You are on page 1of 16

Preview

โครงการจัดทาคูม่ ือการศึกษาพระอภิธรรม ตามหลักสูตรอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย


มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
“ข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ในเล่มนี้ ก่อนหน้านี้กระจัดกระจายอยู่ยังไม่ได้อยู่ในกระจาด หรือตะกร้า พอโครงการส่งเสริมการศึกษาพระ
อภิธรรมไทย หรือ คสอท. เกิดขึ้น เราเห็นว่าควรรวมข้อมูลสาคัญ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาพระอภิธรรมไว้ในหนังสือเล่มนี้เหมือนกับ
อดีตที่ผ่านมา คาสอนของพระพุทธเจ้า ท่านสอนคนนั้นทีคนนี้ที ที่นั่นทีที่นี่ที ยังไม่ได้มีการจัดเป็น “ปิฎก หรือตะกร้า” แต่หลังจาก
ที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานไป ก็จัดมาเป็นปิฎกที่เรียกตามภาษาไทยว่า “ตะกร้า ๓ ตะกร้า” จัดเป็นหมวดหมู่เหมาะต่อการที่
จะศึกษา แม้อนุชนคนรุ่นหลัง ๆ ทั้งหลายจะไม่ได้เกิดในช่วงที่พระพุทธเจ้ายังมีพระชนมายุอยู่แล้วได้สดับรับฟังพระธรรมเทศนาจากท่าน
หรือจากสาวกในยุคนั้นด้วยตนเองก็ตาม แต่เราก็สามารถตามศึกษาจากปิฎก ๓ ปิฎก หรือตะกร้า ๓ ตะกร้าที่พระเถระในยุคก่อน ๆ ท่าน
ทาสังคายนารวบรวมเอาไว้ในลักษณะเดียวกัน แม้นักศึกษาปัจจุบัน หรืออนาคตจะยังไม่เคยได้เรียนอภิธรรม พอมาอ่านคู่มือพระ
อภิธรรมเล่มนี้ที่รวบรวมรายละเอียดข้อมูลภาพรวมจุดสาคัญๆ มาไว้ในเล่มนี้ ก็จะพบว่ามีประโยชน์และสะดวกต่อการใช้งานมาก เป็น
เหมือนแผนที่การศึกษาพระอภิธรรมแบบปักหมุด”
พระมหาไพโรจน์ ญาณกุสโล ป.ธ.๙
ผู้อานวยการอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย
ประธานโครงการส่งเสริมการศึกษาพระอภิธรรมไทย (คสอท.)
Preview

สารบัญ - คู่มือการศึกษาพระอภิธรรม ตามหลักสูตรอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย


๑. คาอนุโมทนา พระมหาไพโรจน์ ญาณกุสโล ป.ธ.๙ ๑๐. แผนภาพข้อมูลประกอบการศึกษาพระอภิธรรม
ผู้อานวยการอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย [๑] ปรมัตถธรรม ๔
[๒] วัฏฏสงสาร ๓๑ ภูมิ
๒. ความเป็นมาแห่งการแสดงพระอภิธรรม
[๓] สัมปโยคนัย
๓. บันทึกความเป็นมาของการศึกษาพระอภิธรรมในประเทศไทย [๔] สังคหนัย
สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร) บูรพาจารย์แห่งอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย [๕] ตทุภยมิสสกนัย
๔. บันทึกความเป็นมาของการจัดวางหลักสูตรการศึกษาพระอภิธรรม [๖] แสดงการสงเคราะห์จิต
[๗] กิจจสังคหะ
พระสัมธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ ปรมาจารย์แห่งอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย
[๘] จิตปรมัตถ์ ๙ เภทนัย
๕. ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย [๙] วิถีจิต
ว่าด้วยการจัดการศึกษาและการบริหารอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๕๐ [๑๐] มรณาสันนวิถี
๖. ประกาศมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เรื่อง เทียบความรู้ [๑๑] จาแนก กามชวน ๒๙ และภวังคจิต ๑๙ โดย บุคคลและภูมิ
[๑๒] จาแนก ภวังคจิต ๑๙ โดย บุคคลและภูมิ
๗. ประวัติความเป็นมา และ หลักสูตรการศึกษาอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย [๑๓] จาแนก จิต ๘๙/๑๒๑ โดย ภูมิ
๘. หลักสูตรประกาศนียบัตรมัชฌิมอาภิธรรมิกะเอก เทียบเท่ามัธยมศึกษาตอนปลาย [๑๔] ปฏิจจสมุปบาท
๙. หลักสูตรประกาศนียบัตรอภิธรรมบัณฑิต เทียบเท่าปริญญาตรี [๑๕] สรุปอุปมาในปัจจัย ๒๔
๑๑. อภิธรรมโชติกะวิทยาลัย และ รายชื่อหน่วยบริการฯ
๑๒. สถานที่ตั้งของอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย และ หน่วยบริการฯ
Preview
- ปกหน้า - - ปกหลัง -
Preview
- ปกหน้า - - ปกหลัง -
Preview
Preview
Preview
Preview
Preview
Preview
Preview
Preview
Preview
Preview
Preview

You might also like