You are on page 1of 8

กระทรวงศึกษาธิการ

วิสยั ทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้ าหมาย


วิสัยทัศน์
มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีความรู ้ คูค่ ุณธรรม มีคุณภาพชีวติ ที่ดี
มีความสุ ขในสังคม
กระทรวงศึกษาธิการ เป็ นหน่วยงานราชการส่ วนกลางประเภทกระทรวงของไทย มีหน้าที่ส่งเสริ มการศึกษาให้กบั
ประชาชนอย่างทัว่ ถึงและเท่าเทียม สร้างความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา ส่ งเสริ มให้หน่วยงานต่าง ๆ ได้มีส่วนร่ วม
ทางการศึกษา ส่ งเสริ มการศึกษาวิชาชีพ ให้เอกชนมีส่วนร่ วมในการศึกษา เน้นให้นิสิตนักศึกษามีโอกาสศึกษาต่อสูงขึ้นทั้ง
ในท้องถิ่นและสถาบันเปิ ด เน้นการเรี ยนรู้ตลอดชีวิต ให้บริ การแก่สงั คม พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ส่ งเสริ มผูท้ ี่มีความ
สามารถพิเศษให้ได้เรี ยนและแสดงออกในทางที่เหมาะสม

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั  ได้มีการก่อตั้ง กระทรวงธรรมการ ขึ้นเพื่อทำหน้าที่ดูแลศาสนา การ
ศึกษา การพยาบาล และพิพิธภัณฑ์ เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2435 ซึ่งกระทรวงธรรมการมีการเปลี่ยนชื่อไปมาหลาย
ครั้งระหว่างชื่อ กระทรวงศึกษาธิ การ อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2484 ก็ได้ใช้ชื่อว่า กระทรวงศึกษาธิ การ ตั้งแต่น้ นั
มา โดยมีที่ท ำการอยูท่ ี่วงั จันทรเกษมจนถึงปัจจุบนั

หน่วยงานในสังกัด
ส่ วนราชการ

 สำนักงานรัฐมนตรี
 สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
 สำนักงานเลขาธิ การสภาการศึกษา
องค์ การมหาชน
แบ่งเป็ นองค์การมหาชนที่จดั ตั้งตามพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. 2542 จำนวน 3 แห่ง และองค์การ
มหาชนที่จดั ตั้งตามพระราชบัญญัติเฉพาะ จำนวน 3 แห่ง

 องค์การมหาชนตามพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. 2542


o โรงเรี ยนมหิ ดลวิทยานุสรณ์
o สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่ งชาติ (องค์การมหาชน)
o สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
 องค์การมหาชนตามพระราชบัญญัติเฉพาะ
o คุรุสภา
o สำนักงานคณะกรรมการส่ งเสริ มสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.)
o สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สสวท.)
หน่ วยงานอืน่ ๆ

 สถานีวิทยุศึกษา
 สถานี วิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
 องค์การค้าของ สกสค.
หน่ วยงานในอดีต

 กรมธรรมการ (หน่ วยงานในสมัยที่เป็ นกระทรวงธรรมการ)


 กรมศึกษาธิการ (หน่ วยงานในสมัยที่เป็ นกระทรวงธรรมการ)
 กรมมหาวิทยาลัย ต่อมายกฐานะเป็ นทบวงมหาวิทยาลัย และสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปัจจุบนั ยุบ
รวมเข้ากับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและสำนักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ จัดตั้งเป็ นกระทรวงการ
อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม
 กรมวิชาการ ปัจจุบนั ลดฐานะเป็ น สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน
 กรมอาชีวศึกษา ปัจจุบนั คือสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
 สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (สปช.) ปัจจุบนั ถูกยุบรวมเข้ากับกรมสามัญศึกษา
เป็ น สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 กรมสามัญศึกษา ปัจจุบนั ถูกยุบรวมเข้ากับสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (สปช.) เป็ น
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 กรมวิสามัญศึกษา มีหน้าที่จดั การศึกษาตั้งแต่มธั ยมศึกษาปี ที่ 1-5 ภายหลังยุบรวมกับกรมสามัญศึกษา
 กรมการศึกษานอกโรงเรี ยน (กศน.) ภายหลังถูกยุบรวมเป็ นสำนักงานบริ หารงานการศึกษานอกโรงเรี ยน ปัจจุบนั
คือสำนักงานส่ งเสริ มการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
 กรมการฝึ กหัดครู
 กรมพลศึกษา ปัจจุบนั ย้ายไปสังกัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
 วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ภายหลังเปลี่ยนเป็ นสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ปัจจุบนั คือ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคล
 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน (สช.) ปัจจุบนั คือสำนักงานคณะกรรมการส่ งเสริ มการศึกษา
เอกชน สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
 สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครู  (ก.ค.) ปัจจุบนั คือสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครู และบุคลากร
ทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
 สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ ปัจจุบนั คือมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 39 แห่ง
 กรมการศาสนา เดิม ออกเป็ น 2 ส่วน คือ กรมการศาสนาสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม และสำนักงานพระพุทธ
ศาสนาแห่งชาติ
 กรมศิลปากร ย้ายไปสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม
 สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ เดิมคือกองวัฒนธรรมสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ย้าย
ไปสังกัดกรมส่ งเสริ มวัฒนธรรมกระทรวงวัฒนธรรม
 สถาบันวิจยั จุฬาภรณ์ ปัจจุบนั คือ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์
 สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน) ย้ายไปสังกัดกระทรวงพาณิ ชย์

ตรากระทรวง
เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2435 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ( รัชกาลที่ 5 ) ได้มีการ
ก่อตั้ง “กระทรวงธรรมการ" ขึ้น เพื่อทำหน้าที่ดูแลศาสนา การศึกษา การพยาบาล และพิพิธภัณฑ์ ( ต่อมาได้มีการแยก
หน่วยงานต่าง ๆ ออกไป ) ซึ่งกระทรวงธรรมการมีการเปลี่ยนชื่อไปมาหลายครั้งระหว่างชื่อ "กระทรวงธรรมการ" และ “
กระทรวงศึกษาธิการ" สมัยที่กระทรวงศึกษาธิการยังเป็ นกระทรวงธรรมการอยู่ พระราชทานตราบุษบกตามประทีป ซึ่ง
เป็ นพระราชลัญจกรเก่า เป็ นตราตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงธรรมการ
ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. 2436 โปรดให้เลื่อนตราบุษบกตามประทีปไปเป็ นตราตำแหน่งอธิบดีกรมศึกษาธิการ จึง
พระราชทานตราพระเพลิงทรงระมาดซึ่งเป็ นตราเก่าให้เป็ นตราตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงธรรมการใช้ด ำเนินกระแส
พระบรมราชโองการไปในที่ต่าง ๆ คู่กบั ตราเสมาธรรมจักรซึ่งใช้ด ำเนินกระแสพระบรมราชโองการที่มีถึงพระสงฆ์
สมัยรัชกาลที่ 6 โปรดให้ยกเลิกตราพระเพลิงทรงระมาด แล้วให้สร้างตราเสมาธรรมจักร “เหตุที่ทรงเปลี่ยน โดยที่
ทรงพระราชดำริ วา่ นามเสนาบดีกระทรวงธรรมการก็ได้ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ตั้งขึ้นไว้ตามนามในตำแหน่งเดิมแล้ว
(คือ เจ้าพระยาพระเสด็จสุ เรนทราธิบดีซ่ ึงในพระธรรมนูญใช้ตรากล่าวว่า ถือตราเสมาธรรมจักร) ”แต่ตราเก่าเป็ นรู ปจักราวุ
ธอยูใ่ นบุษบก แล้วมีใบเสมาขนาบอยูส่ องข้าง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั ไม่ชอบพระราชหฤทัย จึงโปรดให้
ทำตราเสมาธรรมจักรขึ้นใหม่ ตราเสมาธรรมจักรที่โปรดให้สร้างขึ้นใหม่รูปกลม มีลายเสมาตั้งบนฐาน มีอกั ษรขอม ทุ. ส.
นิ . ม. หัวใจพระอริ ยสัจ อยูท่ ี่ขอบเบื้องบนเสมา
กระทรวงธรรมการมีการเปลี่ยนชื่อไปมาหลายครั้งระหว่างชื่อ " กระทรวงธรรมการ " และ “ กระทรวง
ศึกษาธิการ " อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2484 ก็ได้ใช้ชื่อว่า " กระทรวงศึกษาธิการ " ตั้งแต่น้ นั มา เหตุที่ตรา
กระทรวงศึกษาธิการเป็ นรู ปเสมาธรรมจักร น่าจะเป็ นเพราะว่าแต่ก่อนดูแลกิจการในพระศาสนาด้วย โดยมีการรวมการ
ศึกษา และศาสนาเข้าด้วยกัน และมีการแยกออกจากกันและกลับมารวมกันอีกหลายครั้ง ปัจจุบนั กรมการศาสนา ย้ายไป
สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม เครื่ องหมายราชการของกระทรวงธรรมการ (ปัจจุบนั คือกระทรวงศึกษาธิการ) แห่งราช
อาณาจักรไทย มีลกั ษณะดังนี้ "เครื่ องหมายราชการของกระทรวงธรรมการ เป็ นรู ปเสมาธรรมจักร"

ตราบุษบกตามประทีป
 

ตราพระเพลิงทรงระมาด
 

ตราเสมาธรรมจักร (เดิม)
 

ตราเสมาธรรมจักร (ใหม่)

You might also like