทานทั้งหลายอยาสงสัยเลยวาจะเปนพระคัทคทัสวรโพธิสัตว
องคอื่น อยาคิดอยางนี้ พระโพธิสัตวองคนั้นก็คือพระคัทคทัสวรโพธิสัตวองคนี้นั่นเอง

ในเรื่ อ งนี้ บ างท า นเห็ น ว า เป น การกระทํ า ที่ ง า ยกว า จริ ย าวั ต รของพระโพธิ สั ต ว
มหาสั ตว อ งค อื่น ๆ ในการที่ จ ะได รั บอิ ทธิ ฤ ทธิ์ แ ละลั ก ษณะรู ป กายที่ โ ดดเด น นิ ก เกีย ว นิ ว าโน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ไดตีความเรื่องนี้วา ความหมายของการบรรเลงดนตรีบูชาพระพุทธเจา คือการสดุดีพระคุณของ
พระพุทธเจาดวยวาจา มากกวาการเลนดนตรีจริงๆ และการถวายสัปตรัตนภาชะ ๘๔,๐๐๐ ชิ้น
ซึ่งศัพทวา ๘๔,๐๐๐ นั้นหมายถึงพระสูตรจํานวนมาก จึงตีความวาพระคัทคทัสวรโพธิสัตวไดสอน
คําสอนของพระพุทธเจาแกคนจํานวนมาก เปนการตอบแทนเพื่อใหเขาไดรับพุทธานุภาพนี๔๙้

๘. เรื่องบุพกรรมของพระศุภวยูหราช

เรื่องนี้พระพุทธเจาทรงยกขึ้นแสดงเองตอคณะโพธิสัตวเปนเรื่องราวในอดีตชาติของ
พระปทมศรีโพธิสัตว พระไวโรจนรัศมีประมัณฑิตธวัชราชโพธิสัตว พระไภษัชยราชโพธิสัตว
และพระไภษัชยสมุทคต ที่อยูในครอบครัวเดียวกันที่พอลูกมีความคิดทางศาสนาตางกัน แตสุดทาย
พอก็ไดหันมาศรัทธาในพุทธศาสนาดวยการชักจูงของลูก ดังมีรายละเอียดดังนี้

ในอดีตอั น ยาวไกลจนมิอ าจนับ ได มี พ ระพุทธเจาพระนามว า พระชลธรครรชิ ต


โฆษสุ ส วรนั ก ษั ต รราชสั ง กุ สุ มิ ต าภิ ช ญะ มี พ ระราชาพระองค ห นึ่ ง พระนามว า ศุ ภ วยู ห ะทรงมี
พระราชโอรส ๒ พระองค พระนามวาวิมลครรภ และวิมลเนตร พระโอรส ๒ องคมีศรัทธาใน
พระพุทธศาสนา มีอิทธิฤทธิ์เพราะเปนผูเขาถึงสมาธิขั้นสูง ครั้งนั้นพระผูมีพระภาคพระองคนั้นได
แสดงสัทธรรมปุณฑรีกสูตรเพื่ออนุเคราะหสรรพสัตว พระโอรสทั้ง ๒ พระองคไดเขาไปทูลขอ
อนุญาตพระศุภวยูหะพระบิดาผูเลื่อมใสในพราหมณ เกรงวาจะไมทรงอนุญาต พระราชโอรสทั้ง
๒ พระองคจึงทรงแสดงอิทธิฤทธิ์ดวยการทํายมกปฏิหาริย เพื่อสงเคราะหพระบิดา เมื่อพระเจา
ศุภวยูหะทรงทอดพระเนตรเชนนั้นไดทรงมีปติยินดี เขาไปตรัสถามพระโอรสวา ใครเปนครูของเจา
ทั้งสอง พระโอรสทูลวาขาพระองคเปนศิษยของพระชลธรครรชิตโฆษสุสวรนักษัตรราชสังกุสุ
มิตาภิชญะพุทธเจา พระเจาศุภวยูหะไดตรัสวาเราทั้งหลายจักไปเฝาพระพุทธเจาพระองคนั้น

๔๙
Ibid., pp. 373-374.

Page 100 of 162


๘๖

พระผูมีพระภาคพระองคนั้นทรงทราบวาพระเจาศุภวยูหะพรอมบริวารไดเสด็จมาเฝา
ทรงแสดงธรรม ใหเกิดศรัทธา ขณะนั้นพระเจาศุภวยูหะไดบังเกิดสัมมาทิฎฐิ มีศรัทธาในธรรมกถา
จึงมอบพระราชสมบัติแกพระอนุชา และไดทรงผนวชในสํานักของพระผูมีพระภาคพระองคนั้น
พรอมทั้งพระมเหสี ราชโอรสและบริวาร ไดบําเพ็ญเพียร เจริญภาวนา จนไดบรรลุสมาธิชื่อวา
สรรวคุ ณ าลั ง การวยู ห ะ และได เ หาะขึ้ น ไปบนฟ า ได ก ราบทู ล พระผู มี พ ระภาคพระองคนั้ น ว า
ขาแตพระผูมีพระภาคเจา พระโอรสทั้ง ๒ นี้ คือครูและกัลยาณมิตรของขาพระองค เพราะเปนผูชัก
นําใหออกจากมิจฉาทิฏฐิมาดํารงอยูในพระพุทธศาสนา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระชลธรครรชิตโฆษสุสวรนักษัตรราชสังกุสุมิตาภิชญะพุทธเจาไดตรัสวา ถูกละ
เพราะการพบกัลยาณมิตรคือการใหโอกาสเพื่อพบพระตถาคต พระโอรสทั้ง ๒ เปนผูรักษาซึ่ง
สัทธรรมปุณฑรีกสูตรนี้เพื่ออนุเคราะหสัตวทั้งหลายที่มีความเห็นผิด และทรงพยากรณพระเจาศุภวยูหะ
วาจักไดเปนพระพุทธเจาพระนามวาศาเลนทรราช แลวพระพุทธเจาทรงตรัสวาพระเจาศุภวยูหะคือ
พระปทมศรีโพธิสัตว พระมเหสีวิมลทัตตาคือ พระไวโรจนรัศมีประมัณฑิตธวัชราชโพธิสัตว
พระราชโอรสทั้ง ๒ คือ พระไภษัชยราช กับพระไภษัชยสมุทคต๕๐

ผูวิจัยตั้งขอสังเกตวา พระไภษัชยราชโพธิสัตวองคนี้ จะเปนองคเดียวกับพระไภษัชยราช


โพธิสัตวที่กลาวมาแลวในเรื่องบุพกรรมของพระไภษัชยราชโพธิสัตว(ดูในงานวิจัยนี้ หนา ๘๓)
หรื อ ไม เพราะประวั ติ ก ล า วไว ไ ม ต รงกั น และในหลายๆ ที่ ก ล า วว า มี พ ระพุ ท ธเจ า มี พ ระนาม
เหมื อ นกั น เป น จํ า นวนมาก(ดู ใ นงานวิ จั ย นี้ หน า ๗๘) จึ ง อาจไม ใ ช อ งค เ ดี ย วกั น หรื อ อาจเป น
องคเดียวกันก็ได หากแตกลาวประวัติคนละชาติกันก็เปนได จึงนาที่จะคนควาตอไป

ง. การแสดงเหตุผล

คัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตรเปนพระสูตรที่มุงเนนในแงของความศรัทธาเปนสําคัญ
พระสู ต รนี้ เ น น ว า ป ญ ญาของพระพุ ท ธเจ า ลึ ก ซึ้ ง ยากที่ ม นุ ษ ย ส ามั ญ จะเข า ถึ ง ได จึ ง เสนอให
ทองบนพระสูตรนี้ แมไมเขาใจ หากมีศรัทธาก็ตรัสรูได เพื่อนําพาสรรพสัตวใหเขาถึงพระสัมมา
สัมโพธิญาณทั้งหมด และถาใชหลักวิชาการอยางฝรั่งจะหาบทสรุปจากพระสูตรนี้ไมไดเลย๕๑
ดังนั้นการอธิบายแสดงเหตุผลทางคําสอนหลักของพระพุทธศาสนาเชนอริยสัจ ๔ ปฏิจจสมุปบาท
ศูนยตา และหลักปฏิบัติทั่วไป สัทธรรมปุณฑรีกสูตรไดอธิบายแคเพียงผิวเผินไมไดลงรายละเอียด

๕๐
ดูรายละเอียดใน สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๒๔๗-๒๕๓.
๕๑
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ฉัตรสุมาลย กบิลสิงห, หนา คํานํา (๑๕).

Page 101 of 162


๘๗

เทาที่ควร การแสดงดวยเหตุผลนี้เปนการจําแนกแยกแยะธรรมใหเห็นเหตุปจจัยที่สงผลตอกันเกิด
เป น สิ่ ง ใหม หรื อ เห็ น ความสั ม พั น ธ ข องธรรมะ เป น กุ ศ โลบายในการทํ า ให เ ข า ใจธรรมที่ ย าก
และลึกซึ้งได ดังนี้

๑. ลําดับขั้นตอนเขาสูพระนิพพาน

พระพุทธเจาทรงอธิบายวิธีการพนทุกข(มรรค) ทรงเปรียบความทุกขเปนเชนดัง
โรคราย และคําสอนของพระองคเปรียบเชนยารักษาโรคซึ่งมี ๔ ชนิดคือ ศูนยตา(ความวางเปลา)

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
อนิมิตตา(ความไมยึดมั่น) อัปปณิหิตา(ความไมปรารถนา) และพระนิพพาน(ความดับ) ซึ่งการรักษา
โรคไดก็ตองใชยา ดังที่พระพุทธองคตรัสอธิบายวา

สั ต ว ทั้ ง หลาย เจริ ญ วิ โ มกข ส าม คื อ สุ ญ ญตวิ โ มกข ( หลุ ด พ น ด ว ยเห็ น ความว า งเปล า )
อนิมิตตวิโมกข(หลุดพนดวยการไมยึดติดนิมิต) อัปปณิหิตวิโมกข(หลุดพนดวยไมทําความ
ปรารถนา) ก็ จ ะดั บ อวิ ช ชา(ความไม รู ) ได เมื่ อ ดั บ อวิ ช ชาได สั ง ขาร(การปรุ ง แต ง ) ก็ ดั บ
และในที่ สุด ก็ จ ะดับกองทุ ก ขอัน ยิ่ง ใหญลงได แลว จิตก็จ ะไม ตั้งอยูทั้ง ในความดี และใน
ความชั่ว(พระนิพพาน)๕๒

เป น การแจกแจงใหเ ห็ น ถึง วิธีก ารหรือขั้ น ตอนการเข าถึง นิพ พาน ด ว ยการเจริ ญ
วิโมกขทั้ง ๓ ใหบริบูรณ ก็จะสามารถที่จะขจัดอวิชชา สังสาร ลงไดตามลําดับ จนในที่สุดก็สามารถ
หลุดพนจากความทุกขทั้งปวง เขาถึงภาวะแหงนิพพาน

๒. ศูนยตา

พระพุทธเจาทรงอธิบายใหเห็นถึงภาวะของศูนยตาและหากผูใดเห็นศูนยตาก็เทากับ
รูแจงธรรมทั้งปวงถือวาเปนการบรรลุพระนิพพานแทจริง

บุคคลใดไมบรรลุธรรมทั้งปวงแลว เขาจะบรรลุพระนิพพานไดอยางไร ครั้นนอมจิตไปสู


พระโพธิญาณ ก็จะไมสถิตในโลก แตยังไมบรรลุพระนิพพาน ครั้นรูแลว จะเห็นโลกทั้งสาม
ในทั้งสิบทิศวา เปนสิ่งวางเปลา เปนสิ่งที่ตองสลายไป เปนมายา เปนความฝน เปนพยับแดด
ไรแกนสาร เหมือนตนกลวย และเปนเหมือนเสียงสะทอน เขายอมมองเห็นวา ธรรมทั้งหลาย
ทั้งปวง ไมเกิดขึ้น ไมดับไป ไมถูกผูกพัน ไมหลุดพน ไมมืดบอด และไมสวาง บุคคลที่เห็น
ธรรมทั้งหลายลึกซึ้งอยางนี้ ยอมเห็นโลกธาตุทั้งปวง เต็มไปดวยสัตว ที่มีความนึกคิดและ

๕๒
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๘๑.

Page 102 of 162


๘๘

อุปนิสัยตางกัน เหมือนกับวามองไมเห็น ผูที่ไมเห็นธรรมทั้งปวงที่เสมอกัน ซึ่งเปนศูนยตา


ปราศจากความแตกต า งกั น ชื่ อว าย อ มไม เ ห็ น ธรรมใดๆ ธรรมทั้ ง ปวงทัด เที ย มกัน เสมอ
เหมือนกันทุก เมื่อบุคคลรูอยางนี้ชื่อวายอมรูพระนิพพานที่เปนอมตะ และสูงสุด๕๓

เป น การแสดงเหตุ ผ ลว า การเข า ถึ ง นิ พ พานที่ แ ท จ ริ ง คื อ การรู แ จ ง ธรรมทั้ ง ปวง


ซึ่งหมายถึงศูนยตา ที่ ขจัด ทวิ ภ าวะ ละทั้งบุคคลและธรรมได และไดบรรยายภาวะของศูนยตา
ไดอยางเห็นภาพ จึงทําใหเขาใจไดงายขึ้น

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๓. อริยสัจ ๔ และปฏิจจสมุปบาท

เป น พุ ท ธประเพณี ข องพระพุ ท ธเจ า ทั้ ง หลาย หลั ง จากที่ พ ระองค ท รงตรั ส รู แ ล ว
ก็จะทรงแสดงธรรมเปนครั้งแรกซึ่งไดแก อริยสัจ ๔ และปฏิจจสมุปบาท ในสัทธรรมปุณฑรีกสูตร
ก็เชนกันไดยกการแสดงธรรมครั้งแรกของอดีตพระพุทธเจาพระนามวาพระมหาภิชญาชญานาภิภู
พุทธเจา ที่ ทรงแสดงหลั ง จากบรรดาพรหมหมื่ น แสนโกฎิ และพระราชโอรส ๑๖ องคไ ดท รง
อาราธนาใหทรงแสดงธรรม มีรายละเอียดดังนี้

พระมหาภิชญาชญานาภิภูไดทรงแสดงพระธรรมจักรในเวลานั้น อันเปนไปสามรอบ
และมีอาการสิบสอง(ปริวรรต ๓ โดยอาการ ๑๒) ที่สมณะ พราหมณ เทวดา มาร พรหม และชนอื่นๆ
ไม เ คยแสดงในโลกว า นี้ คื อ ทุ ก ข นี้ คื อ เหตุ เ กิ ด ทุ ก ข นี้ คื อ ความดั บ ทุ ก ข นี้ คื อ หนทางให ถึ ง
ความดับทุกข ทั้งหมดนี้เปนอริยสัจ และพระองคไดทรงแสดง เรื่องปฏิจจสมุปบาทโดยพิสดารวา
ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อวิชชาเปนปจจัยใหเกิดสังขาร สังขารเปนปจจัยใหเกิดวิญญาณ วิญญาณเปน
ปจจัยใหเกิดนามรูป นามรูปเปนปจจัยใหเกิดอายตนะหก อายตนะหกเปนปจจัยใหเกิดผัสสะ
ผัสสะเปนปจจัยใหเกิดเวทนา เวทนาเปนปจจัยใหเกิดตัณหา ตัณหาเปนปจจัยใหเกิดอุปาทาน
อุปาทานเปนปจจัยใหเกิดภพ ภพเปนปจจัยใหเกิดชาติ ชาติเปนปจจัยใหเกิดชรา มรณะ โศกะ
ปริ เ ทวะ ทุ ก ข โ ทมนั ส และอุ ป ายาส อย า งนี้ เป น เหตุ เ กิ ด ความทุ ก ข อั น ยิ่ ง ใหญ อ ย า งเดี ย ว
เพราะอวิชชาดับ สังขารจึงดับ เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ เพราะวิญญาณดับนามรูปจึงดับ
เพราะนามรูปดับอายตนะหกจึงดับ เพราะอายตนะหกดับผัสสะจึงดับ เพราะผัสสะดับเวทนาจึงดับ
เพราะเวทนาดับตัณหาจึงดับ เพราะตัณหาดับอุปาทานจึงดับ เพราะอุปาทานดับภพจึงดับ เพราะภพ

๕๓
เรื่องเดียวกัน, หนา ๘๑, ๘๔.

Page 103 of 162


๘๙

ดับ ชาติจึ ง ดั บ เพราะชาติ ดั บ ชรามรณะโศกะปริ เ ทวะทุ ก ขโ ทมนัส อุ ป ายาสจึ ง ดั บ อย า งนี้ คื อ
ความดับกองทุกขอันยิ่งใหญอยางเดียว๕๔

เปนการแสดงถึงเหตุปจจัยการเกิดและดับของความทุกข วาเปนเหตุเปนผลเกื้อหนุน
กันและกัน ซึ่งเปนที่มาของวิธีการที่นําไปสูการกาวลวงจากความทุกข ดวยแนวคิดที่วาเมื่อตนเหตุ
ของความทุกขคืออวิชชา(ตัณหา อุปาทาน) ก็ตองดับที่ตนเหตุของความทุกขนั้นเสีย

จะเห็นวาการใชกุศโลบายแบบการแสดงเหตุผลในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรเปนการ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
อธิบายแบบผานๆ ไป จึงทําใหความลึกซึ้งทางธรรมะหรือปรัชญานั้นขาดหายไป ซึ่ง ส. ศิวรักษ ได
แสดงความคิดเห็นในเรื่องนี้วา “เพราะถือวาพุทธศาสนิกชนยอมรูจักหัวขอคําสอนหลักเหลานั้นอยู
แลว หากความในพระสูตรนี้เนนในเรื่องที่ไมมีปรากฏในพระสูตรอื่นๆ”๕๕

๓.๓.๒ รูปแบบของการใชอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย

การใช อิ ท ธิ ฤ ทธิ์ ป าฏิ ห าริ ย ใ ห เ ป น กุ ศ โลบายในสั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รนี้ จะมี


ความสั ม พั น ธ กั บ การชั ก นํ า สรรพสั ต ว ใ ห ดํ า เนิ น ไปสู พ ระสั ม มาสั ม โพธิ ญ าณ กล า วคื อ หาก
พระพุทธเจาทรงใชอิทธิฤทธิ์แลวไมเกิดประโยชนในการนําพาปวงสัตวใหตั้งมั่นในพระโพธิญาณ
แลวพระองคจะทรงหลีกเลี่ยง ดังที่พระพุทธองคตรัสวา

ดูกอนศาริบุตร ถาเราเขาใจวา เรามีพลังญาณและพลังฤทธิ์อยู เรากลาวสอนญาณ พละ


และความแกลวกลาแหงตถาคตแกสัตวทั้งหลายเหลานี้ โดยไมมีกุศโลบายในการกลาวสอนแลว
สัตวทั้งหลายเหลานี้จะไมพนทุกขดวยธรรมเหลานี้ เพราะวาสัตวเหลานี้ยังของอยูในกามคุณหา
มีความยินดีในไตรโลก ยังไมหลุดพนไปจากความทุกขทั้งหลาย . . . ดูกอนศาริบุตร
พระตถาคตผูเพียบพรอมไปดวยพลังญาณและความแกลวกลาแหงตถาคต แตก็ไมใชพลัง
แห ง ญาณและความกล า หาญแห ง ตถาคตนั้ น เลย ด ว ยเหตุ ที่ จ ะให สั ต ว ทั้ ง หลายออกจาก
ไตรโลกธาตุ จึงแสดงยานสาม ดวยความเขาใจในกุศโลบาย พระตถาคตจึงใหสัตวทั้งหลาย
ปรารถนายานทั้งสามนั้น . . .๕๖

๕๔
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๐๓.
๕๕
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ฉัตรสุมาลย กบิลสิงห, หนา คํานํา (๑๕).
๕๖
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๔๙.

Page 104 of 162


๙๐

หมายความวาหากพระองคทรงชวยสรรพสัตวใหพนจากทุกขดวยอิทธิฤทธิ์โดยตรงแลว
สรรพสัตวจะพลาดไปจากสิ่งที่พระองคทรงประสงค เพราะพวกเขาไมเขาใจถึงพระมหากรุณาของ
พระพุทธเจาที่จะชักนําใหพวกเขาตั้งมั่นในพระสัมมาสัมโพธิญาณอันเปนที่หลุดพนไปจากความ
ทุกขทั้งปวง แสง จันทรงาม กลาวถึงเรื่องนี้วาการสอนแบบอิทธิปาฏิหาริยพระพุทธองคทรงใชใน
บางครั้ง บางโอกาส กับบุคคลประเภทปทปรมะที่มีลักษณะราย เปนนักเลง หรือเปนคนหัวแข็งไม
เชื่อฟงใครๆ งาย อยากลองดี๕๗ ดังนั้นพระพุทธเจาจึงทรงไมนิยมใชอิทธิฤทธิ์ในการชวยเหลาสัตว
ให พ น จากทุ ก ข พระองค จ ะทรงใช วิ ธี แ สดงธรรมให เ หล า สั ต ว นั้ น ได ค น พบด ว ยตั ว เอง

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ในสัทธรรมปุณฑรีกสูตร พระพุทธเจาทรงแสดงอิทธิปาฏิหาริยตางๆ มากมาย แตมีพระประสงค
เพื่ อ ให กํ า ลั ง ใจ และแสดงความยิ่ ง ใหญ ข องสั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก เช น หากมี บุ ค คลแสดง
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร จะสงรูปนิรมิตจํานวนมาก เพื่อมาฟงธรรมและปกปองอันตรายที่จะพึงมี
แกผูแสดงธรรม๕๘ ในบทที่ ๒๐ วาดวยอิทธาภิสังขารของพระตถาคต พระองคและพระประภูตรัตน
พุทธเจาทรงแสดงอิทธิฤทธิปาฏิหาริย ดวยการยื่นพระชิวหาออกจากชองพระโอษฐ ขึ้นไปถึงพรหม
โลกรัศมีจากพระชิวหานั้นไดเปลงประกายเปนพันๆ ลําแสงแหงรัศมีไดปรากฏมีพระโพธิสัตว
จํานวนมาก แผขยายไปสูทิศตางๆ ในรอยพันโลกธาตุ และพระพุทธเจาทั้งปวงที่มาจากรอยพันหมืน่
โลกธาตุก็ทรงแสดงปาฏิหาริยดวยพระชิวหานี้เชนกัน๕๙ แตก็มีพระโพธิสัตวที่ใชอิทธิฤทธิ์เปน
กุ ศ โลบายในการแสดงธรรมแก เ หล า สั ต ว ในหั ว ข อ นี้ ผู วิ จั ย จึ ง ยกการใช อิ ท ธิ ฤ ทธิ์ ใ นแง เ ป น
กุศโลบายชักนําใหปวงสัตวดําเนินไปสูพระโพธิญาณเทานั้น ดังมีรายละเอียดตอไปนี้

ก. กุศโลบายในการแสดงธรรมของพระคัทคทัสวรโพธิสัตว

พระคัทคทัสวรโพธิสัตวเปนพระโพธิสัตวอยูในไวโรจนรัศมีประติมัณฑิตพุทธเกษตร
อันมีพระพุทธเจาพระนามวากมลทลวิมลนักษัตรราชสังกุสุมิตาภิชญะทรงประทับอยู พระโพธิสัตว
นั้นไดมาเขาเฝาพระพุทธเจาศากยมุนี ณ สหาโลกธาตุนี้ พระพุทธเจาศากยมุนีไดตรัสกับพระปทมศรี
โพธิสัตวถึงกุศโลบายในการแสดงสัทธรรมปุณฑรีกสูตรของพระคัทคทัสวรโพธิสัตววา

ดูกอนปทมศรี พระคัทคทัสวรโพธิสัตวนี้ ยอมแสดงธรรมบรรยายสัทธรรมปุณฑรีกสูตร


ด ว ยรู ป จํ า นวนมาก เช น แสดงธรรมบรรยายสั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รด ว ยรู ป พระพรหม
พระรุ ท ระ ท า วสั ก กะ พระอิ ศ วร เสนาบดี ไวศรวณะ พระจั ก รพรรดิ โกฏฏราช เศรษฐี

๕๗
แสง จันทรงาม, วิธีสอนของพระพุทธเจา, (กรุงเทพฯ : มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๔๐), หนา ๓๐.
๕๘
ดูใน สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๑๓๓-๑๓๕.
๕๙
ดูใน เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๑๕-๒๑๘.

Page 105 of 162


๙๑

คฤหบดี ชาวนิคม พราหมณ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ภรรยาเศรษฐี ภรรยาคฤหบดี


ภรรยาชาวบาน เด็กชาย เด็กหญิง ยักษ อสูร ครุฑ กินนร มโหรคะ ไดแสดงสัทธรรมปุณฑรีกสูตร
แกสัตวผูอยูในนรก เดรัจฉาน ยมโลก และเปรต แมผูที่อยูในหองคลอด ก็ไดนิรมิตเปนหญิง
เพื่อแสดงธรรมแกคนเหลานั้น ดูกอนปทมศรี พระคัทคทัสวรโพธิสัตวเปนผูคุมครองแกสัตว
ทั้งหลายในสหาโลกธาตุนี้ และโลกธาตุเหลาอื่นโดยแท ไดแสดงรูปของพระโพธิสัตวแก
ผูควรแนะนําไปสูความเปนพระโพธิสัตว รูปของพระสาวก แกผูควรแนะนําไปสูความเปน
พระสาวก รูปของพระปจเจกพุทธเจา แกผูควรแนะนําไปสูความเปนพระปจเจกพุทธเจา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
รูปของพระตถาคต แกผูควรแนะนําไปสูความเปนพระตถาคต ยอมแสดงธาตุของพระตถาคต
แก สั ต ว ผู ค วรนํ า ไปสู ธ าตุ พ ระตถาคต ย อ มแสดงอาตมภาวะที่ นิ พ พานแล ว แก สั ต ว
ผูควรนําไปสูพระนิพพาน . . .๖๐

จากขอความขางตนเปนการแสดงรูปกายของพระคัทคทัสวรโพธิสัตว ๓๔ ชนิด เพื่อ


ใชสั่งสอนเหลาสัตวตามลักษณะอุปนิสัย และความสามารถที่แตกตางกัน ไดอยางถูกเวลา และ
สภาพการณ เชน สั่งสอนเด็ก ก็เปลี่ยนรางเปนเด็ก เปนตน ในกรณีนี้ผูวิจัยเห็นวาเปนลักษณะในการ
สื่อสารพูดจาเปนภาษาเดียวกันมากกวา หมายความวา เมื่อจะสอนเด็กก็ควรพูดเรื่องที่เด็กสนใจ
สามารถรับและเขาใจได หากพูดในเรื่องที่เด็กไมสนใจ หรือเรื่องที่เกินวัยที่เด็กจะรับได เชน เรื่อง
การเมืองเปนตน เด็กจะไมรูเรื่อง ขาดความสนใจ การสอนนั้นก็จะลมเหลว ซึ่งวิธีการเชนนี้จะเขาถึง
ผูรับคําสอนไดงาย และรวดเร็ว

ข. กุศโลบายในการแสดงธรรมของพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว

พระอักษยมติโพธิสัตวไดทูลถามถึงกุศโลบายในการแสดงธรรมของพระอวโลกิเตศวร
โพธิสัตว พระพุทธเจาไดตรัสตอบวา

ดูกอนกุลบุตร พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว ไดแสดงธรรมแกสัตวทั้งหลาย ในโลกธาตุ


ปจจุบัน ดวยรูปของพระพุทธเจา แสดงธรรมแกสัตวทั้งหลายในโลกธาตุอื่น ดวยรูปของ
พระโพธิสัตว แสดงธรรมแกสัตวบางจําพวก ดวยรูปของพระปจเจกพุทธเจา . . . ดวยรูปของ
พระสาวก . . . ด ว ยรูป ของพระพรหม . . . ในรูป ของทา วสั ก กะ . . . ในรู ป ของคนธรรพ
แสดงธรรมแกสัตวทั้งหลายที่ยักษพอจะแนะนําได ในรูปของยักษ . . . ในรูปของพระอิศวร . . .
ในรูปของพระมเหศวร . . . ในรูปของพระเจาจักรพรรดิ . . . ในรูปของปศาจ . . . ในรูปของ

๖๐
เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๓๗.

Page 106 of 162


๙๒

ทาวกุเวร . . . ในรูปของเสนาบดี . . . ในรูปของพราหมณ . . . ในรูปของพระวัชรปาณี ดูกอนกุลบุตร


พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว เปนผูประกอบดวยคุณที่ไมสามารถคํานวณไดอยางนี้ . . . ๖๑

กรณีของพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว ก็มีลักษณะเชนเดียวกับกรณีของพระคัทคทัสวร
โพธิสัตว ที่เปลี่ยนแปลงรางไปตามความเหมาะสม ตามลักษณะนิสัยของสรรพสัตวนั้นๆ เพื่อชักนํา
ใหเขาสูธรรมไดงาย และเร็ว

ค. พระราชบุตรใชอิทธิปาฏิหาริยชักจูงพระราชบิดาใหออกจากมิจฉาทิฏฐิ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระราชาศุ ภ วยู ห ะเป น ผู ที่ เ ลื่ อ มใสในพราหมณ มี พ ระราชโอรส ๒ พระองค
พระนามวาวิมลครรภ และวิมลเนตร พระโอรส ๒ องคมีศรัทธาในพระพุทธศาสนา ประพฤติตาม
จริยาวัตรของพระโพธิสัตว และมีอิทธิฤทธิ์เพราะเปนผูเขาถึงสมาธิขั้นสูง ครั้งนั้นพระผูมีพระภาค
พระองคนั้นไดแสดงสัทธรรมปุณฑรีกสูตรเพื่ออนุเคราะหสรรพสัตว พระโอรสทั้ง ๒ พระองค
มีพระประสงค ที่จะไปเฝาพระพุทธเจา แตไมไดรับพระราชอนุญาตจากพระราชบิดาผูมีมิจฉาทิฏฐิ
พระราชโอรสทั้ง ๒ พระองคไดทรงแสดงอิทธิฤทธิ์ดวยการทํายมกปาฏิหาริย เพื่อสงเคราะหพระบิดา
ดวยการเหาะไปประทับยืนที่กลางอากาศ เดินจงกรมในอากาศ ทําฝุน ใหตลบขึ้นไปในอากาศแลว
โปรยสายฝนออกจากสวนภายใตของรางกาย ทําเปลวไฟลุกโชติชวงจากเบื้องบนของรางกาย โปรย
สายฝนจากเบื้องบนของรางกาย ทําเปลวลุกโชติชวงจากเบื้องลาง ของรางกาย นิรมิตใหมีรางกายสูง
ใหญ แลวกลับกลายเปนรางเล็ก หายตัว ดําดิน และเหาะขึ้นไป ในอากาศ เมื่อพระเจาศุภวยูหะทรง
ทอดพระเนตรเช นนั้ นได ทรงมี ป ติ ยิ นดี เข าไปตรั สถามพระโอรสว าใครเป น ครู ข องเจ า ทั้ ง สอง
พระโอรสทูลวาขาพระองคเปนศิษยของพระชลธรครรชิตโฆษสุสวรนักษัตรราชสังกุสุมิตาภิชญะ
พุทธเจา พระเจาศุภวยูหะไดตรัสวาเราทั้งหลายจักไปเฝาพระพุทธเจา๖๒

จะเห็นวาอิทธิฤทธิ์ที่ใชก็เพื่อเปนกุศโลบายในการชักนําสรรพสัตวใหเกิดสัมมาทิฏฐิ
และดําเนินไปสูพระสัมมาสัมโพธิญาณ ในสวนของพระคัทคทัสวรโพธิสัตวและพระอวโลกิเตศวร
โพธิ สั ต ว ใ ช กุ ศ โลบายที่ มี ค วามเหมื อ นกั น กล า วคื อ ใช ก ารนิ ร มิ ต ร า งกายเป น รูป ร า งต า งๆ ให
เหมาะสมกับเวลา สภาพการณ และเหมาะกับอุปนิสัยและความสามารถของเหลาสัตว เชน แสดง
ธรรมแกพระโพธิสัตว ดวยรูปของพระโพธิสัตว แสดงธรรมแกยักษ ดวยรูปของยักษ แสดงธรรมแก
เด็กดวยรูปของเด็ก ฯลฯ และการใชอิทธิฤทธิ์นิรมิตรูปตางๆ เหลานี้ได พระโพธิสัตวนั้นตองได

๖๑
เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๔๑.
๖๒
เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๔๗-๒๔๙.

Page 107 of 162


๙๓

สมาธิที่มีชื่อวาสรรวรูปสันทรรศนสมาธิ เปนสมาธิที่สามารถมองเห็นรูปทั้งปวง หากเทียบภูมิของ


พระโพธิสัตวนั้นตองอยูในภูมิที่ ๘ คือ อจลาภูมิ ขึ้นไป จึงสามารถนิรมิตรูปรางตามปรารถนาและ
แสดงรางนั้นแกบุคคลที่คิดวาเหมาะสมได๖๓ หรืออีกนัยหนึ่งเปนการใชคําพูดที่เหมาะกับลักษณะ
นิ สั ย สถานภาพ ของสรรพสั ต ว เพื่ อ สร า งความไว ใ จและเป น กั น เอง ทํ า ให เ ข า ถึ ง ผู ฟ ง ได ง า ย
และรวดเร็ว

๓.๓.๓ รูปแบบที่เปนความลึกลับมหัศจรรย

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
การใชกุศ โลบายในรูปแบบนี้เ ปน ลั ก ษณะเดน ของสัทธรรมปุ ณ ฑรี ก สูตร และเป น
แนวคิดที่เปนอัตตลักษณของมหายาน ที่ไดเปดเผยคําสอนอันสูงสุดหรือคําสอนขั้นสุดทายของ
พระพุทธเจา ที่รวม ๓ ยานไวในเอกยาน ซึ่งเปนพระประสงคที่เปยมไปดวยพระมหากรุณาของ
พระพุทธเจาที่จะนําพาสรรพสัตวไปสูพุทธภูมิในพระสูตรแสดงไววา กอนที่พระพุทธเจาจะทรง
แสดงสัทธรรมปุณฑรีกสูตรไดตรัสกับพระศาริบุตรวา

พุ ท ธญาณ(ป ญ ญาของพระพุ ท ธเจ า ) เป น สิ่ ง ลึ ก ซึ้ ง เข า ใจยากและรู ย าก พระสาวก


พระป จ เจกพุ ท ธเจ า และพระโพธิ สั ต ว ทั้ ง ปวงก็ เ ข า ใจยาก แต พ ระตถาคตอรหั น ตสั ม มา
สัมพุทธเจาทั้งหลายไดรูแลว . . . การแสดงธรรมของพระตถาคตทั้งหลายเปนสิ่งที่เขาใจไดยาก
เพราะวาพระตถาคตทั้งหลายทรงประกาศธรรมทั้งหลายที่เปนเฉพาะพระองค . . . ตถาคตใช
กุศโลบายกลาวธรรมหลากหลายวิธีในโลก จนปลดเปลื้องผูของในพันธะทั้งปวง แลวแสดง
ยานสามใหปรากฏ”๖๔

จากพุทธพจนขางตนแสดงใหเห็นถึงความลึกซึ้งของพระปญญาในแงการใชกุศโลบาย
ของพระพุทธเจา ซึ่งแมแตบุคคลที่เปนพระสาวก พระปจเจกพุทธเจาและพระโพธิสัตวยังไมอาจรู
ไมอาจเขาใจในเจตนารมณของพระองคได จะมีเพียงพระพุทธเจาดวยกันเทานั้นที่สามารถจะเขาใจได
จึง ทํ า ใหที่ ป ระชุ ม เกิ ด ความงุน งง ไม เ ข า ใจ และลัง เลสงสั ย ในพระดํ ารั ส พระองค จึ ง ตรั สผ า น
พระศาริบุตรใหที่ประชุมคลายความสงสัยวา

ดูกอนศาริบุตร เธอจงเชื่อเรา เรายอมกลาวคําสัตย พูดแตความจริง เราไมกลาวสิ่งที่ไมถูกตอง


ดูกอนศาริบุตร วาจาของพระตถาคตนั้นเขาใจไดยาก ขอนั้นเปนเพราะอะไร เราไดประกาศธรรม

๖๓
ประพจน อัศววิรุฬหการ, “การศึกษาเชิงวิเคราะหเรื่องพระโพธิสัตวในคัมภีรเถรวาทและคัมภีรมหายาน”,
ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต, (ภาควิชาภาษาตะวันออก : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย), ๒๕๒๓, หนา ๓๗๙.
๖๔
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๑๙-๒๑.

Page 108 of 162


๙๔

ดวยกุศโลบายรอยพันอยาง . . . พระตถาคตอุบัติขึ้นในโลกดวยกิจที่พึงกระทําอยางหนึ่ง คือการ


นําพาสรรพสัตวใหเขาถึงตถาคตญาณทัศนะ . . . ดูกอนศาริบุตรเราอาศัยยานเดียวเทานั้นแสดง
ธรรมแกสัตวทั้งหลาย ยานนี้ก็คือพุทธยาน ดูกอนศาริบุตร ยานที่สองหรือที่สามใดๆ นั้นไมมี . . .
ดูก อนศาริ บุ ตร เพราะวาตถาคตไม ได พูดโกหก ดูก อนศาริ บุตร มียานอยูชนิ ดเดี ยวเทานั้ น
คือ พุทธยาน๖๕

ทานฉีอี้ แหงสํานักเทียนไท เรียกกุศโลบายในรูปแบบนี้วา กุศโลบายลึกลับและมหัศจรรย

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ซึ่งไดซาขุ อิเคดะ ไดใหความหมายวา “คําวาลึกลับ ก็คือ ความจริงแทนี้มีเฉพาะระหวางพระพุทธเจา
กับพระพุทธเจาเทานั้นที่เขาใจ และที่ถูกเรียกวา มหัศจรรย ก็เพราะวาเปนการยากที่ประชาชน
จะเขาใจได” ๖๖ ดังนั้นการใชกุศโลบายในรูปแบบนี้จึงเปนวิสัยของพระพุทธเจาเทานั้น พระสาวก
พระปจเจกพุทธเจา และพระโพธิสัตวไมสามารถที่จะเขาใจได นอกเสียจากวาพระพุทธเจาจะทรง
เปดเผยใหรู สัทธรรมปุณฑรีกสูตรไดแสดงกุศโลบายแบบลึกลับมหัศจรรยนี้ โดยมีความเกี่ยวของ
กับเอกยาน พระนิพพาน และพระพุทธเจา ซึ่งจะไดกลาวตอไปตามลําดับ

ก. กุศโลบายในเรื่องเอกยาน

สั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รได ก ล า วถึ ง ยาน ๓ คื อ สาวกยาน ป จ เจกพุ ท ธยาน และ


โพธิสัตวยาน วาเปนเพียงกุศโลบายที่ขัดเกลาจิตใจของเหลาสัตวใหสูงขึ้นซึ่งเปนการเตรียมความ
พรอมของสรรพสัตวที่จะกาวไปสูความรูแจงความจริงนั่นคือพุทธยาน

ดวยเหตุที่จะใหสัตวทั้งหลายออกจากไตรโลกธาตุอันเปรียบกับเรือนที่กําลังถูกไฟไหม
จึงแสดงยานสาม คือ สาวกยาน ปจเจกพุทธยาน และโพธิสัตวยาน เราไดพูดปลอบใจเขา
เหล า นั้ น ว า ดู ก อ นสรรพสั ต ว ผู เ จริ ญ ยานทั้ ง สามเหล า นี้ เป น สิ่ ง ที่ พ ระอริ ย เจ า สรรเสริ ญ
ทานทั้งหลาย จักไดรับความยินดีมากมายดวยสิ่งเหลานี้คือ อินทรีย พละ โพชฌงค ญาณ
วิโมกข สมาธิ และสมาบัติ . . . สัตวพวกหนึ่งพอใจปฏิบัติตามคําสอนของตถาคตเพื่อบรรลุ
อริยสัจสี่ อันเปนเหตุแหงการไดพระนิพพานเปนผูหวังสาวกยาน . . . สัตวพวกหนึ่งหวังจะ
ไดญาณทมะและความสงบสุข อันปราศจากผูเปนครูอาจารย พยายามปฏิบัติตามคําสอน
ของพระตถาคต เพื่อรูเหตุและปจจัยทั้งหลาย เปนผูหวังปจเจกพุทธยาน . . . และสัตวอีกจําพวก

๖๕
เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๕-๒๗.
๖๖
ไดซาขุ อิเคดะ, บรรยายสัทธรรมปุณฑรีกสูตร บทกุศโลบายและบทการหยั่งอายุกาลของพระตถาคต,
แปลโดย สมาคมสรางคุณคาในประเทศไทย, หนา ๑๐๔-๑๐๕.

Page 109 of 162


๙๕

หนึ่ง หวังสัพพัญุตญาณ พุทธญาณ สยัมภูญาณ อันเปนญาณที่ปราศจากครูผูสอนพยายาม


ปฏิบัติตามคําสอนของพระตถาคต เปนผูหวังโพธิสัตวยาน . . . พระตถาคตเห็นวาสรรพสัตว
เป น ผู พ น แล ว จากไตรโลกธาตุ และพ น แล ว จากความทุ ก ข ทั้ ง ปวง ทางประตู คื อ คํ า สอน
ของตถาคต ก็ แ ลพระตถาคตจะไม ก ล า วนิ พ พานเฉพาะอย า งแก สั ต ว แ ต ล ะคน แต ว า
พระตถาคตจะให สัตวทั้ งหมดปรินิพพาน ดว ยนิพพานของตถาคตที่เ ปนมหาปรินิพ พาน
สัตวเหลานั้นเปนผูพนแลวจากไตรโลกธาตุ ดวยคําสอนที่เปนชนิดเดียวกัน . . . ตถาคตชี้แจง
แสดงพุทธยานอยางเดียวเทานั้น ดวยกุศโลบายและอภินิหารที่มีอยู๖๗ 

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เสถีย ร โพธินั นทะกลาวถึ งเรื่องนี้วา ๓ ยานนี้เ ปนเพียงกุศโลบาย ยังหาใช ยานที่
แทจริงไม ยานที่แทจริงมียานเดียว คือพุทธยานเทานั้น โพธิสัตวยานเหมือนการทําเหตุ พุทธยาน
เหมือนผลอันเกิดจากเหตุที่บําเพ็ญบารมีแลว แตก็เปนการยกจิตใหสูงมุงตอพระอนุตรสัมมาสัมโพธิ
ญาณ๖๘ สุรพล เพชรศรบอกวา พระพุทธเจาไดเปดเผยวา ทั้งสาวกยาน ปจเจกพุทธยาน และโพธิ
สัตวยาน ไมใชเปาหมายสุดทายในตัวเอง จุดมุงหมายสุดทายของพระพุทธเจาคือ การที่จะนําสัตว
ทั้งหลายไปสูความเปนพระพุทธะอยางเทาเทียมกันดวยเอกพุทธยาน . . . การสอน ๓ ยานยกระดับ
ความสามารถของผูฟงขึ้นมากอน แลวจึ งสรุปดวยการสอนเอกยานแหงสัทธรรมปุณฑรีกสูตร๖๙
เมื่ อพระพุ ทธเจ าทรงมี พระประสงค ในการนําพาสรรพสัตว ใ หมุงไปสูพระสัมมาสัมโพธิญาณ
กั น ทุ ก ทั่ว หน า และเทา เที ย มกัน ให กับทุก คนที่ พั ฒ นาสภาพจิต ของเขาก า วหนาถึ ง ขั้น แสวงหา
พระโพธิญาณ ดังนั้นยาน ๓ จึงเปนเหมือนกับบันไดที่จะนําพาสรรพสัตวกาวขึ้นไปสูพระโพธิญาณ

ข. กุศโลบายบัญญัติพระนิพพาน ๒ ชนิด

กุ ศ โลบายในเรื่ อ งนี้ สื บ เนื่ อ งมาจาก ๓ ยาน กล า วคื อ เมื่ อ มี ก ารปฏิ บั ติ คํ า สอน
ที่ แ ตกต า งกั น ย อ มจะมี ผ ลคื อ พระนิ พ พานที่ แ ตกต า งกั น ด ว ย แต เ นื่ อ งจากเป น กุ ศ โลบายของ
พระพุ ท ธเจ า ที่ จ ะช ว ยเหลื อ สรรพสั ต ว ใ ห มุ ง สู พ ระโพธิ ญ าณจึ ง เกิ ด มี พ ระนิ พ พานทั้ ง ๒ ดั ง ที่
พระมหากาศยปะไดทูลถามพระพุทธเจาวา

ขาแตพระผูมีพระภาค แมถาสัตวทั้งหลายผูมีความประพฤติตางกัน พนจากโลกทั้ง


สามแลว เขาทั้งหลายจะมีหนึ่งนิพพาน สองนิพพาน หรือสามนิพพาน

๖๗
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๔๙-๕๐.
๖๘
เสถียร โพธินันทะ, ปรัชญามหายาน, (กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑), หนา ๕.
๖๙
สุรพล เพชรศร, สาระสําคัญแหงสัทธรรมปุณฑริกสูตร ฉบับภาษาจีนของพระกุมารชีวะ, หนา ๑๖-๑๘.

Page 110 of 162


๙๖

พระผูมีพระภาคตรัสวา

ดูก อ นกาศยปะ นิ พ พานคื อ ความเสมอภาคแหง ธรรมทั้ ง ปวงในพระโพธิ ญ าณ ฉะนั้ น


นิพพานจึงมีเพียงหนึ่งเทานั้น ไมมีสอง สามนิพพาน๗๐

และพระองคไดทรงอธิบายเหตุผลวาทําไมจึงเปนเชนนั้น

ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ในโลกนี้ยานหรือปรินิพพานที่สองไมมี จะปวยกลาวไปใยถึงยานหรือ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
นิพพานที่สามเลา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย นี่คือกุศโลบายของพระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา
ตถาคตทราบวาสัตวทั้งหลายยังทําลายกิเลสไมได ฉะนั้น จึงบอกนิพพานที่พวกเขาติดของอยู
กั บ พวกเขาที่ ยิ น ดี สิ่ ง ต่ํ า ช า อยู ทั้ ง ยั ง จมอยู ใ นเป อ กตมของกามอี ก ด ว ย . . . แท จ ริ ง แล ว
พระตถาคตเห็นวาปาทึบคือกิเลสอันยิ่งใหญนี้ เปนสิ่งที่ควรขาม และละทิ้ง ไมควรที่สรรพสัตว
ผูไดฟงพุทธญาณแลวจะกลับเสียโดยพลัน ไมกาวตอไป ดวยคิดวา พุทธญาณเปนสิ่งที่ยาก
จะบรรลุได ณ ที่นั่นพระตถาคตทราบวา สัตวทั้งหลายเปนผูมีความออนแอ จึงชี้แจงประกาศ
ภูมิของพระนิพพานสองอยางคือ สาวกภูมิและปจเจกภูมิ ดวยกุศโลบาย เพื่อใหสัตวทั้งหลาย
ไดพักผอน๗๑

จะเห็ น ว า ในการใชกุ ศ โลบายของพระพุท ธองคที่ต รัส วามี ๒ นิพ พาน มีเ หตุผ ล
๒ ประการคือ ๑) พระองคทรงเห็นวาสรรพสัตวยังเปนผูมีอินทรียออน นอมไปในการเสพสุขทางกาม
จึงบัญญัตินิพพานที่เหมาะกับอัธยาศัยของเหลาสัตว เพื่อใหสรรพสัตวมีความสนใจในคําสอนเปน
เบื้องตน ๒) การบรรลุพุทธภูมินั้นเปนกระบวนการที่ยาวไกล เปรียบการเดินทางไปสูจุดหมาย
ปลายทางที่อยูไกล บุคคลผูเดินทางก็ยอมมีการเหน็ดเหนื่อยทอถอยเปนธรรมดา ก็ดวยพระประสงค
ใหสถานที่หยุดพักใหหายเหนื่อยคลายความทอแทจากการปฏิบัติ และพรอมที่จะเดินทางไปสู
จุดหมายคือพุทธภูมิตอไป

ค. กุศโลบายในการประกาศปรินิพพานของพระพุทธเจา

การใชกุศโลบายในขอนี้มีความเกี่ยวของกับทัศนะเรื่องพระพุทธเจาของทางมหายาน
ที่เชื่อกันวาพระพุทธเจาที่ปรากฏอยูบนโลกมนุษยนั้นมีความสัมพันธกับตรีกาย กลาวคือธรรมกาย
(อาทิพุทธ)ในฐานะเปนจุดกําเนิดของสรรพสิ่ง เมื่อตองการที่จะชวยเหลือสรรพสัตวก็จะสงตอหรือ

๗๐
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๗๙.
๗๑
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๐๗-๑๐๘.

Page 111 of 162


๙๗

ถา ยโอนอํ า นาจเปลี่ ย นรู ป เป น สั ม โภคกาย(ธยานิ พุ ท ธ) ที่ เ ป น กายทิ พ ย ส ถิ ต อยู บ นพุ ท ธเกษตร
และเมื่อเปนสัมโภคกายแลวก็ถายโอนพลังอํานาจหรือความเปนพุทธะเปลี่ยนเปนนิรมาณกาย
(มนุสีพุทธ) ที่มีรูปรางเปนมนุษยลงมาอุบัติในโลกเพื่อโปรดสรรพสัตว๗๒ การปรินิพพานของ
พระพุทธเจาศากยมุนีบนโลกมนุษย จึงเปนเพียงปรากฏการณของสัมโภคกายและธรรมกายเทานั้น
ชาวมหายานจึ งเชื่อวาพระพุทธเจ าที่แ ทจ ริงยังคงอยูตลอดกาล สัทธรรมปุณฑรีกสูตรไดแ สดง
แนวคิดนี้ออกมาในรูปกุศโลบายของพระพุทธเจา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดูกอนกุลบุตรทั้งหลาย เราไดออกจากวงศตระกูล ตั้งแตยังหนุม เราไดตรัสรูอนุตรสัมมา
สั ม โพธิ ญ าณได ไ ม น าน ดู ก อ นกุ ล บุ ต รทั้ ง หลาย ตถาคตได ต รั ส รู ม าเป น เวลานานแล ว
แตประกาศวา เราไดตรัสรูมาไมนาน ดังนี้ เพื่อประโยชนแกการอบรมสัตวทั้งหลาย . . .
พระตถาคตได ต รั ส รู แ ล ว สิ้ น กาลนาน มี พ ระชนมายุ ไ ม กํ า หนด ทรงดํ า รงอยู ต ลอดกาล
พระตถาคตยังไมเสด็จดับขันธปรินิพพาน ยอมแสดงถึงนิพพาน ดวยอํานาจ(การศึกษา)ของ
พระสาวก . . . บัดนี้ เรายังไมปรินิพพาน แตจักประกาศการปรินิพพาน . . .พระตถาคตที่ยังไม
ปรินิพพาน ได เห็นประโยชน นี้จึงประกาศการปรินิพพาน เพื่อใหสัตวทั้งหลายเกิดความ
ปรารถนาศึกษา(ในคําสอน)๗๓

จากขอความขางตน นิกเกียว นิวาโนกลาววา พระศากยมุนีพุทธเจาทรงประกาศ


ความมี อ ยู จ ริ ง ของพระพุ ท ธเจ า ไม ใ ช อ งค ศ ากยมุ นี ที่ ม วลสาวกเข า ใจ แต คื อ องค อ าทิ พุ ท ธะ
ผูเปนอมตะ๗๔ พระศากยมุนีพุทธเจาจึงตรัสอยูในฐานะขององคอาทิพุทธะหรือธรรมกาย ที่เปน
สภาพสูงสุด อันเปนสภาวธรรมที่ดํารงอยูชั่วนิรันดร เปนบอเกิดของสรรพสิ่งในจักรวาล ที่ทรงมี
พระมหากรุ ณ าต อ สรรพสั ต ว ทรงใช ม หาปริ นิ พ พานของพระศากยมุ นี พุ ท ธเจ า (นิ ร มาณกาย)
เป น กุ ศ โลบายให เ กิ ด ประโยชน ใ นการช ว ยเหลื อ สรรพสั ต ว ใ ห พ น ไปจากความทุ ก ข ทั้ ง ปวง
เพราะถ า หากสรรพสั ต ว ที่ มี ป ญ ญาน อ ย ได เ ห็ น พระพุ ท ธเจ า ปรากฏพระองค อ ยู อ ย า งต อ เนื่ อ ง
และไมเสด็จปรินิพพานเสียที สรรพสัตวเหลานั้นจะกลายเปนคนเยอหยิ่ง และเกียจคราน ไมเชื่อฟง
ไมขวนขวายหาคําสอนของพระองค อีกทั้งไมสามารถรูวาการไดพบพระพุทธเจาหรือการมีจิต
เลื่อมใสในพระองคเปนสิ่งที่หาไดยากยิ่ง

๗๒
พระมหาสมยศ อาภายุตฺโต, “การศึกษาเชิงวิเคราะหแนวความคิดเรื่องพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว
(กวนอิม)”, วิทยานิพนธปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (สาขาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย), ๒๕๔๑, หนา ๓๔.
๗๓
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๑๗๘-๑๗๙.
๗๔
Nikkyo Niwano, Buddhism for Today, p. 210.

Page 112 of 162


๙๘

๓.๔ กุศโลบายกับอุดมการณของพระโพธิสัตวในพระสูตร

อุ ด มการณ ห มายถึ ง ความพยายามกระทํ า ให บ รรลุ อุ ด มคติ ที่ ไ ด ตั้ ง ไว อุ ด มคติ ห รื อ
จุดหมายอันสูงสุดของมหายานคือการไดตรัสรูเปนพระพุทธเจาเพื่อชวยขนสัตวโลกใหขามพน
สังสารวัฏ โดยยึดหลักอุดมคติประจําใจอยางสูงสงอยู ๓ ประการ๗๕ คือ

๑. มหาปรัชญา หรือปญญาอันยิ่งใหญ หมายความวา จะตองเปนผูมีสติปญญารูแจง


สรรพสิ่งทั้งมวล

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒. มหากรุณา หมายความวา จะตองมีจิตเมตตากรุณาตอสัตวทั้งหลาย อยางปราศจาก
ขอบเขต พรอมที่จะเสียสละตนเองทนทุกขแทนสรรพสัตว เพื่อชวยสัตวใหพนทุกข
๓. มหาอุ ป าย หมายความว า พระโพธิ สั ต ว ต อ งรู จั ก อุ บ ายที่ ฉ ลาดในการช ว ยเหลื อ
สรรพสัตว มีปฏิภาณรอบรู สามารถชักนําสัตวโงเขลาใหเขาถึงสัจธรรม

ดั ง นั้ น พระโพธิ สั ต ว ผู จ ะเป น พระพุ ท ธเจ า ในอนาคต จึ ง ยึ ด ถื อ อุ ด มคติ ๓ ประการ


เปนเปาหมายที่ตองไปใหถึง สัทธรรมปุณฑรีกสูตรมีสาระสําคัญของเนื้อหาอยูที่การยืนยันวา
สรรพสัตวทั้งหลายลวนแตมีพุทธภาวะ คําสอนของพระพุทธเจาไมวาจะดูแตกตางหรือคลายคลึงกัน
ทั้งหมดลวนเปนอุบาย เปาหมายสุดทายของคําสอนคือความหลุดพนที่ทุกคนเขาถึงไดเหมือนกันหมด
คือพุทธยาน พระสูตรนี้จึงเนนเรื่องอุบายและเอกยานเปนสําคัญ๗๖ ถึงอยางนั้นสัทธรรมปุณฑรีกสูตร
ก็ไดแสดงใหเห็นถึงอุดมการณ ๓ ประการของพระโพธิสัตวที่เปนนามธรรมใหปรากฏเปนรูปธรรม
โดยผานทางลักษณะของพระโพธิสัตว ๓ องค คือ ๑) พระมัญชุศรีโพธิสัตวซึ่งเปนตัวแทนทางดาน
ปญญา ๒) พระอวโลกิเตศวร เปนตัวแทนทางดานกรุณา ๓) พระสมันตภัทรโพธิสัตว เปนตัวแทน
ทางดาน การสอน การปฏิบัติ และการบรรลุโพธิญาณ๗๗ จึงเห็นไดวาถาหากเนื้อหาที่เกี่ยวของกับ
ปญญา พระมัญชุศรีโพธิสัตวจะเปนผูทูลถาม เชน พระมัญชุศรีทูลถามพระพุทธเจาวา คุณสมบัติ
ของผูเผยแผสัทธรรมปุณฑรีกสูตรวาเปนอยางไร พระพุทธองคทรงตอบตอนหนึ่งวาตองเปนผูเห็น
ธรรมทั้งปวงวาเปนศูนยตา ไมเปลี่ยนแปลง ไมถอยกลับ ไมเกิด ไมมี ไมมีจริง ไมรวมกัน ฯลฯ๗๘

๗๕
พระคณาจารยจีนธรรมสมาธิวัตร (เย็นเจี่ยว), สารัตถธรรมมหายาน, (กรุงเทพฯ : วัดมังกรกมลาวาส,
๒๕๑๓), หนา ๑๘๒.
๗๖
สุมาลี มหณรงคชัย, พุทธศาสนามหายาน, (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศยาม, ๒๕๔๖), หนา ๑๔๘-๑๔๙.
๗๗
ประพจน อัศววิรุฬหการ, “การศึกษาเชิงวิเคราะหเรื่องพระโพธิสัตวในคัมภีรเถรวาทและคัมภีรมหายาน”,
หนา ๑๕๑.
๗๘
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๑๕๖.

Page 113 of 162


๙๙

ส ว นพระอวโลกิ เ ตศวรโพธิ สั ต ว ซึ่ ง เป น บุ ค ลาธิ ษ ฐานของความกรุ ณ าที่ ท รงมี ต อ สรรพสั ต ว


หากเหลาสัตวใดประสบทุกขเพียงแคฟง หรือเอยนามของพระองคๆ ก็จะประทานความปลอดภัย
ให ดังที่พระพุทธองคตรัสวา “ พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตวมหาสัตว ยอมประทานความปลอดภัยแก
หมูสัตวผูมีความกลัว”๗๙ เปนการแสดงใหเห็นความกรุณาตอสรรพสัตวของพระอวโลกิเตศวร และ
พระสมันตภัทรโพธิสัตวเปนบุคลาธิษฐานของอุบายในการสั่งสอนและการปฏิบัติ พระองคได
กราบทู ล ต อ พระพุ ท ธเจ า ว า จะเป น ผู คุ ม ครองผู ที่ รั ก ษาสั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รให ป ลอดภั ย จาก
ภยันตรายทั้งปวง และหากผูสอนธรรมมีขอผิดพลาดในคําสอน จะทรงชางเผือก ๖ งา ไปปรากฏ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ตอ หนาผูสอนธรรมนั้น ทํา ใหธรรมบรรยายนั้ น ดํา เนินไปไม บกพรอง ๘๐ ซึ่ง เปนกุศโลบายของ
พระสมันตภัทรโพธิสัตวที่มาใหกําลังใจแกผูสอนพระสูตรนี้

หากกล าวโดยรวมแล วพระโพธิสัตว ทั้งหลายยอมยึ ดถืออุ ดมคติทั้ ง ๓ ประการเปน


จุดหมายสูงสุด โดยมีพระโพธิสัตวมหาสัตวทั้ง ๓ องคเปนแบบอยางในการดําเนินตามแนวทางของ
โพธิสัตวจรรยา หากแตการชวยเหลือสรรพสัตวใหพนจากความทุกขทั้งปวงอันเปนจุดเนนของ
มหายานนอกจากปญญา และกรุณาแลว จําตองอาศัยกุศโลบายมาเปนเครื่องมือชวยใหบรรลุผล
ซึ่งกุ ศโลบายเป น หนึ่ง ในอุ ด มคติทั้ ง ๓ ประการของมหายาน อี ก ทั้ งยั ง โดดเดน ในแง ข องการ
แสดงออกเพื่อชวยเหลือแกเหลาสัตว ซึ่งจะไดวิเคราะหถึงความสัมพันธของธรรมทั้ง ๓ ตอไป

๓.๔.๑ ความสัมพันธระหวางปรัชญา กรุณา และกุศโลบาย

มหายานไดเปลี่ยนอุดมคติจากพระอรหันตมาดําเนินชีวิตแบบพระโพธิสัตว๘๑ เปนเหตุให
มหายานไดนําหลักธรรมที่เปนหัวใจหรือเปนแกนหลักของพระโพธิสัตว คือ ปรัชญา และกรุณา๘๒
ขึ้นมาเปนจุดเนนแสดงใหเห็นลักษณะเฉพาะ และจุดมุงหมายของมหายาน๘๓ คําสอนของมหายานจึงมี
ลักษณะที่สัมพันธกับปรัชญาและกรุณาเสมอ ดังที่เสถียร โพธินันทะ กลาวไววา “มหายานถือวา
การปฏิบัติธรรมนั้นจะตองประกอบดวยปญญา และกรุณาคูกันไปเสมอ จะขาดสิ่งหนึ่งมิได”๘๔

๗๙
เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๔๑.
๘๐
เรื่องเดียวกัน, หนา ๒๕๖.
๘๑
ดูรายละเอียดใน พระมหาสมยศ อาภายุตฺโต, “การศึกษาเชิงวิเคราะหแนวความคิดเรื่องพระอวโลกิเตศวร
โพธิสัตว(กวนอิม)”, หนา ๑๗-๑๘.
๘๒
เรื่องเดียวกัน, หนา ๕๓.
๘๓
ประพจน อัศววิรุฬหการ, “การศึกษาเชิงวิเคราะหเรื่องพระโพธิสัตวในคัมภีรเถรวาทและคัมภีร
มหายาน”, หนา ๑๗๔.
๘๔
เสถียร โพธินันทะ, ปรัชญามหายาน, หนา ๗.

Page 114 of 162


๑๐๐

ทศภู มิ ก สู ต รชี้ ว า มหากรุ ณ าเกิ ด ขึ้ น ได เ พราะเข า ใจในปรั ช ญาปารมิ ต า(ศู น ยตา)๘๕
ในมหายานสูตราลังการระบุวา เมื่อมีศูนยตาจะเห็นความเสมอกันของสรรพสัตว จึงเกิดความเมตตา
กรุณาที่จะชวยเหลือ๘๖ กรุณาจึงเกิดมาจากปญญาที่เขาใจถึงความจริงวาสรรพสิ่งไรแกนสาร วาง
เปลา เปนมายา ไมควรยึดถือ พระโพธิสัตวมองเหลาสรรพสัตวที่ยังทุกขเวียนวายอยูในสังสารวัฏ
เพราะยึดติดอยูกับสิ่งมายา ไรปญญาที่จะถายถอนตัวเองออกมาจากความหลงนั้นได ความกรุณาใน
สรรพสัตวยอมเกิดขึ้นกับพระโพธิสัตว ที่จะนําพาสรรพสัตวใหพนจากความทุกขและบรรลุถึง
สภาพอันเปนเชนเดียวกับตน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
กุศโลบายหรืออุบายก็มีความสัมพันธโดยตรงกับปรัชญาและกรุณา คัมภีรลลิตวิสตระ
บอกวาอุปายขับเคลื่อนไปดวยกําลังของปรัชญา๘๗ คัมภีรของโยคาจารถือวาอุบายหรือวิธีการที่จะนํา
สรรพสัตวใหพนทุกขนั้น ถือเปนปญญาหรือปรัชญาที่จะนําไปสูความรูสูงสุด๘๘ หลวงจีนฝาจิ้ง
กลาววาจิตที่ประยุกตใชอุบายวิธีตาง ๆ ไดแกปญญาหลังจากบรรลุสัมโพธิญาณ เพื่อชวยเหลือผูอื่น
ใหหลุดพน๘๙ ไดซาขุ อิเคดะ กลาววา “กุศโลบายก็คือการแสดงออกซึ่งปญญา ที่ใชในการยกระดับ
ประชาชนใหสูงขึ้น”๙๐ ในแงนี้กุศโลบายจึงมีความสัมพันธกับปรัชญา

ในความสัมพันธของกุศโลบายกับกรุณาไดซาขุ อิเคดะ กลาววา “กุศโลบาย เกิดขึ้นจาก


ความปรารถนาของพระพุทธเจา ที่อยากชวยเหลือประชาชน และความเมตตากรุณาของพระองคได

๘๕
Vaidya, P.L./ed. Dasabhumikasutra, (Darbhanga : The Mithila Institute of Post Graduate Studies and
Research in Sanskrit Learning, 1967), pp. 31,34., อางในประพจน อัศววิรุฬหการ, “การศึกษาเชิงวิเคราะหเรื่อง
พระโพธิสัตวในคัมภีรเถรวาทและคัมภีรมหายาน”, หนา ๓๗๓.
๘๖
Bagchi, s., ed. Mahayana-Sutralankara of Asanga, (Darbhanga : The Mithila Institute of Post
Graduate Studies and Research in Sanskrit Learning, 1970), p. 106., อางในประพจน อัศววิรุฬหการ, “การศึกษา
เชิงวิเคราะหเรื่องพระโพธิสัตวในคัมภีรเถรวาทและคัมภีรมหายาน”, หนา ๓๒๔.
๘๗
แสง มนวิทูร, ลลิตวิสตระ : พุทธประวัติฝายมหายาน เลม ๒, (พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๕๑๔), หนา ๘๘๗.
๘๘
ผุดพรรณ ศุภพันธุ, “การศึกษาเปรียบเทียบความคิดเกี่ยวกับพระพุทธเจาในพุทธปรัชญาเถรวาท
กับพุทธปรัชญามหายาน” วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต, (ภาควิชาปรัชญา : จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย), ๒๕๒๙, หนา ๙๕.
๘๙
อัศวโฆษ, มหายานศรัทโธตปาทศาสตร, โยชิโตะ เอส. ฮะเกดะ ปริวรรตและอรรถาธิบาย ; แปลโดย
กัมพล สิริมุนินท, (ปตตานี : ภาควิชาปรัชญาและศาสนา, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, ๒๕๓๕), หนา ๙๓.
๙๐
ไดซาขุ อิเคดะ, บรรยายสัทธรรมปุณฑรีกสูตร บทกุศโลบายและบทการหยั่งอายุกาลของพระตถาคต,
แปลโดย สมาคมสรางคุณคาในประเทศไทย, หนา ๑๐๔-๑๐๕.

Page 115 of 162


๑๐๑

กอใหเกิดปญญาขึ้นมา”๙๑ นิกเกียว นิวาโน บอกวา กุศโลบายเกิดมาจากแรงกระตุนของความกรุณา๙๒


เสฐียร พันธรังษี ไดอธิบายถึงลักษณะปรัชญากับอุบายไววา “ปรัชญาเปนหนึ่ง เปนสากล เปนเสมอภาค
(สมตา) พรอมๆ กับที่อุบายเปนหลายสิ่ง เปนแตละอยาง(นานตฺตตา) พระโพธิสัตวทรงบําเพ็ญ
พระบารมีเพื่อตนตามลักษณะความเปนหนึ่ง คือ ปรัชญา แตทรงบําเพ็ญตนเพื่อผูอื่นดวยอุบาย
ประกอบดวยความรักและความกรุณา เพื่อชักนําสรรพสัตวใหสูจุดหมายปลายทาง”๙๓

ทานอัศวโฆษไดกลาวถึงความสัมพันธของปรัชญากับกุศโลบายวา “อิทธิพลกริยาของ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มหาปรัชญาที่ทําหนาที่ในฐานะผูใชอุบายวิธีตางๆ อันสุดจะคณานับ อวยเอื้อตนเองใหเหมาะสมกับ
อุปนิสัยของหมูสัตวตางๆ ยอมประกาศ เปดเผยหลักธรรมแกหมูสัตว”๙๔ สวนของความสัมพันธของ
กุศโลบายกับกรุณา เสฐียร พันธรังษี บอกวา “วิธีหรืออุบายเปนการแสดงออกโดยกรุณาสมโยค”๙๕

ปรัชญาและกรุณาไดแสดงตัวผานกุศโลบายดวยจุดประสงคเพื่อชวยเหลือสรรพสัตวให
มีจิตใจมุงสูพุทธภูมิ วิมลเกียรติโพธิสัตวกลาววา “อุปายนั่นแล เปนเหตุใหสั่งสอนโปรดสัตว”๙๖
และเมื่อปรัชญาและกรุณามีลักษณะที่กวางขวางไมจํากัด ไมมีขอบเขต กุศโลบายจึงไมจํากัด และไม
มีขอบเขตไปดวย เชน สามารถปรากฏตนในทุกหน ทุกแหง ทุกสภาพ เพื่อที่จะโปรดสรรพสัตว
แมในแหลงอบายมุขตางๆ มี บอนการพนัน สํานักโสเภณี เปนตน หรือสําแดงตนในรูปแบบตางๆ
มากมายเพื่อโปรดสัตว เชน แสดงเปน มาร คนไข เทพเจา นักบวช หญิงมักมากในกามคุณ คนใช
ฯลฯ ดังนั้น วิถีของพระโพธิสัตวยอมไมมีประมาณ จริยาของพระโพธิสัตวก็ปราศจากขอบเขต
พระโพธิสัตวยอมปลดเปลื้องสัตวไมมีประมาณใหพนจากหวงแหงทุกข๙๗

จึ ง กล า วได ว า กุ ศ โลบายเป น ผลที่ เ กิ ด จากคุ ณ สมบั ติ ภ ายในคื อ ปรั ช ญา และกรุ ณ า


ที่แสดงออกมาภายนอกอยางเปนรูปธรรม ฉะนั้นกุศโลบายจึงเปนองคประกอบที่สําคัญและเปน

๙๑
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๐๗-๑๐๘.
๙๒
Nikkyo Niwano, Buddhism for Today, p. 273.
๙๓
เสฐียร พันธรังษี, พุทธศาสนามหายาน, หนา ๓๔.
๙๔
อัศวโฆษ, มหายานศรัทโธตปาทศาสตร, โยชิโตะ เอส. ฮะเกดะ ปริวรรตและอรรถาธิบาย ; แปลโดย
กัมพล สิริมุนินท, หนา ๙๔.
๙๕
เสฐียร พันธรังษี, พุทธศาสนามหายาน, หนา ๔๑.
๙๖
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร, แปลโดย เสถียร โพธินันทะ, (กรุงเทพฯ : มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๐๖), หนา ๓๑.
๙๗
เรื่องเดียวกัน, หนา ๗๗.

Page 116 of 162


๑๐๒

สิ่งจําเปนอยางยิ่ง๙๘ ในการดําเนินกิจกรรมทางพระศาสนาควบคูไปกับปรัชญาและกรุณา ดังที่ผูรู


ไดกลาวไววา “พระโพธิสัตวผูประกอบดวยปรัชญาและอุบาย เหมือนนกสวรรคที่กางปกทั้ง ๒
ออกปกปองชาวโลก”๙๙

ดั ง นั้ น จึ ง สรุ ป ได ว า สั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รที่ ก ล า วเน น ถึ ง กุ ศ โลบายในการนํ า พา


สรรพสั ต ว ใ ห เ ข า สู พุ ท ธยานอั น เป น ความพ น ทุ ก ข ที่ ยิ่ ง ใหญ จํ า ต อ งอิ ง อาศั ย ป ญ ญาและกรุ ณ า
เปนตัวขับเคลื่อนภายในที่สําคัญควบคูกันไปเสมอ จึงจะบรรลุผลไดอยางสมบูรณ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๓.๕ การอธิบายตรียานดวยแนวคิดเรื่องกุศโลบายในพระสูตร

มหายานถื อ ว า คํ า สอนของพระพุ ท ธเจ า ที่ นํ า ไปสู ค วามรู แ จ ง นั้ น ไม ไ ด แ ค ท างเดี ย ว


แตมีอยู ๓ ทาง๑๐๐ ดังนี้

๑. สาวกยาน คื อ กลุ มของพระสาวกที่ศึก ษาและปฏิบัติธรรมจนบรรลุพระอรหัน ต


ดวยการรูแจงอริยสัจ ๔ ตามที่พระพุทธเจาทรงแสดงไว

๒. ปจเจกพุทธยาน คือพระปจเจกพุทธเจา ที่รูแจงเห็นจริงในปฏิจจสมุปบาท ดวยการ


ตรัสรู แตไมตั้งเปนรูปสถาบันศาสนา จึงไมอาจชวยคนอื่นใหหลุดพนจากทุกขได

๓. โพธิ สั ต วยาน คื อ หมู พ ระโพธิ สั ต ว ที่ ป ระกอบด ว ยโพธิ สั ต วจริ ย า มี ค วามกรุ ณ า


ตอสรรพสัตว ตองการที่จะชวยสรรพสัตวใหห ลุดพน จึงไมปรารถนาสาวกภูมิ และปจเจกภูมิ
แตปรารถนาพุทธภูมิอยางเดียว จึงมีความกวางใหญกวา ๒ ยานแรก

ในโพธิจิตสูตร (พูที้ซิมเก็ง) พราหมณกัสสปโคตร ไดทูลถามพระพุทธเจาวา “ขาแต


พระโลกนาถ การหลุดพนมีความแตกตางกันดวยหรือ” พระพุทธองคตรัสตอบวา

๙๘
จันทรัชนันท สิงหทัต, “การศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดเรื่องจิตในพระพุทธศาสนาเถรวาท
และมหายานอินเดีย : เฉพาะกรณีศึกษาพระสูตร พระอภิธรรมและลังกาวตารสูตร”, วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตร
มหาบัณฑิต, (สาขาศาสนาเปรียบเทียบ : มหาวิทยาลัยมหิดล), ๒๕๓๙, หนา ๒๓.
๙๙
พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ, พระพุทธศาสนามหายานในอินเดีย พัฒนาการ และสารัตถธรรม,
(กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓), หนา ๘๓.
๑๐๐
พระราชธรรมนิเทศ (ระแบบ ฐิตญาโณ), ประวัติพระพุทธศาสนา, (กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย,
๒๕๔๒), หนา ๒๒๖-๒๒๗.

Page 117 of 162


๑๐๓

ดูกอนพราหมณ วิมุตติมรรค หาไดมีความแตกตางกันไม ก็แตยานพาหนะที่จะไปนั้ น


มีความตางกันอยู พราหมณ อุปมาเหมือนถนนหลวง ยอมมีผูไปดวยพาหนะ คือ ชางบาง มาบาง
ลาบาง เขาทั้งหลายยอมบรรลุถึงนคร อันตนปรารถนา พราหมณ เธอเขาใจความนี้เปนไฉน
ในยานพาหนะทั้งหลายนี้ มีความแตกตางกันหรือ

พราหมณทูลวา “ขาแตพระองคผูเจริญ ในยานพาหนะทั้งหลายเหลานั้น ยอมมีความ


แตกตางกัน” พระองคตรัสวา “อยางนั้นๆ ดูกอนพราหมณ สาวกยาน ปจเจกยาน อนุตรสัมโพธิยาน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ทั้ง ๓ นี้มีตางกัน ก็แตมรรคและวิมุตติหามีความแตกตางกันไม . . .” แลวพระผูมีพระภาคไดตรัส
นิคมคาถาวา “หนทางความหลุดพนไมมีต่ําสูง แตยานพาหนะทั้งหลายมีความแตกตาง ผูมีปญญา
พึงเปรียบเทียบเชนนี้แลวพึงเลือกเอายานที่ประเสริฐสุด”๑๐๑

ในอุปาสกศีลสูตร (อิวผอสักกายเก็ง) มีคําอุปมาที่นาฟง คือ พระพุทธดํารัสวา

ดูกอนกุลบุตร เปรียบเหมือนแมน้ําคงคา สัตว ๓ ตัว ไดวายขามไปดวยกัน คือ กระตาย มา


และชาง กระตายไมอาจหยั่งถึงพื้นดินไดลอยน้ําขามไป มาบางขณะก็หยั่งถึง บางขณะก็หยั่ง
ไมถึง สวนชางนั้น ยอมหยั่งถึงพื้นดิน แมน้ําคงคานั้น เปรียบประดุจดั่งปฏิจจสมุปบาท ๑๒
ประการ สาวกขามเปรียบเหมือนกระตาย ปจเจกพุทธขามเปรียบเหมือนมา แตตถาคตขาม
เปรียบเหมือนชาง . . .”๑๐๒

ดังนั้นในยาน ๓ นี้ มหายานยกยองโพธิสัตวยานวาเปนยานอันประเสริฐสูงสุด บางครั้ง


เรียกวา อนุตรยาน ยานอันสูงสุด พุทธยาน ยานของพระพุทธเจา เปนตน

หลังจากการสังคายนาครั้งที่ ๑ เปนตนมาพระพุทธศาสนาไดมีความขัดแยงอันเกิดจากความ
ไมลงรอยกันทางดานความประพฤติและความเห็นที่แตกตางในคําสอน จนมีการแยกตัวออกไปตั้งเปน
นิกายใหม ใน พ.ศ. ๒๐๐-๓๕๙ พระพุทธศาสนามีนิกายถึง ๑๘ นิกาย หนึ่งในจํานวนนั้นคือมหาสังฆิกะ
ซึ่งถือเปนจุดเริ่มตนแหงมหายาน๑๐๓ และไดพัฒนาจนปรากฏเปนรูปรางที่ชัดเจนราวพุทธศตวรรษที่ ๖
โดยท านอั ศวโฆษได ประกาศลั ทธิ มหายานด วยการแต งคั มภี ร มหายานศรั ทโธตปาทศาสตร๑๐๔
ความไม ลงรอยของคํ าสอนบางแง มุ มทํ าให เกิ ดความขั ดแย งระหว างเถรวาทกั บมหายานเรื่ อยมา

๑๐๑
เสถียร โพธินันทะ, ปรัชญามหายาน, หนา ๓-๔.
๑๐๒
อางแลว.
๑๐๓
พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ, พระพุทธศาสนามหายานในอินเดีย พัฒนาการและสารัตถธรรม, หนา ๑.
๑๐๔
เสถียร โพธินันทะ, ปรัชญามหายาน, หนา ๒๘.

Page 118 of 162


๑๐๔

และสัทธรรมปุณฑรีกสูตรไดปรากฏขึ้นมาภายใตสถานการณเหลานี้ ในฐานะเปนความพยายามที่จะ
รวมพระพุทธศาสนาเขาเปนยานเดียวกัน พระสูตรจึงเนนวาในพระพุทธศาสนามีเพียงยานเดียวเทานั้น
(เอกยาน) เปนยานที่ทุกคนปฏิบัติตามไดอยางเทาเทียมกัน และกลาวเนนวาคําสอนของพระพุทธเจา
ศากยมุนี มีวัตถุประสงคสูงสุดอยูที่การนําคนทุกคนใหมาสูยานนี้๑๐๕ คือ พุทธยาน สัทธรรมปุณฑรีกสูตร
จึงไดแสดงใหเห็นถึงพระประสงคที่แทจริงในคําสอนของพระพุทธเจา

พระตถาคตเจาอุบัติขึ้นในโลกดวยมหากรณีกิจที่พึงกระทําอยางหนึ่งคือ แสดงนิมิตที่เปน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เหตุใหสัตวเขาถึงตถาคตญาณทัศนะ นิมิตที่เปนเหตุใหเห็นตถาคตญาณทัศนะ นิมิตที่เปนเหตุ
ใหสัตวกาวลงสูตถาคตญาณทัศนะ นิมิตที่เปนเหตุใหสัตวบรรลุตถาคตญาณทัศนะ นิมิตทีเ่ ปน
เหตุใหสัตวกาวลงสูทางของตถาคตญาณทัศนะ

พระผูมีพระภาคทั้งปวงไดอาศัยยานเดียวเทานั้น ทรงแสดงธรรมแกสัตวทั้งหลายนั่นคือ
พุทธยาน อันมีการรูสิ่งทั้งปวงเปนที่สุด และนั่นก็คือพระผูมีพระภาคทั้งปวง ทรงแสดงธรรม
แกสัตวทั้งหลายที่เปนเหตุใหไดรับญาณทัศนะแหงตถาคต เปนเครื่องสอนญาณทัศนะแหง
ตถาคต ที่เปนเครื่องเปดเผยญาณทัศนะแหงตถาคต ที่เปนเหตุใหเขาใจญาณทัศนะแหงตถาคต
ที่เปนเครื่องชี้ทางแหงญาณทัศนะแหงตถาคต

พระประสงคหรือเจตนาหนึ่งเดียวในการแสดงธรรมของพระพุทธเจาก็เพื่อชวยทําให
สรรพสัตวไดบรรลุความรูแจงหรือการตรัสรูสมบูรณสูงสุดคือการเปนพระพุทธเจาเชนเดียวกับ
พระองค และทรงแสดงใหเห็นวายาน ๓ เปนเพียงกุศโลบายของพระองคเทานั้น

ตถาคตใชกุศโลบายอันประเสริฐ กลาวธรรมหลากหลายวิธีในโลก ปลดเปลื้องผูของใน


พันธะทั้งปวง แลวแสดงยานทั้งสามใหปรากฏ

จริ ง อยู ใ นกาลไหนๆ ก็ มี เ พี ย งยานเดี ย ว ยานที่ ส องไม มี ยานที่ ส ามก็ ไ ม มี นอกจากว า


พระผูมีพระภาคใชกุศโลบายจึงแสดงวามียานตางๆ

สัทธรรมปุณฑรีกสูตรไดแสดงใหเห็นเหตุผลของการแสดงยาน ๓ ของพระพุทธองควา

แมเมื่อใด พระตถาคตเจาทั้งหลาย อุบัติขึ้นในกัลปที่หมนหมอง หรือสรรพสัตวหมนหมอง


หรือความหมนหมองเพราะกิเลส หมนหมองเพราะทิฏฐิ หมนหมองเพราะอายุ เมื่อนั้นพระตถาคตเจา
ทั้งหลาย ยอมแสดงพุทธยานเพียงหนึ่งเดียว โดยแยกเปน ๓ ยาน ดวยกุศโลบายที่ฉลาด

๑๐๕
Nikkyo Niwano, Buddhism for Today, p. preface (xv).

Page 119 of 162


๑๐๕

พระตถาคตทรงประกาศธรรมบรรยายที่ตางกัน ดวยภูมิฐานที่ตางกัน เพื่อประโยชนคือ


การกอใหเกิดกุศลมูล แกสัตวทั้งหลายที่มีความประพฤติตางกัน มีความปรารถนาตางกัน
มีความรู ความไมรู และการปฏิบัติที่ตางกัน

ดวยเหตุที่จะใหสัตวทั้งหลายออกจากไตรโลกธาตุอันเปรียบกับเรือนที่กําลังถูกไฟไหม
จึงแสดงยานสาม คือ สาวกยาน ปจเจกพุทธยาน และโพธิสัตวยาน . . . สัตวพวกหนึ่งพอใจ
ปฏิบัติตามคําสอนของตถาคตเพื่อบรรลุอริยสัจสี่ อันเปนเหตุแหงการไดพระนิพพานเปน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ผู ห วั ง สาวกยาน . . . สั ต ว พ วกหนึ่ ง หวั ง จะได ญ าณทมะและความสงบสุ ข อั น ปราศจาก
ผูเปนครูอาจารย พยายามปฏิบัติตามคําสอนของพระตถาคต เพื่อรูเหตุและปจจัยทั้งหลาย
เป น ผู ห วั ง ป จ เจกพุ ท ธยาน . . . และสั ต ว อี ก จํ า พวกหนึ่ ง หวั ง สั พ พั ญ ุ ต ญาณ พุ ท ธญาณ
สยัมภูญาณ อันเปนญาณที่ปราศจากครูผูสอน พยายามปฏิบัติตามคําสอนของพระตถาคต
เปนผูหวังโพธิสัตวยาน . . .

พระตถาคตทราบว า สั ต ว เ หล า นี้ ก ระทํ า กุ ศ ลไว แ ล ว บ า งก็ มี โ ทสะเบาบางมี ร าคะกล า


บางก็มีราคะเบาบางมีโทสะกลา บางก็มีปญญานอย บางก็เปนบัณฑิต บางก็มีความบริสุทธิ์ผุดผอง
และบางก็มีมิจฉาทิฎฐิ พระตถาคตจึงแสดงยานสามชนิดแกสัตวเหลานั้นดวยกุศโลบาย

พระตถาคตเจ า ทราบว า สั ต ว ทั้ ง หลายเป น ผู มี ค วามอ อ นแอ จึ ง ชี้ แ จงประกาศภู มิ ข อง


พระนิ พ พานสองอย า งคื อ สาวกภู มิ แ ละป จ เจกภู มิ ด ว ยกุ ศ โลบาย เพื่ อ ให สั ต ว ทั้ ง หลาย
ไดพักผอน

พุทธพจนที่ไดแสดงขางตนนั้น สามารถสรุปประเด็นหลักของสาเหตุการใชกุศโลบาย
โดยแยกเอกยานเปน ๓ ยาน ของพระพุทธเจาไดเปน ๒ ประเด็น คือ

๑. เจตนารมณในการแสดงพระธรรมของพระพุทธเจาก็เพื่อใหสรรพสัตวนั้นไดบรรลุ
พุทธภาวะเทานั้น เนื่องดวยพระมหากรุณาที่เห็นปวงสัตวทั้งหลายตองทนทุกขทรมานอยูในวัฏฏ
สงสารไมมีที่สิ้นสุด เมื่อพระองคไดตรัสรูพุทธธรรมแลว ก็ทรงนําพาสัตวเหลานั้นใหดํารงอยูใน
พุทธธรรมเชนเดียวกับพระองคดวย๑๐๖ นี่คือเจตนารมณอันยิ่งใหญของพระพุทธองค

๒. พุทธธรรมอันลึกซึ้งที่พระพุทธเจาไดตรัสรูนั้นมีเพียงพระพุทธเจาดวยกันเทานั้น
ที่เขาใจได แมกระทั่งพระอริยสาวก พระปจเจกพุทธเจา และพระโพธิสัตวทั้งหลายก็ไมอาจที่จะ

๑๐๖
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๒๙.

Page 120 of 162


๑๐๖

เขาใจและหยั่งถึงในพุทธธรรมที่พระตถาคตตรัสรูได ดังนั้นพระพุทธเจาจึงทรงใชกุศโลบายมาเปน
วิธีในการชวยเหลือสรรพสัตว โดยแบงคําสอนออกเปน ยาน ๓ ดวยเหตุผลดังนี้คือ

๒.๑ โลกเปนยุคของความเสื่อมทั้ง ๕ คือ ๑) ความเสื่อมแหงกัลป ๒) ความเสื่อม


แหงสรรพสัตว ๓) ความเสื่อมเพราะกิเลส ๔) ความเสื่อมเพราะทิฏฐิ ๕) ความเสื่อมเพราะอายุ
โลกในยุคนี้สรรพสัตวถูกอวิชชาหอหุมอยางมืดมิด ละเลยการกุศล มุงแตสรางอกุศล ลุมหลงมัวเมา
ในกามารมณ ไมสนในคําสอนที่ประเสริฐ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒.๒ อุปนิสัยที่แตกตางกันของเหลาสัตว กลาวคือสรรพสัตวมีกิเลสคือราคะ
โทสะ โมหะมากนอยตางกัน มีปญญามาก นอย ปานกลางตางกัน มีอินทรีย ออน แกกลา ตางกัน
บางเหลาเปนบัณฑิต บางเหลาไมเปนบัณฑิต มีความปรารถนาที่แตกตางกันไป ซึ่งเปรียบเหมือน
ตนไมขนาดเล็ก ตนไมขนาดปานกลาง และตนไมขนาดใหญ ที่มีขนาดแตกตางกันออกไปตามชนิด
ตามพันธุของตนไม

ดังนั้นวิธีการหรือกุศโลบายของพระองคจึงไดทรงแสดงคําสอนที่เหมาะสมกับอุปนิสัย
ของเหลาสัตวและถูกโอกาส กลาวคือสอนสัตวที่มีอินทรียออน ใชคําสอนขั้นต่ํา สอนสัตวที่มี
อิ น ทรี ย ป านกลาง ใช คํ า สอนขั้ น ปานกลาง สอนสั ต ว ที่ มี อิ น ทรี ย สู ง ใช คํ า สอนขั้ น สู ง ก็ เ พื่ อ ให
เหลาสัตวสามารถเขาใจ และสนใจในคําสอนไดดี หากใชผิดประเภทก็จะทําใหไมเขาใจ เกิดความ
ทอแทเบื่อหนาย รับไมได และอาจหันหลังใหกับคําสอนไปเลยก็เปนได พระพุทธเจาจึงทรงแสดง
ยาน ๓ ซึ่งครอบคลุมอุปนิสัยของสรรพสัตวทั้งหมด และที่สําคัญอีกประการหนึ่งพระพุทธองค
ทรงมี เ จตนารมณ ที่ จ ะนํา เหล าสั ตวมุ งสูพุ ทธภู มิ แตห ากไปสอนตรงๆ ก็ ย ากเกิน ไปที่ จ ะทํ าให
สรรพสัตวเขาใจได ดังนั้นพระพุทธเจาจึงคอยๆ นําสรรพสัตวใหไปสูพุทธธรรมโดยการใชวิธีการ
แบบคอยเปนคอยไป กลาวคือใหฝกอบรมพัฒนาอินทรียใหแกกลาเสียกอนดวยคําสอนของ
ยานทั้ง ๓ เมื่อมีความพรอมจึงกาวไปสูพุทธยานเพื่อมุงหนาสูพุทธภูมิตอไป

จึงกลาวไดวากุศโลบายในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรเปนพระมหาปญญาและพระมหากรุณา
ของพระพุทธเจา ที่ทรงมีพระประสงคในการนําพาสรรพสัตวทั้งหมด ที่ตองทนทุกขเวียนวาย
อยูในวัฏฏสงสารมุงหนาไปสูความเปนพุทธะอยางเทาเทียมกัน และมีความเปนอัตตลักษณเฉพาะ
ของมหายาน ที่เหลาพระโพธิสัตวสามารถใชกุศโลบายอยางไรขีดจํากัด หากเปนการชวยเหลือ
สรรพสัตวใหพนจากความทุกขได ถึงแมการใชกุศโลบายในบางครั้ง อาจจะดูหมิ่นเหมตอจริยธรรม
วาเปนสิ่งที่ควรหรือไม ซึ่งจะไดวิเคราะหประเด็นนี้ในบทตอไป

Page 121 of 162


๑๐๗

บทที่ ๔

ความสัมพันธระหวางกุศโลบายกับจริยธรรม

๔.๑ กุศโลบายกับประเด็นปญหาทางจริยธรรม

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ในเรื่องความสัมพันธระหวางกุศโลบายกับจริยธรรม ผูวิจัยจะขอวิเคราะหเฉพาะการใช
กุศโลบายในคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตรใน ๒ ประเด็น คือ กุศโลบายกับมุสาวาท โดยจะใชเกณฑ
วินิจฉัยของเถรวาทเปนตัวตัดสิน และกุศโลบายกับประโยชนนิยม ที่ใชเกณฑวินิจฉัยของจอหน
สจวต มิลลเปนตัวตัดสิน ซึ่งการใชกุศโลบายบางเรื่องในสัทธรรมปุณฑรีกสูตร มีความหมิ่นเหม
ตอการทําผิดจริยธรรมในแงของการพูดเท็จ เชนเรื่องเอกยาน และการประกาศการปรินิพพานของ
พระตถาคต ซึ่งพระพุทธองคทรงลวงรูถึงเหตุนี้วา เมื่อคนทั่วไปไดอานพระสูตรนี้ ก็อาจจะคิดวา
เปนเรื่องโกหก และพระองคทรงยืนยันวาไมใชการพูดเท็จ แตเปนกุศโลบายในการนําพาสรรพสัตว
ไปสูพระสัมมาสัมโพธิญาณ๑ มีรายละเอียดดังนี้

๔.๑.๑ กุศโลบายกับปญหาทางจริยธรรมเรื่องเอกยาน

แนวคิดในเรื่องของการหลุดพนหรือนิพพานในพระพุทธศาสนากอนคัมภีรสัทธรรม
ปุณฑรีกสูตรจะเกิดขึ้นนั้น เห็นไปในทางเดียวกัน กลาวคือ เถรวาทและมหายานเห็นสอดคลองกันวา
พระพุทธเจาทรงมีพลานุภาพและวิชชาพิเศษเหนือกวาพระอรหันตทั้งหลาย แตพระองคไมทรงถือวา
นิพพานที่พระองคบรรลุนั้นแตกตางจากนิพพานที่พระอรหันตทั้งหลายบรรลุ นิพพานและวิมุตติจึง
เหมือนกันทั้งของพระอรหันตและพระพุทธเจา๒ ดังในโพธิจิตสูตร(พูที้ซิมเก็ง) พราหมณกสั สปโคตร
ไดทูลถามพระพุทธเจาวา “ขาแตพระโลกนาถ การหลุดพนมีความแตกตางกันดวยหรือ” พระองค
ตรัสตอบวา “ดูกอนพราหมณ สาวกยาน ปจเจกยาน อนุตรสัมโพธิยาน ทั้ง ๓ มีความตางกัน ก็แต
มรรคและวิมุตติหามีความแตกต างกันไม . . .”๓ ดังนั้นยานทั้ง ๓ แมจะตางกันแตก็มีจุดหมาย


สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, (กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร พริ้นติ้งแอนดพับ
ลิชชิ่งจํากัด, ๒๕๔๗), หนา ๔๗-๔๘, ๑๘๐.

พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ, พระพุทธศาสนามหายานในอินเดีย พัฒนาการ และสารัตถธรรม,
(กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓), หนา ๑๖๗.

เสถียร โพธินันทะ, ปรัชญามหายาน, (กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑), หนา ๔.

Page 122 of 162


๑๐๘

รวมกันคือพระนิพพานเดียวกัน กลาวคือยาน ๓ ลวนมีจุดสิ้นสุดในตัวเอง หมายความวาแมยานทั้ง ๓


จะมี ความตางในเรื่ องของการปฏิบัติ แตทายที่สุดยอมมุงไปสู จุ ดหมายเดี ยวกั นคือพระนิพพาน
เปรียบเหมือนกระตาย มา และชาง วายน้ําขามแมน้ํา ยอมขามถึงฝงเหมือนกัน แตในคําสอนเรื่อง
เอกยานไดแสดงวายาน ๓ เปนเพียงกุศโลบายของพระพุทธเจา ที่พัฒนาศักยภาพของสรรพสัตวใหพรอม
ที่จะก าวต อไปสู พุ ท ธยานเท า นั้ น ดั ง ที่ พ ระพุ ท ธเจ า แสดงยาน ๓ ในรู ป ของนิ ท านเปรี ย บเที ย บ
เรื่องบานไฟไหมวา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บ า นเศรษฐี ผู ห นึ่ ง กํ า ลั ง ถู ก ไฟไหม ในบ า นนั้ น มี ลู ก ๆ ของเศรษฐี กํ า ลั ง เพลิ ด เพลิ น
กับการละเลนตามประสาเด็กอยู ไมรูสึกถึงอันตรายจากไฟที่กําลังคืบคลานเขามา เศรษฐีจึงออก
อุบาย เพื่อใหลูกๆ รอดพนจากอัคคีภัย จึงตะโกนบอกลูกๆ วา พอไดเตรียมรถไวอยู ๓ อยาง คือ
รถเทียมดวยกวาง แพะ และโค ใหลูกๆ นั้นออกมาเลือกเอาตามใจชอบ ลูกๆ ไดฟงดังนั้นก็รีบวิ่ง
ออกจากบานมาหาเศรษฐีดวยใจที่หวังวาจะไดรถตามที่ตนปรารถนา เมื่อเศรษฐีเห็นลูกๆ ปลอดภัย
จากอัคคีภัย ก็เบาใจ และไมไดมอบรถทั้ง ๓ แบบใหแกลูกๆ แตไดมอบรถที่ดีกวา เปนรถที่เทียมดวย
โคขาวใหแทน ซึ่งรถทั้ง ๓ แบบแทนยานทั้ง ๓ คือ รถเทียมดวยกวางคือสาวกยาน รถเทียมดวยแพะ
คือปจเจกยาน รถเทียมดวยโค คือ โพธิสัตวยาน และรถเทียมดวยโคขาวที่เศรษฐีมอบใหกับลูกๆ
คือ พุทธยาน๔

ปญหาจึงเกิดขึ้นวาทานเศรษฐีไดกลาวเท็จหรือไม ในเมื่อทานเศรษฐีไดสัญญากับลูกวา
จะมอบยานทั้ง ๓ แบบให ซึ่งลูกๆ ก็ตางก็หมายในยานรูปแบบตางๆ ในยานทั้ง ๓ นั้น แตพอออกมา
เศรษฐีกลับไมไดมอบยานทั้ง ๓ แบบใหแตกลับไปใหยานอีกแบบหนึ่ง ซึ่งเปนยานที่ดีกวาทั้ง ๓ แบบแรก

และปญหานี้มีความเชื่อมโยงไปถึงเรื่องนิพพานของสาวกภูมิกับปจเจกพุทธภูมิดวย
ในสั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รได แ สดงให เ ห็ น ว า นิ พ พานของพระอรหั น ต กั บ พระป จ เจกพุ ท ธภู มิ
เป น นิ พ พานชั่ ว คราว เป น เหมื อ นสถานที่ พั ก ผ อ นให ร า งกายหายเหน็ ด เหนื่ อ ย มี ค วามสดชื่ น
จะได เ ดิ น ทางต อ ไปใหถึ ง พุ ท ธภู มิ ซึ่ ง เป น นิ พ พานสู ง สุ ด ซึ่ ง พระพุ ท ธเจ า ทรงแสดงเป น นิ ท าน
เปรียบเทียบเรื่องเมืองมายาวา

มี ชนหมู ใหญ กํ าลั งจะเดิ นทางไปยั งรั ตนทวี ป ซึ่ งทางไปนั้ น จะต องผ านป าทึ บใหญ
ที่ อั นตรายและน ากลั ว ในกลุ มชนนั้ นมี ผู นํ าทางเป นคนฉลาดรอบรู และคุ นเคยเส นทางที่ จะไป
เปนอยางดี เขานําชนทั้งหลายเขาไปในปาทึบใหญนั้น เมื่อกลุมชนนั้นเดินทางมาไกลพอสมควร


เรื่องเดียวกัน, หนา ๗๗ – ๘๔.

Page 123 of 162


๑๐๙

ก็เริ่มเหน็ดเหนื่อย มีความหวาดกลัว คิดกันวาระยะทางที่ไปรัตนทวีปยังอีกไกลเหลือเกิน ก็ทอแท


คิดจะเดินทางกลับ ผูนําทางรูถึงความคิดของกลุมชนเหลานั้น และคิดวากลุมชนนี้ควรจะเดินทาง
ไปจนถึงรัตนทวีปไมควรเดินทางกลับ จึงคิดหากุศโลบายเพื่อชวยกลุมชนนั้น จึงไดเนรมิตเมืองใหญ
กวาง ๓๐๐ โยชนขึ้นมาเมืองหนึ่ง แลวบอกวามาถึงรัตนทวีปแลว ดวยจุดประสงคจะใหกลุมชนนั้น
เขาไปพักผอนในเมืองใหญที่ไดเนรมิตขึ้น

กลุมชนเหลานั้นพากันประหลาดใจ คิดวาเราไดเดินทางมาถึงรัตนทวีปแลว ก็พากันเขา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ไปในเมืองเนรมิตนั้นและพากันพักผอนกันอยางสบาย เมื่อผูนําทางเห็นวากลุมชนเหลานั้นพักผอน
จนหายจากความเหน็ด เหนื่ อ ยแล ว พรอมที่จะเดินทางตอไป ก็เนรมิต ให เ มือ งใหญนั้ น หายไป
แลวบอกกับกลุมชนนั้นวา เมืองใหญนี้เราเนรมิตขึ้นมาเพื่อใหทานทั้งหลายไดพักผอนใหหายเหนื่อยลา
เทานั้น รัตนทวีปนั้นอยูไมไกลจากนี้ เราจะเดินทางไปสูรัตนทวีปกันตอไป๕

๔.๑.๒ กุศโลบายกับปญหาทางจริยธรรมเรื่องการปรินิพพานของพระพุทธเจา

เรื่องการปรินิพพานของพระพุทธเจาที่แสดงไวในสัทธรรมปุณฑรีกสูตร มีความหมิ่นเหม
ตอจริยธรรมในแงของการพูดเท็จเชนเดียวกัน มหายานถือกันวาพระชนมชีพของพระพุทธเจานั้น
ไมมีจํากัด ทรงดํารงอยูตลอดกาลในฐานะของธรรมกาย ที่พระพุทธองคทรงประกาศการเสด็จเขาสู
ปรินิพพาน แทจริงแลวพระองคไมไดเสด็จเขาปรินิพพานไปจริงๆ ซึ่งพระพุทธเจาทรงแสดงเปน
นิทานเปรียบเทียบในเรื่องลูกชายของหมอวา

มีนายแพทยผูเชี่ยวชาญคนหนึ่ง มีความสามารถในการปรุงยา รักษาโรคไดทุกชนิด เขามี


ลูกชายหลายคน วันหนึ่งเขาออกไปทําธุระที่ตางเมือง ลูกๆ ของเขาไดปวยเปนโรครายขึ้นมา จนเกิด
อาการคลุ มคลั่งด วยความเจ็บปวด เมื่ อบิดากลับมาบานลูกๆ ต างขอรองให บิดาชวย นายแพทย
ผูเปนบิดาไดปรุงยาอยางดีใหแกลูกๆ พรอมกับบอกวานี่เปนยาดี พวกเธอจงกินยานี้แลวพวกเธอ
จะหายจากความทุกขทรมานจากโรครายนั้น

ลูกๆ บางคนรูวายานี้เปนยาดี พวกเขาจึงกินยานี้ทันทีและความทุกขทรมานจากโรคราย


ก็หายไปในทันที แตลูกๆ อีกพวกหนึ่งกลับไมกินยา ครั้งนั้นนายแพทยผูเปนบิดาจึงไดคิดหากุศโลบาย
เพื่อดึงดูดใจใหลูกๆ เหลานั้นไดกินยา เขาจึงบอกแกลูกๆ วา พอก็แกชราและไมรูวาจะตายเมื่อใด
และปรุงยาทิ้งไวใหลูกๆ แลวเขาไดจากไปยังเมืองอื่น และใหคนมาบอกลูกๆ ของเขาวา บิดาไดตายแลว


สัทธรรมปุณฑรีกสูตร, แปลโดย ชะเอม แกวคลาย, หนา ๑๑๑-๑๑๒.

Page 124 of 162


๑๑๐

ฝายลูกๆ ไดยินวาบิดาตายแลว ตางก็มีความเศราโศกเสียใจเปนยิ่งนัก เพราะรูวาแตนี้ไป


ไมมีพอดูแลพวกเขาอีก ในที่สุดพวกลูกๆ ก็กินยาทันที โรครายทั้งหลายก็ถูกจํากัดหมดไป ฝายบิดา
เมื่อทราบวาลูกๆ ของตนหายปวยแลวจึงไดกลับมาและไดปรากฏตัวใหลูกๆ ไดเห็น๖

ปญหาจึงมีวา นายแพทยผูชวยชาญในการรักษาโรคนั้นไดพูดเท็จหรือไม ที่ไดบอกให


ลูกๆ เขาใจวาตนเองตายแลว ซึ่งจริงๆ ตนเองยังมีชีวิตอยู ทั้งนี้ก็หวังใหลูกๆ ไดกินยาเพื่อรักษาความ
ทุกขทรมานจากยาพิษ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ดังนั้นปญหาที่วา พอที่ชวยลูกๆ ออกจากบานที่ไฟไหม บุรุษผูนําทางที่เนรมิตเมือง
มายา และพอผูเปนนายแพทย ทั้งหมดนี้ไดพูดเท็จหรือไม ซึ่งจะไดศึกษาวิเคราะหตอไป

๔.๒ กุศโลบายกับมุสาวาท

๔.๒.๑ ความหมายของมุสาวาท

มุสาวาทมาจากคําสองคําคือ “มุสา” กับ “วาทะ” ในอัฏฐสาลินี ใหความหมายของคําวา


มุสาหมายถึง “ความพยายามทางวาจาหรือทางกาย อันทําลายประโยชนของบุคคลผูมุงกลาวให
ขัดแยงกัน” หรืออีกนัยหนึ่งหมายถึง “เรื่องอันไมเปนจริง ไมใชของแท” และวาทะ หมายถึง “การ
ใหบุคคลรูเรื่องไมจริงไมแทนั้น โดยภาวะวาจริง วาแท” มุสาวาทจึงหมายถึง “เจตนาที่พยายามทาง
กายหรื อทางวาจาที่มุ งจะกลาวใหคลาดเคลื่อนเปนอยางอื่น”๗ สมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยา
วชิรญาณวโรรส ไดใหความหมายของมุสาวาทไววา “ความเท็จไดชื่อวามุสา กิริยาที่พูดหรือแสดง
อาการมุ ส า ได ชื่ อ ว า มุ ส าวาท ข อ นี้ บั ญ ญั ติ ขึ้ น ด ว ยหวั ง จะห า มความตั ด ประโยชน ท างวาจา”๘
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานไดใหความหมายของมุสาวาทวา “การพูดเท็จ, การพูดปด, คําเท็จ”๙
พระราชวรมุ นี (ประยุ ทธ ปยุ ตฺ โต) บอกว ามุ สาวาทหมายถึ ง “พู ดเท็ จ, พู ดโกหก, พู ดไม จริ ง”๑๐


เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๗๙-๑๘๒.

อภิ. สงฺ. อ.(ไทย) ๑/๑/๒๙๑.

สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, สารานุกรมพระพุทธศาสนา, (กรุงเทพฯ :
มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๒๙), หนา๓๘๙.

ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕, (กรุงเทพฯ : บริษัทอักษร
เจริญทัศน, ๒๕๓๙), หนา๖๕๓.
๑๐
พระราชวรมุนี(ประยุทธ ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท. (กรุงเทพฯ : มหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๒๘), หนา ๒๓๖.

Page 125 of 162


๑๑๑

พระวินัยปฎก มหาวิภังค มุสาวาทวรรค ไดใหความหมายของคําวามุสาวาทไววา การกลาววาจา


ใหบุคคลมีความเขาใจคลาดเคลื่อนไปจากความจริง คือ กลาวปฏิเสธแลวรับ กลาวรับแลวปฏิเสธ
ใช เ รื่ อ งหนึ่ ง มากลบเกลื่ อ นอี ก เรื่ อ งหนึ่ ง กล า วเท็ จ ทั้ ง ที่ รู พู ด นั ด หมายแล ว ทํ า ให ค ลาดเคลื่ อ น
ซึ่งเปนคําพูดของอนารยชน ๘ อยาง คือ

๑. ไมเห็น พูดวา ขาพเจาเห็น


๒. ไมไดยิน พูดวา ขาพเจาไดยิน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๓. ไมทราบ พูดวา ขาพเจาทราบ
๔. ไมรู พูดวา ขาพเจารู
๕. เห็น พูดวา ขาพเจาไมเห็น
๖. ไดยิน พูดวา ขาพเจาไมไดยนิ
๗. ทราบ พูดวา ขาพเจาไมทราบ
๘. รู พูดวา ขาพเจาไดร๑๑ู

ดังนั้ น คําว ามุ สาวาทจึ ง หมายถึง คําพูด ที่เ ปน เท็จ โกหก ปด โดยมีเ จตนาที่ จ ะทํา ให
คลาดเคลื่อนผิดไปจากความเปนจริง อันเปนการทําลายประโยชนของผูอื่น เชน ใหคนอื่นเขาใจ
เรื่องไมจริง วาเปนเรื่องจริง หรือเขาใจเรื่องจริงวาไมเปนเรื่องจริง เปนตน จนเปนเหตุใหเกิดความ
เสียหายกับบุคคลอื่น ซึ่งทานถือวาเปนการกระทําลวงกรรมบถ๑๒ยอมไดรับวิบากที่เรียกกันวาโทษ
พุทธศาสนาฝายเถรวาทไดจัดโทษแหงมุสาวาทไวดังนี้

๔.๒.๒ โทษของมุสาวาท

ในพุทธศาสนาฝายเถรวาทจัดมุสาวาทไวในฝายบาป พอยกมาใหเห็นเปนตัวอยาง ดังนี้ คือ

๑. กรรมกิเลส หมายถึง การกระทําที่เปนเหตุใหเกิดความเศราหมอง มี ๔ อยาง คือ


๑) ปาณาติบาต ๒) อทินนาทาน ๓) กาเมสุมิจฉาจาร ๔) มุสาวาท๑๓

๒. มละ หมายถึง มลทิน เครื่องทําใหเศราหมอง เปรอะเปอน กิเลสดุจสนิมใจ มี ๙ อยางคือ


๑) โกธะ ๒) มักขะ ๓) อิสสา ๔) มัจฉริยะ ๕) มายา ๖) สาเถยยะ ๗) มุสาวาท ๘) ปาปจฉา ๙) มิจฉาทิฏฐิ๑๔

๑๑
วิ. มหา.(ไทย) ๒/๑/๑๘๕-๑๘๗.
๑๒
พระสิริมังคลาจารย, มังคลัตถทีปนี แปล เลม ๒, (กรุงเทพฯ : มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕), หนา ๑๐๕.
๑๓
ที. ปา.(ไทย) ๑๑/๒๔๕/๒๐๐.
๑๔
อภิ. วิ.(ไทย) ๓๕/๙๖๑/๖๑๖.

Page 126 of 162


๑๑๒

๓. อกุ ศ ลกรรมบถ หมายถึง ทางแหง กรรมชั่ว ทางแหง กรรมที่เ ป นอกุศ ล กรรมชั่ ว


อันเปนทางนําไปสูทุคติ มี ๑๐ อยาง คือ ๑) ปาณาติบาต ๒) อทินนาทาน ๓) กาเมสุมิจฉาจาร
๔) มุสาวาท ๕) ปสุณาวาจา ๖) ผรุสวาจา ๗) สัมผัปปลาปะ ๘) อภิชฌา ๙) พยาบาท ๑๐) มิจฉาทิฏฐิ๑๕

๔. อนริยโวหาร หมายถึง ไมใชถอยคําของพระอริยะ และอริยชน ไมใชคําพูดของผูประเสริฐ


แตเปนคําพูดของคนลวงโลก คือ ๑) มุสาวาท ๒) ปสุณาวาจา ๓) ผรุสวาจา ๔) สัมผัปปลาปะ๑๖

โทษอันเกิดจากการพูดมุสานั้นทานดูจากผลของมุสาวาทหากทําลายประโยชนของผูอื่น

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มากมีโทษมาก หากทําลายประโยชนนอยก็มีโทษนอย และแลวแตผูพูด เชน คฤหัสถจะไมใหวัตถุ
ของตน พูดไปวาไมมี มีโทษนอย แตถาเปนพยานเท็จ มีโทษมาก สําหรับบรรพชิตพูดเลนมีโทษ
นอย หากจงใจบอกของที่ไมเคยเห็นวาเห็น มีโทษมาก๑๗ ในมังคลัตถทีปนีเพิ่มตัวเจตนาหรือความ
ตั้งใจเขาไปดวย หากตั้งใจมากโทษก็มาก ตั้งใจนอยโทษก็นอย๑๘ พุทธศาสนาฝายเถรวาทจึงไดแบง
โทษของมุสาวาทไว ๒ ประการคือ

๑. โทษทางวินัย

โทษทางวินัยนี้หมายเอาเฉพาะบรรพชิตเทานั้น พระพุทธเจาไดทรงบัญญัติการกระทําที่
ลวงละเมิดพระวินัยที่เรียกวา อาบัติ ซึ่งบรรพชิตที่พูดมุสาจะตองรับโทษ มีทั้งโทษหนัก(ครุกาบัติ)
และโทษเบา(ลหุกาบัติ) ตามความสําคัญของเรื่อง โทษ ๕ ประการมีดังนี้ คือ

๑. อาบัติปาราชิก
๒. อาบัติสังฆาทิเสส
๓. อาบัติถุลลัจจัย
๔. อาบัติปาจิตตีย
๕. อาบัติทุกกฎ๑๙

ภิกษุใดหากพูดมุสาดวยการอวดอุตตริมนุสสธรรม คือ ธรรมอันยิ่งของมนุษยที่ไมมี


ในตน ตองปาราชิก ขาดจากความเปนภิกษุ ทานเปรียบเหมือนตาลยอดดวนที่ไมอาจงอกไดตอไป

๑๕
องฺ. ทสก.(ไทย) ๒๔/๑๗๖/๓๒๐-๓๒๒.
๑๖
ที. ปา.(ไทย) ๑๑/๓๑๓/๒๙๔.
๑๗
อภิ. สงฺ. อ.(ไทย) หนา ๒๙๑.
๑๘
พระสิริมังคลาจารย, มังคลัตถทีปนี แปล เลม ๒, หนา ๑๐๕.
๑๙
วิ. ป.(ไทย) ๘/๑๖๕/๑๓๔-๑๓๕.

Page 127 of 162


๑๑๓

ซึ่งเปนโทษหนักที่สุด ภิกษุใดโจทกภิกษุอื่นวาอาบัติปาราชิกโดยไมมีมูลความจริง ตองอาบัติ


สังฆาทิเสส โทษหนักรองจากปาราชิก แตแกไขไดดวยการอยูกรรม ประพฤติวุฏฐานวิธี สวนโทษที่เหลือ
คือ อาบัติถุลลัจจัย อาบัติปาจิตตีย อาบัติทุกกฎ เปนโทษสถานเบา แกไขไดดวยการประจานตน
สารภาพผิดตอหนาภิกษุรูปอื่น และจะสํารวมระวังตอไป ที่พระทานเรียกวาการแสดงอาบัติ เชน พูดปด
(ทําลายประโยชนผูอื่นนอย) พูดเลน โจทกภิกษุอื่นดวยอาบัติสังฆาทิเสสที่ไมมีมูลความจริง เปนตน

๒. โทษทางกรรม

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
โทษในที่นี้หมายถึง ผลของการกระทําที่เกิดจากการพูดมุสา ในการตัดรอนประโยชน
ของบุ ค คลอื่ น ซึ่ ง ท า นเรี ย กว า มุ ส าวาทที่ ล ว งกรรมบถ ๒๐ ย อ มส ง ผลกรรมชั่ ว ทั้ ง ในภพนี้ แ ละ
ภพหนา๒๑ ดังพุทธพจนวา

ภิ ก ษุ ทั้ ง หลาย มุ ส าวาท(การพู ด เท็ จ ) ที่ บุ ค คลเสพ เจริ ญ


ทําใหมากแลว ยอมอํานวยผลใหไปเกิดในนรก อํานวยผล
ใหไปเกิดในกําเนิดสัตวดิรัจฉาน ยอมอํานวยผลใหไปเกิด
ในเปรตวิสัย วิบากแหงมุสาวาทอยางเบาที่สุด ยอมอํานวยผล
ใหถูกกลาวตูดวยคําไมจริงแกผูเกิดเปนมนุษย๒๒

การพูดเท็จยอมสงผลใหแกบุคคลในภพหนา คือ เมื่อตายไปยอมไปเกิดในทุคติ อีกทั้ง


ยัง ได รับ ผลในชาติ นี้ ๓ ประการ ๑) ผู ก ลา วมุส ายอ มทํา ลายตนเอง เพราะไม เ ป น ที่เ ชื่อถื อ และ
ไววางใจของผูอื่น จึงเปนที่รังเกียจของบุคคลและสังคม ๒) เปนผูที่ทําลายประโยชนของบุคคลอื่น
เชน เปนพยานเท็จในศาล ปรักปรําคนที่ตนไมชอบ ทําใหโอกาสในการเจริญกาวหนาของบุคคลอื่น
หมดไป ๓) เปนผูทําลายสังคม ประเทศชาติ หากผูพูดเท็จเปนขาราชการ กลาวเท็จหรือรายงานเท็จ
ตอผูบังคับบัญชา เพราะอามิสสินจาง หรือปกปดความผิดของตนหรือพรรคพวกตน ยอมเปนการ
ทําลายสังคมและประเทศชาติ๒๓ การพูดมุสายังสงผลใหบุคคลมีบุคลิกภาพที่นารังเกียจ ๘ ประการ
คือ ๑) พูดไมชัด ๒) ฟนไมเปนระเบียบ ๓) ปากมีกลิ่นเหม็นมาก ๔) ไอตัวรอนจัด๕) ตาไมอยูใน
ระดับปกติ ๖) กลาววาจาดวยปลายลิ้น และปลายปาก ๗) ทาทางไมสงาผาเผย ๘) จิตไมเที่ยงคลาย

๒๐
พระสิริมังคลาจารย, มังคลัตถทีปนี แปล เลม ๒, หนา ๑๐๕.
๒๑
องฺ ทสก.(ไทย) ๒๔/๑๖๘/๓๐๓.
๒๒
องฺ อฎฐก.(ไทย) ๒๓/๔๐/๓๐๑.
๒๓
พ.ต.ปน มุทุกันต, บันทึกธรรม, (พระนคร : โรงพิมพอักษรสัมพันธ, ๒๔๙๙), หนา๒๙๔-๒๙๖.

Page 128 of 162


๑๑๔

วิกลจริต๒๔ และการพูดบางครั้งเกิดปญหาในการวินิจฉัยวาคําพูดอยางนี้เปนจริงหรือเท็จ ซึ่งพุทธศาสนา


ฝายเถรวาทไดวางเกณฑวินิจฉัยไวเพื่อตัดสินวาเปนคําเท็จหรือไม

๔.๒.๓ เกณฑวินิจฉัยปญหาเรื่องมุสาวาท

เมื่อการพูดมีความซับซอนมากยิ่งขึ้น จึงเปนการยากที่จะชี้ชัดลงไปไดวาคําพูดนั้นเปน
จริงหรือเท็จ ตอปญหานี้พระพุทธศาสนาฝายเถรวาทไดวางกฎเกณฑในการวินิจฉัยตัดสินวาคําพูด
ใดที่จัดวาใชหรือไมใชมุสาวาท โดยดูจากองคประกอบ ๔ ประการ๒๕ คือ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑. อตถํ วตฺถุ เปนเรื่องไมจริง
๒. วิสํวาทนจิตฺตํ มีเจตนาที่จะพูดเรื่องไมจริงนั้น
๓. ตชฺโช วายาโม พยายามพูดหรือกระทําเรื่องไมจริงนั้นออกไป
๔. ปรสฺส ตทตฺถวิชานนํ ผูอื่นรับรูและหลงเชื่อในเรื่องไมจริงนั้น

หากคําพูดใดที่ครบองคประกอบ ๔ ประการนี้๒๖ จัดเปนมุสาวาท และองคประกอบ


ที่สําคัญที่สุดก็คือ เจตนา ในฐานะเปนตัวรูและตัวเชื่อมใหครบองคประกอบทั้ง ๔ เชน เมื่อรูวา
เรื่องไมจริง แตก็ประสงคและพยายามพูดใหคนอื่นรับรูคลาดเคลื่อนไปจากความจริง เจตนาจึงเปน
ตัวเดนในการทําใหเกิดมุสาวาท ดังพุทธพจนที่วา “เจตนาหํ ภิกฺขเว กมฺมํ วทามิ ภิกษุทั้งหลาย เรากลาว
เจตนาวาเปนกรรม บุคคลคิดแลว จึงกระทํากรรมดวยกาย วาจา ใจ”๒๗ ในมังคลัตถทีปนีบอกวา
“กอนพูด ภิกษุยอมมีความรูตัววา ‘เราจะพูดมุสา’ เมื่อกําลังพูด ยอมรูตัววา ‘เราพูดมุสาอยู’ ความ
รู ตั ว (เจตนา) ทั้ ง ๒ นี้ แ หละเป น องค ส ว นนอกนั้ น จะมี ห รื อ ไม มี ข อ นั้ น ไม เ ป น เหตุ ”๒๘ และ
พระอรรถกถาจารยกลาววา มุสาวาทนั้นมีเพียงองค ๓ คือ ๑. คําไมจริง ๒. มีจิตคิดจะกลาวให
คลาดเคลื่อน ๓. มีผูอื่นรูเรื่องนั้น๒๙ ก็จัดเปนมุสาวาทแลว

๒๔
วรรณสิทธิ ไวทยะเสวี, คูมือการศึกษา พระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๕ วิถีมุตตสังคหวิภาค,
(กรุงเทพฯ : มูลนิธิแนบ มหาวีรานนท, ม.ป.ป.), หนา ๒๒๘.
๒๕
อภิ.สงฺ.อ.(ไทย) หนา ๗๕/๒๙๑.
๒๖
พระพรหมคุณาภรณ(ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรม, (กรุงเทพฯ : บริษัทสหธรรมิกจํากัด, ๒๕๔๙), หนา ๗๗๒.
๒๗
องฺ. ฉกฺก.(ไทย) ๒๒/๖๓/๕๗๗.
๒๘
พระสิริมังคลาจารย, มังคลัตถทีปนี แปล เลม ๒, หนา ๑๐๕.
๒๙
เรื่องเดียวกัน, หนา ๑๐๗.

Page 129 of 162


๑๑๕

นอกจากนี้พระพุทธศาสนายังไดวางเกณฑวินิจฉัยไววาการกระทําใดบางที่ถูกหรือวาผิด
ดี ห รื อ ชั่ ว เกณฑ วิ นิ จ ฉั ย ในลั ก ษณะนี้ ส ามารถใช ไ ด ค รอบคลุ ม ทุ ก ๆ การกระทํ า ของมนุ ษ ย
เกณฑตัดสินความดีความชั่วพระพุทธศาสนามีอยู ๒ เกณฑ๓๐ ดวยกันคือ

๑. วินิจฉัยโดยดูที่เจตนาหรือแรงจูงใจ

พระพุทธศาสนาถือวาตนเหตุของการกระทําทุกอยางนั้น มีสาเหตุมาจากเจตนาหรือ
แรงจูงใจ ๒ ประการ๓๑คือ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑.๑ เจตนาหรือแรงจูงใจฝายดี ไดแก กุศลมูล ๓ อยาง คือ อโลภะ อโทสะ อโมหะ
การกระทําใดก็ตามที่เกิดมาจากเจตนาหรือแรงจูงใจทั้ง ๓ อยางนี้จัดวาเปนการทําดี

๑.๒ เจตนาหรือแรงจูงใจฝายชั่ว ไดแก อกุศลมูล ๓ อยาง คือ โลภะ โทสะ โมหะ


การกระทําใดก็ตามที่เกิดมาจากเจตนาหรือแรงจูงใจทั้ง ๓ อยางนี้จัดวาเปนการทําชั่ว

๒. วินิจฉัยโดยดูที่ผลการกระทํา

ในการวินิจฉัยวาการกระทําใดดีหรือชั่ว โดยพิจารณาจากผลของการกระทําที่สงผล
กระทบตอบุคคล ๓ ระดับ คือ

๒.๑ การกระทํานั้นสงผลเปนทุกขหรือสุขแกตนเอง
๒.๒ การกระทํานั้นสงผลเปนทุกขหรือสุขแกบุคคลอื่น
๒.๓ การกระทํานั้นนั้นสงผลเปนทุกขหรือสุขแกทั้งตนและบุคคลอื่น

ดังนั้นเกณฑ การวินิจฉั ยว าการกระทําใดเรียกว าผิดหรือถูก พุทธศาสนาใหพิจารณา


๒ สวน คือ ดูจากเจตนาหรือแรงจูงใจ และดูจากผลของการกระทําที่สงผลกับตนเอง ผูอื่นหรือไม

จะเห็นวามุสาวาทในฝายเถรวาทจัดเปนความกรรมชั่วอยางหนึ่ง ที่บุคคลควรจะละเวนเสีย
ทานยังไดวางกฏเกณฑไวเปนเครื่องตัดสินวาคําพูดใดเปนมุสาวาท โดยดูจากองคประกอบ ๔ อยาง
คือ เรื่องไมจริง ๑ มีเจตนา ๑ มีความพยายาม ๑ และมีคนเขาใจความ หากครบองค ๔ นั้น ถือวา
คําพูดนั้นเปนการกลาวเท็จ และมีเกณฑวินิจฉัยอีกแบบหนึ่งที่ตัดสินความดี ความชั่ว ที่ครอบคลุม

๓๐
สมภาร พรมทา, พุทธศาสนากับปญหาจริยศาสตร, (กรุงเทพฯ : บริษัทสารมวลชนจํากัด,
๒๕๓๕), หนา ๔๖-๕๖.
๓๑
องฺ. ติก.(ไทย) ๒๐/๗๐/๒๗๕-๒๗๘.

Page 130 of 162


๑๑๖

ทุกการกระทํา โดยพิจารณาจากเจตนาหรือแรงจูงใจ และผลของการกระทํา กุศโลบายเรื่องเอกยาน


และการประกาศปรินิพพานของพระพุทธเจาในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรจะละเมิดจริยธรรมหรือไม
จะไดวิเคราะหในกรอบของพุทธศาสนาฝายเถรวาทตอไป

๔.๒.๔ วิเคราะหกุศโลบายในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรกับมุสาวาท

ในเรื่ อ งบา นไฟไหม และเมือ งมายามี ส าระที่เ หมื อ นกั น กล า วคือ มี จุ ด มุ ง หมายนํ า
สรรพสัตวไปสูพุทธยานหรือความเปนพระพุทธเจา ในฝายเถรวาทเองก็ยอมรับวาบุคคลก็สามารถ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ที่จะเปนพระพุทธเจาได เชน ในคัมภีรพุทธวงศ บอกวา หากบุคคลมีคุณสมบัติครบ ๘ ประการ
ที่เรียกวา อัฏฐสโมธาน๓๒ สามารถที่จะตั้งปณิธานเปนพระพุทธเจาได คัมภีรจริยาปฎกก็ไดรวบรวม
การบําเพ็ญบารมีของพระพุทธเจาไว ในชั้นอรรถกถาเชน คัมภีรอรรถกถาชาดก อรรถกถาสุตตนิบาต
อรรถกถาพุ ทธวงศ อรรถกถาจริยาปฎก และคัมภีรปกรณ วิเศษ เชน สัมภารวิบาก ชินกาลมาลี
ก็ไดกลาวถึงขั้นตอนในการเปนพระพุทธเจา หรือโพธิสัตวจรรยา ไวเชนกัน๓๓ โดยใชระยะเวลา
ในการบําเพ็ญบารมีมาอยางเนิ่นนาน จึงกลาวไดวาฝายเถรวาทไมติดใจหากบุคคลตองการจะเปน
พระพุทธเจา ถามีคุณสมบัติและความเพียรมากพอก็สามารถที่จะเปนได แตภาวะความหลุดพนจาก
กิเลสหรือวิมุตติซึ่งเปนลักษณะแหงนิพพานนั้นเหมือนกัน ทั้งของพระพุทธเจาและพระอรหันต
จะแตกต า งกั น ตรงที่ คุ ณ สมบั ติ ที่ พ ระพุ ท ธเจ า ทรงมี เ หนื อ กว า พระอรหั น ต ทั้ ง หลายเท า นั้ น๓๔
มหายานยุคตนๆ ก็มีแนวคิดเรื่องนิพพานลงรอยกับฝายเถรวาท แตในยุคหลังไดมีแนวคิดใหมวา
ภาวะนิพพานของพระอรหันตต่ํากวาภาวะนิพพานของพระพุทธเจา ในสวนเจตนารมณของ
พระพุทธเจาที่จะนําพาสรรพสัตวมุงไปสูพุทธภูมิทั้งหมดนั้น ฝายเถรวาทเห็นวาไมอาจที่จะลวงรูถึง
พุทธประสงคนี้ได เพราะวิสัยของพระพุทธเจานั้นทรงเปนอจินไตย๓๕ คือเปนสิ่งที่ไมพึงคิด ถาขืน
ครุนคิดก็มีสวนที่จะอัดอั้นเปนบา หมายความวา เรื่องนี้คิดเอาเองไมได ไมสามารถเขาใจไดดวยการ

๓๒
ขุ. พุทฺธ.(ไทย) ๓๓/๕๙/๕๗๔-๕๗๕., อัฏฐสโมธาน ๘ คือ ๑.ความเปนมนุษย ๒.ความสมบูรณ
ดวยบุรุษเพศ ๓.เหตุที่จะทําใหสําเร็จพระอรหันตในชาตินั้น ๔.การไดพบเห็นพระศาสดา ๕.การบรรพชา ๖.ความ
ถึงพรอมแหงคุณ(คือสมาบัติ ๘ และอภิญญา ๕) ๗.อธิการคือการทําใหยิ่ง(การกระทําอันประเสริฐยิ่งไดแกการ
ถวายชีวิตแดพระพุทธเจา) ๘.ความเปนผูมีฉันทะ
๓๓
ประพจน อัศววิรุฬหการ, “การศึกษาเชิงวิเคราะหเรื่องพระโพธิสัตวในคัมภีรเถรวาทและคัมภีรมหายาน”,
ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต, (ภาควิชาภาษาตะวันออก : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย), ๒๕๒๓, หนา ๑๖๖.
๓๔
พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ, พระพุทธศาสนามหายานในอินเดีย พัฒนาการและสารัตถธรรม, หนา ๑๖๗.
๓๕
อง. จตุกฺก.(ไทย) ๒๑/๗๗/๑๒๒.; อจินไตยมี ๔ อยางคือ พุทธวิสัย ฌานวิสัย กรรมวิบาก โลกจินตา

Page 131 of 162


๑๑๗

คิดหาเหตุผล แตเปนเรื่องที่เขาใจดวยการรู การเขาถึงเทานั้น๓๖ และเราก็ไมอาจที่จะใชการตีความคํา


สอนที่ถือวาเปนเจตนารมณสูงสุดของพระพุทธเจามาเปนบรรทัดฐานในการตัดสินได ดังที่โดนัลด
เอส. โลเปซ บอกวา

การตี ค วามคํ า สอนขั้ น สุ ด ท า ยหรื อ คํ า สอนสู ง สุ ด ตามเจตนารมณ ข องพระพุ ท ธเจ า


ไมอาจเปนไปได เพราะพระพุทธเจามิใชบุคคลธรรมดา แตทรงเปนผูตรัสรูชอบไดดวยพระองคเอง
ทรงเปนสัพพัญู ฯลฯ ถาหากมีการตีความคําสอนขั้นสุดทายของพระพุทธเจาแลว ยอมเกิดความ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เคลือบแคลงใจวา จะลวงรูเจตนารมณของพระพุทธเจาไดอยางไร ในเมื่อผูตีความยังไมไดตรัสรู
ยอมมีความบิ ดเบื อน มีการสรางภาพดว ยอคติ และการใชความเขา ใจลว งหน า ทํ า ใหผูตีค วาม
กลายเปนผูชี้ขาดความหมาย และเปนผูแตงไปเสียเอง๓๗

ดังนั้ นจึงเปนการยากอย างยิ่งที่เ ราจะลว งรูห รือตีความเจตนารมณของพระพุทธเจ า


ในการนําสรรพสัตวไปสูพุทธภูมิ หรือความเปนพระพุทธเจาเทานั้น และยากที่จะหยั่งรูวาภาวะ
นิ พ พานของพระอรหั น ต แ ละพระพุ ท ธเจ า เหมื อ นกั น หรื อ ต า งกั น อี ก ทั้ ง ภาวะความมี อ ยู ข อง
พระพุทธเจาหลังนิพพาน วาเปนจริงหรือไม ฉะนั้นจึงไมสามารถใชองคของมุสาวาทซึ่งเปนเกณฑ
แบบที่ ๑ มาเปนเกณฑตัดสินได ดังนั้นผูวิจัยจึงใชเกณฑตัดสินแบบที่ ๒ ที่ดูจากเจตนหรือแรงจูงใจ
และผลแหงการกระทํา มาเปนตัวตัดสินวากุศโลบายในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรเรื่องบานไฟไหม
เมืองมายา และลูกชายของหมอ ผิดจริยธรรมหรือไมตอไป

๑. วินิจฉัยโดยดูที่เจตนาหรือแรงจูงใจ

พระพุทธเจาทรงเปนมหาบุรุษ อยูเหนือความดี-ชั่ว หาบุคคลใดในโลกทั้งหลายเสมอ


เหมือนมิได ดังพระพุทธพจนวา “เราเปนผูครอบงําธรรมทั้งปวง รูธรรมทั้งปวง มิไดแปดเปอนใน
ธรรมทั้งปวง ละธรรมทั้งปวงไดสิ้นเชิง หลุดพนเพราะสิ้นตัณหา เราไมมีอาจารย เราไมมีผูเสมอ
เหมือน เราไมมีผูทัดเทียม ในโลกกับทั้งเทวโลก เพราะเราเปนพระอรหันต เปนศาสดาผูยอดเยี่ยม
เปนผูเยือกเย็น ดับกิเลสไดแลวในโลก”๓๘ พระพุทธเจาทรงเปนผูปราศจากอุปกิเลส ราคะ โทสะ
โมหะ และกิเลสโดยสิ้นเชิง๓๙ จึงหมดเหตุปจจัยที่จะทําความดี ชั่ว ทรงทําแตความดีและประโยชน

๓๖
พระพรหมคุณาภรณ(ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรม, หนา ๑๙๕.
๓๗
โดนัลด เอส. โลเปซ, การตีความพระสูตรมหายาน, แปลโดย พระมหาสมบูรณ วุฑฺฒิกโร,
เอกสารอัดสําเนา, หนา ๕-๖, ๑๒, ๒๖.
๓๘
วิ. ม.(ไทย) ๔/๑๑/๑๗.
๓๙
ขุ. จู.(ไทย) ๓๐/๙๗/๓๓๗.

Page 132 of 162


๑๑๘

ซึ่งเรียกกันตามภาษาของโลก ตอสรรพสัตวดวยพระปญญาและกรุณา โดยไมหวังสิ่งตอบแทนใดๆ


กลับมาสูพระองค ทรงกระทําตามความหมาย วัตถุประสงค เหตุผล ความที่ควรจะเปนของเรื่อง
นั้นๆ เองเทานั้น การกระทําของพระองคนั้นจึงเปนตัวการกระทําลวนๆ ที่เรียกวากิริยา เปนการ
กระทําที่ไมเปนกรรม๔๐ พระองคจึงทรงอยูเหนือกรรม คือ ความดีและชั่วทั้งปวง

ดังนั้นในกรณีของนิทานเปรียบเทียบเรื่องบานไฟไหม เมืองมายา และลูกชายของหมอ


จึงออกมาจากเจตนาที่บริสุทธิ์อันประกอบดวยปญญาและกรุณา มุงประโยชนสุขของสัตวโลก

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ทั้งหลายเพื่อใหไดรับสิ่งที่มีคุณคาสูงสุดในชีวิต

๒. วินิจฉัยโดยดูที่ผลการกระทํา

เกณฑวินิจฉัยผลของการกระทํานี้จะพิจารณาผลกระทบทั้ง ๓ ดาน คือ ตนเอง ผูอื่น


ตนเองและผูอื่น

๒.๑ การกระทํานั้นสงผลเปนทุกขหรือสุขแกตนเอง

ทั้ง ๓ กรณี คือ เรื่องบานไฟไหม เมืองมายา และลูกชายของหมอ ตางทําหนาที่ตาม


ฐานะของตนอยางสุดความสามารถ กลาวคือ ในนิทานเรื่องบานไฟไหมทานเศรษฐีผูเปนบิดาของ
ลูกๆ ที่อยูภายในบานที่กําลังถูกไฟไหม ไดทําการชวยเหลือ ปกปองลูกๆ ใหรอดพนจากเปลวไฟ
นิทานเรื่องเมืองมายาบุรุษผูนําทาง พยายามชวยเหลือกลุมชนทั้งหลายที่เหน็ดเหนื่อยและทอถอยได
เดินทางตอไปยังรัตนทวีป และนิทานเรื่องลูกชายของหมอ หมอผูเปนพอ ไดทําทุกวิถีทางที่จะให
ลูกๆ กินยา เพื่อรักษาความทุกขทรมานจากโรคราย ยอมไดรับความสบายใจในฐานะของความเปน
พอที่ไดปกปองและชวยเหลือลูกๆ ไดชวยกลุมชนผูเดินทางไมใหถอยกลับในกรณีของบุรุษผูนําทาง
และยังเกิดผลสําเร็จตามพุทธประสงคในการโปรดสัตว ที่สามารถชวยเหลือเหลาลูกๆ หรือหมู
ผูเดินทาง ซึ่งเปรียบเหมือนเหลาสัตวใหพนภัยอันตรายทั้งปวง ซึ่งไดแกความทุกขที่สรรพสัตว
ตองเวียนวายอยูในสังสารวัฏ จึงไมกอทุกขใหกับพระพุทธองค และเนื่องจากพระองคทรงอยูเหนือ
จากความสุขทุกขแบบชาวโลก การกระทําของพระองคจึงไมใชเพื่อประโยชนสุขสวนตน แตเปน
การกระทําที่เปนไปตามธรรมที่ควรจะเปน ที่เรียกวากิริยาเทานั้นเอง

๒.๒ การกระทํานั้นสงผลเปนทุกขหรือสุขแกบุคคลอื่น

ผลจากการใชกุศโลบายทั้ง ๓ กรณี ทั้งลูกของเศรษฐี ลูกๆ ของหมอ และกลุมชน

๔๐
พระพรหมคุณาภรณ(ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรม, หนา ๕๘๗-๕๘๘.

Page 133 of 162


๑๑๙

ผูเดินทางนั้น ตางไดรับสิ่งที่เปนประโยชนเกื้อกูลตอชีวิตอันยิ่งใหญ กลาวคือ ความหลุดพนจาก


ความทุกขทั้งปวง และเปนผูที่กาวไปสูฐานะแหงพระโพธิสัตวที่พรอมบําเพ็ญประโยชนแกสรรพสัตว
ตอไป เพื่อมุงไปสูความเปนพระพุทธเจาในอนาคต ที่จะนํามาซึ่งประโยชนสุขอันยิ่งใหญแกเหลาสัตว
ทั้งหลายอยางไมมีผูใดเสมอเหมือน

๒.๓ การกระทํานั้นนั้นสงผลเปนทุกขหรือสุขแกทั้งตนและบุคคลอื่น

ทั้ง ๓ กรณี ไมวาจะเปนเศรษฐี บุรุษผูนําทาง หมอ ลูกๆของเศรษฐีและลูกๆ ของหมอ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
หมูชนผูเดินทาง ตางไดรับประโยชนทั้งสองฝาย กลาวคือ เศรษฐี และหมอ ตางก็ไดรับความสบายใจ
และมีความสุขใจที่ตนเองไดทําหนาที่ของพอเพื่อปกปองพวกลูกๆ และไดเห็นเหลาลูกๆ มีความ
ปลอดภัยจากภัยอันตรายทั้งปวง สวนบุรุษผูนําทางยอมมีความสบายใจและสุขใจ ที่ไดชวยเหลือ
ผูเดินทางที่เหนื่อยหนายทอแทคิดจะเดินทางกลับ ใหคลายความทอแทและมุงหนาเดินทางตอไป
ในฝายลูกๆและหมูคนผูเดินทางไดรับประโยชนที่ถือวาเปนประโยชนสูงสุดที่มนุษยควรจะไดรับ
ซึ่งเปนไปในความหลุดพนจากทุกขทั้งปวง และยังสามารถทําประโยชนสุขใหแกคนจํานวนมาก
ไดอีกดวย

สรุปไดวาการใชกุศโลบายในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรไมขัดกับหลักจริยธรรม เพราะเกิด
จากเจตนาอันปราศจากอกุศล เปนเจตนาที่บริสุทธิ์ประกอบดวยปญญาและกรุณา เปนการกระทําที่
มุงผลประโยชนสูงสุดคือความหลุดพนจากกิเลสของสรรพสัตวโดยสวนเดียว ผูวิจัยขอตั้งขอสังเกต
วาในฝายเถรวาทไดยอมรับวิธกี ารใชกุศโลบายแบบนี้เชนกัน ดังตัวอยางตอไปนี้

กรณีพระนันทะ

นันทะกุมาร เมื่ออุปสมบทแลว ไมสนใจปฏิบัติธรรม นึกแตจะสึกไปหานางชนบท


กัลยาณี พระพุทธเจาจึงพาไปสวรรคชั้นดาวดึงสดูนางอัปสร พระพุทธเจาตรัสถามวา ระหวาง
นางอัปสรกับนางชนบทกัลยาณีใครสวยกวากัน พระนันทะทูลวานางอัปสรงามกวา สวยกวา นาชม
กวาทําใหพระนันทะอยากไดนางอัปสรมาเปนมเหสี พระพุทธเจาตรัสดวยกุศโลบายวาจะทรงให
นางอัปสรแกพระนันทะหากพระนันทะปฏิบัติธรรม ทําใหพระนันทะตั้งใจปฏิบัติธรรม และบรรลุ
พระอรหันตในเวลาตอมา๔๑

๔๑
ดูรายละเอียดใน ขุ. อุ.(ไทย) ๒๕/๒๒/๒๑๐-๒๑๔.

Page 134 of 162


๑๒๐

กรณีโจรเคราแดง

โจรเคราแดงเปนลู กนองโจรผูดุราย ตอมาทั้งหัวหนาและลู กน องถูกเจ าหน าที่จับได


จึงสั่งใหหัวหนาฆาลูกนองตัวเองแลวจะปลอยใหเปนอิสระ แตหัวหนาไมกลา ลูกนองคนอื่นก็ไมมี
ใครกล า แต โจรเคราแดงกล าฆ าหั วหนาและเพื่ อนๆ ทั้งหมด จึงไดรับการปลอยตัวใหเปนอิ สระ
และไดรับการแตงตั้งใหเปนเพชฌฆาตฆาโจรที่จับมาไดเปนเวลา ๕๕ ป เมื่อแกตัวลงไมสามารถ
ฟนคนใหตายครั้งเดียวได จึงออกจากตําแหนง และตองการทําในสิ่งที่เปนสิริมงคลใหกับตัวเอง

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ในขณะที่พระสารีบุตรไดออกจากฌานสมาบัติ และไดมาโปรด แตนายโจรเคราแดงไมอาจทําจิต
ใหสงบ เพื่อฟงธรรมเทศนาของพระเถระได เพราะไดระลึกถึงกรรมที่ทําไว และสงสัยวาจะเปนบาป
หรือไม พระสารีบุตรจึงใชกุศโลบายดวยการลวงถามวา “ทานเต็มใจทํา หรือถูกผูอื่นใหทําละ”
โจรเคราแดงตอบวา “ที่ฆาเพราะพระราชาใหทํา” พระเถระจึงตอบวา “ถาเปนอยางนั้น อกุศลจะมี
แกทานไดอยางไร” เมื่อไดยินดังนั้นโจรเคราแดงดีใจจึงฟงธรรมเทศนาของพระเถระอยางตั้งใจ
จนไดบรรลุพระโสดาบัน๔๒

กรณีนางกีสาโคตมี

นางกีสาโคตมีไดแตงงานกับลูกชายของเศรษฐี มีบุตรชายคนหนึ่งและไดเสียชีวิตลง
ทําใหนางเศราโศกเสียใจเปนอยางมาก อุมศพลูกชายเดินรองไหหาคนที่สามารถรักษาคนตายใหฟน
คืนชีพขึ้นมา แตไมมีใครสามารถทําได มีคนไดแนะนําใหนางไปหาพระพุทธเจา เมื่อนางมาพบ
พระพุทธเจาก็เอยปากทูลขอยาชุบชีวิตจากพระองค พระพุทธองคตรัสวา “ยามีแน แตตองไปหา
เมล็ดพันธุผักกาดจากบานที่ไมมีคนตาย” นางดีใจมากเที่ยวตะเวนขอเมล็ดพันธุผักกาดจากชาวบาน
แตเดินจนเหนื่อยออนก็หาไมได เพราะทุกบานลวนแลวแตเคยมีคนตายทั้งสิ้น ในที่สุดนางก็คิดไดวา
ความตายเปนของธรรมดา ทุกคนตองตาย โลกนี้มีคนตายมากกวาคนเปน ตัดใจไดจากความเสียใจ
ในลูกชาย ไดบรรลุเปนพระโสดาบัน แลวนางก็ทูลขอบวชเปนภิกษุณี และสําเร็จเปนพระอรหันต
ในเวลาตอมา๔๓

จากกรณีตัวอยางในการใชกุศโลบายของเถรวาทที่ยกมาขางตนจะเห็นวา ผูใชมีเจตนา
เพื่อสงเคราะหผูอื่น มิใชเพื่อตัวเอง เปนเจตนาที่บริสุทธิ์ไมตองการผลประโยชนตอบแทนใดๆ

๔๒
ดูรายละเอียดใน พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๔, (กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓),
หนา ๑๓๕-๑๓๙.
๔๓
ดูรายละเอียดใน พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๔, หนา ๒๑๖-๒๒๐.

Page 135 of 162


๑๒๑

ทั้ง สิ้ น ทํ า ให บุ ค คลได เ รี ย นรู แ ก ไ ขป ญ หาด ว ยตนเอง เมื่ อ บรรลุ เ ป า หมายแล ว บุ ค คลนั้ น ก็ ไ ม มี
ความรูสึกเสียใจ หรือโกรธแคนวาถูกหลอก แตมีความรูสึกซึ้งใจ และขอบคุณในความกรุณาที่ทํา
ใหตนสามารถแกไขปญหาและไดรับประโยชนสูงสุดของชีวิต

กุศโลบายที่ปรากฏในคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตรเปนไปในทางดานวจีกรรมหรือทาง
วาจา เป นการใช กุศโลบายทางดานคําพูดในการนําพาหมูสัตวกาวไปสู พุทธภูมิ และเพื่อความ
ครอบคลุ ม ในเรื่ อ งกุ ศ โลบายของมหายาน ผู วิ จั ย จะได วิ เ คราะห ถึ ง กุ ศ โลบายที่ แ สดงออกทาง

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
กายกรรม ที่มีลักษณะหมิ่นเหมตอการทําผิดจริยธรรม ดังนี้

ในพระสูตรของมหายานมีเรื่องเลาถึงกุศโลบายชนิดนี้ไววา

“ถาพระโพธิสัตวรูวาโจรคนหนึ่งจะฆาคนในเรือทั้ง ๕๐๐ พระโพธิสัตวควรใชอุบายวิธี


ฆาโจรคนนั้น แมพระโพธิสัตวตองทําปาณาติบาตก็ควร”๔๔

และดาเมียน คีโอน(Damien Keown) กลาววา “ในศีลของพระโพธิสัตวก็มีบางขอกลาววา


บางครั้ ง พระโพธิ สั ต ว อ าจต อ งยอมทํ า กรรมหนั ก เพื่ อ ปกป อ งบุ ค คลจากการกระทํ า ชั่ ว ที่
รายแรง เชน ฆาคนบางคนซึ่งกําลังจะกออนันตริยกรรม เพื่อปกปองมิใหคนผูนั้นตองหมกไหม
ในมหานรก”๔๕

จากขอความขางตน ทําใหเกิดขอสงสัยวาทําไมพระสูตรฝายมหายานจึงเห็นวาควร
ในกรณี พระโพธิสัตวฆาโจร และศีลพระโพธิสัตวบางขอยอมอนุญาตใหกระทํากรรมหนักได
ทั้งที่มหายานเองก็มี สิกขาบทในพระปาฏิโมกขและสิกขาบทในสว นของพระโพธิสัตว ที่หาม
กระทําการฆามนุษยในทุกกรณี หากฝนทํายอมเปนการลวงพระวินัยและมีโทษสถานหนัก๔๖ ซึ่งฝาย
เถรวาทเห็น วาไม ควรฆามนุษ ยทุกกรณี หากทําลงไปตองอาบัติปาราชิก คือขาดจากความเปน
พระภิ ก ษุ ซึ่งถือเปนโทษขั้น รุ นแรง เทีย บไดกับการประหารชีวิตของทางโลก ในส วนนี้ผูวิจั ย
จะวิเคราะหเพียงแนวคิดของมหายานเทานั้น

๔๔
ส. ศิวรักษ, ความเขาใจในเรื่องมหายาน, (กรุงเทพฯ : บริษัทสองศยามจํากัด, ๒๕๔๒), หนา ๙๓.
๔๕
Damien Keown, The Nature of Buddhist Ethics, (London : Macmillan, 1992), p. 143. ; อาง
ในสมภาร พรมทา, “งานวิจัย พุทธศาสนากับโทษประหารชีวิต”, วารสารพุทธศาสนศึกษา, ปที่ ๑๒ ฉบับที่ ๓
(กันยายน-ธันวาคม ๒๕๔๘) : ๘๖.
๔๖
ดูรายละเอียดใน; อภิชัย โพธิ์ประสิทธิ์ศาสต, พระพุทธศาสนามหายาน, (กรุงเทพฯ : มหามกุฎ
ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙), หนา ๒๑๒-๒๔๔.

Page 136 of 162


๑๒๒

จากตัวอยางที่ยกมาพระโพธิสัตวมิไดมีความโกรธแคนตอโจร แตทําไปดวยมหากรุณา
ที่มีตอสรรพสัตว ฆาโจรก็เพราะตองการชวยเหลือคนในเรือ ๕๐๐ ไมใหถูกโจรฆา และฆาโจร
เพื่อไมใหโจรทํากรรมหนักที่ฆาคนบนเรือทั้ง ๕๐๐ ซึ่งเปนการชวยเหลือโจรใหรอดพนนรกอเวจี
แมพระโพธิสัตวตองทําบาปจนตกนรกก็ยอม การที่พระโพธิสัตวตองฆาโจรในกรณีนี้เกิดจาก
มหากรุณาที่มีตอสรรพสัตว ที่ไดชวยเหลือคนในเรือทั้ง ๕๐๐ และโจร แมจะเปนบาปพระโพธิสัตว
ก็ยินดีและเต็มใจทํา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
จะเห็นวาการฆาโจรของพระโพธิสัตว มหายานถือวาเปนความชั่วอยางรายแรง ซึ่งสอด
รับกับสิกขาบทในปาฏิโมกขและสิกขาบทของพระโพธิสัตว ที่หามฆามนุษยทุกกรณีและมีโทษ
รุนแรงตองขาดจากความเปนพระโพธิสัตว แตดวยมหากรุณาที่มีตอสรรพสัตว แมรูวาเปนโทษหนัก
แตเพื่อชวยเหลือสัตวโลก พระโพธิสัตวก็ยินดี เต็มใจที่จะกระทํา และยอมรับผลกรรมนั้น

แตเมื่อมีแนวคิดในเรื่องกุศโลบายเขามาเกี่ยวของทําใหการฆาที่เปนไปเพื่อประโยชน
สุขของมหาชนกลายเปนวิธีการหรือกุศโลบายของพระโพธิสัตวที่ใชในการชวยเหลือหมูสัตวทําให
การฆานั้นกลายมาเป นความชอบธรรมได เชน การสังหารผูนําประเทศหรือชุมชน ที่กอความ
เดือดรอนแกประชาชน ซึ่งมหายานถือวาเปนภารกิจของพระโพธิสัตวที่ตองชวยเหลือมหาชน
ใหพนจากทุกขภัย จึงเปนสิ่งที่ชอบธรรม สมภาร พรมทาไดวิเคราะหกรณีนี้วา “จุดประสงคในการ
สั ง หารผู นํ า ทรราช คื อ สั น ติ สุ ข ของมหาชน อี ก ทั้ ง การสั ง หาร ก็ มิ ไ ด เ กิ ด จากการโกรธแค น
การสังหารเกิดจากความจําเปนและไมมีทางเลือก ประเด็นของตัวอยางนี้อยูที่ (๑) ไมมีทางเลือก
และ (๒) จุดประสงคอันไดแกประโยชนสุขของมหาชน”๔๗

ผู วิ จั ย จะวิ เ คราะห แ ละเพิ่ ม เติ ม รายละเอี ย ด เพื่ อ ให เ ห็ น ภาพในกรณี นี้ ไ ด ชั ด เจนขึ้ น
นอกจากเงื่อนไขที่สมภาร พรมทาไดกลาวมาแลว ยังมีเจตนาเปนตัวขับเคลื่อนที่สําคัญในฐานะเปน
ตัว บงการของการกระทํ า ควบคุ ม อยู แลว แสดงตั ว ผ า นกุ ศ โลบายซึ่ง เป น วิ ธี ก ารที่ แ ยบคายของ
พระโพธิสัตวในการชวยเหลือหมูสัตว โดยที่กุศโลบายหรือวิธีการของพระโพธิสัตวในกรณีนี้เปน
ผลิตผลของปญญาและกรุณาที่อยูภายในตัวพระโพธิสัตว ซึ่งปญญาในแงหนึ่งก็คืออโมหะหรือ
ความไมห ลง และกรุ ณ าในแงห นึ่ ง คือ อโลภะหรือ ความไม โลภ และอโทสะคือ ความไม โ กรธ
เมื่ อ ปญ ญาและกรุ ณ าหรื อ อี ก นั ย หนึ่ ง ก็ คื อ อโลภะ อโทสะ และอโมหะ แสดงบทบาทออกมา
ภายนอกไดดวยอาศัยกุศโลบาย ดังนั้นเจตนาของการใชกุศโลบายเปนเจตนาบริสุทธิ์ที่ประกอบดวย

๔๗
สมภาร พรมทา, พุทธปรัชญา มนุษย สังคม และปญหาจริยธรรม, (กรุงเทพฯ : คณะอักษร
ศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๒), หนา ๑๖๖.

Page 137 of 162


๑๒๓

อโลภะ อโทสะและอโมหะ ซึ่งเปนผลมาจากปญญาและกรุณาของพระโพธิสัตวที่พยายามชวยเหลือ


หมูสัตวใหพนไปจากความทุกขทั้งหลาย

ในสวนเปาหมายหรือจุดประสงคในการใชกุศโลบายนั้นไดแกการชวยเหลือสรรพสัตว
ใหหลุดพนจากความทุกขทั้งปวง ซึ่งถือเปนอุดมการณที่สําคัญที่สุดของมหายาน แมพระโพธิสัตว
จะตกนรกดวยการทํากรรมหนักเชนฆามนุษย เพราะจะชวยเหลือสัตวโลกทั้งหลายใหพนไปจาก
ความทุกข พระโพธิสัตวก็ยินดีและเต็มใจ แสดงใหเห็นถึงความกรุณาและเสียสละอยางยิ่งยวดของ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระโพธิสัตว แตก็ดวยกุศโลบายที่ประกอบดวยปญญาและกรุณา ที่มุงมั่นตอการนําพาเหลาสัตว
ใหพนจากความทุกขทั้งปวง ทําใหการลวงละเมิดพระวินัยของพระโพธิสัตวกลายเปนความชอบ
ธรรมขึ้นมาได ดังคัมภีรอุปายเกาศัลยสูตรที่แสดงวาการลวงละเมิดพระวินัยของพระโพธิสัตวยอม
ไมมีโทษแกพระโพธิสัตว หากเปนไปดวยกุศโลบายที่จะนําพาสรรพสัตวใหพนจากความทุกขทั้งปวง

พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสกับพระชญาโนตฺตรโพธิสัตววา

ดูกอน กุลบุตร พระโพธิสัตวผูฉลาดในอุบาย ยอมทําใหแมนการลวงละเมิดพระวินัยอยาง


มหันตใหบริสุทธิ์ไดดวยกุศโลบาย พระโพธิสัตวทําเชนนั้นไดอยางไร

ดูกอน กุลบุตร บางโอกาสที่การลวงละเมิดวิ นัยไดเกิดขึ้น พระโพธิสัตวผูมีกุศโลบาย


พิจารณาอยางนี้วา ขอใหเราอยาไดเขาพระนิพพาน แตเราจะขออยูในวัฏสงสารตอไปจนกวา
อนาคตจะสิ้ น สุ ด เพื่ อ ที่ จ ะนํ า พาหมู สั ต ว ใ ห ก า วข า มฝ ง ไปได เ สี ย ก อ น ตราบเท า ที่ เ รายั ง
ทองเที่ยวไปในสังสารวัฏ เพื่อชดใชความผิดนั้น เราจะนําหมูสัตวกาวไปสูฝง

ดูกอน กุลบุตร พระโพธิสัตวจะตกไปสูการลวงละเมิดพระวินัย หากวาไดกําจัดการลวง


ละเมิดวินัยดวยกุศโลบายนี้ เราก็ควรเรียกวาไมมีการลวงละเมิดพระวินัยใดๆ ในสวนของ
พระโพธิสัตว๔๘

จากพระสู ตรของมหายานขางตน จะเห็นวา หากพระโพธิสัตวมีจุ ด ประสงคใ นการ


ชวยเหลือและนําพาสรรพสัตวใหหลุดพนจากความทุกขทั้งปวงแลว การลวงละเมิดพระวินัยใดๆ
ถือวาไมเปนการลวงละเมิดพระวินัย และการกระทํานั้นๆ ก็มีความชอบธรรม แตในเรื่องของวิบาก
พระโพธิสตั วยังตองชดใชกรรมในแงภาวะแหงชีวิตในสังสารวัฏยาวขึ้น

๔๘
The Skill in Means (Upāyakauśalya) Sūtra, Translated by Mark Tatz, (Delhi : Motilal
Banarsidass Publishers, 2001), p. 29.

Page 138 of 162


๑๒๔

ในสวนผลของการกระทําที่เกิดขึ้นจากการฆาผูนําทรราชนี้ ประชาชนทั้งหลายยอม
รอดพนจากการถูกรังแก ถูกเอาเปรียบ กดขี่ ขมเหงจากน้ํามือของทรราชผูนี้ ยอมอยูอยางปกติสุข
มีโอกาสและเวลาที่จะศึกษาหลักธรรมที่จะนํามาพัฒนาตนเองใหหลุดพนไปจากความทุกขได
สะดวกขึ้น ในสวนผูนําทรราชนั้น คนทั่วไปจะรูสึกวาผูถูกฆา(ผูนําทรราช)จะไดรับประโยชน
อยางไรจากการถูกฆา เพราะการถูกฆาชีวิตหมายถึงการตัดประโยชนที่ควรจะไดรับในชีวิตนี้ไมวา
จะเป น คนดี ห รื อ เลวก็ ต าม เมื่ อ เป น อย า งนั้ น ผู นํ า ทรราชจึ ง เป น ผู เ สีย ประโยชน ม ากกว า ได รั บ
ประโยชน ซึ่งการใชกุศโลบายในกรณีนี้พระโพธิสัตวผูใชกุศโลบายตองอยูในภูมิที่ ๙(สาธุมติภูมิ)

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ขึ้นไป เพราะในภูมินี้พระโพธิสัตวรูทุกอยางเกี่ยวกับจิตใจของคน และความเปนไปของธรรม
ทั้งหลาย ไดปฏิสัมภิทา ๔ เปนเหตุใหการสอนไดผลแนนอน และเริ่มสั่งสอนเพื่อนําพาสรรพสัตว
เขาสูนิรวาณ๔๙ เปนผูมีทิพพจักขุญาณที่รูถึงการจุติและอุบัติแหงสัตวทั้งหลาย อันเปนไปตามกรรม
แหงการเวียนวายตายเกิดของสรรพสัตว เห็นวาหากปลอยใหผูนําทรราชมีชีวิตอยู ประชาชนก็จะ
ประสบแตความทุกขระทม อีกทั้งตัวทรราชเองก็จะตองตกนรกหมกไหมจากผลของการทําชั่วที่
เบียดเบียนทําใหเหลาประชาราษฎรตองเดือดรอน ซึ่งไมมีทางเลือกเปนอยางอื่น พระโพธิสัตวจึงใช
กุศโลบายที่เจือดวยมหากรุณาสังหารผูนํานั้นเพื่อมิใหทําชั่วไปมากกวานี้ ซึ่งหากถาปลอยไวผูนํา
ทรราชจะตองตกนรกก็จะไมมีโอกาสที่จะไดสดับธรรมของพระพุทธเจาได เปนผลใหระยะเวลาที่
ตองเวียนวายในสังสารวัฏยืดยาวออกไปไมรูจบ ดังนั้นการสังหารผูนําทรราชก็เพื่อจะใหโอกาส
ทรราชนั้นเขาถึงความหลุดพนได อันเปนประโยชนของผูนําทรราชจะไดรับในอนาคต ซึ่งความรู
อนาคตของสรรพสัตวของพระโพธิสัตวเชนนี้นั้น มหายานอาววาอยูเหนือวิสัยของพระสาวกและ
พระปจเจกพุทธเจาที่จะเขาใจหรือเขาถึงได๕๐

เทาที่กลาวมาทั้งหมด จึงกลาวไดวากรณีของการฆาของพระโพธิสัตวที่ประกอบดวย
มหากรุ ณ า ที่ มี จุ ด หมายเพื่ อ ประโยชน สุ ข ของมหาชน เดิ ม มหายานถื อ ว า ผิ ด ทุ ก กรณี โดยที่
พระโพธิสัตวกระทําทั้งที่รูวาผิดและมีโทษมหันต พระโพธิสัตวก็พรอมที่จะอาแขนรับผลแหงโทษ
นั้นดวยความยินดีและเต็มใจ หากการกระทํานั้นสงผลใหสรรพสัตวนั้นหลุดพนไปจากหวงแหง
ความทุกข แตเมื่อมีแนวคิดเรื่องกุศโลบายเขามาเกี่ยวของ กรณีของการฆาก็เปนกุศโลบายที่ใชใน
การชวยเหลือสรรพสัตวใหพนจากความทุกข และเปนความชอบธรรม เนื่องจากเปนการกระทําดวย
ปญญาและกรุณา จึงมีเจตนาที่บริสุทธิ์ประกอบดวย อโลภะ อโทสะ และอโมหะ โดยมีเปาหมาย

๔๙
ประพจน อัศววิรุฬหการ, “การศึกษาเชิงวิเคราะหเรื่องพระโพธิสัตวในคัมภีรเถรวาทและคัมภีรมหายาน”,
ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต, หนา ๓๘๑.
๕๐
The Skill in Means (Upāyakauśalya) Sūtra, Translated by Mark Tatz, p. 36.

Page 139 of 162


๑๒๕

เพื่อชวยเหลือสรรพสัตวใหหลุดพนจากทุกขทั้งปวง และมหาชนไดรับผลคือประโยชนสุขกุศโลบาย
จึ ง เป น สิ่ ง ที่ ทํ า ให ก ารกระทํ า ที่ มี ลั ก ษณะขั ด แย ง กั บ จริ ย ธรรม กลายเป น สิ่ ง ที่ ถู ก ต อ งดี ง ามได
ตามแนวทางของมหายาน และไมกระทบกฎแหงกรรมตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนาโดยรวม

๔.๓ กุศโลบายกับจริยศาสตรสํานักประโยชนนิยม

๔.๓.๑ แนวความคิดปรัชญาสํานักประโยชนนยิ ม(Utilitarianism)

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ก. ความหมายของประโยชนนิยม

ราชบั ณ ฑิ ต ได ใ ห ค วามหมายประโยชน นิ ย มไว ใ นพจนานุ ก รมศั พ ท ป รั ช ญาว า


“ประโยชนนิยมหมายถึง ทรรศนะทางจริยศาสตรที่ถือเอาประโยชนสุขเปนเกณฑตัดสิน ความผิด
ถูกชั่วดี กลาวคือ การกระทําที่กอใหเกิดประโยชนสุขมากที่สุดแกคนจํานวนมากที่สุด ถือวาเปนการ
กระทําที่ดี”๕๑

วิทย วิศทเวทย ไดใหความหมายวา

ประโยชน นิ ย ม คื อ หลั ก ที่ จ ะตั ด สิ น การกระทํ า อั น ใดอั น หนึ่ ง ว าถู ก หรื อ ผิ ด ชอบหรื อ
ไมชอบอยูที่ผลที่จะได คือ ถาเราอยูในสถานการณที่จะตองเลือกกระทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ตัวที่ตัดสิน
นั้นก็คือผล ถาผลที่จะเกิดจากการกระทํานี้ดีกวาการกระทําอื่นก็เปนสิ่งที่ควรกระทํา ถาจะถาม
ตอไปวา อะไรจะเปนเครื่องตัดสินไดวาผลที่จะเกิดจากการกระทํานั้นดีกวา คําตอบคือ การกระทําที่
กอใหเกิดผลประโยชนมากกวาถือวาดีกวา๕๒

ดังนั้นประโยชนนิยมคือแนวคิดทางจริ ยศาสตรที่ใชเกณฑในการตั ดสินการกระทําวา


การกระทํ าใดบ างที่ เป นการกระทํ าที่ ถูกหรือผิดโดยดูผลที่ได จากการกระทํานั้ นเปนหลัก หากว า
การกระทําใดก็ตามใหประโยชนสุขมากกวาอีกการกระทําหนึ่ง การกระทํานั้นเปนการกระทําที่ถูกตอง
และประโยชนนิยมมีลักษณะแตกตางจากกฎศีลธรรมโดยทั่วไป กลาวคือ กฎศีลธรรมนั้นจะตัดสิน
การกระทําวาถูกหรือผิดจะยึดเอาบุคคลเปนสําคัญ เชน กลาววานาย ก. นาย ข. ทําผิด สวนประโยชน

๕๑
ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพทปรัชญา อังกฤษ-ไทย, (กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ, ๒๕๔๐), หนา ๑๐๑.
๕๒
วิทย วิศทเวทย, ปรัชญาทั่วไป : มนุษยโลกและความหมายของชีวิต, (กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน,
ม.ป.ป.), หนา ๑๐๑.

Page 140 of 162


๑๒๖

นิยมนั้น จะไมยึดหรือตัดสินที่ตัวบุคคล แตจะตัดสินที่ผลของการกระทําวา ผลการกระทําใดบาง


ที่ผิดหรือถูก๕๓

ข. แนวคิดทั่วไปของสํานักประโยชนนิยม

แนวคิ ด สํ า นั ก ประโยชน นิ ย มนี้ เกิ ด ขึ้ น ครั้ ง แรกที่ ป ระเทศอั ง กฤษ โดยนั ก ปรั ช ญา
ที่มีชื่อเสียงคนสําคัญของอังกฤษ ๒ ทาน คือ เจเรอมี เบ็นธัม(Jeremy Bentham) และ จอหน สจวต
มิลล(John Stuart Mill) ที่ไดเสนอแนวคิดขึ้นโดยใชชื่อวา ปรัชญาประโยชนนิยม(Utilitarianism)

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ในงานวิจัยนี้จะใชแนวคิดประโยชนนิยมของจอหน สจวต มิลล เปนหลัก เพราะมิลลไดทําให
ปรัชญาประโยชนนิยมเปนระบบที่รัดกุม ซึ่งสรุปสาระสําคัญไดดังตอไปนี้

มิลลไดกลาวถึงเกณฑตัดสินวาการกระทําใดเปนการกระทําที่ถูกหรือผิดวา

ลัทธิซึ่งยอมรับ ประโยชน หรือ หลักมหสุข เปนรากฐานของศีลธรรมถือวาการกระทําที่ถูก


ไดแกการกระทําที่มีแนวโนมจะกอใหเกิดความสุข การกระทําที่ผิดไดแกการกระทําที่มีแนวโนม
จะกอใหเกิดสิ่งที่สวนทางกับความสุข๕๔

แนวคิดของประโยชนนิยมจึงถือวาสิ่งใดที่กระทําลงไปแลวสงผลกอใหเกิดประโยชน
สุขที่เรียกวามหสุขสิ่งนั้นถูก สวนการกระทําในทางตรงกันขามคือสงผลใหเกิดความทุกขสิ่งนั้นผิด

ค. การคํานวณมหสุข

สํานักประโยชนนิยมถือวาการกระทําที่ถูกคือการกระทําที่กอใหเกิดมหสุข นั่นคือการ
กระทําที่กอใหเกิดผลอันเปนความสุขที่มีปริมาณสูงสุด มีระยะเวลายาวนานที่สุด กระจายไปสูคน
จํานวนมากที่สุด ประโยชนสุขที่เกิดขึ้นผูกระทําและคนอื่นๆ ตองไดรับผลประโยชนอยางเสมอกัน
ไมมีดีกวา ดอยกวากัน ซึ่งประโยชนนิยมใหผูกระทําวางตนเปนกลาง และใหนับผูกระทําเปน
สมาชิกรวมกับคนอื่นในฐานะผูรับผลการกระทํานั้นๆ เชนกัน ดังที่มิลลกลาววา

๕๓
พระมหาวิโรจน วิโรจโน, “การศึกษาวิเคราะหแนวความคิดเรื่องประโยชนในพุทธปรัชญาเถรวาท”,
วิทยานิพนธปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย), ๒๕๔๓,
หนา ๑๓.
๕๔
John Stuart Mill, Utilitarianism in Ethical Theories : A Book of Readings, (New Jersey :
Prentice Hall lnc, 1967), p. 395., อางใน เนื่องนอย บุญยเนตร, จริยศาสตรตะวันตก : คานท มิลล ฮอบส รอลส
ซารทร, (กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๙), หนา ๗๕.

Page 141 of 162


๑๒๗

. . . ความสุ ข ซึ่ ง ใช เ ป น มาตรฐานของประโยชน นิ ย ม ที่ จ ะตั ด สิ น ว า การกระทํ า ถู ก


มิใชความสุขสวนตัวของผูกระทํา แตเปนของทุกคนที่เกี่ยวของ ระหวางความสุขของผูกระทํากับของ
ผูอื่น ประโยชนนิยมเรียกรองใหผูกระทําวางตัวเปนกลางอยางเขมงวด โดยทําตัวเปนเหมือนผูดูที่ไม
เขาขางใด๕๕

ง. แรงจูงใจกับประโยชนนิยม

สํานักประโยชนนิยมถือวาผลที่เกิดจากการกระทําสําคัญกวาเจตนาหรือแรงจูงใจที่

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
กอใหเกิดการกระทํานั้นขึ้น ดังที่มิลลกลาวไววา

แรงจูงใจไมมีอะไรเกี่ยวของกับศีลธรรมของการกระทํา แมวามันอาจเกี่ยวของกับศีลธรรม
ของผูกระทํา ใครก็ตามที่ชวยเพื่อนมนุษยใหรอดจากการจมน้ําตายไดทําสิ่งที่ถูกตองศีลธรรม ไมวา
แรงจูง ใจของเขาจะเกิด จากหน าที่ หรือเกิด จากความหวั ง ที่จ ะได รับ ค า ตอบแทนคุ มกั บ ความ
เหนื่อย๕๖

สํานักประโยชนนิยมจะนับผลของการกระทําที่เกิดขึ้นเปนสําคัญ ถาผลของการกระทํานัน้
กอใหเกิดประโยชนสุข ก็ตัดสินไดวาการกระทํานั้นถูกตอง แตถาผลของการกระทําใดๆ ที่สวนทาง
กับประโยชนสุข ก็ตัดสินไดวาการกระทํานั้นผิด เพราะประโยชนนิยมไมไดตัดสินที่ตัวบุคคล
ที่พิจารณาจากเจตนาหรือแรงจูงใจ เนื่องจากการตัดสินที่แรงจูงใจเปนการดูอดีตของการกระทํา
การดูผลของการกระทําคือการดูอนาคตของการกระทํา๕๗ เพราะฉะนั้นแรงจูงใจจึงไมเกี่ยวของ
กับผลของการกระทําแตอยางใด ประโยชนนิยมจึงมีไวสําหรับตัดสินการกระทํา ไมใชตัดสินคน
การตัดสินการกระทํานั้นดูผลที่เกิดขึ้นวามีประโยชนหรือไม

แนวคิ ด ของสํ า นั ก ประโยชน นิ ย มผู วิ จั ย จะสรุ ป โดยแยกเป น ประเด็ น ให เ ข า ใจ


ไดงาย ดังนี้

๑. เกณฑตัดสินการกระทําใดถูกหรือผิด ขึ้นอยูกับผลการกระทําเปนเกณฑ การกระทําใด


กอประโยชนแกคนสวนมาก ถือวาการกระทํานั้นถูก หากการกระทําใดที่กอใหเกิดผลตรงกันขาม
กับความสุข คือ กอใหเกิดทุกข ถือวาการกระทํานั้นผิด โดยพิจารณาดวยเกณฑตัดสินดังนี้

๕๕
Mill J.S., Utilitarianism, (New York : The Library of Liberal Arts, 1957), p. 22., อางใน วิทย วิศทเวทย,
จริยศาสตรเบื้องตน : มนุษยกับปญหาจริยธรรม, (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพอักษรเจริญทัศน, ๒๕๑๙), หนา ๙๒.
๕๖
เรื่องเดียวกัน, หนา ๙๐.
๕๗
เรื่องเดียวกัน, หนา ๙๑.

Page 142 of 162


๑๒๘

๑.๑ การกระทํานั้นสงผลใหเกิดประโยชนสุขมากที่สุดและยาวนานที่สุด
๑.๒ การกระทํานั้นสงผลใหเกิดประโยชนสุขมากที่สุดตอคนจํานวนมากที่สุด
๑.๓ หากเกิดกรณีที่ไมสามารถเลือกการกระทําที่สามารถกอความสุขได ใหเลือกทํา
สิ่งที่กอใหเกิดความทุกขนอยที่สุด
๑.๔ จะตองไมคํานึงถึงเจตนาเปนสําคัญ ใหถือเอาประโยชนสุขที่เปนผลเปนสําคัญ
๑.๕ จะตองไมลดประโยชนสุขของตนใหนอยไปกวาประโยชนของผูอื่น หรือไม
ลดประโยชนของผูอื่นใหนอยไปกวาประโยชนของตน กลาวคือ ตองมีความสุขเสมอหนากัน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑.๖ ต อ งคํ า นึ ง ถึ ง ผู ก ระทํ า ด ว ยว า เป น ผู ห นึ่ ง ที่ จ ะได รั บ ผลของการกระทํ า นั้ น
เชนเดียวกับผูอื่นในสังคม

๒. พิจารณาความสุขหรือประโยชนที่ไดรับแบบรวมๆ กลาวคือ บุคคลที่เกี่ยวของกับ


การกระทํานั้น จะตองไดรับผลเทาเทียมกันเสมอไมวาเด็กหรือผูใหญ

ดังนั้นจึงกลาวโดยสรุปไดวาเกณฑวินิจฉัยความดีความชั่วของสํานักประโยชนนิยม
ตัดสินจากผลการกระทํา การกระทําใดๆ ที่ทํากอใหเกิดมหสุขหรือประโยชนสุขแกคนจํานวนมาก
สิ่งนั้นเปนความดี สวนการกระทําที่ตรงกันขามคือความชั่ว โดยไมนําเจตนาหรือแรงจูงใจเขามา
เปนเงื่อนไขในการตัดสินดีชั่ว

๔.๓.๒ วิเคราะหกุศโลบายในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรกับประโยชนนิยม

คําสอนฝายมหายานนั้นเน นมากในเรื่องของกรุ ณา เพื่อชว ยเหลือสรรพสัตวให พน


จากความทุกขทั้งปวงใหไดจํานวนมากที่สุด จึงมีจุดประสงคมุงไปที่ความเปนพระพุทธเจาที่ทรง
เปนสัพพัญู ประกอบไปดวยพุทธคุณ๙ ทสพลญาณ พุทธญาณ๑๕๕๘ เพราะความที่พระองคทรงมี
คุณสมบัติเชนนี้จึงสามารถที่จะนําพาสรรพสัตวใหพนจากปวงทุกขไดเปนจํานวนมาก มหายานจึง
สนับสนุนใหทุกคนเปนพระพุทธเจา ซึ่งเทากับตองการใหทุกคนเปนพระโพธิสัตว ซึ่งจุดมุงหมาย
ของพระโพธิสัตวในมหายานมี ๒ ประการคือ ปญญาและกรุณ า กลา วคือ การเขาถึงความเปน
พระพุทธเจา หรือการเขาใจศูนยตา และการชวยเหลือเสียสละ เพื่อผูอื่น๕๙ ซึ่งในยุคหลังมหายานได
เนนหนักในเรื่องของกรุณาใหเปนที่รวมของความดีงามทั้งปวง โดยที่ เอช ดายาล ไดกลาวถึงเรื่องนี้วา

๕๘
พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ, พระพุทธศาสนามหายานในอินเดีย พัฒนาการและสารัตถธรรม, หนา ๙๕-๙๗.
๕๙
ประพจน อัศววิรุฬหการ, “การศึกษาเชิงวิเคราะหเรื่องพระโพธิสัตวในคัมภีรเถรวาทและคัมภีรมหายาน”,
หนา ๑๔๐.

Page 143 of 162


๑๒๙

“ความกรุณา กับบุคลาธิษฐานของความกรุณา คือ พระอวโลกิเตศวร เปนสิ่งที่ครอบคลุมทุกอยาง


เป น จุ ด หมายสุ ด ท า ย และเป น ที่ ร วมของพุ ท ธศาสนามหายาน”๖๐ ดัง นั้ น การบํ า เพ็ ญ ประโยชน
ต อ สาธารณชนจึ ง เป น หั ว ใจสํ า คั ญ ของคํ า สอนของมหายาน ซึ่ ง มี ลั ก ษณะคล า ยกั บ ปรั ช ญา
ของประโยชนนิยมที่เนนในเรื่องของมหสุข อันเปนผลประโยชนของมหาชนเปนตัวตัดสินความดี

กุศโลบายในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรในนิทานเปรียบเทียบเรื่องบานไฟไหม เมืองมายา
มีจุดมุงหมายเพื่อนําพาสรรพสัตวไปสูความดีสูงสุดคือพุทธภูมิ ซึ่งแนวคิดของมหายานเห็นวา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
สาวกยาน และปจเจกพุทธยานนั้นเขาสูความหลุดพนยังไมสมบูรณ คือ เห็นแจงเพียงปุทคลศูนยตา
แตไมเห็นแจงในธรรมศูนยตา๖๑ การพาสรรพสัตวใหเขาสูความหลุดพนที่สมบูรณหรือความดี
สูงสุดนั้นได โดยการเปนพระพุทธเจาดวยทางเดินคือพุทธยานเทานั้น ซึ่งการเปนพระพุทธเจานั้น
สามารถชวยเหลือสรรพสัตวไดอยางกวางขวางและไมจํากัด ดังนั้นการชวยเหลือสรรพสัตวดวย
กุศโลบายโดยการแสดงยาน ๓ ในนิทานบานไฟไหม และนิพพาน ๒ อยาง ในเรื่องเมืองมายา
จึงเปนการพัฒนาศักยภาพของสรรพสัตวใหพรอม เพื่อมุงไปสูประโยชนที่ยิ่งใหญกวาคือพุทธภูมิ

ในสวนกรณีเรื่องลูกชายของหมอ เปนการใชกุศโลบายเพื่อมุงหมายใหสรรพสัตวไดรับ
ประโยชนจากคําสอนของพระพุทธเจา ซึ่งในขณะที่พระพุทธเจายังทรงพระชนมอยู สรรพสัตวไมมี
ความสนใจที่จะศึกษาคําสอนของพระพุทธเจา แตถาหากพระพุทธองคเสด็จเขาสูการปรินิพพาน
แลวปวงสัตวทั้งหลายก็จะพากันสนใจ ใสใจ ในคําสั่งสอนของพระองค พระพุทธเจาจึงทรงใช
กุศโลบายประกาศการเสด็จดับขันธปรินิพพาน โดยไมไดนิพพาน ทั้งนี้มีจุดประสงคเพื่อประโยชนสขุ
ของมหาชนที่ควรจะไดรับจากคําสอนของพระองค

สวนแรงจูงใจหรือเจตนานั้นสมภาร พรมทากลาววา “มหายานยอมรับวาเปนเงื่อนไข


สําคัญในการตัดสินดีชั่วเหมือนกับเถรวาทแตตีความไมเหมือนกัน เถรวาทตีความเจตนาวา ‘ความ
จงใจ’ สวนมหายานหมายถึง ‘จุดประสงคของการกระทํา’ ดังนั้นมหายานจึงเห็นวา จุดประสงคของ
การกระทําเปนตัวตัดสินความดีความชั่ว”๖๒ พรอมกับไดวิเคราะหประเด็นนี้โดยการยกตัวอยาง
ประกอบซึ่งเปนเรื่องเลาในคัมภีรฝายมหายานวา

๖๐
Har Dayal, The Bodhisattva Doctrine in Buddhist Sanskrit Literature, (Delhi : Motilal Banarsidass,
1970), p. 46.
๖๑
เสถียร โพธินันทะ, ปรัชญามหายาน, หนา ๑๗-๑๘.
๖๒
สมภาร พรมทา, พุทธปรัชญา มนุษย สังคม และปญหาจริยธรรม, หนา ๑๖๕-๑๖๖.

Page 144 of 162


๑๓๐

พระโพธิสัตว คือผูที่อาจกระทําสิ่งที่ดูเหมือนวาชั่ว เพื่อผลประโยชนที่ยิ่งใหญกวาอันไดแก


ประโยชนสุขของมหาชน เชน การสังหารผูนําประเทศหรือชุมชนที่กอความเดือดรอนแกประชาชน
มหายานถือวาเปนภารกิจของพระโพธิสัตว การฆาผูนําทรราชนี้ มหายานถือวาไมเปนกรรมหนัก
ฝายอกุศล(แมเปนการทําลายชีวิตผูอื่นก็ตาม) จุดประสงคในการสังหารผูนําทรราชคือความสันติสุข
ของมหาชน อีกทั้งการสังหารนั้นมิไดเกิดจากความโกรธแคน การสังหารนั้นเกิดจากความจําเปน
เพราะพระโพธิสัตวไมมีทางเลือกอื่นที่จะใหผูนําทรราชนั้นพนไปจากตําแหนง ประเด็นสําคัญของ
ตัวอยางนี้อยูที่ (๑) การไม มีทางเลือก และ(๒) จุดประสงคอันไดแกประโยชนสุขของมหาชน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ซึ่งเงื่อนไขทั้งสองนี้มหายานคิดวาทําใหการกระทําที่ดูเหมือนจะเปนกรรมชั่ว(โดยเฉพาะอยางยิ่งใน
มุมมองของเถรวาท) กลายเปนการกระทําที่ถูกตองดีงามขึ้นมาได๖๓

จากการวิเคราะหตัวอยางของสมภาร พรมทา ยกมาแสดงนั้น อาจทําใหเห็นวากุโลบาย


ของมหายานนั้นเหมือนกับประโยชนนิยมตามแนวคิดของจอหน สจวต มิลล ที่ตัดสินความดีชั่วที่
ผลของการกระทําเพียงอยางเดียว โดยไมนําเรื่องแรงจูงใจหรือเจตนามาเปนเงื่อนไขของการตัดสิน
ดวย ซึ่งมหายานเองอาจจะไมเห็นดวยถาหากแปรเจตนาใหเปนจุดประสงคของการกระทําที่เล็งไป
ที่ ผ ลของการกระทํ า เพี ย งอย า งเดี ย ว ซึ่ ง ในเรื่ องนี้ ผูวิจั ย เห็น ว า เราสามารถวิ เ คราะหถึง เจตนาที่
หมายถึงตัวการกระทําได โดยใชแนวคิดในเรื่องกุศโลบายมาอธิบาย

หากมองในแงของการใชกุศโลบายเพื่อชวยเหลือสรรพสัตวตามคติของมหายานแลว
ในกรณี ตั ว อย า งที่ ส มภาร พรมทายกมาอ า งนั้ น สามารถวิ เ คราะห ถึ ง เจตนาหรื อ แรงจู ง ใจของ
การกระทําโดยผานธรรมทั้ง ๒ คือ ปญญาและกรุณา เนื่องจากธรรมทั้ง ๒ ประการนี้ สัมพันธกับ
กุศโลบายกลาวคือ ปญญาทําใหเกิดความกรุณาขึ้นมาแลวแสดงบทบาทสูภายนอกโดยอาศัยกุศโลบาย
อธิบายวาเมื่อปญญาคือความรูแจงในธรรมทั้งปวงเกิดขึ้น ไดมองเห็นปวงสัตวที่โงเขลา ยังมืดบอด
หลง จมอยู กั บกิ เ ลสและความทุ ก ข ก็เ กิ ด ความกรุณ าที่คิ ด จะช ว ยเหลือสั ตวใ หห ลุด พ น ไปจาก
ความทุกข แลวแสดงตัวอยางเปนรูปธรรมผานทางกุศโลบายที่ใชในการชวยเหลือปวงสัตว ดังนั้น
ป ญ ญาและกรุ ณ าจึ ง เป น คุ ณ สมบั ติ ภ ายในของพระโพธิ สั ต ว ที่ แ สดงตั ว ออกมาภายนอกด ว ย
กุศโลบายที่เปนดานเทคนิคของการชวยเหลือสรรพสัตวใหพนจากทุกข ปญญานั้นหมายถึงความรูแจง
ในธรรมทั้ ง ปวง ถื อ เป น แง ห นึ่ ง ของอโมหะคื อ ความไม ห ลง และกรุ ณ าคื อ ความสงสารคิ ด จะ
ชวยเหลือสรรพสัตวใหพนทุกขก็เปนอีกแงหนึ่งของอโลภะคือความไมโลภ และอโทสะคือความไม
โกรธ เมื่อปญญาเกิดขึ้นยอมขจัดความหลงออกไปได และเมื่อกรุณาเกิดขึ้นก็ยอมขจัดความโลภ

๖๓
อางแลว.

Page 145 of 162


๑๓๑

และความโกรธลงได ดังนั้นปญญาและกรุณาจึงมีนัยที่แสดงถึงจิตที่ประกอบดวยอโลภะ อโทสะ


และอโมหะนั่นเอง

จะเห็นวาการกระทําของพระโพธิสัตวในกรณีนี้ออกมาจากจิตที่เปยมไปดวยปญญาและ
กรุณา หรืออีกนัยหนึ่งก็คือจิตที่ประกอบดวยอโลภะ อโทสะและอโมหะ ดังนั้นถาหากจะมองถึง
แรงจูงใจหรือเจตนาที่เปนตัวแทๆ ของการกระทําของพระโพธิสัตว จะเห็นไดวาเกิดขึ้นจากจิต
ที่ ป ระกอบด ว ยอโลภะ อโทสะและอโมหะ ที่ มี เ ป า หมายเพื่ อ ช ว ยเหลื อ สรรพสั ต ว ใ ห พ น จาก

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ความทุกขทั้งปวง

ดังนั้นกุศโลบายในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรทั้ง ๓ กรณีนั้น จึงมีจุดประสงคเพื่อใหเกิด


ประโยชนสุขแกมหาชน โดยมีเจตนาที่บริสุทธิ์อันประกอบไปดวยปญญาและกรุณา จึงกลาวไดวา
กุศโลบายในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรมีลักษณะคลายกับประโยชนนิยม ในแงของการถือประโยชน
สุขของมหาชนเปนตัวตั้ง โดยมีกุศโลบายเปนตัวปฏิบัติการเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตามจุดมุงหมาย
สวนเจตนาหรือแรงจูงใจนั้น มหายานยังถือวาเปนเงื่อนไขสําคัญในการตัดสินความดี-ชั่ว

การใชกุศโลบายในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรนั้นไมขัดตอจริยธรรมในเรื่องของมุสาวาท
เพราะผูใชนั้นมีจิตที่ปราศจากอกุศลและกิเลสทั้งหลาย มุงชวยเหลือสรรพสัตวใหรอดพนจากภัยคือ
ความทุกขทั้งปวง โดยมิไดมุงหวังสิ่งตอบแทนใดๆ ทั้งสิ้นแมเพียงคําวาขอบคุณ สวนเหลาสัตวลวน
แตไดรับประโยชนที่ยิ่งใหญ คือ การกาวลวงพนจากความทุกขทั้งหลาย อีกทั้งยังอยูในฐานะเปน
พระโพธิสัตวที่สามารถนําพาสัตวใหกาวลวงความทุกขไดเชนเดียวกัน และมีลักษณะคลายกับ
ประโยชนนิยม ในแงของการมุงถึงผลประโยชนของมหาชนเปนหลัก แตมหายานยังคงถือเรื่อง
เจตนาวาเปนสวนหนึ่งที่สําคัญของการตัดสินความดีชั่ว

Page 146 of 162


๑๓๒

บทที่ ๕

สรุปผลการวิจัย และขอเสนอแนะ

๕.๑ สรุปผลการวิจัย

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
การศึกษาวิจัยเรื่อง “กุศโลบายในพระพุทธศาสนามหายาน : กรณีศึกษาสัทธรรมปุณฑรีกสูตร”
ผูวิจัยไดตั้งวัตถุประสงคในการวิจัย ๓ ประการ ไดแก เพื่อศึกษาแนวความคิดเรื่องกุศโลบายใน
พระพุทธศาสนามหายาน เพื่อศึกษารูปแบบและวิธีการสอนโดยใชกุศโลบายในคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร
และเพื่ อ ศึ ก ษาความสั ม พั น ธ ร ะหว า งกุ ศ โลบายกับ จริ ย ธรรม โดยที่ ก ารวิ จั ย ครั้ ง นี้ เ ป น การวิ จั ย
เชิงเอกสาร(Documentary Research) โดยศึกษาคนควาจากคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตรภาษาไทย
พรอมทั้งตํารา เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร ซึ่งทําใหไดบทสรุป
และขอเสนอแนะดังนี้

กุศโลบาย มีความหมายวาเปนวิถีหรือวิธีดําเนินงานอันหลากหลาย ที่สามารถปรับให


เหมาะสมสอดคลองกับสภาพของปญหา และอุปนิสัยของหมูสัตว โดยมีเปาหมายเพื่อใหสรรพสัตว
พัฒนาคุณงามความดี และบรรลุถึงสิ่งที่ดีงามสูงสุดสําหรับชีวิต หรือพูดไดอีกอยางวา กุศโลบาย เปน
วิธีการสอนธรรมแบบพลิกแพลงหรือปรับคําสอนใหเหมาะสมกับระดับของผูฟง โดยคํานึงถึง
ความสามารถ ระดับปญญาและศักยภาพของผูรับคําสอนใหสามารถเขาใจ และไดรับประโยชน
สูงสุดในคําสอน คือ การไดตรัสรูเปนพระพุทธเจานั่นเอง

กุศโลบายถือเปนสิ่งสําคัญอยางมากในพุทธศาสนามหายาน ที่พระโพธิสัตวจะตองเพียร
ทําใหเ กิดมีในตน ในฐานะเปนเครื่องมือสําหรับพัฒนาตนและพัฒนาบุคคลอื่น อีกทั้งยั งบงถึง
เอกลักษณหนึ่งของคําสอนแบบมหายานอีกดวย จึงสรุปความสําคัญของกุศโลบายได ๒ ประการ คือ

๑. กุ ศ โลบายเป น คุ ณ สมบั ติ ที่ สํ า คั ญ ของพระโพธิ สั ต ว กุ ศ โลบายเป น


องคประกอบที่สรางสรรพสัตวใหเปนพระโพธิสัตว มหายานเชื่อวาผูที่จะเปนพระโพธิสัตวได
จะตองประกอบดวยธรรม ๒ ประการเปนพื้นฐาน คือ ปรัชญา(ปญญา) และกุศโลบาย โดยเปรียบ
ปรั ชญาเปน มารดา และกุศโลบายเหมือ นบิดา ที่รว มกันสรางสรรคพระโพธิสัตวใ หเ กิ ดขึ้น มา
นอกจากนั้นกุศโลบายยังเปนธรรมที่พระโพธิสัตวตองพัฒนาใหกาวหนาหรือใหสูงขึ้นในฐานะ
เปนจุดหมายสูงสุด คือ ความเปนพระพุทธเจาซึ่งจะตองมีความสมบูรณในธรรม ๓ ประการ คือ

Page 147 of 162


๑๓๓

มหาปรั ช ญา มหากรุ ณ า และมหาอุ บ ายและกุ ศ โลบายนั้ น เป น หนึ่ ง ในกระบวนการสํ า คั ญ ที่


พระโพธิสัตวตองดําเนินไปตามหลักของโพธิสัตวมรรค ดวยการบําเพ็ญ ปารมิตา ๑๐ คือ ๑) ทาน
๒) ศีล ๓) กษานติ (ขันติ) ๔) วีริย ๕) ธยาน ๖) ปรัชญา ๗) อุปายเกาศัลย (อุบาย) ๘) ปณิธาน
๙) พล ๑๐) ชญาน โดยมีจุดหมายเพื่อพัฒนาศักยภาพของตนและสรรพสัตว เพื่อกาวไปสูความเปน
พระพุทธเจาในอนาคต

๒. กุศโลบายเปนเอกลักษณหรือลักษณะอันเฉพาะของมหายาน ที่ไดแสดงให

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เห็นถึงลักษณะของความยิ่งใหญแหงนิกายตนไว ๒ ประการ คือ ความยิ่งใหญแหงปญญากับกรุณา
ความยิ่งใหญในความไรขอบเขตแหงกุศโลบาย และกิจกรรมของพระโพธิสัตว อันจะพาสรรพสัตว
ใหพนจากทุกขไดอยางมีประสิทธิภาพ และทรงคุณประโยชนอันยิ่งใหญ มหายานเชื่อวาปญญาที่
แท นั้ น จะต อ งกํ า จั ด ความเห็ น ว า เป น ของบุ ค คล และธรรมลงได ความกรุ ณ าก็ เ ช น กั น
มีคํากลาวไววา แมวาพระโพธิสัตวสามารถเขาถึงพระนิพพานได แตก็หันหลังใหพระนิพพาน
เปนเพราะความกรุณาที่จะชวยเหลือสรรพสัตวใหพน ทุกขไดเสียกอน จึงคอยเขาพระนิพพาน
และแมแตยอมตกนรก เพื่อไปโปรดสัตวในนรก พระโพธิสัตวก็พรอมที่จะทํา เมื่อปญญาและกรุณา
ยิ่งใหญเพียงนี้ กุศโลบายซึ่งเปนการแสดงออกของปญญาและกรุณา ก็ยิ่งใหญไรเขตจํากัดเชนกัน
พระโพธิสัตวใชกุศโลบายใดๆ ก็ไดแมอาจดูเหมือนวาผิด แตเพื่อชวยเหลือเหลาสัตวโลกใหลวงพน
จากทุกขทั้งปวง โดยมีปญญาและกรุณาเปนฐานแลว เปนความชอบธรรมซึ่งสามารถกระทําได
เชน ในพระสูตรที่แตงในจีนกลาวไววา พระโพธิสัตวเห็นวาโจรคนหนึ่งจะฆาคนในเรือทั้ง ๕๐๐ คน
พระโพธิสัตวควรใชอุบายวิธีฆาโจรคนนั้นเสีย แมจะตองทําปาณาติบาตก็ควร เปนตน

ในสวนจุดประสงคหรือเปาหมายการใชกุศโลบายของพระโพธิสัตวมี ๒ ประการ คือ

๑. ใช กุ ศ โลบายเพื่ อ พั ฒ นาศั ก ยภาพของตั ว พระโพธิ สั ต ว ซึ่ ง เป น การพั ฒ นา


คุณธรรมภายในตัวพระโพธิสัตวเอง ใหมีมากพอที่ชวยเหลือตัวเองไดกอนที่จะบําเพ็ญประโยชนตอ
สรรพสัตว เปรียบเหมือนสอนตัวเองใหวายน้ําไดกอนแลวจึงจะสามารถชวยคนจมน้ําได การใช
กุศโลบายเขามาชวยในการบําเพ็ญธรรมของพระโพธิสัตว ยอมชวยยนระยะเวลาในการพัฒนาตนเอง
ใหกาวหนา และเพื่อสรางเสริมปญญาใหเกิดขึ้น เพื่อจะนําพาตนไปสูความรูแจงเห็นจริง อันเปนไป
เพื่อประโยชนตน กอนที่จะพาเหลาสัตวใหรูแจงตาม เชน การแปรปจจัยที่เปนอกุศลใหเปนกุศล
โดยการมองในแง บวก เชน มองศัตรูเป นปจ จัยแหงความอดทนที่จะนําไปสูโพธิญาณ หรือใช
กุศโลบายปองกันอกุศลที่มีเหตุจากสตรี ดวยวิธี อยามอง อยาพูด กับสตรี หากจําเปนตองพูด
ตองมีสติ ทําตัวใหเหมือนดอกบัวที่ไมเปอนดวยโคลนตม และคิดวาผูชราเสมือนมารดา เห็นหญิง

Page 148 of 162


๑๓๔

ที่อายุมากกวาเสมือนพี่สาว เห็นที่อายุนอยกวาเปนนองสาว เห็นที่ออนแอกวามากเปนลูก และตั้งจิต


ดวยความกรุณาคิดจะโปรด ระงับจิตที่ชั่วรายเสีย เปนตน

๒. การใช กุ ศ โลบายเพื่ อ ช ว ยเหลื อ สรรพสั ต ว กุ ศ โลบายชนิ ด นี้ ม หายานให


ความสําคัญอยางมาก เพราะสอดรับกับอุดมคติที่เนนความกรุณาอันเปนลักษณะเดนของมหายาน
การใชกุศโลบายชนิดนี้จะตองสัมพันธกับลักษณะอุปนิสัยของสรรพสัตว กลาวคือ สรรพสัตวลวน
มีความแตกตางกันในทางดานคุณสมบัติ ซึ่งมหายานจัดแบงออกเปน ๕ ประเภท คือ ๑) ปุถุชน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒) สาวกบุคคล ๓) พระปจเจกบุคคล ๔) พระโพธิสัตว ๕) พระสัมมาสัมพุทธเจา เมื่อทราบถึง
ความแตกตางแหงความสามารถ ภูมิปญญา และอุปนิสัยของเหลาสัตว กุศโลบายจึงถูกหยิบยกมาใช
ในฐานะเปนอุปกรณ หรือเครื่องมือในการชวยเหลือสรรพสัตวไดอยางเหมาะสม เพื่อนําพาเหลาสัตว
กาวไปสู ความเปนพระพุทธเจา เชน การแสดงรู ปกายตางๆ ที่เ หมาะกับเวลา สถานการณ และ
อุปนิสัยของสรรพสัตว พระโพธิสัตวแสดงตนเปนหญิงหนักในราคะ ชักจูงบรรดาชายผูอภิรมยใน
รสกามใหมาผูกพัน ทั้งนี้ก็โดยใชวิธีเอากามคุณมาเปนเบ็ดเกี่ยวจิตใจของชน ผูมีราคะใหมาติด
เสี ย ก อ น แล ว จึ ง สอนให เ ขาเหล านั้ น บรรลุภู มิ ตรั สรู ข องพระสั ม มาสั มพุ ท ธเจ า พระโพธิสั ต ว
ยอมแสดงตนเปนบุรุษกํายํา มีพละแรงกลา เพื่อปราบบุคคลผูมีความลําพองเยอหยิ่งทะนง ใหเขา
ตั้งอยูในภูมิที่เปนไปเพื่อความตรัสรู หรือเจาหญิงเมียวซันที่ไดใชขนม ๒ ชิ้น หามกองทัพมดดํา
และมดแดงไมใหตอสูกัน เปนตน

นอกจากนี้กุศโลบายยั งนํ ามาเปนเครื่องมือ เพื่อคลี่คลายปญหาความขัดแยงของ


คําสอนในนิกายตางกัน ในขณะเดียวกันก็เปนเครื่องมือสําหรับสรางความเหนือกวาของคําสอน
ตามแนวคิดแหงนิกายตน เชน ในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรไดพยายามรวมยาน ๓ ใหรวมเปนหนึง่ เดียว
ด ว ยพุ ท ธยาน และในคั ม ภี ร สัน ธิ นิ ร โมจนสู ต รของโยคาจาร ได แ สดงถึ ง การแสดงธรรมของ
พระพุทธเจาออกเปน ๓ ระยะ ซึ่งเปนการแสดงใหเห็นถึงกุศโลบายในการประกาศธรรมของ
พระพุทธเจาที่มีความลุมลึก ลงตามลําดับจากคําสอนเบื้องตนหรือคําสอนชั่วคราว ไปสูธรรมชั้น
สูงสุดหรือคําสอนที่แท ซึ่งคําสอนชั่วคราวหมายถึงคําสอนแหงนิกายอื่น คําสอนที่แทก็คือคําสอน
แหงนิกายตน กุศโลบายแบบนี้ถือเปนลักษณะพิเศษเฉพาะของมหายาน

คั ม ภี ร สั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต ร เป น คั ม ภี ร ที่ เ ก า แก ที่ สุ ด คั ม ภี ร ห นึ่ ง ของมหายาน


มีค วามหมายว า เปน พระสั ท ธรรมของพระพุ ท ธเจา ที่ เ ปรี ย บเหมื อ นดอกบั ว อั น เป น สัญ ลัก ษณ
ของความบริสุทธิ์และบริบูรณ ดอกบัวใหผลคือการเบงบานงดงามพรอมกับเมล็ดบัวที่แกเต็มที่
เชนเดียวกันกับสัจธรรมที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงประกาศนั้นใหผลคือทําใหผูฟงธรรม
ตรัสรูในทันที โดยนัยนี้ประเทศจีนและญี่ปุนจึงเชื่อวาสัทธรรมปุณฑรีกสูตรเปนพระสูตรสุดทาย

Page 149 of 162


๑๓๕

ของพระพุทธเจ า ซึ่งหมายความวานอกจากพระสูตรนี้ พระพุทธเจาไม เคยทรงแสดงพระสู ตร


ที่สําคัญเชนนี้อีกเลย

คัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตรไดแสดงใหเห็นวาสรรพสัตวลวนมีพุทธภาวะ คําสอนอัน
หลากหลายของพระพุทธเจ าที่ แตกตางหรือคลายคลึงกันทั้งหมด ลวนเป นกุศโลบายที่ปรั บให
เหมาะสมกับอุปนิสัยของเหลาสัตว โดยมีจุดหมายรวมกันคือพุทธยาน จึงเปนความพยายามที่จะ
รวมคําสอนที่แตกตางกันในพุทธศาสนาใหเปนหนึ่งเดียวดวยเอกยาน สัทธรรมปุณฑรีกสูตรไดเนน

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ใหเห็นถึงรูปแบบและวิธีการใชกุศโลบายของพระพุทธเจาและเหลาพระโพธิสัตวในรูปแบบตางๆ
ซึ่งสืบเนื่องมาจากสาเหตุ ๒ ประการ คือ

๑. เจตนารมณในการแสดงธรรมของพระพุทธเจาก็เพื่อนําพาสรรพสัตวใหดํารง
อยูในภาวะเชนเดียวกับพระองค คือ การเปนพระพุทธเจาเทานั้น ซึ่งพุทธธรรมอันลึกซึ้งบริบูรณ
ที่ พ ระองค ท รงตรั ส รู นั้ น จะมี เ พี ย งพระพุ ท ธเจ า เช น เดี ย วกั น เท า นั้ น ที่ จ ะเข า ถึ ง ได แม ก ระทั่ ง
พระอริยสาวก พระปจเจกพุทธเจา และพระโพธิสัตวทั้งหลายก็ไมอาจที่จะเขาใจและหยั่งถึงได
การใชกุศโลบายในการแสดงธรรมจึงมีจุดมุงหมายเพียงประการเดียว คือ การนําพาสรรพสัตว
ใหเขาสูพุทธภูมิ

๒. เพราะโลกอยู ใ นยุ ค แห ง ความเสื่ อ ม ๕ ประการ คื อ ๑) ความเสื่ อ มแห ง กั ล ป


๒) ความเสื่อมแหงสรรพสัตว ๓) ความเสื่อมเพราะกิเลส ๔) ความเสื่อมเพราะทิฎฐิ ๕) ความ
เสื่อมเพราะอายุ สรรพสัตวที่อยูในยุคนี้ถูกอวิชชาหอหุมอยางมืดมิด ละเลยการกุศล มุงแตสราง
อกุศล อีกทั้งเหลาสัตวมีความแตกตางกันไปทั้งทางดานปญญา และอุปนิสัย ดังนั้นพุทธญาณที่
ยอดเยี่ยม หากสอนไปตรงๆ ก็ยากเกินไปที่สรรพสัตวจะเขาใจ กุ ศโลบายจึงเปนวิธีการนําพา
สรรพสัตวในยุคแหงความเสื่อมนี้ใหสามารถเขาถึงพุทธธรรมไดงายและรวดเร็ว

รู ป แบบและวิ ธี ก ารใช กุ ศ โลบายในสั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รนั้ น สามารถแบ ง ออก


ได ๓ ประเภทดวยกัน คือ

๑. รูปแบบทั่วไป รูปแบบชนิดนี้มีอยูทั่วไปในสัทธรรมปุณฑรีกสูตร เปนการอธิบาย


ธรรมะดวยการใชเครื่องมือเปนสื่อ ในการทําใหธรรมที่อยูในรูปของนามธรรมใหเปนรูปธรรม
ทํา ใหผูฟ ง ได เห็นภาพ เพื่ อที่ จะเขาใจธรรมะไดงาย และชั ดเจนยิ่งขึ้น มี ๔ ชนิด คือ ๑) นิทาน
เปรียบเทียบ ๒) อุปมาอุปไมย ๓) การยกอุทาหรณ ๔) การแสดงเหตุผล เปนการอธิบายภาวะ
ของธรรมชาติ เชน ศูนยตา อริยสัจสี่ ปฏิจจสมุปบาท

Page 150 of 162


๑๓๖

๒. รูปแบบการใชอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริย การใชอิทธิฤทธิ์ปาฏิหาริยใหเปนกุศโลบาย
จะมีความสัมพันธกับการชักนําสรรพสัตวใหดําเนินไปสูพระสัมมาสัมโพธิญาณ กลาวคือหากใช
อิทธิฤทธิ์แลวไมเกิดประโยชน ในการนําพาปวงสัตวใหตั้งมั่นในพระโพธิญาณ ก็จะหลีกเลี่ยง
การใชกุศโลบายชนิดนี้ในสัทธรรมปุณฑรีกสูตรแสดงไวแตพระโพธิสัตว ๔ องค คือ พระคัทคทัสวร
โพธิสัตว พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว และพระราชบุตร ๒ พระองค พระนามวาวิมลครรภ และ
วิมลเนตรที่ใช ไมปรากฏวาพระพุทธเจาไดทรงใชวิธีนี้ เพราะเหตุวาหากทรงใชวิธีนี้ ปวงสัตวก็จะ
พลาดจากพุทธประสงค คือการชักนําสรรพสัตวใหตั้งมั่นในพระสัมมาสัมโพธิญาณ ซึ่งพระองคจะ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ทรงใชวิธีแสดงธรรมใหเหลาสัตวนั้นไดคนพบดวยตัวเอง

๓. รูปแบบที่เปนความลึกลับมหัศจรรย การใชกุศโลบายในรูปแบบนี้เปนจุดเดน
ของสัทธรรมปุณฑรีกสูตร และเปนเรื่องเฉพาะของพระพุทธเจาทั้งหลายเทานั้น เหลาพระอริยสาวก
และพระโพธิสัตวไมอาจจะเขาถึงได ซึ่งสัทธรรมปุณฑรีกสูตรไดแสดงไว ๓ เรื่องดวยกัน คือ

๑. เอกยาน พระพุ ท ธเจ า ทรงแสดงว า ยาน ๓ คื อ สาวกยาน ป จ เจกพุ ท ธยาน


และโพธิสัตวยาน ที่จริงนั้นเปนเพียงกุศโลบายของพระองคที่หวังใหสรรพสัตวไดพัฒนาศักยภาพ
ของตนเองใหพรอม กอนที่จะกาวไปสูคําสอนที่แทจริงคือพุทธยานตอไป จึงเปนการรวมคําสอน
ของยานทั้ง ๓ ใหเชื่อมโยงเปนหนึ่งเดียวกันดวยพุทธยาน

๒. นิพพาน ๒ ขั้น กุศโลบายในเรื่องนี้สืบเนื่องมาจาก ๓ ยาน กลาวคือ เมื่อมีการ


ปฏิบัติคําสอนที่แตกตางกันยอมจะมีผลคือพระนิพพานที่แตกตางกันดวย คือนิพพานที่เปนของ
พระสาวกกับพระปจเจกพุทธเจา(สัทธรรมปุณฑรีกสูตรไดแสดงนิพพานของพระปจเจกพุทธเจาวา
อยูในระดับเดียวกันกับของพระสาวก) และนิพพานของพระโพธิสัตว แตเนื่องจากเปนกุศโลบาย
ของพระพุทธเจาที่จะชวยเหลือสรรพสัตวใหมุงสูพระโพธิญาณจึงเกิดมีพระนิพพานทั้ง ๒ แตใน
ความจริงนิพพานมีเพียงหนึ่งซึ่งก็คือ นิพพานแหงอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณเทานั้น ซึ่งนิพพานของ
พระสาวกและพระปจเจกพุทธเจานั้นเปนเพียงที่หยุดพักใหหายเหน็ดเหนื่อย เพื่อใหพรอมที่จะ
เดินทางตอไปใหถึงพุทธภูมิ

๓. การประกาศปริ นิ พ พานของพระพุ ท ธเจ า พระพุ ท ธเจ า ทรงใช กุ ศ โลบาย


ประกาศการปรินิพพานที่มิใชการเขาสูปรินิพพานที่แทจริง เพราะพระองคทรงมีพระชนมายุที่ไม
จํ า กั ด แต ทั้ ง นี้ ก็ เ พื่ อ ประโยชน ใ นการช ว ยเหลื อ สรรพสั ต ว ใ ห พ น ไปจากความทุ ก ข ทั้ ง ปวง
เพราะถ า หากสรรพสัต ว ที่ มี ป ญ ญาน อ ย ได เ ห็ น พระพุ ท ธเจ า ปรากฏพระองค อ ยู อ ย า งต อ เนื่ อ ง
และไมเสด็ จปรินิพพาน สรรพสั ตวเหลานั้นจะไมเชื่อฟง ไมขวนขวายหาคําสอนของพระองค

Page 151 of 162


๑๓๗

และไมสามารถที่จะรับรูไดวาการไดพบพระพุทธเจา เปนสิ่งที่หาไดยากยิ่ง การใชกุศโลบายในขอนี้


มีความเกี่ยวของกับทัศนะเรื่องพระพุทธเจาของทางมหายาน ที่เชื่อกันวาพระพุทธเจาที่ปรากฏ
อยูบนโลกมนุษยนั้น มีความสัมพันธกับตรีกาย การปรินิพพานของพระพุทธเจาศากยมุนีบนโลก
มนุษ ย จึ ง เป น เพี ย งปรากฏการณ ข องสั ม โภคกายและธรรมกายเท า นั้ น ชาวมหายานจึ ง เชื่ อ ว า
พระพุทธเจาที่แทจริง(ธรรมกาย) ยังคงดํารงอยูตลอดกาล

ในเรื่องของกุศโลบายกับอุดมการณของพระโพธิสัตวนั้น กุศโลบายเปนหนึ่งในธรรม

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
อันเปนอุดมคติที่พระโพธิสัตวตองกาวไปใหถึง คือ ความเปนพระพุทธเจาที่ทรงเพียบพรอมดวย
ความสมบู ร ณ ข องธรรม ๓ ประการ คื อ ๑) มหาปรั ช ญา ๒) มหากรุ ณ า ๓) มหาอุ บ าย ดั ง นั้ น
พระโพธิสัตว จําตองดําเนินไปตามโพธิสัตวจรรยา ก็ เพื่อพัฒนาธรรมทั้ง ๓ ประการเหลานี้ใ ห
บริบูรณนั่นเอง ซึ่งสัทธรรมปุณฑรีกสูตรไดแสดงใหเห็นถึงธรรมทั้ง ๓ นี้ โดยผานทางพระโพธิสัตว
มหาสัตว ๓ พระองค คือ พระมัญชุศรีโพธิสัตวเปนบุคลาธิษฐานของปญญา พระอวโลกิเตศวร
เป น บุ ค ลาธิ ษ ฐานของกรุ ณ า และพระสมั น ตภั ท รโพธิสั ต ว เ ป น บุ ค ลาธิ ษ ฐานของอุ บ ายในการ
สั่งสอนและการปฏิบัติ แมคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตรจะไดเนนถึงเรื่องของกุศโลบายเปนหลัก
แต ก็ ม องเห็ น ความเชื่ อ มโยงกั น ของธรรมทั้ ง ๓ คื อ ป ญ ญา กรุ ณ า และอุ บ าย ที่ แ สดงผ า น
พระโพธิสัตวมหาสัตวทั้ง ๓ องค

ในส ว นเรื่ อ งตรี ย าน สั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต รได แ สดงให เ ห็ น ว า ยาน ๓ เป น เพี ย ง
กุศโลบายของพระพุทธเจ าที่ จะนํ าพาสรรพสัตวใหมุงสูจุดหมายคือพุทธภูมิเท านั้ น ซึ่งสามารถ
วิเคราะหสาเหตุของการใชกุศโลบายโดยแยกเอกยานเปน ๓ ยาน ของพระพุทธเจาได คือ เปน
เจตนารมณของพระพุทธเจาที่ทรงแสดงธรรม เพื่อนําพาสรรพสัตวใหเขาสูพุทธภูมิ และพุทธธรรม
ของพระพุทธเจามีเพียงพระพุทธเจาดวยกันเทานั้นที่เขาถึงได และเนื่องจากสรรพสัตวถูกอวิชชา
หอหุมอยางมืดมิด ละเลยการกุศล มุงแตสรางอกุศล ลุมหลงมัวเมาในกามารมณ ไมสนในคําสอน
อันประเสริฐ มีอุปนิสัยที่แตกตางกัน มีความสามารถ มีปญญา มีความเพียร มีกิเลส มากนอยตางกัน
ดั งนั้น พระพุทธเจา จึ งทรงใช กุศ โลบายมาเปน วิธีใ นการชว ยเหลื อสรรพสั ต ว โดยแบงคํา สอน
ออกเปนยาน ๓

พระพุทธเจาจึงมีพระประสงคในการนําพาสรรพสัตวใหมุงไปสูพระสัมมาสัมโพธิญาณ
ทุ ก ทั่ ว หน า และเท า เที ย มกั น เมื่ อ สรรพสั ต ว มี ค วามพร อ มและได พั ฒ นาสภาพจิ ต ให ก า วหน า
ถึง ขั้ น แสวงหาพระโพธิ ญ าณ ดั ง นั้ น ยาน ๓ จึ ง เป น เหมือ นบั น ไดที่ จ ะนํ า พาสรรพสัต ว ก า วขึ้ น
ไปสูพระโพธิญาณ

Page 152 of 162


๑๓๘

การใชกุศโลบายในบางเรื่องของสัทธรรมปุณฑรีกสูตร มีความหมิ่นเหมตอการทําผิด
จริ ย ธรรมในแง ข องการพู ด เท็ จ หากบุ ค คลทั่ ว ไปหากได ฟ ง ก็ อ าจจะคิ ด ว า เป น เรื่ อ งโกหก
ซึ่งพระพุทธเจาไดทรงยืนยันวาไมใชการพูดเท็จ แตเปนกุศโลบายในการนําพาสรรพสัตวไปสู
พระสั มมาสั มโพธิ ญาณ มี อยู ด วยกัน ๓ กรณี คือ ๑) เรื่องเอกยาน ซึ่งมี นิทานเปรี ย บเทีย บ คือ
เรื่ อ งบ า นไฟไหม ป ระกอบ ๒)เรื่ อ งนิ พ พาน ๒ ชนิ ด โดยมี นิท านเปรี ย บเที ย บเรื่ อ งเมื อ งมายา
ประกอบ ๓) เรื่องการประกาศปรินิพพานของพระพุทธเจา มีนิทานเปรียบเทียบ คือ เรื่องลูกชาย
ของหมอประกอบ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ผูวิจัยไดวิเคราะหประเด็นนี้โดยใชเกณฑตัดสินทางจริยธรรมของเถรวาทโดยวินิจฉัย
จากเจตนา และผลของการกระทํา และเกณฑตัดสินจริยธรรมของสํานักประโยชนนิยมที่วินิจฉัย
จากผลการกระทํา โดยไมคํานึงถึงเจตนาหรือแรงจูงใจ มาเปนตัวตัดสินทั้ง ๓ กรณี เพื่อใหเห็น
ความเหมือนหรือตางกันของทฤษฎีทั้ง ๒ ซึ่งจะทําใหเขาใจเรื่องกุศโลบายของสัทธรรมปุณฑรีกสูตร
ไดชัดเจนขึ้น ผลการวิเคราะหสรุปไดดังนี้

๑. ผลการวิ เ คราะห โ ดยใช เ กณฑ ตั ด สิ น จริ ย ธรรมของเถรวาท พบว า ทั้ ง ๓ กรณี


เมื่อดูเจตนาหรือแรงจูงใจและผลการกระทํา จะเห็นวาเปนเจตนาที่บริสุทธิ์ ประกอบดวยปญญาและ
กรุณา อันปราศจากอกุศลและอคติทั้งหลาย มุงผลประโยชนสูงสุดคือความหลุดพนจากกิเลสของ
สรรพสั ตว โ ดยส ว นเดี ย ว ไม ห วั ง ผลตอบแทนส ว นตนใดๆ ทั้ งสิ้ น จึ ง ไม เ ข า ขา ยในการละเมิ ด
จริยธรรม ซึ่งในฝายเถรวาทก็พบการใชกุศโลบายลักษณะแบบนี้เชนกัน ดังกรณีของพระนันทะ
โจรเคราแดง และนางกีสาโคตมี เปนตน

๒. ผลการวิเคราะหโดยใชเกณฑตัดสินจริยธรรมของสํานักประโยชนนิยม พบวา
ทั้ง ๓ กรณี มีจุดประสงคเพื่อผลที่ยิ่งใหญอันเปนประโยชนสุขของมหาชน คือ การนําพาสรรพสัตว
ไปสูการเปนพระพุทธเจาอยางเทาเทียมกัน สวนเจตนาหรือแรงจูงใจนั้น มหายานยังคงยึดถือวาเปน
เงื่อนไขสําคัญในการตัดสินความดี ชั่ว โดย ๓ กรณีนั้น เกิดขึ้นจากเจตนาที่บริสุทธิ์อันประกอบดวย
ปญญาและกรุณา

ดั ง นั้ น เมื่ อ พิ จ ารณาผลการวิ เ คราะห จะเห็ น ว า กุ ศ โลบายในสั ท ธรรมปุ ณ ฑรี ก สู ต ร


มีลักษณะคลายสํานักประโยชนนิยม ในแงที่มุงสรางประโยชนสุขใหแกมหาชนเปนหลัก แตตางกัน
ตรงที่มหายานถือวาเจตนาเปนเงื่อนไขสําคัญในการตัดสินความดี ชั่ว

Page 153 of 162


๑๓๙

๕.๒ ขอเสนอแนะ

จากการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยพบวามีอีกหลายๆ ประเด็นที่ควรจะมีการศึกษา หรือคนควาวิจัย


เพิ่มเติม เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจอยางละเอียดลึกซึ้งยิ่งขึ้นไป ดังนี้

๕.๒.๑ การใชกุศโลบายของมหายานในการเผยแผคําสอน ซึ่งมีประเด็นที่นาศึกษา


ในแง ของการเชิ ด ชู คําสอนตน และในขณะเดีย วกั นก็ เ ปน การขมคําสอนของลั ทธิอื่น ไปในตั ว
ซึ่งจะทําใหเขาใจเรื่องกุศโลบายของมหายานไดชัดเจนยิ่งขึ้น

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๕.๒.๒ เปรียบเทียบรูปแบบ วิธีการ และจุดประสงค ของการใชกุศโลบายของเถรวาท
กับมหายาน วามีความเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร

๕.๒.๓ ศึกษารูปแบบของนิทานเปรียบเทียบ อุปมาอุปไมย ในคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร


ซึ่งถือวามีความงดงาม และเปนลักษณะเดนอีกประการหนึ่งของตัวคัมภีร แลวนํามาเปรียบเทียบ
กับพระสูตรของเถรวาท

๕.๒.๔ ศึกษาเปรียบเทียบคําสอนของมหายานกับปรัชญาสํานักประโยชนนิยม วามี


ความเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร

Page 154 of 162


๑๔๐

บรรณานุกรม

๑. ภาษาไทย :
ก. ขอมูลปฐมภูมิ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระกษิติครรภโพธิสัตวมูลปณิธานสูตร. แปลโดย อ.โจ ชิง ฟง. กรุงเทพฯ : บริษัทศรีบุญอุตสาหกรรม
การพิมพจํากัด, ๒๕๔๓.
พระพุทธวจนะ ๔๒ บท. แปลโดย เย็นเหี่ยง ภิกฺขุ. กรุงเทพฯ : กรุงสยามการพิมพ, ๒๕๑๖.
พระโมคคัลลานเถระ. คัมภีรอภิธานวรรณนา. แปลโดย พระมหาสมปอง มุทิโต. กรุงเทพฯ : ธรรมสภา,
๒๕๔๒.
พระศานติเทวะ. โพธิสัตตวจรรยาวตาร. ฉบับภาษาอังกฤษของ Stephen Batchelor แปลโดย
ฉัตรสุมาลย กบิลสิงห. กรุงเทพฯ : ศูนยไทย-ธิเบต, ๒๕๔๓.
พระอัศวโฆษ, มหากาพยพุทธจริต. แปลโดย สําเนียง เลื่อมใส. กรุงเทพฯ : ศูนยสันสกฤตศึกษา
มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๗.
พระอัศวโฆษ. มหายานศรัทโธตปาทศาสตร. โยชิโตะ เอส. ฮะเกดะ ปริวรรตและอรรถาธิบาย
แปลโดยกัมพล สิริมุนินท. ปตตานี : ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร
และสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, ๒๕๓๕.
พระอารยศูร. ชาดกมาลา. แปลโดยหลวงรัชฎาการโกศล. พิมพในงานพระราชทานเพลิงศพ หลวง
เสถียรโชติสาร(จรัล โชติกเสถียร) วันที่ ๑๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๑๓.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระไตรปฎกพรอมอรรถกถา แปล. ชุด ๙๑ เลม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ
มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔.
โมหมาลา. แปลโดย เย็นเหี่ยง ภิกขุ. อนุสรณเนื่องในงานทําบุญคลายวันมรณภาพทานเจาคุณวิสุทธิ
ธรรมาจารย(ทรัพย สีลวิสุทธเถร), ๒๒ ส.ค. ๒๕๑๘.
ลลิตวิสตระ : พุทธประวัติฝายมหายาน เลม ๒. แปลโดย แสง มนวิทูร. พระนคร : กรมศิลปากร,
๒๕๑๔.
วิมลเกียรตินิทเทสสูตร. แปลโดย เสถียร โพธินันทะ. กรุงเทพฯ : มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๐๖.

Page 155 of 162


๑๔๑

ศรีมาลาเทวีสีหนาทสูตร. แปลโดย ฉัตรสุมาลย กบิลสิงห. กรุงเทพฯ : โอ.เอส. พริ้นติ้งเฮาส,


๒๕๓๒.
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร. แปลโดย ฉัตรสุมาลย กบิลสิงห. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,
๒๕๒๕.
สัทธรรมปุณฑรีกสูตร. แปลโดย ชะเอม คลายแกว. กรุงเทพฯ : คณะสงฆจีนนิกายแหงประเทศไทย,
๒๕๔๗.
________________. แปลโดย สมาคมสรางคุณคาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพสุภา จํากัด,

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒๕๔๒.

ข. ขอมูลทุติยภูมิ

(๑) หนังสือ :

คณะสงฆ จี น นิ ก าย. พจนานุ ก รมพระพุ ท ธศาสนาฉบั บ ภาษาจี น -สั น สกฤต-อั ง กฤษและไทย.


กรุงเทพฯ : คณะสงฆจีนนิกายแหงประเทศไทย, ๒๕๑๙.
_________________. พระพุทธเจาและพระโพธิสัตวของมหายาน. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสงั ฆประชานุเคราะห,
๒๕๓๑.
คอนซ เอดเวิรด. พุทธศาสนประวัติสังเขป. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๑๖.
จํานงค ทองประเสริฐ. บอเกิดลัทธิประเพณีจีน ภาค ๑-๓. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,
๒๕๓๗.
ฉัตรสุมาลย กบิลสิงห. ประเทศจีนกับพระพุทธศาสนา (ฝายมหายาน). กรุงเทพฯ : มหามกุฏราช
วิทยาลัย, ๒๕๓๖.
ฉลาด บุญลอย, เสฐียร พันธรังษี, พระมหาประยุทธ ปยุตฺโต. พจนานุกรม บาลี-สันสกฤต-ไทย-อังกฤษ.
พระนคร : สํานักพิมพแพรวิทยา, ม.ม.ป.
ทวีวัฒน ปุณฑริกวิวัฒน. วิถีมหายาน. กรุงเทพฯ : ปารมิตา, ๒๕๒๖.
____________. ศาสนาและปรัชญาในจีน ทิเบต และญี่ปุน. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, ๒๕๔๕.
ธนิต อยูโพธิ. อุดมคติอันแตกตางกันระหวางพระพุทธศาสนาฝายหินยานกับฝายมหายาน กับ
พระโพธิสัตวและตรีกาย. พระนคร : ห.จ.ก.ศิวกร, ๒๕๑๑.
นวม สงวนทรัพย. พระพุทธศาสนาลัทธิมหายาน. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๒.
เนื่องนอย บุญยเนตร. จริยศาสตรตะวันตก : คานท มิลล ฮอบส รอลส ซารทร. กรุงเทพฯ :
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๙.

Page 156 of 162


๑๔๒

บุณย นิลเกษ. ประวัติศาสตรพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแพรวิทยา, ๒๕๒๗.


__________. พุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแพรวิทยา, ๒๕๒๖.
ประกายธรรม. กวนอิมพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร. กรุงเทพฯ : ธรรมสภา, ม.ป.ป.
ประพจน อัศววิรุฬหการ. โพธิสัตวจรรยา : มรรคาเพื่อมหาชน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,
๒๕๔๖.
ปน มุทุกันต. บันทึกธรรม. พระนคร : โรงพิมพอักษรสัมพันธ, ๒๔๙๙.

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระคณาจารยจีนธรรมสมาธิวัตรฯ(โพธิ์แจง). สารัตถธรรมมหายาน. แปลโดย พระอาจารยจีน
ธรรมคณาธิการ(เย็นเจี่ยว). กรุงเทพฯ : รุงนคร, ๒๕๑๓.
พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๔. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓.
พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๕. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๐.
พระพรหมคุณาภรณ(ป.อ. ประยุตฺโต). พุทธธรรม. กรุงเทพฯ : บริษัทสหธรรมิกจํากัด, ๒๕๔๙.
พระราชธรรมนิเทศ(ระแบบ ฐิตญาโณ). ประวัติพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย,
๒๕๔๒.
พระราชวรมุนี(ประยุทธ ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท. กรุงเทพฯ : มหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๒๘.
_______________. พุทธวิธีในการสอน, กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม, ๒๕๔๒
พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ. พระพุทธศาสนามหายานในอินเดีย พัฒนาการ และสารัตถธรรม.
กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓.
พระสิริมังคลาจารย. มังคลัตถทีปนี แปล เลม ๒. กรุงเทพฯ : มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕.
พระอุดรคณาธิการ, ร.ศ.จําลอง สารพัดนึก. พจนานุกรมบาลี-ไทย ฉบับนักศึกษา. กรุงเทพฯ : มหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๐.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕. กรุงเทพฯ : บริษัทอักษรเจริญทัศน,
๒๕๓๙.
_____________. พจนานุกรมศัพทปรัชญา อังกฤษ-ไทย. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ, ๒๕๔๐.
เลียง เสถียรสุต. ประวัติแนวคิดมหายาน. กรุงเทพฯ : รุงนคร, ๒๕๑๙.
วรรณสิทธิ ไวทยะเสวี. คูมือการศึกษา พระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๕ วิถีมุตตสังคหวิภาค.
กรุงเทพฯ : มูลนิธิแนบ มหาวีรานนท, ม.ป.ป.
วศิน อินทสระ. พุทธปรัชญามหายาน. กรุงเทพฯ : มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑.
___________. สาระสําคัญแหงพุทธปรัชญามหายาน. กรุงเทพมหานคร : เจริญกิจ, ๒๕๓๒.

Page 157 of 162


๑๔๓

วิทย วิศทเวทย. ปรัชญาทั่วไป : มนุษยโลกและความหมายของชีวิต. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน,


ม.ป.ป.
____________. จริยศาสตรเบื้องตน : มนุษยกับปญหาจริยธรรม. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพอักษรเจริญทัศน,
๒๕๑๙.
ศักดิ์สัณห โรจนแสงรัตน. พระสัทธรรมปุณฑรีกสูตรและกําเนิดพุทธมหายาน. กรุงเทพฯ : มหามกุฏ
ราชวิทยาลัย, ๒๕๒๙.
สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. พระมงคลวิเสสกถา. กรุงเทพฯ : มหามกุฎ

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘.
_____________. สารานุกรมพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๒๙.
สมภาร พรมทา. กิน : มุมมองของพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพรผลงานวิชาการ
คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๗.
____________. พระพุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๔.
____________. พุทธปรัชญา มนุษย สังคม และปญหาจริยธรรม. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๒.
____________. พุทธศาสนากับปญหาจริยศาสตร. กรุงเทพฯ : บริษัทสารมวลชนจํากัด, ๒๕๓๕.
ส. ศิวรักษ. ความเขาใจในเรื่องมหายาน. กรุงเทพฯ : บริษัทสองศยาม จํากัด, ๒๕๔๒.
สุมาลี มหณรงคชัย. พุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศยาม, ๒๕๔๖.
สุรพล เพชรศร. สาระสําคัญแหงสัทธรรมปุณฑรีกสูตร. กรุงเทพฯ : กลุมศึกษาสัทธรรมปุณฑรีกสูตร,
๒๕๔๓.
เสฐียรโกเศศ-นาคประทีป. ลัทธิของเพื่อน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพพิราบ, ๒๕๔๐.
เสฐียร พันธรังษี. พุทธประวัติมหายาน (พุทธประวัติฉบับคนพบใหม). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศยาม,
๒๕๔๒.
_____________. พุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพสุขภาพใจ, ๒๕๔๓.
เสถียร โพธินันทะ, เลียง เสถียรสุต. คุณธรรมพระโพธิสัตว. กรุงเทพฯ : พลพันธการพิมพ, ๒๕๒๙.
เสถียร โพธินันทะ. ปรัชญามหายาน. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑.
______________. ประวัติศาสตรพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : บรรณาคาร, ๒๕๒๒.
แสง จันทรงาม. วิธีสอนของพระพุทธเจา. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๐.
อภิชัย โพธิ์ประสิทธิ์ศาสต. พระพุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.

Page 158 of 162


๑๔๔

(๒) หนังสือแปล

ที.วี. มาปต. พุทธศาสนประวัติระหวาง ๒๕๐๐ ปที่ลวงมาแลว. แปลโดย พระมหาอมร อมโร.


กรุงเทพฯ : มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๓๗.
โดนัลด เอส. โลเปซ. การตีความพระสูตรมหายาน. แปลโดย พระมหาสมบูรณ วุฑฺฒิกโร. (อัดสําเนา)
โยชิโร ทามูระ. สัทธรรมปุณฑรีกสูตรจากหนังสือ Art of The Lotus Sutra. แปลโดย ฉัตรสุมาลย
กบิลสิงห. กรุงเทพฯ : สองศยาม, ๒๕๓๘.

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ไดซาขุ อิเคดะ. บรรยายสัทธรรมปุณฑรีกสูตร บทกุศโลบายและบทการหยั่งอายุกาลของพระตถาคต.
แปลโดย สมาคมสรางคุณคาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สมาคมสรางคุณคา
ในประเทศไทย, ๒๕๔๓.
_____________. บุปผาแหงพุทธธรรมจีน. แปลโดย สุมน เวทยาวิกรมรัตน. กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย,
๒๕๓๑.
G.S.P. Misra. Development of Buddhist Ethics. แปลโดย พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ. 1993.
(อัดสําเนา).
Nalinaksha Dutt. Mahayana Buddhism. แปลโดย พระมหาสมจินต สมฺมาปฺโ. 1993. (อัดสําเนา).

(๓) วิทยานิพนธ :

จันทรัชนันท สิงหทัต. “การศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดเรื่องจิตในพระพุทธศาสนาเถรวาทและ


มหายานอินเดีย : เฉพาะกรณีศึกษาพระสูตร พระอภิธรรมและลังกาวตารสูตร”.
วิ ท ยานิ พ นธ ป ริ ญ ญาอั ก ษรศาสตร มหาบั ญ ฑิ ต . สาขาศาสนาเปรี ย บเที ย บ
มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๓๙.
ประพจน อัศววิรุฬหการ. “การศึกษาเชิงวิเคราะหเรื่องพระโพธิสัตวในคัมภีรเถรวาทและคัมภีรมหายาน”.
วิ ทยานิ พนธ ปริ ญญามหาบั ณฑิ ต. ภาควิ ชาภาษาตะวั นออก บั ณฑิ ตวิ ทยาลั ย จุ ฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๓.
ปยะ ราชเจริญ. “การศึกษาเปรียบเทียบสถานะของมนุษยตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา
เถรวาทและมหายาน”. วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาศาสนา
เปรียบเทียบ : มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๔๑.
ผุดพรรณ ศุภพันธุ. “การศึกษาเปรียบเทียบความคิดเกี่ยวกับพระพุทธเจาในพุทธปรัชญาเถรวาทกับ
พุทธปรัชญามหายาน” วิ ทยานิพนธ ปริญญาอั กษรศาสตรมหาบัญฑิต . ภาควิชา
ปรัชญา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๒๙.

Page 159 of 162


๑๔๕

พระมหาพุทธรักษ ปราบนอก. “การศึกษาวิเคราะหคัมภีรมหายานสูตราลังการ”. วิทยานิพนธปริญญา


ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต. สาขาวิชาภาษาสันสกฤต มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๗.
พระมหาวิโรจน วิโรจโน. “การศึกษาวิเคราะหแนวความคิดเรื่องประโยชนในพุทธปรัชญาเถรวาท”.
วิ ท ยานิ พ นธ ป ริ ญ ญาพุ ท ธศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต . บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิ ท ยาลั ย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓.
พระมหาสมยศ อาภายุตฺโต “การศึกษาเชิงวิเคราะหแนวความคิดเรื่องพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว
(กวนอิม)”. วิทยานิพนธปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาพระพุทธศาสนา

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑.
สานิตย สีนาค. “การศึกษาเชิงวิเคราะหภาษาสันสฤตในคัมภรีสัทธรรมปุณฑรีกสูตร ปริวรรตที่ ๑-๕”.
วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. ภาควิชาภาษาตะวันออก มหาวิทยาลัยศิลปากร,
๒๕๔๕.
ศศิวรรณ กําลังสินเสริม, “การศึกษาวิเคราะหคัมภีรลลิตวิสตระ”, ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๖.
อนงค โกวิทเสถียรชัย. “มนุษยในอุดมคติ : ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดในคัมภีรสัทธรรมปุณฑรีกสูตร
และงานเขียนเรื่องอุตมรัฐของเพลโต”. วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต.
สาขาศาสนาเปรียบเทียบ มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๔๑.

(๔) บทความ :

จําลอง สารพัดนึก. “สัทธรรมปุณฑรีกสูตร,” พุทธจักร. ปที่ ๔๑ ฉบับที่ ๒-๑๒ (กุมภาพันธ-ธันวาคม


๒๕๓๐).
_____________. “สัทธรรมปุณฑรีกสูตร,” พุทธจักร. ปที่ ๔๒-๔๕ ฉบับที่ ๑-๑๒ (มกราคม-
ธันวาคม ๒๕๓๑-๓๔).
_____________. “สัทธรรมปุณฑรีกสูตร,” พุทธจักร. ปที่๔๖ ฉบับที่ ๑-๑๐ (มกราคม-ตุลาคม
๒๕๓๕).
พระมหาสมบูรณ วุฑฺฒิกโร. “แนวคิดเรื่อง “จิตเทานั้นมีอยู,” ของพระพุทธศาสนานิกายโยคาจาร,”
วารสารพุทธศาสนศึกษา. ปที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ (มกราคม–เมษายน ๒๕๔๗).
พระมหาสุ ร ศั ก ดิ์ ประจํ า ตะเสน. “การศึ ก ษาเชิ ง วิ เ คราะห กุ ศ โลบายการสอนจริ ย ธรรมของ
พระพุทธเจาที่ปรากฎในคัมภีรอรรถกถาธรรมบท,” วารสาร พ.ส.ล.. ปที่ ๓๑ ฉบับที่
๒๑๐ (มี.ค. - เม.ย. ๒๕๔๑).

Page 160 of 162


๑๔๖

สมภาร พรมทา. “งานวิจัย พุทธศาสนากับโทษประหารชีวิต,” วารสารพุทธศาสนศึกษา. ปที่ ๑๒


ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๔๘).

๒. ภาษาอังกฤษ :
Buddhist Mahayana Texts. Edited by Cowell, E.B. and other. New York : Dover Publications Inc.,
1969.

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Damien Keown. A Dictionary of Buddhism. New York : Oxford University Press Inc., 2003.
Edgerton Franklin. Buddhist Hybrid Sanskrit Grammar and Dictionary, Vol.II. Delhi :
Motilal Banarsidass, 1972.
Har Dayal. The Bodhisattva Doctrine in Buddhist Sanskrit Literature. Delhi : Motilal Banarsidass,
1970.
Hirakawa Akira. A History of Indian Buddhism from Sakyanuni to Early Mahayana.
Translated and Edited by Paul Groner. America : University of Hawai Press books
1990.
Humphreys Christmas. A Popular Dictionary of Buddhism. New York : The Citadel Press,
1963.
Nalinaksha Dutt. Buddhist Sects in India. Delhi : Motilal Banarsidass Publishers Private Limited,
1978.
Nikkyo Niwano. Buddhism for today (A Moder Interpretation of the Threefold Lotus Sutra).
New York : Weatherhill, 1980.
Sangharakshita. A Survey of Buddhism. London : Tharpa Publications, 1987.
Suzuki. Outlines of Mahayana Buddhism. New York : Schocken Book, 1973.
The Seeker’s Glossary of Buddhism, (Taiwan : The Corporate Body of The Buddha Educational
Foundation, 1998.
The Skill in Means (Upāyakauśalya) Sūtra, Translated by Mark Tatz, Delhi : Motilal Banarsidass

Publishers, 2001.

Page 161 of 162


๑๔๗

ประวัติผูวิจัย

ชื่อ : พระสมชาย สุภาจาโร (เกิดผลวัฒนา)

วัน เดือน ปเกิด : ๒๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๒

ลิขสิทธิ์เป็นของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
สถานที่เกิด : ๒๔๓/๒ ถนนพระสังข ต. ตาคลี อ.ตาคลี จ. นครสวรรค ๖๐๑๔๐

สังกัดวัด : วัดบานลาด ต. หนองเตา อ. บานหมี่ จ. ลพบุรี ๑๕๑๑๐

ที่อยูปจจุบัน : วัดสีหไกรสร ถนนพรานนก แขวงบานชางหลอ เขตบางกอกนอย


กรุงเทพมหานคร ๑๐๗๐๐

การศึกษา : น.ธ.เอก
: พุทธศาสตรบัณฑิต(เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) รุนที่ ๔๘ มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆนครสวรรค พ.ศ.๒๕๔๖

ประสบการณ : ครูสอนนักธรรม สํานักเรียนวัดพานิชธรรมิการาม จ.ลพบุรี


ครูสอนวิชาพระพุทธศาสนา โรงเรียนวัดพานิชธรรมิการาม จ.ลพบุรี
วิทยากรโครงการบวชสามเณรภาคฤดูรอน วัดโคกหมอ จ.อุทัยธานี

Page 162 of 162

You might also like