You are on page 1of 119

Bunditpatanasilpa Institute

สัญลักษณ์สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
สัญลักษณ์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เป็นรูปพระพิฆเณศวร์
ประทับนั่งในลักษณะเฉียงเล็กน้อยในกรอบวงกลม ด้านบนมีลวดลายไทย
ยกสูง ด้านล่างกรอบเป็นแถบริบบิ้น ภายในมีชื่อ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
พระพิ ฆ เณศวร์ มี รู ป กายเป็ น มนุ ษ ย์ มี เ ศี ย รเป็ น ช้ า ง มี ง าเดี ย ว มี สี่ ก ร
ถืองาช้าง ตรีศูล บ่วงบาศก์ และหม้อใส่ขนมโมทกะ
ความหมาย พระพิฆเณศวร์ ถือ เป็ นเทพเจ้ าแห่ ง ศิล ปวิ ทยาการ
เทพเจ้าแห่งความสาเร็จและขจัดความขัดข้องทั้งปวง

สีประจาหน่วยงาน
สี ประจาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ สีเขียว
สี ประจาคณะศิลปวิจิตร สีชมพู
สี ประจาคณะศิลปนาฏดุริยางค์ สีแสด
สี ประจาคณะศิลปศึกษา สีฟ้า
สี ประจาวิทยาลัยนาฏศิลป สีเขียว สีขาว
สี ประจาวิทยาลัยช่างศิลป สีฟ้า สีเหลือง

รายงานประจ�ำปี 2566 - 1 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


สารจากนายกสภา
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

สภาสถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นศิ ล ป์ มี ห น้ า ที่ ว างนโยบายของ


สถาบั นบั ณฑิ ตพั ฒนศิ ลป์ เกี่ ยวกั บการศึ กษา การวิ จัย
การบริการวิชาการ การทะนุบารุงศิลปวัฒนธรรมและ
สนับสนุนกิจการของหน่วยงานภาครัฐภาคเอกชน
และชุมชนในท้องถิ่นเกี่ยวกับงานด้านศิลปวัฒนธรรม
ตลอดจนการวางระเบี ย บ ออกข้ อ บั ง คั บ และ
ประกาศของสถาบั นบั ณฑิตพัฒนศิลป์ อนุมัติ
ให้ปริญญา อนุมัติงบประมาณเงินรายได้ ฯลฯ
ตามที่ พ ระราชบั ญ ญั ติ ส ถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ น
ศิลป์ พ.ศ. 2550 กาหนด เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติ
ตามนโยบายและพันธกิจของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พร้อมทั้งมีการกากับติดตามการดาเนินงาน
ของผู้บริหารสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ในนามสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ขอขอบคุณคณะผู้บริหาร คณาจารย์ ครู บุคลากร
และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่มีส่วนสาคัญยิ่งต่อการดาเนินงานและการพัฒนาภารกิ จด้านต่างๆ
ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ให้เป็นไปตามนโยบาย ทิศทางที่สภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์กาหนด
และพร้อมที่จะก้าวไปข้างหน้าเพื่อนาพาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป

ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ


นายกสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

รายงานประจ�ำปี 2566 - 2 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


สารจากอธิการบดี
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นศิ ล ป์ ด าเนิ น การจั ด การศึ ก ษา


ด้ า นนาฏศิ ล ป์ ดุ ริ ย างคศิ ล ป์ คี ต ศิ ล ป์ ช่ า งศิ ล ป์ และ
ทัศนศิล ป์ ตั้งแต่ระดับ พื้ นฐานจนถึ งระดั บ อุด มศึ ก ษา
บ่มเพาะนักเรียน นักศึกษาของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
ให้ เ ป็ น มื อ อาชี พ และเป็ น ผู้ น าด้ า นงานศิ ล ป์ รวมทั้ ง
การส่ ง เ สริ ม สนั บ สนุ น การสร้ า ง ง า น วิ จั ย
งานสร้ า งสรรค์ นวั ต กรรมองค์ ค วามรู้ การ
บริ ก ารวิ ช าการ และการส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น
การอนุ รั ก ษ์ พั ฒ นา สื บ สานและเผยแพร่
ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม ทั้ ง ใ น ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ
ต่ า งประเทศ เพื่ อ ให้ บ รรลุ ต ามวิ สั ยทั ศน์
ที่ ตั้ ง ไว้ คื อ “สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นศิ ล ป์
เป็นสถาบันชั้นหนึ่งของชาติด้านนาฏศิลป์
ดุริยางคศิลป์ คีตศิลป์ ช่างศิลป์และทัศนศิลป์ สร้างบัณฑิตคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ
ชาติ และนาสถาบันสู่นานาชาติ” รายงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ฉบับนี้ ได้จัดทาขึ้นเพื่อ
รวบรวมและวิ เคราะห์ ผลการด าเนิ นงานของสถาบั นบั ณฑิ ตพั ฒนศิลป์ ในรอบปี เพื่ อเป็ นแนวทาง
การกาหนดนโยบายและการปฏิบัติงานของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ในปีถัดไป ให้บรรลุเป้าหมาย
ตามที่สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์กาหนดไว้
ในนามคณะผู้บริหารของสถาบั นบัณฑิตพัฒนศิลป์ ขอขอบคุณ คณาจารย์ ครู บุคลากร
นัก เรีย น นัก ศึก ษาและศิษย์เ ก่ า ตลอดจนเครือ ข่ายจากภาครัฐ และเอกชน ทั้งในประเทศและ
ต่างประเทศที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาและสนับสนุนการดาเนินงานของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
มาโดยตลอด คณะผู้บ ริหารและบุ คลากรของสถาบั นบั ณฑิต พัฒนศิล ป์ จะมุ่ งมั่ นในการพัฒนา
สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นศิ ล ป์ เพื่ อ ให้ ด ารงไว้ ซึ่ ง ปณิ ธ าน “มุ่ ง มั่ น ศึ ก ษา ส่ ง เสริ ม อนุ รั ก ษ์ สื บ สาน
สร้างสรรค์ เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม”

นางนิภา โสภาสัมฤทธิ์
อธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

รายงานประจ�ำปี 2566 - 3 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


สารบัญ
สารจากนายกสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
สารจากอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
กรรมการสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
กรรมการสภาวิชาการสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
กรรมการสภาคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป
ผู้บริหารสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1.1 ประวัติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
1.2 ที่ตั้งหน่วยงาน
1.3 โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ
1.4 หลักสูตรที่เปิดสอน
1.5 จานวนบุคลากร
1.6 จานวนนักเรียน นักศึกษา ปีการศึกษา 2566
1.7 งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
1.8 รายงานทางการเงินประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ส่วนที่ 2 ผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2566
2.1 วิสัยทัศน์ พันธกิจ เอกลักษณ์ อัตลักษณ์และค่านิยมองค์กร
2.2 ผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนด้านศิลปวัฒนธรรม
ให้มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับระดับชาติ และนานาชาติ
- การผลิตผู้สาเร็จการศึกษา
- การมีงานทาของผู้สาเร็จการศึกษา
- การพัฒนาหลักสูตร
- การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การสร้างคุณภาพผลงานวิจัย ผลงานสร้างสรรค์
ผลงานนวัตกรรมการสร้างเครือข่ายและผลงานเผยแพร่ผลงานในระดับชาติและระดับ
นานาชาติ
- การเสริมสร้างทักษะความรู้ด้านการวิจัย
- สนับสนุนทุนการสร้างงานวิจัย งานสร้างสรรค์และการจัดการองค์ความรู้
- จัดหาแหล่งทุนวิจัยภายนอก
- เผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานสร้างสรรค์ในระดับชาติและนานาชาติ

รายงานประจ�ำปี 2566 - 4 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การบริการวิชาการด้านศิลปวัฒนธรรมในสถานศึกษา
ชุมชน และสังคม
- ส่งเสริม สนับสนุนให้มีการบริการวิชาการทั้งระดับท้องถิ่นระดับชาติและนานาชาติ
- การให้บริการหลักสูตรระยะสั้น
ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การอนุรักษ์ สร้างสรรค์ เผยแพร่ และการจัดการแสดง
ด้านศิลปวัฒนธรรมอย่างเป็นมืออาชีพ
- การจัดกิจกรรมทานุบารุงและเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริย์ในโอกาสต่าง ๆ
- การเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมในประเทศและต่างประเทศ
- การจัดการประกวดแข่งขันทางด้านศิลปวัฒนธรรม
ยุทธศาสตร์ท่ี 5 พัฒนาองค์ก รให้เ ป็ นสถาบั นต้นแบบด้านนาฏศิ ล ป์
ดุริยางคศิลป์ คีตศิลป์ ช่างศิลป์ และทัศนศิลป์ ให้สอดคล้องกับการบริหารจัดการตามหลัก
ธรรมาภิบาล
- การปรับปรุงอาคารสถานที่ และระบบสาธารณูปโภค
พัฒนาสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์
- การพัฒนาองค์กรและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
- การพัฒนาระบบสารสนเทศ
- ผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565
- ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน
ของหน่วยงานภาครัฐ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
- ผลการประเมินผลการดาเนินงานตามแผนพัฒนา
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ส่วนที่ 3 ผลงานดีเด่น
- ผลงานดีเด่นระดับชาติ
- ผลงานดีเด่นระดับนานาชาติ
ส่วนที่ 4 ผลการดาเนินงานของสภา และคณะอนุกรรมการ
- ผลการดาเนินงานสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
- ผลการดาเนินงานสภาวิชาการสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
- ผลการดาเนินงานสภาคณาจารย์สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
- ผลการดาเนินงานของคณะอนุกรรมการด้านกฎหมาย
คณะอนุกรรมการด้านวินัย และคณะอนุกรรมการบริหารบุคคล
ภาคผนวก
- คาสั่งแต่งตั้งคณะทางานจัดทารายงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

รายงานประจ�ำปี 2566 - 5 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


กรรมการสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
วาระการดารงตาแหน่ง พ.ศ. 2563 - 2567

ศาสตราจารย์กิตติคณ
ุ บวรศักดิ์ อุวรรณโณ
นายกสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

นายขจร จิตสุขุมมงคล
อุปนายกสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

นางยุพา ทวีวัฒนะกิจบวร ศ.สัมพันธ์ ฤทธิเดช


ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา

รศ.ประวิต เอราวรรณ์ นายพนมบุตร จันทรโชติ


เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการครู อธิบดีกรมศิลปากร
และบุคลากรทางการศึกษา

นางนิภา โสภาสัมฤทธิ์ ผศ.สุขสันติ แวงวรรณ


อธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ประธานสภาคณาจารย์และบุคลากร

รายงานประจ�ำปี 2566 - 6 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


ผูท้ รงคุณวุฒิ

นายกาพล วันทา นายจักรพรรดิ วะทา

นางจินตนา มีแสงพราว นางประกอบ ลาภเกสร

นางประพิน อันวาเบค ศ.วิบูลย์ ลี้สุวรรณ

นายศิลปชัย หอมทรัพย์ นายสด แดงเอียด

เรืออากาศโทสมพร ปานดา นางสาวสุทธาสินี วัชรบูล

รศ.ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์ ศ.ชมนาด กิจขันธ์

รายงานประจ�ำปี 2566 - 7 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


ผูแ้ ทนผูบ้ ริหาร

ผศ.ประวีนา เอี่ยมยีส่ ุ่น ผศ.บุญพาด ฆังคะมะโน

รศ.สมภพ เขียวมณี ผศ.กิตติ อัตถาผล

ผูแ้ ทนบุคลากรทางการศึกษา

ผศ.นพคุณ สุดประเสริฐ นางสาวจิรพรรณ พึ่งบุญ ณ อยุธยา นายปิยะพงษ์ กรเกษม

เลขานุการ

ผศ.อานวย นวลอนงค์ นายวันเฉลิม สว่างไสว

รายงานประจ�ำปี 2566 - 8 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


กรรมการสภาวิชาการสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
ดารงตาแหน่งตัง้ แต่ วันที่ 22 ธันวาคม 2565 - ปัจจุบนั

นางนิภา โสภาสัมฤทธิ์
อธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ประธานกรรมการ

ผศ.ประวีนา เอี่ยมยีส่ ุ่น


รองอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
รองประธานกรรมการ

กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ

ศ.ชาติชาย ณ เชียงใหม่ ศ.ชมนาด กิจขันธ์ ศ.ขาคม พรประสิทธิ์

ศ.คณพล จันทน์หอม ศ.เกียรติคุณสุชาติ เถาทอง ศ.ญาณวิทย์ กุญแจทอง

รศ.ยุทธนา ฉัพพรรณรัตน์ ผศ.ธนีนาฏ ณ สุนทร นายไพโรจน์ ทองคาสุก

รายงานประจ�ำปี 2566 - 9 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


กรรมการ

รศ.จินตนา สายทองคา นางสาวศิริลักษณ์ ฉลองธรรม


คณบดีคณะศิลปนาฏดุริยางค์ คณบดีคณะศิลปศึกษา

ผศ.บุญพาด ฆังคะมะโน นายจรัญ หนองบัว


คณบดีคณะศิลปวิจิตร

ผศ.สมเกียรติ ภูมภิ ักดิ์ ผศ.เกษร เอมโอด

ผศ.กิตติชัย รัตนพันธ์ นายจาเริญ แก้วเพ็งกรอ

ผศ.ขวัญใจ คงถาวร นายชูเกียรติ สุทนิ

รายงานประจ�ำปี 2566 - 10 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


กรรมการ

นายกิตติศักดิ์ สินธุโคตร นางสาวปัญจพร อะโนดาษ

นายปรเมศวร์ พืชผักหวาน

เลขานุการ

ผศ. ดวงหทัย พงศ์ประสิทธิ์


เลขานุการ

นางฐาปนีย์ แทนวันดี นายวันเฉลิม สว่างไสว


ผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ

รายงานประจ�ำปี 2566 - 11 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


กรรมการสภาคณาจารย์และบ ุคลากร
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
ดารงตาแหน่งตัง้ แต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2563 - ปัจจุบนั

ผศ.สุขสันติ แวงวรรณ
ประธานกรรมการ

นายไชยอนันต์ สันติพงษ์ นายภัทรชัย พ่วงแผน


รองประธานกรรมการ คนที่ 1 รองประธานกรรมการ คนที่ 2

กรรมการ

ผศ.ฤดีชนก คชเสนี ผศ.ศักดิ์ชาย บุญอินทร์ ผศ.วารินท์พร ฟันเฟื่องฟู


(11 ต.ค. 65 - ปัจจุบัน)

นางสาวหฤทัย นัยโมกข์ นายรังสรรค์ ไวยพันธ์ นายชยพล เพียรชนะ


(11 ต.ค. 65 - ปัจจุบัน) (9 ธ.ค. 64 – 22 ธ.ค. 65) (8 พ.ค. 66 – ปัจจุบัน)

รายงานประจ�ำปี 2566 - 12 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


นางเหมือนขวัญ สุวรรณศิลป์ ผศ.ชนะชัย กอผจญ นางสาวจริยา ธรรมนูญ
(1 ก.ค. 63 – 7 พ.ค. 66) (8 พ.ค. 66 – ปัจจุบัน)

นางอิสรีย์ ฉายแผ้ว นางสาวจิรพรรณ พึ่งบุญ ณ อยุธยา นางสาวมนัสวันต์ ช้างทองคา


(1 ก.ค. 63 – 7 พ.ค. 66) (8 พ.ค. 66 – ปัจจุบัน)

นายปิยะพงษ์ กรเกษม นางละออ แก้วสุวรรณ นางสาวภัสส์มณฑ์ สว่างศรี

นายวรวุฒิ เลิศอุทัย ผศ.โกเมศ คันธิก นายศรายุทธ หอมเย็น


(1 ก.ค. 63 – 31 ม.ค. 66) เลขานุการ

รายงานประจ�ำปี 2566 - 13 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


ผูบ้ ริหารสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

นางนิภา โสภาสัมฤทธิ์
อธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

ผศ.อานวย นวลอนงค์ นายวัชรินทร์ อ่าวสินธุ์ศิริ


รองอธิการบดี รองอธิการบดี

ผศ.ประวีนา เอี่ยมยีส่ ุ่น ผศ.พหลยุทธ กนิษฐบุตร


รองอธิการบดี รองอธิการบดี

นายสุรัตน์ จงดา ผศ.สาริศา ประทีปช่วง ว่าที่ ร.ต.ภัทรกฤษณ์ พุ่มพิพฒ


ั น์
ผู้ช่วยอธิการบดี ผู้ช่วยอธิการบดี ผู้ช่วยอธิการบดี

รายงานประจ�ำปี 2566 - 14 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


คณบดี

รศ.จินตนา สายทองคา นางสาวศิริลักษณ์ ฉลองธรรม ผศ.บุญพาด ฆังคะมะโน


คณบดีคณะศิลปนาฏดุริยางค์ คณบดีคณะศิลปศึกษา คณบดีคณะศิลปวิจิตร

ผูอ้ านวยการวิทยาลัยนาฏศิลป

ผศ.กิตติ อัตถาผล นายจาเริญ แก้วเพ็งกรอ


ผูอ้ านวยการวิทยาลัยนาฏศิลป ผูอ้ านวยการวิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์

ผศ.สมเกียรติ ภูมิภักดิ์ นางกษมา ประสงค์เจริญ


ผูอ้ านวยการวิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี ผูอ้ านวยการวิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่

นายทูลทองใจ ซึง่ รัมย์ นายศิวพงศ์ กั้งสกุล


ผูอ้ านวยการวิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา ผูอ้ านวยการวิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช

รายงานประจ�ำปี 2566 - 15 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


ผศ.กิตติชัย รัตนพันธ์ ผศ.ธัญญลักษณ์ อุบลเลิศ
ผูอ้ านวยการวิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง ผูอ้ านวยการวิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด

นายสุระชัย สีบุบผา รศ.วาสนา บุญญาพิทักษ์


ผูอ้ านวยการวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี ผูอ้ านวยการวิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี

รศ.สมภพ เขียวมณี ผศ.เกษร เอมโอด


ผูอ้ านวยการวิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง ผูอ้ านวยการวิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย

ผูอ้ านวยการวิทยาลัยช่างศิลป

นายจรัญ หนองบัว นายศุภชัย ระเห็จหาญ ผศ.โกเมศ คันธิก


ผูอ้ านวยการวิทยาลัยช่างศิลป ผูอ้ านวยการวิทยาลัยช่างศิลป ผูอ้ านวยการวิทยาลัยช่างศิลป
นครศรีธรรมราช สุพรรณบุรี
ผูอ้ านวยการสานักงานอธิ การบดี

นายสุรนิ ทร์ วิไลนาโชคชัย


ผู้อานวยการสานักงานอธิการบดี

รายงานประจ�ำปี 2566 - 16 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


ส่วนที่
1
ข้อมูลทัว่ ไป

รายงานประจ�ำปี 2566 - 17 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


1.1 ประวัติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

“สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นศิ ล ป์ ” เป็ นนามที่ ส มเด็ จ ใ น ร า ช กิ จ จ า นุ เ บ ก ษ า เ ล่ ม ที่ 1 2 4 ต อ น ที่ 3 2


พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ วันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 มีผลบังคับใช้ตั้ง แต่
สยามบรมราชกุมารี เมื่อครั้งยังดารงพระยศ สมเด็จ วันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 ส่งผลให้สถาบันบัณฑิต
พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี องค์อปุ ถัมภ์ พัฒนศิลป์ เปลี่ยนสถานะเป็ นนิติบคุ คลแยกออกจาก
มรดกศิลปวัฒนธรรมไทย โปรดเกล้า ฯ พระราชทาน กรมศิ ลปากร ตามบทเฉพาะกาล มาตรา 59 ให้โอน
เมื่อวันที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2540 ซึ่งหมายถึง สถาบัน บรรดากิจการ อานาจหน้าที่ ทรัพย์สิน งบประมาณ
ผลิ ต บั ณ ฑิ ต ทางศิ ล ปะแห่ ง ความเจริ ญ เป็ นการ หนี้ สิ ท ธิ ข้า ราชการ ลูก จ้า ง และอั ต ราก าลัง ของ
ยกระดับการศึกษาด้านนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ คีตศิลป์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ วิทยาลัยนาฏศิลป วิทยาลัย
ช่างศิลป์ และทัศนศิลป์ เพื่อนาศิลปะมาพัฒนาตนเอง ช่างศิลป ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ทั้ง 15 วิทยาลัย
สังคมและประเทศชาติ สังกัดกรมศิลปากร มาเป็ นของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เมื่อสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เป็ นส่วนราชการในสังกัด ตามพระราชบัญญัตนิ ี้
กระทรวงวัฒนธรรม ดาเนินการตามพระราชบัญญัติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ มีอานาจหน้าที่ตามที่ระบุ
สถาบั นบั ณ ฑิ ตพั ฒนศิ ลป์ พ.ศ. 2550 ซึ่ ง ประกาศ ในวัตถุประสงค์ของสถาบัน มาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติ

รายงานประจ�ำปี 2566 - 18 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. 2550 ที่ว่า “ให้การศึกษา 1. สานักงานอธิการบดี
และส่งเสริมวิชาการตัง้ แต่ระดับพื้นฐานวิชาชีพถึงวิชาชีพ 2.คณะศิลปนาฏดุริยางค์
ชัน้ สูง ด้านนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ คีตศิลป์ ช่างศิลป์ และ 3. คณะศิลปวิจิตร
ทัศนศิลป์ ทัง้ ไทยและสากล รวมทัง้ ศิลปวัฒนธรรมระดับ 4. คณะศิลปศึกษา
ท้องถิ่นและระดับชาติ ทาการสอน ทาการแสดง ทาการ 5. วิทยาลัยนาฏศิลป
วิจัยและให้บริการทางวิชาการ ตลอดจนส่งเสริม สืบสาน 6. วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่
สร้างสรรค์ ทะนุบ ารุง และเผยแพร่ ศิ ลปวั ฒนธรรม 7. วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช
อั น เป็ นเอกลั ก ษณ์ ข องชาติ แ ละศิ ล ปวั ฒ นธรรมที่ 8. วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง
หลากหลายของชุมชนในท้องถิ่ น” โดยสถาบันบัณฑิ ต 9. วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด
พั ฒ นศิ ล ป์ ได้จั ด การเรี ย นการสอนได้ตั้ ง แต่ ร ะดั บ 10. วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย
การศึ กษาขั้นพื้นฐานวิ ชาชีพเฉพาะ ถึงระดับอุดมศึ กษา 11. วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์
มี หน่วยงานที่ จัดการศึ กษาในสังกัด จ านวน 18 แห่ ง 12. วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี
และสานักงานอธิการบดี 1 แห่ง ตามกฎกระทรวงจัดตัง้ 13. วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี
ส่ วนราชการในสถาบั นบั ณฑิ ตพั ฒนศิ ลป์ กระทรวง 14. วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง
วัฒนธรรม พ.ศ. 2551 วันที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2551 15. วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี
16. วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา
สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นศิ ล ป์ มี ห น่ ว ยงานในสั ง กั ด
17. วิทยาลัยช่างศิลป
จานวน 19 แห่ง ดังนี้
18. วิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี
19. วิ ท ยาลั ย ช่ า งศิ ล ปนครศรี ธ รรมราช

วีดิทศั น์แนะนาสถาบัน

รายงานประจ�ำปี 2566 - 19 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


1.2 ที่ตงั้ หน่วยงาน
1. สานักงานอธิการบดี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เลขที่ 119/19 หมูท่ ี่ 3 ตาบลศาลายา อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170
โทร.0-2482-2176-78 www.bpi.ac.th
โครงการบัณฑิตศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เลขที่ 2 ถนนราชินี แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200
โทร.0-2224-4704 ต่อ 420,421 https://admission.bpi.ac.th/
2. คณะศิลปนาฏดุริยางค์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เลขที่ 119/12 หมูท่ ี่ 3 ตาบลศาลายา อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170
โทร.0-2224-4704 http://fda.bpi.ac.th
3. คณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เลขที่ 119/10 หมูท่ ี่ 3 ตาบลศาลายา อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170
โทร.0-2482-2188 http://ffa.bpi.ac.th
4. คณะศิลปศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เลขที่ 119/12 หมูท่ ี่ 3 ตาบลศาลายา อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170
โทร. 0-2408-2997 http://fed.bpi.ac.th
5. วิทยาลัยนาฏศิลป สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เลขที่ 119 หมูท่ ี่ 3 ตาบลศาลายา อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170
โทร.0-2482-2181-85 http://cda.bpi.ac.th
6. วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เลขที่ 1 ถนนสุริยวงศ์ ซอย 5 ตาบลหายยา อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
50100 โทร.0-5327-1596, 0-5328-3561-2 http://cdacm.bpi.ac.th
7. วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เลขที่ 130 หมูท่ ี่ 11 ตาบลท่าเรือ อาเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช
80000 โทร.0-7544-6156 http://cdans.bpi.ac.th
8. วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เลขที่ 28 ถนนอยุธยา- อ่างทอง ตาบลบางแก้ว อาเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง
14000 โทร.0-3561-1048 http://cdaat.bpi.ac.th
9. วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เลขที่ 25 ถนนมีโชคชัย ตาบลในเมือง อาเภอเมืองร้อยเอ็ด จังหวัดร้อยเอ็ด 45000
โทร.0-4351-1244 http://cdare.bpi.ac.th
10. วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เลขที่ 4 หมูท่ ี่ 5 ตาบลบ้านกล้วย อาเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย 64000
โทร.0-5561-0190 http://cdask.bpi.ac.th

รายงานประจ�ำปี 2566 - 20 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


11. วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เลขที่ 11 ถนนสนามบิน ตาบลกาฬสินธุ์ อาเภอเมืองกาฬสินธุ์ จังหวัดกาฬสินธุ์
46000 โทร.0-4381-1317 http://cdaks.bpi.ac.th
12. วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เลขที่ 121/9 ถนนรามเดโช ตาบลทะเลชุบศร อาเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี 15000
โทร.0-3641-2150 http://cdalb.bpi.ac.th
13. วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เลขที่ 62 ตาบลวัดใหม่ อาเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี 22000
โทร.0-3931-3214 http://cdacb.bpi.ac.th
14. วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เลขที่ 150 หมูท่ ี่ 1 ตาบลควนมะพร้าว อาเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง 93000
โทร.0-7484-0449 http://cdapt.bpi.ac.th
15. วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เลขที่ 119 หมูท่ ี่ 1 ถนนสุพรรณบุรี - ชัยนาท ตาบลสนามชัย อาเภอเมืองสุพรรณบุรี
จังหวัดสุพรรณบุรี 72000 โทร.0-3553-5247 http://cdasp.bpi.ac.th
16. วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เลขที่ 444 หมูท่ ี่ 10 ถนนมิตรภาพ ตาบลโคกกรวด อาเภอเมืองนครราชสีมา
จังหวัดนครราชสีมา 30280 โทร.0-4446-5152 ต่อ 103 http://cdanr.bpi.ac.th
17. วิทยาลัยช่างศิลป สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เลขที่ 60 ถนนหลวงพรต เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520
โทร.0-2326-4002-4 http://cfa.bpi.ac.th
18. วิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เลขที่ 16 หมูท่ ี่ 4 ตาบลรัว้ ใหญ่ อาเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี 72000
โทร.0-3555-5370 http://cfasp.bpi.ac.th
19. วิทยาลัยช่างศิลปนครศรีธรรมราช สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เลขที่ 200 หมูท่ ี่ 2 ตาบลทอนหงส์ อาเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช 80320
http://cfans.bpi.ac.th

รายงานประจ�ำปี 2566 - 21 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


1.3 โครงสรางการแบงสวนราชการ

สภาสถาบัน กระทรวงวัฒนธรรม
บัณทิตพัฒนศิลป สภาว�ชาการ

สภาคณาจารยและบุคลากร
กลุมตรวจสอบภายใน สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป
กลุมประกันคุณภาพการศึกษา
กลุมเทคโนโลยีสารสนเทศ
กลุมศิลปวัฒนธรรม
กลุมนิติการ

สำนักงานอธ�การบดี คณะ 3 แหง ว�ทยาลัยนาฏศิลป 12 แหง ว�ทยาลัยชางศิลป 3 แหง


กองกลาง คณะศิลปนาฏดุร�ยางค ว�ทยาลัยนาฏศิลป ว�ทยาลัยชางศิลป
กองนโยบายและแผน คณะศิลปว�จ�ตร ว�ทยาลัยนาฏศิลปเช�ยงใหม ว�ทยาลัยชางศิลปสุพรรณบุร�
กองสงเสร�มว�ชาการและงานว�จัย คณะศิลปศึกษา ว�ทยาลัยนาฏศิลปนครศร�ธรรมราช ว�ทยาลัยชางศิลปนครศร�ธรรมราช

รายงานประจ�ำปี 2566 - 22 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


กองกิจการนักเร�ยนนักศึกษา ว�ทยาลัยนาฏศิลปอางทอง
กองบร�หารทรัพยากรบุคคล ว�ทยาลัยนาฏศิลปรอยเอ็ด
ว�ทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย
ว�ทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ
ว�ทยาลัยนาฏศิลปลพบุร�
ว�ทยาลัยนาฏศิลปจันทบุร�
แทน สวนราชการที่มีภารกิจดานการจัดการเร�ยนการสอน ว�ทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง
แทน สวนราชการที่มีภารกิจดานการบร�หารจัดการ ว�ทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุร�
ว�ทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา
โครงสรางการบร�หารสวนราชการ

นายกสภาสถาบัน รัฐมนตร�วาการ
บัณทิตพัฒนศิลป กระทรวงวัฒนธรรม ประธานสภาว�ชาการ

ประธานสภาคณาจารย
และบุคลากร
ผูอำนวยการ อธ�การบดี
กลุมตรวจสอบภายใน
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป ผูอำนวยการ
ผูอำนวยการ กลุมประกันคุณภาพการศึกษา
กลุมเทคโนโลยีสารสนเทศ
หัวหนากลุมศิลปวัฒนธรรม
ผูอำนวยการกลุมนิติการ

ผูอำนวยการ ผูอำนวยการว�ทยาลัยนาฏศิลป ผูอำนวยการว�ทยาลัยชางศิลป


สำนักงานอธ�การบดี คณบดี 3 คณะ
12 แหง 3 แหง
ผูอำนวยการกองกลาง คณบดีคณะศิลปนาฏดุร�ยางค ผูอำนวยการว�ทยาลัยนาฏศิลป ผูอำนวยการว�ทยาลัยชางศิลป
ผูอำนวยการกองนโยบายและแผน คณบดีคณะศิลปว�จ�ตร ผูอำนวยการว�ทยาลัยนาฏศิลปเช�ยงใหม ผูอำนวยการว�ทยาลัยชางศิลปสุพรรณบุร�
ผูอำนวยการกองสงเสร�มว�ชาการและงานว�จัย คณบดีคณะศิลปศึกษา ผูอำนวยการว�ทยาลัยนาฏศิลปนครศร�ธรรมราช ผูอำนวยการว�ทยาลัยชางศิลปนครศร�ธรรมราช

รายงานประจ�ำปี 2566 - 23 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


ผูอำนวยการกองกิจการนักเร�ยนนักศึกษา ผูอำนวยการว�ทยาลัยนาฏศิลปอางทอง
ผูอำนวยการกองบร�หารทรัพยากรบุคคล ผูอำนวยการว�ทยาลัยนาฏศิลปรอยเอ็ด
ผูอำนวยการว�ทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย
ผูอำนวยการว�ทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ
ผูอำนวยการว�ทยาลัยนาฏศิลปลพบุร�
ผูอำนวยการว�ทยาลัยนาฏศิลปจันทบุร�
แทน สวนราชการที่มีภารกิจดานการจัดการเร�ยนการสอน ผูอำนวยการว�ทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง
แทน สวนราชการที่มีภารกิจดานการบร�หารจัดการ ผูอำนวยการว�ทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุร�
ผูอำนวยการว�ทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา
1.4 หลักสูตรที่เปิดการเรียนการสอน
ในสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
สถาบั นบั ณฑิ ตพัฒนศิ ลป์ จั ดการศึ กษาด้านนาฏศิ ลป์ ดุริ ยางคศิ ลป์ คี ตศิ ลป์ ช่ างศิ ลป์
และทัศนศิลป์ ระดับพื้นฐานวิชาชีพถึงวิชาชีพชั้นสูง โดยมีหลักสูตรที่เปิ ดการเรียนการสอนตัง้ แต่ระดับ
การศึกษาขัน้ พื้นฐานถึงระดับอุดมศึกษา จานวน 52 หลักสูตร รายละเอียด ดังนี้
1.4.1 ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน จานวน 1 หลักสูตร ดังนี้

ชื่อหลักสูตร / สาขาวิชา หน่วยงานที่เปิดสอน จานวน


1. หลักสูตรนาฏดุริยางคศิลป์ ระดับมัธยมศึกษา
วิทยาลัยนาฏศิลป 12 แห่ง 1
ตอนต้น (ปรับปรุงพุทธศักราช 2562)

1.4.2 ระดับอาชีวศึกษา จานวน 4 หลักสูตร ดังนี้


ชื่อหลักสูตร / สาขาวิชา หน่วยงานที่เปิดสอน จานวน
1. หลักสูตรศิลปกรรมระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
วิทยาลัยช่างศิลป 3 แห่ง 1
(ปรับปรุง) พุทธศักราช 2560 วิทยาลัยช่างศิลป
2. หลักสูตรนาฏดุริยางคศิลป์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
วิทยาลัยนาฏศิลป 12 แห่ง 1
พุทธศักราช 2562
3. หลักสูตรศิลปกรรมระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง
วิทยาลัยช่างศิลป 3 แห่ง 1
พุทธศักราช 2564
4. หลักสูตรช่างศิลป์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
วิทยาลัยช่างศิลป 3 แห่ง 1
พุทธศักราช 2566

1.4.3 ระดับอุดมศึกษา จานวน 47 หลักสูตร ดังนี้


ชื่อหลักสูตร / สาขาวิชา หน่วยงานที่เปิดสอน จานวน
1. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ ไทยศึกษา คณะศิลปศึกษา
1
(5 ปี ) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558) วิทยาลัยนาฏศิลป 12 แห่ง
2. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีคีตศิลป์ ไทย คณะศิลปศึกษา
วิทยาลัยนาฏศิลป 11 แห่ง 1
ศึกษา (5 ปี ) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558) (ยกเว้นวิทยาลัยนาฏศิลป (ศาลายา))
3. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ ไทย
คณะศิลปนาฏดุริยางค์ 1
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
4. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ ไทย
คณะศิลปนาฏดุริยางค์ 1
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
5. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาศิลปะดนตรีและการแสดง วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด
1
พื้นบ้าน (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์

รายงานประจ�ำปี 2566 - 24 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


ชื่อหลักสูตร / สาขาวิชา หน่วยงานที่เปิดสอน จานวน
6. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์
คณะศิลปวิจิตร 1
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
7. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบตกแต่งภายใน
คณะศิลปวิจิตร 1
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
8. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ (ต่อเนือ่ ง)
วิทยาลัยช่างศิลป 1
(หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2561)
9. หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
โครงการบัณฑิตศึกษา 1
(หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2561)
10. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ ศึกษา คณะศิลปศึกษา
13
(4 ปี ) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562) วิทยาลัยนาฏศิลป 12 แห่ง
11. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะศิลปศึกษา
13
(4 ปี ) (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562) วิทยาลัยนาฏศิลป 12 แห่ง
12. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศึกษา
วิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี 1
(4 ปี ) (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2562)
13. หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์
โครงการบัณฑิตศึกษา 1
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562)
14. หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์
โครงการบัณฑิตศึกษา 1
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562)
15. หลักสูตรศิลปดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์
โครงการบัณฑิตศึกษา 1
(หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2562)
16. หลักสูตรศิลปดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์
โครงการบัณฑิตศึกษา 1
(หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2562)
17. หลักสูตรศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์
โครงการบัณฑิตศึกษา 1
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563)
18. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ ไทย
คณะศิลปนาฏดุริยางค์ 1
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
19. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ ไทย
คณะศิลปนาฏดุริยางค์ 1
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
20. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์
คณะศิลปวิจิตร 1
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
21. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบตกแต่งภายใน
คณะศิลปวิจิตร 1
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565)
22. หลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิ ก
คณะศิลปวิจิตร 1
และสื่อสร้างสรรค์ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2565)
23. หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู
โครงการบัณฑิตศึกษา 1
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2566)
ข้อมูล ณ วันที่ 10 กรกฎาคม 2566

รายงานประจ�ำปี 2566 - 25 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


1.5 จานวนบ ุคลากร
1.5.1 กรอบอัตรากาลัง
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ มีการวางแผนกรอบอัตรากาลังที่สอดคล้องกับโครงสร้างและภาระงาน
ซึ่งสามารถจาแนกออกเป็ น 3 ประเภท ดังนี้
1.5.1.1 ประเภทข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้แก่ ตาแหน่งครู ตาแหน่งคณาจารย์
ตาแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38 ค.(2) รายละเอียดตามตาราง ดังนี้

ประเภทตาแหน่ง คร ู คณาจารย์ บ ุคลากร รวม


กรอบอัตรากาลังตามโครงสร้างปั จจุบนั 641 342 128 1,111
ตาแหน่งที่มีคนครอง 625 327 117 1069
ตาแหน่งว่างรอการสรรหา 16 15 11 42
1.5.1.2 ประเภทพนักงานราชการ ได้แก่ พนักงานราชการกลุ่มงานเชี่ยวชาญเฉพาะ พนักงาน
ราชการกลุม่ งานบริหารทัว่ ไป และพนักงานราชการกลุม่ งานเทคนิค รายละเอียดตามตาราง ดังนี้
กลมุ่ งาน กลมุ่ งาน
ประเภทตาแหน่ง กลมุ่ งาน รวม
เชี่ยวชาญเฉพาะ เทคนิค
กรอบอัตรากาลัง ตาม คพร.
รอบที่ 5 (ปี งบประมาณ 18 137 17 172
2564-2567)
ตาแหน่งที่มีคนครอง 18 126 13 157
ตาแหน่งว่างรอการสรรหา - 6 4 10
จานวนอัตราว่างที่รอ
- 5 - 5
ลูกจ้างประจาพ้นจากราชการ
1.5.1.3 ประเภทลูกจ้างประจา ได้แก่ ลูกจ้างประจากลุ่มงานบริ การพื้ นฐาน ลูกจ้างประจ า
กลุม่ งานสนับสนุน และลูกจ้างประจากลุม่ งานช่าง รายละเอียดตามตาราง ดังนี้

กลมุ่ งานบริการ กลมุ่ งาน กลมุ่ งาน


ประเภทตาแหน่ง รวม
พื้นฐาน สนับสนนุ ช่าง
กรอบอัตรากาลัง 9 8 2 19
ตาแหน่งที่มีคนครอง 9 8 2 19

รายงานประจ�ำปี 2566 - 26 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


1.5.2 ตาแหน่งทางวิชาการ ตาแหน่งที่มีวิทยฐานะ และตาแหน่งผูบ้ ริหาร
1.5.2.1 ตาแหน่งครูและบุคลากรทางการทางศึกษา ประเภทตาแหน่งอาจารย์ มีสายการสอน
ในระดับอุดมศึ กษา ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิ ลป์ จานวน 249 ตาแหน่ง มีตาแหน่งทางวิ ชาการ จานวน
78 ตาแหน่ง คิดเป็ นร้อยละ 23.85 ของตาแหน่งอาจารย์ทงั้ หมด รายละเอียดตามตาราง ดังนี้

ตาแหน่งวิชาการ
รวม
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์
75 3 - 78

1.5.2.2 ต าแหน่ งครูและบุคลากรทางการทางศึ กษา ประเภทครู บุคลากรสายการสอน


ในระดับพื้นฐานและระดับอาชีวศึ กษา ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิ ลป์ จานวน 150 ตาแหน่ง และตาแหน่ง
ที่มีวิทยฐานะ จานวน 475 ตาแหน่ง คิดเป็ นร้อยละ 76 ของตาแหน่งครูทงั้ หมด รายละเอียดตามตาราง ดังนี้

ครูชานาญการ ครูชานาญการพิเศษ ครูเชี่ยวชาญ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ รวม


(คศ.2) (คศ.3) (คศ.4) (คศ.5)
265 203 7 - 475

1.5.2.3 ตาแหน่งผูบ้ ริหารสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ จานวน 9 ตาแหน่ง รายละเอียด ดังนี้

ตาแหน่งผูบ้ ริหารสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
รวม
อธิการบดี รองอธิการบดี ผูช้ ว่ ยอธิการบดี
1 5 3 9

1.5.2.4 ตาแหน่งผูบ้ ริหารคณะและวิทยาลัย


1) ผูบ้ ริหารคณะ จานวน 14 ตาแหน่ง รายละเอียดตามตาราง ดังนี้

ตาแหน่งผูบ้ ริหารคณะ
รวม
คณบดี รองคณบดี
3 11 14

รายงานประจ�ำปี 2566 - 27 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2) ผูบ้ ริหารวิทยาลัย จานวน 75 ตาแหน่ง รายละเอียดตามตาราง ดังนี้

ตาแหน่งผูบ้ ริหารวิทยาลัย
รวม
ผูอ้ านวยการวิทยาลัย รองผูอ้ านวยการวิทยาลัย
14 61 75

1.5.2.5 ตาแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ประเภทผูบ้ ริหารสถานศึกษา จานวน


3 ตาแหน่ง จาแนกตามตาแหน่งที่มีวิทยฐานะ รายละเอียดตามตาราง ดังนี้

วิทยฐานะ
ผูอ้ านวยการ ผูอ้ านวยการ ผูอ้ านวยการ รอง รอง รอง
ชานาญการ ชานาญการ เชี่ยวชาญ ผูอ้ านวยการ ผูอ้ านวยการ ผูอ้ านวยการ รวม
(คศ.2) พิเศษ (คศ.4) ชานาญการ ชานาญการ เชีย่ วชาญ
(คศ.3) (คศ.2) พิเศษ (คศ.4)
(คศ.3)
- - 1 - 2 - 3

1.5.2.6 ผูบ้ ริหารสานักงานอธิการบดี จานวน 6 ตาแหน่ง รายละเอียดตามตาราง ดังนี้

ตาแหน่งผูบ้ ริหารสานักงานอธิการบดี
ผูอ้ านวยการ ผูอ้ านวยการ ผูอ้ านวยการ ผูอ้ านวยการ ผูอ้ านวยการ ผูอ้ านวยการ
สานักงาน กองกลาง กองนโยบาย กองส่งเสริม กองกิจการ กองบริหาร รวม
อธิการบดี และแผน วิชาการ นักเรียน ทรัพยากร
และงานวิจยั นักศึกษา บุคคล)
1 1 1 1 1 1 6

ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2566

รายงานประจ�ำปี 2566 - 28 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


1.6 จานวนนักเรียน นักศึกษา ปีการศึกษา 2566
ในปี การศึ ก ษา 2566 สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นศิ ล ป์ มี จ านวนนัก เรี ย น นัก ศึ ก ษาตั้ง แต่ ร ะดั บ
การศึกษาขัน้ พื้นฐาน ระดับอาชีวศึกษาและระดับอุดมศึกษาจากวิทยาลัยนาฏศิลป วิทยาลัยช่างศิลป
และคณะ 3 คณะ จานวนรวมทัง้ สิ้น 8,226 คน ดังนี้
1) ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน จานวน 1,581 คน ดังนี้ 3) ระดับอุดมศึกษา จานวน 3,605 คน ดังนี้
- มัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 1,581 คน - ระดับปริญญาตรี จานวน 3,322 คน
2) ระดับอาชีวศึกษา จานวน 3,040 คน ดังนี้ - ประกาศนียบัตรบัณฑิต จานวน 79 คน
- ประกาศนียบัตรวิชาชีพ จานวน 2,950 คน - ระดับปริญญาโท จานวน 163 คน
- ประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง จานวน 90 คน - ระดับปริญญาเอก จานวน 41 คน
จานวนนักเรียน นักศึกษาแยกตามสถานศึกษาและระดับการศึกษา
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ปีการศึกษา 2566
ม.ต้น ปวช. ปวส. ป.ตรี ป.บัณฑิต ป.โท ป.เอก

วิทยาลัยนาฏศิลป 365 554 251

วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ 118 201 171

วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช 114 154 149

วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง 153 220 191

วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด 92 205 260

วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย 105 204 213

วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ 74 196 276

วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี 78 116 175

วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี 112 130 177

วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง 185 241 185

วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี 122 167 158

วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา 63 133 133

วิทยาลัยช่างศิลป 272 61 26

วิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี 86 26 65

วิทยาลัยช่างศิลปนครศรีธรรมราช 71 3

คณะศิลปศึกษา 582 79

คณะศิลปนาฏดุริยางค์ 185 138 41

คณะศิลปวิจิตร 125 25

0% 20% 40% 60% 80% 100%

รายงานประจ�ำปี 2566 - 29 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


1.7 งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2566
1.7.1 งบประมาณรายจ่ายจากงบประมาณแผ่นดิน
ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 สถาบันบัณฑิตพัฒนศิ ลป์ ได้รับการจัดสรรงบประมาณทั้งสิ้น
971,201,800 บาท (เก้าร้อยเจ็ดสิบเอ็ดล้านสองแสนหนึ่งพันแปดร้อยบาทถ้วน) โดยจาแนกประเภทรายจ่าย
ดังนี้

งบประมาณรายจ่าย งบประมาณ (บาท) ร้อยละ

งบบ ุคลากร 559,098,900 57.56

งบดาเนินงาน 41,974,800 4.32

งบลงท ุน 225,008,100 23.17

งบเงินอ ุดหนุน 100,967,600 10.39

งบรายจ่ายอื่น 44,152,400 4.56

รวม 971,201,800 100

รายงานประจ�ำปี 2566 - 30 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


1.7.2 งบประมาณรายจ่ายจากเงินรายได้

สภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ได้อนุมตั ิจัดสรรงบประมาณรายจ่ายจากเงินรายได้ ประจาปี


งบประมาณ พ.ศ. 2566 ให้แก่สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ จานวนทั้งสิ้น 97,710,406 บาท (เก้าสิบเจ็ดล้าน
เจ็ดแสนหนึง่ หมื่นสี่รอ้ ยหกบาทถ้วน) โดยจาแนกประเภทรายจ่ายดังนี้

งบประมาณรายจ่าย งบประมาณ (บาท) ร้อยละ

งบบ ุคลากร 7,789,324 7.97

งบดาเนินงาน 84,743,064 76.73

งบลงท ุน 230,663 0.24

งบเงินอ ุดหนุน 260,000 0.27

งบสารองจ่าย 4,687,355 14.79

รวม 97,710,406 100

รายงานประจ�ำปี 2566 - 31 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


1.8 รายงานทางการเงินประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2566 สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

รายงานประจ�ำปี 2566 - 32 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


รายงานประจ�ำปี 2566 - 33 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
รายงานประจ�ำปี 2566 - 34 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
ส่วนที่
2
ผลการดาเนินงานตามย ุทธศาสตร์
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

รายงานประจ�ำปี 2566 - 35 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.1 วิสยั ทัศน์ พันธกิจ เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ และคานิยมองค์กร
2.1.1 วิสยั ทัศน์ (vision)
“เป็ นสถาบันต้นแบบด้านนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ คีตศิลป์ ช่างศิลป์ และทัศนศิลป์
ที่มีความเป็ นเลิศ ด้านวิชาการ วิชาชีพ ในระดับชาติและนานาชาติ”

2.1.2 พันธกิจ (mission)


2.1.2.1 จัด การศึ ก ษาระดับ พื้ น ฐานวิ ช าชี พ ถึ ง วิ ช าชี พ ชั้น สูง ด้า นนาฏศิ ล ป์ ดุริ ย างคศิ ล ป์ คี ต ศิ ล ป์
ช่างศิลป์ และทัศนศิลป์ ที่มีคณ
ุ ภาพเป็ นที่ยอมรับระดับชาติและนานาชาติ
2.1.2.2 การสร้างคุณภาพผลงานวิจัย ผลงานสร้างสรรค์ ผลงานนวัตกรรม การสร้างเครือข่ายและ
เผยแพร่ผลงานในระดับชาติ และระดับนานาชาติ
2.1.2.3 ให้บริการวิชาการ ด้านศิลปวัฒนธรรมแก่สถานศึกษา ชุมชน สังคม และท้องถิ่น
2.1.2.4 อนุรกั ษ์ สร้างสรรค์ เผยแพร่ และจัดการแสดงด้านนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ คีตศิลป์ ช่างศิลป์
และทัศนศิ ลป์ ในระดับชาติและนานาชาติ เพื่อสร้างความตระหนัก รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย์
และส่งเสริมความเป็ นไทย
2.1.2.5 พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามหลักธรรมาภิบาล

2.1.3 เอกลักษณ์ (Uniqueness)


เป็ นผูน้ าด้านงานศิลป์

2.1.4 อัตลักษณ์ (Identity)


2.1.4.1 อัตลักษณ์สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
สืบสาน สร้างสรรค์ งานศิลป์
2.1.4.2 อัตลักษณ์ของผูส้ าเร็จการศึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
มืออาชีพงานศิลป์

2.1.5 คานิยมองค์กร (Core Value)


มุง่ มัน่ พัฒนา ก้าวหน้าวิชาการ สืบสานงานศิลป์

รายงานประจ�ำปี 2566 - 36 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.2 ผลการดาเนินงานตามย ุทธศาสตร์
ย ุทธศาสตร์ที่ 1
2.2.1 การพัฒนาการจัดการเรียน การสอนด้านศิลปวัฒนธรรมให้มี
ค ุณภาพเป็นที่ยอมรับระดับชาติและระดับนานาชาติ

2.2.1.1 การผลิตผูส้ าเร็จการศึกษา


ในปี การศึ กษา 2565 สถาบันบัณ ฑิตพัฒ นศิ ลป์ มี จานวนผูส้ าเร็ จ การศึ กษาตั้งแต่ระดับ การศึ ก ษา
ขัน้ พื้นฐาน ระดับอาชีวศึกษาและระดับอุดมศึกษา จานวนรวมทัง้ สิ้น 3,154 คน แบ่งตามระดับการศึกษา ดังนี้
1) ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน จานวน 814 คน ดังนี้
- มัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 814 คน
2) ระดับอาชีวศึกษา จานวน 1,119 คน ดังนี้
- ประกาศนียบัตรวิชาชีพ จานวน 1,084 คน
- ประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง จานวน 35 คน
3) ระดับอุดมศึกษา จานวน 1,221 คน ดังนี้
- ระดับปริญญาตรี จานวน 1,142 คน
- ประกาศนียบัตรบัณฑิต จานวน 30 คน
- ระดับปริญญาโท จานวน 30 คน
- ระดับปริญญาเอก จานวน 19 คน

รายงานประจ�ำปี 2566 - 37 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


จานวนผูส้ าเร็จการศึกษาแยกตามสถานศึกษาและระดับการศึกษา
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ปีการศึกษา 2565
ม.3 ปวช. ปวส. ป.ตรี ป.บัณฑิต ป.โท ป.เอก

วิทยาลัยนาฏศิลป 214 221 47

วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ 52 83 78

วิทยาลัยนาฏศิลป 58 62 72
นครศรีธรรมราช
วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง 62 65 77

วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด 47 72 85

วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย 64 70 56

วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ 47 68 85

วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี 31 65 80

วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี 52 66 62

วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง 96 85 89

วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี 54 65 53

วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา 37 45 40

วิทยาลัยช่างศิลป 69 23 12

วิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี 24 10

วิทยาลัยช่างศิลป 24 2
นครศรีธรรมราช
คณะศิลปศึกษา 247 30

คณะศิลปนาฏดุริยางค์ 45 23 19

คณะศิลปวิจิตร 14 7

0% 20% 40% 60% 80% 100%

ข้อมูลผูส้ าเร็จการศึกษา ณ วันที่ 10 มิ.ย. 66

รายงานประจ�ำปี 2566 - 38 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.2.1.2 การมีงานทาและศึกษาต่อ
ในปี การศึ กษา 2565 มีผจู้ บการศึ กษาจากสถาบันบัณฑิตพัฒนศิ ลป์ ระดับปริญญาตรี
จ านวน 1,182 คน ซึ่ งจากการส ารวจภาวะการมี งานท าและศึ กษาต่อของผูส้ าเร็ จการศึ กษา ณ วั นที่
30 สิงหาคม 2566 สามารถเก็บข้อมูลได้ จานวน 716 คน คิดเป็ นร้อยละ 60.58 พบว่า
1. ผูส้ าเร็จการศึกษาที่มีงานทา จานวน 422 คน คิดเป็ นร้อยละ 58.94 โดยจาแนกลักษณะงาน

203 คน 160 คน 59 คน
ร้อยละ 28.35 ร้อยละ 22.35 ร้อยละ 8.24

งานราชการ/รัฐวิสาหกิจ ประกอบอาชีพอิสระ
พนักงานบริษทั /องค์กร
เอกชน
เอกชน
2. ผูส้ าเร็จการศึกษาที่กาลังศึกษาต่อในระดับที่สงู ขึน้ จานวน 8 คน คิดเป็ นร้อยละ 1.12
3. ผูส้ าเร็จการศึกษาที่อยู่ระหว่างการหางานทา จานวน 286 คน คิดเป็ นร้อยละ 39.94
เมื่อพิจารณาตาแหน่งงานที่ทา พบว่า
1. ผูส้ าเร็จการศึกษาที่ทางานราชการ/รัฐวิสาหกิจ ประกอบด้วย
เจ้าหน้าที่ธ ุรการ/ พนักงานราชการ/
ครูอัตราจ้าง/ พนักงานมหาวิทยาลัย/
นักจัดการงานทัว่ ไป/ อื่น ๆ
ครูพี่เลี้ยง พนักงานบัญชี/ล ูกจ้าง นักวิชาการศึกษา

159 คน 22 คน 12 คน 10 คน
ร้อยละ 78.32 ร้อยละ 10.84 ร้อยละ 5.91 ร้อยละ 4.93

2. ผูส้ าเร็จการศึกษาที่ทางานพนักงานบริษทั /องค์กรเอกชน ประกอบด้วย อื่น ๆ


นักแสดง/นักร้อง/ Art Production/
ผูจ้ ดั การ/ผูช้ ่วย
ครู/ครูพี่เลี้ยง ผูจ้ ดั การ/ผูป้ ระสานงาน นักดนตรี/ด ูแล ช่างปั้น 6 คน
เสื้อผ้านักแสดง
ร้อยละ
ธ ุรการ/บัญชี/ 4 คน
63 คน 15 คน พนักงานทัว่ ไป/
3.75
เสมียน
ร้อยละ พนักงานขาย 19 คน ร้อยละ
พนักงานต้อนรับ/
ร้อยละ 2.50
39.38 9.37 ร้อยละ พนักงานคลังสินค้า
12 คน 11.87
16 คน 25 คน
ร้อยละ
ร้อยละ 7.50 ร้อยละ
10.00
15.63

รายงานประจ�ำปี 2566 - 39 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


3. ผูส้ าเร็จการศึกษาที่ประกอบอาชีพอิสระ ประกอบด้วย
ครูสอนพิเศษ นักร้อง/นักแสดง/
นักดนตรี/ช่างแต่งหน้า/ ค้าขาย
นางแบบ
6 คน เจ้าของธ ุรกิจ รับจ้างอิสระ อื่นๆ
17 คน 4 คน
ร้อยละ
10.17 ร้อยละ ร้อยละ
16 คน 28.81 11 คน 6.78 5 คน
ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ
27.12 18.65 8.47

2.2.1.3 การพัฒนาหลักสูตรในการจัดการเรียนการสอน
ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 สถาบันบัณ ฑิตพัฒนศิ ล ป์ พัฒนาหลักสูต รเพื่ อ ให้ก ารจัด
การเรียนการสอนเป็ นไปอย่างมีคณ
ุ ภาพ จานวน 4 หลักสูตร ดังนี้
1) หลักสูตรศิ ลปมหาบัณฑิ ตและด ุษฎีบัณฑิ ต โดยมีการจัดการประชุมเพื่อปรับ ปรุง
หลักสูตร ระหว่างวันที่ 30 มกราคม - 1 กุมภาพันธ์ 2566 ณ โรงแรมรีเจ้นท์ ชะอา หัวหิน จังหวัด
เพชรบุรี

2) หลัก สูต รศึ ก ษาศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี ก ารจัด การประชุม เพื่ อ ยกร่ า ง พัฒ นา และ
ตรวจสอบร่างหลักสูตร จานวน 5 ครัง้ รายละเอียด ดังนี้
2.1) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการยกร่างโครงสร้างหลักสูตรศึ กษาศาสตรบัณฑิต
กลุ่ม พัฒ นาหลัก สูต รการสอน เมื่ อ วั น ที่ 10 กุม ภาพัน ธ์ 2566 ณ ห้อ งประชุม ชั้น 5 ส านัก งาน
อธิการบดี (ศาลายา)

รายงานประจ�ำปี 2566 - 40 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.2) โครงการอบรมเชิง ปฏิบัติการยกร่างโครงสร้างหลักสูตรศึ กษาศาสตรบัณฑิต
กลุม่ วิชาศึกษาทัว่ ไป เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2566 ณ ห้องประชุม ชัน้ 5 สานักงานอธิการบดี (ศาลายา)

2.3) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการยกร่างโครงสร้างหลักสูตรศึ กษาศาสตรบัณฑิต


สาขาวิ ชานาฏศิ ลปศึ กษา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ....) ระหว่างวันที่ 28 - 30 กรกฎาคม 2566
ณ โรงแรมรอยัล ริเวอร์ กรุงเทพฯ

2.4) โครงการพัฒนาหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ ศึกษา ระหว่าง


วันที่ 24 – 25 สิงหาคม 2566 ณ ห้องประชุม ชัน้ 1 ห้อง 102 คณะศิลปศึกษา

รายงานประจ�ำปี 2566 - 41 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.5) โครงการตรวจสอบร่างหลักสูตรศึ กษาศาสตรบัณฑิตตามมาตรฐานหลักสูตร
การศึกษา เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2566 ณ ห้องประชุม 1 ชัน้ 5 สานักงานอธิการบดี (ศาลายา)

3) หลัก สูตรนาฏด ุริยางคศิ ล ป์ (ระดับประกาศนี ยบัตรวิ ชาชี พ) โดยมีการจัด การ


ประชุมเพื่อปรับปรุงหลักสูตร ระหว่างวันที่ 5 -7 สิงหาคม 2566 ณ โรงแรมบียอนด์ สวีท กรุงเทพฯ

4) หลัก สูตรศึ ก ษาศาสตรมหาบัณฑิ ต โดยมีการจัด การประชุมเพื่ อ พัฒนาหลักสูตร


ระหว่างวันที่ 10 -11 สิงหาคม 2566 ณ ห้องประชุม 4 สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (วังหน้า)

รายงานประจ�ำปี 2566 - 42 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.2.1.4 การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ดาเนินการส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาผูเ้ รียน เพื่อให้นกั เรียน
นัก ศึ ก ษามีคณ
ุ ภาพสอดคล้อ งกับ การเรี ยนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 และนโยบายไทยแลนด์ 4.0 รวมถึ ง
มีคณุ ลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ เป็ นไปตามอัตลักษณ์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิ ลป์ การส่งเสริ ม
สนับสนุนมี 2 ด้าน ได้แก่
1) ด้านส่งเสริมการให้บริการเกี่ยวกับท ุนกย้ ู มื เพื่อการศึกษา และท ุนการศึกษา
1.1 ท ุนกย้ ู มื เพื่อการศึกษา (กยศ.)
สถาบันฯ ดาเนินการให้บริการนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์เกี่ยวกับการกูย้ ืมเงิน
เพื่อการศึ กษา (กยศ.) โดยมีจานวนนักศึ กษากูย้ ืม (กยศ.) จานวน 2,176 คน เป็ นจานวนเงินทั้งสิ้น
19,681,098 บาท (สิ บ เก้า ล้า นหกแสนแปดหมื่ น หนึ่ง พัน เก้า สิ บ แปดบาทถ้ว น) ดัง ตารางจ านวน
นักศึกษา และจานวนเงินกูย้ ืมเพื่อการศึกษา จาแนกแต่ละหน่วยงาน ดังนี้

จานวนนักศึกษากย้ ู มื จานวนเงิน กยศ.


ลาดับ คณะ/วิทยาลัย
(คน) (บาท)
1 คณะศิลปนาฏดุริยางค์ 93 975,150
2 คณะศิลปวิจิตร 46 447,550
3 คณะศิลปศึกษา 368 3,396,770
4 วิทยาลัยนาฏศิลป 94 931,350
5 วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ 144 1,268,880
6 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช 147 1,215,430
7 วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง 138 1,171,090
8 วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด 197 1,849,508
9 วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย 161 1,520,920
10 วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ 217 2,018,490
11 วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี 180 1,647,790
12 วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี 81 641,630
13 วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง 101 621,540
14 วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี 85 821,540
15 วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา 83 763,560
16 วิทยาลัยช่างศิลป 6 60,500
17 วิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี 35 329,400
รวมทัง้ สิ้น 2,176 19,681,098

รายงานประจ�ำปี 2566 - 43 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


1.2 ท ุนการศึกษาจากเงินงบประมาณของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
1.2.1 ท ุนสาหรับนักเรียน นักศึกษา 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้
สถาบั น ฯ ด าเนิ น การจั ด สรรทุน การศึ ก ษาให้กั บ นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา
ที่มีภมู ิลาเนาในเขตพื้ นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ ปั ตตานี ยะลา นราธิวาส สตูล และสงขลา
รวมจานวน 895 ทุน เป็ นเงินทั้งสิ้น 15,329,000 บาท (สิบห้าล้านสามแสนสองหมื่นเก้าพันบาทถ้วน)
โดยมีรายละเอียด ดังนี้

ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ระดับปริญญาตรี


จานวนท ุน จานวนเงิน (บาท) จานวนท ุน จานวนเงิน (บาท)
410 5,740,000 485 9,589,000

1.2.2 ทนุ สาหรับ นัก เรียน นัก ศึ ก ษา กลมุ่ เรียนดี ศิ ลปะเด่น คี ตศิ ลป์ ไทย
กลมุ่ ผูพ
้ ิการ และกลมุ่ ผูด้ อ้ ยโอกาส
สถาบั น ฯ ด าเนิ น การจั ด สรรทุน การศึ ก ษาให้กั บ นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา
กลุ่ม เรี ย นดี ศิ ล ปะเด่น และคี ต ศิ ล ป์ ไทย กลุ่ม ผูพ้ ิ ก าร และกลุ่ม ผูด้ อ้ ยโอกาสที่ ข าดแคลนทุน ทรั พ ย์
รวมจานวน 755 ทุน เป็ นเงินทัง้ สิ้น 7,128,500 บาท (เจ็ดล้านหนึ่งแสนสองหมื่นแปดพันห้าร้อยบาทถ้วน)
โดยมีรายละเอียด ดังนี้

กลมุ่ เรียนดี ศิลปะเด่น และคีตศิลป์ ไทย

กลมุ่ จานวนท ุน จานวนเงิน (บาท)


เรียนดี 239
ศิลปะเด่น 202 4,222,890
คีตศิลป์ ไทย 44
รวม 485 4,222,890

กลมุ่ ผูพ
้ ิการ กลมุ่ ผูด้ อ้ ยโอกาส

จานวนท ุน จานวนเงิน (บาท) จานวนท ุน จานวนเงิน (บาท)


39 387,710 231 2,517,900

รายงานประจ�ำปี 2566 - 44 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


1.3 ท ุนการศึกษาจากแหล่งเงินอื่นๆ
สถาบันฯ ดาเนินการจัดสรรทุนการศึกษาให้กบั นักเรียน นักศึกษา ที่มีฐานะยากจน
ประพฤติตนดีและมีความขยันหมัน่ เพียร ดังนี้
1.3.1 ท ุนมูลนิธินริศรานุวดั ติวงศ์
จัดสรรทุนให้กบั 18 หน่วยงาน ได้แก่ 3 คณะวิชา วิทยาลัยนาฏศิลป 12 แห่ง
วิทยาลัยช่างศิลป 3 แห่ง จานวน 58 ทุน เป็ นเงินทัง้ สิ้น 508,000 บาท (ห้าแสนแปดพันบาทถ้วน)
1.3.2 ท ุนมูลนิธิเฉลิมราชก ุมารี
จานวน 2 ทุน เป็ นเงินทัง้ สิ้น 55,000 บาท (ห้าหมื่นห้าพันบาทถ้วน)
1.3.3 ท ุนมูลนิธิเฉลิมกร ุง
จานวน 8 ทุน เป็ นเงินทัง้ สิ้น 200,000 บาท (สองแสนบาทถ้วน)
1.3.4 ท ุนมูลนิธิหม่อมเจ้าหญิงมารศีส ุข ุมพันธ ์ ุ บริพตั ร
จานวน 1 ทุน เป็ นเงินทัง้ สิ้น 20,000 บาท (สองหมื่นบาทถ้วน)
1.3.5 ท ุนการศึกษามูลนิธิทิสโก้ เพื่อการก ุศล
จานวน 1 ทุน เป็ นเงินทัง้ สิ้น 15,000 บาท (ห้าหมื่นบาทถ้วน)
1.3.6 ท ุนอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
จัดสรรทุนให้กับ 18 หน่วยงาน ได้แก่ 3 คณะวิ ชา วิ ทยาลัยนาฏศิ ลป 12 แห่ง
วิ ทยาลัยช่างศิ ลป 3 แห่ง จานวน 18 ทุนๆ ละ 5,000 บาท (ห้าพันบาทถ้วน) เป็ นเงินทั้งสิ้น 90,000 บาท
(เก้าหมื่นบาทถ้วน)
1.3.7 ท ุนค ุณณฤมล ธรรมวัฒนะ
จัดสรรทุนให้กับ 18 หน่วยงาน ได้แก่ 3 คณะวิชา วิทยาลัยนาฏศิลป 12 แห่ง
วิทยาลัยช่างศิลป 3 แห่ง จานวน 20 ทุนๆ ละ 5,000 บาท (ห้าพันบาทถ้วน) เป็ นเงินทั้งสิ้น 100,000 บาท
(หนึง่ แสนบาทถ้วน)
1.3.8 ท ุนค ุณอิสระ ขาวละเอียด
จั ด สรรทุน ให้กั บ นัก ศึ ก ษาคณะศิ ล ปศึ ก ษา และคณะศิ ล ปนาฏดุริ ย างค์
สาขาวิ ช านาฏศิ ลป์ และดุริยางคศิ ลป์ จานวน 10 ทุนๆ ละ 24,000 บาท (สองหมื่นสี่พันบาทถ้ว น)
เป็ นเงินทัง้ สิ้น 240,000 บาท (สองแสนสี่หมื่นบาทถ้วน)

รายงานประจ�ำปี 2566 - 45 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


1.3.9 ท ุนผูบ้ ริหาร ผูเ้ ชี่ยวชาญ ผูม้ ีอ ุปการะค ุณ
จัดสรรทุนการศึกษาให้กบั นักเรียน นักศึกษา ที่มีฐานะยากจน ประพฤติตน
ดีและมีความขยันหมัน่ เพียร ดังตารางจานวนแต่ละหน่วยงาน ดังนี้

จานวนนักเรียน
ลาดับ คณะ/วิทยาลัย จานวนเงิน (บาท)
นักศึกษาที่ได้รบั ท ุน

1 คณะศิลปวิจิตร 35 76,000
2 คณะศิลปนาฏดุริยางค์ 28 167,400
3 คณะศิลปศึกษา 47 202,100
4 วิทยาลัยนาฏศิลป 168 1,027,300
5 วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ 180 1,255,900
6 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช 67 243,000
7 วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง 46 179,000
8 วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด 71 283,500
9 วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย 43 184600
10 วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ 51 185,000
11 วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี 129 517,000
12 วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี 86 347,000
13 วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง 54 409,350
14 วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา 81 192,800
15 วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี 59 169,000
16 วิทยาลัยช่างศิลป 52 504,750
17 วิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี 51 137,000
18 วิทยาลัยช่างศิลปนครศรีธรรมราช 42 128,000
รวมทัง้ สิ้น 1,290 6,208,700

รายงานประจ�ำปี 2566 - 46 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2) ด้านส่งเสริมการพัฒนาทักษะและศักยภาพของนักเรียน นักศึกษา
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ดาเนินการส่งเสริมการพัฒนาทักษะและศักยภาพของนักเรียน
นักศึกษา ทัง้ ในระดับสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ดาเนินการ และในระดับคณะและวิทยาลัยเป็ นผูด้ าเนินการ
2.1 ระดับสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิ ลป์ ดาเนินการจัดโครงการ/กิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะและ
ศักยภาพของนักศึกษา จานวน 5 โครงการ เป็ นจานวนเงินทั้งสิ้น 1,588,552 บาท (หนึ่งล้านห้าแสน
แปดหมื่นแปดพันห้าร้อยห้าสิบสองบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียด ดังนี้
2.1.1 โครงการปัจฉิมนิเทศ
เป็ นการเตรียมความพร้อมให้แก่นักศึกษาที่สาเร็ จการศึ กษา ปี การศึกษา
2565 เพื่ อ ส่ง เสริ มให้บัณ ฑิ ตที่ คาดว่ า จะส าเร็ จ การศึ ก ษามี ความพร้อ ม และออกไปเป็ นบัณ ฑิ ต ที่ มี
คุณภาพตามที่ม่งุ หวัง สามารถดารงชีวิตและประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดโครงการ
ปั จฉิมนิเทศแบบ Onsite และ Online เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2566 สถานที่ดาเนินการแบ่งออกเป็ น 2 ส่วน
ดังนี้
1) ด าเนินการจัด กิ จกรรมปั จฉิ มนิเ ทศ แบบ Onsite ณ ห้อ ง 405 ชั้น 4
อาคารคณะศิลปศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (ศาลายา) ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม ได้แก่ นักศึกษาที่คาดว่า
จะสาเร็ จการศึ กษาของคณะ/วิ ทยาลัย จานวน 4 แห่ง ได้แก่ คณะศิ ลปนาฏดุริยางค์ คณะศิ ลปวิจิตร
คณะศิลปศึกษา และวิทยาลัยนาฏศิลป
2) ด าเนิ น การประชุม ผ่ า นระบบ Zoom Meeting โดยคณะ/วิ ท ยาลั ย
จัดเตรียมสถานที่สาหรับการเข้าร่วมกิจกรรม ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม ได้แก่ นักศึ กษาที่คาดว่าจะสาเร็ จ
การศึ กษาของคณะ/วิทยาลัย จานวน 12 แห่ง ได้แก่ วิ ทยาลัยนาฏศิ ลปเชียงใหม่ วิ ทยาลัยนาฏศิลป
นครศรี ธรรมราช วิ ท ยาลัยนาฏศิ ลปอ่ างทอง วิ ท ยาลัยนาฏศิ ลปร้อยเอ็ ด วิ ท ยาลัยนาฏศิ ลปสุโขทัย
วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง
วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี และวิทยาลัยช่างศิลป
หัว ข้อ ที่ บ รรยาย ได้แ ก่ “การเตรี ย มความพร้อ มส าหรับ การสอบบรรจุ
ข้าราชการ” และ “ทักษะที่จาเป็ นสาหรับการเข้าสูโ่ ลกอาชีพในปั จจุบนั ”

รายงานประจ�ำปี 2566 - 47 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.1.2 โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่
เพื่อให้นักศึ กษาใหม่ได้รับรูแ้ ละมีความเข้าใจเกี่ยวกับ หลักสูตร การเรี ยน
การสอน การวัดผล การลงทะเบียน และบริการต่าง ๆ รวมถึงมีความเข้าใจและมีทกั ษะด้านการประกัน
คุณภาพการศึกษา อีกทั้ง ได้รับทราบเกี่ยวกับระเบียบ ข้อบังคับ กฎเกณฑ์ตา่ ง ๆ กิจกรรมของสถาบันฯ
โดยจัดโครงการปฐมนิเทศนักศึ กษาใหม่ ประจาปี การศึ กษา 2566 แบบ Onsite และ Online เมื่อวันที่
29 พฤษภาคม 2566 สถานที่ดาเนินการแบ่งออกเป็ น 2 ส่วน ดังนี้
1) ด าเนิ น การจั ด กิ จ กรรมปฐมนิ เ ทศ แบบ Onsite ณ ห้อ ง 405 ชั้น 4
อาคารคณะศิลปศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (ศาลายา) ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม ได้แก่ นักศึกษาที่ใหม่
ของคณะ/วิ ท ยาลัย จานวน 4 แห่ง ได้แ ก่ คณะศิ ลปนาฏดุริยางค์ คณะศิ ลปวิ จิตร คณะศิ ลปศึ กษา
และวิทยาลัยนาฏศิลป
2) ด าเนิ น การประชุม ผ่ า นระบบ Zoom Meeting โดยคณะ/วิ ท ยาลั ย
จัด เตรี ย มสถานที่ ส าหรับ การเข้า ร่ ว มกิ จ กรรม ผูเ้ ข้า ร่ ว มกิ จ กรรม ได้แ ก่ นัก ศึ ก ษาใหม่ข องคณะ/
วิ ท ยาลัย จานวน 12 แห่ง ได้แ ก่ วิ ท ยาลัยนาฏศิ ลปเชี ยงใหม่ วิ ท ยาลัยนาฏศิ ลปนครศรี ธ รรมราช
วิ ทยาลัยนาฏศิ ลปอ่า งทอง วิ ทยาลัยนาฏศิ ลปร้อ ยเอ็ ด วิ ทยาลัยนาฏศิ ลปสุโขทัย วิ ทยาลัยนาฏศิ ลป
กาฬสิ น ธุ์ วิ ท ยาลัย นาฏศิ ล ปลพบุรี วิ ท ยาลัย นาฏศิ ล ปจัน ทบุรี วิ ท ยาลัย นาฏศิ ล ปพัท ลุง วิ ท ยาลัย
นาฏศิลปนครราชสีมา วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี และวิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี
หั ว ข้อ ที่ บ รรยาย ได้แ ก่ “การเตรี ย มพร้อ มส าหรั บ การเรี ย นในสถาบัน
บัณ ฑิตพัฒนศิ ลป์ ” “งานกิ จการนักเรี ยนนักศึ กษา สถาบันบัณ ฑิตพัฒนศิ ลป์ ” และ “ทักษะด้า นการ
ประกันคุณภาพการศึกษาสาหรับนักศึกษา”

2.1.3 โครงการอบรมอาจารย์ที่ปรึกษา
เพื่อให้อาจารย์ที่ปรึกษาได้เรียนรูแ้ ละเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตัวเอง รวมถึง
เข้าใจระบบการดูแลให้คาปรึก ษาทั้งด้านวิ ชาการ วิ ชาชีพ และทักษะชีวิตของนักศึ กษา สามารถดูแ ล
พัฒนานัก ศึ ก ษาทั้ง ด้า นสัง คม อารมณ์ และจิ ตใจเป็ นพลเมือ งที่ ดีของสังคม โดยจัด โครงการอบรม
อาจารย์ที่ปรึกษา ระหว่างเดือนเมษายน - กรกฎาคม 2566 จัดสรรงบประมาณให้กบั 17 หน่วยงาน
ได้แก่ 3 คณะวิชา วิทยาลัยนาฏศิลป 12 แห่ง วิทยาลัยช่างศิลป และวิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี

รายงานประจ�ำปี 2566 - 48 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


วิทยาลัยนาฏศิลป การจัดโครงการอบรมอาจารย์ที่ปรึกษา

วิทยาลัยนาฏศิลปลพบ ุรี การจัดโครงการอบรมอาจารย์ที่ปรึกษา เรื่อง “บทบาทหน้าที่การเป็ น


อาจารย์ที่ปรึกษามืออาชีพ”

คณะศิลปวิจิตร การจัดโครงการฝึ กอบรมอาจารย์ที่ปรึกษา

2.1.4 โครงการส่งเสริมค ุณธรรม จริยธรรม


เพื่อส่งเสริมนักศึ กษาให้มีคณ
ุ ธรรมจริยธรรม วิ เคราะห์แยกแยะระหว่ า ง
ผลประโยชน์ส่วนตัวและผลประโยชน์ส่วนรวม ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยจัดโครงการส่งเสริม
คุณ ธรรม จริ ย ธรรม ระหว่ า งเดื อ นมิ ถ ุน ายน - กรกฎาคม 2566 จั ด สรรงบประมาณให้กั บ
17 หน่วยงาน ได้แก่ 3 คณะวิชา วิทยาลัยนาฏศิลป 12 แห่ง วิทยาลัยช่างศิลป และวิ ทยาลัยช่างศิลป
สุพรรณบุรี

รายงานประจ�ำปี 2566 - 49 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


การจัดโครงการส่งเสริมค ุณธรรม จริยธรรม

วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่

2.1.5 โครงการกีฬาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เพื่อเป็ นสื่อกลางในการสร้างความสามัคคีของหน่วยงานในสังกัดสถาบันบัณฑิต
พั ฒ นศิ ล ป์ ทั้ ง 17 แห่ ง เสริ ม สร้า งความรั ก ความสามั ค คี มี น ้ า ใจนั ก กี ฬ า มี ร ะเบี ย บวิ นั ย
มี ค วามรับ ผิ ด ชอบ ฝึ กทัก ษะการท างานร่ ว มกัน และเป็ นผูน้ า นัก ศึ ก ษามี ทัก ษะด้า นกี ฬ า ได้แ สดง
ความสามารถตามศั กยภาพ มีพัฒนาการทางด้านร่า งกาย จิ ตใจ อารมณ์ และสังคม โดยวิ ท ยาลัย
นาฏศิลปได้รับมอบหมายเป็ นเจ้าภาพ ดาเนินการจัดการแข่งขันกีฬาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ครั้งที่ 7
(7 th BPI GAMES) “ศาลายาเกมส์” ระหว่ า งวั น ที่ 14 – 18 ธัน วาคม 2565 ณ วิ ท ยาลัย นาฏศิ ลป
และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ จังหวัดนครปฐม

รายงานประจ�ำปี 2566 - 50 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.2 ระดับคณะและวิทยาลัย
คณะและวิ ท ยาลั ย รวม 18 หน่ ว ยงาน ด าเนิ น การจั ด โครงการ/กิ จ กรรม
เพื่ อ พั ฒ นานัก เรี ย น นัก ศึ ก ษา ระดับ ขั้น พื้ น ฐาน ระดับ อาชี ว ศึ ก ษา และระดับ ปริ ญ ญาตรี จ านวน
240 โครงการ รายละเอียดดังตารางจานวนโครงการ/กิจกรรม จาแนกแต่ละหน่วยงาน ดังนี้

จานวนโครงการ/
ลาดับที่ คณะ/วิทยาลัย
กิจกรรม
1 คณะศิลปนาฏดุริยางค์ 6
2 คณะศิลปวิจิตร 6
3 คณะศิลปศึกษา 6
4 วิทยาลัยนาฏศิลป 13
5 วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ 18
6 วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช 17
7 วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง 16
8 วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด 25
9 วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย 14
10 วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ 17
11 วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี 11
12 วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี 13
13 วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง 14
14 วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี 14
15 วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา 14
16 วิทยาลัยช่างศิลป 18
17 วิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี 10
18 วิทยาลัยช่างศิลปนครศรีธรรมราช 8
รวม 240

รายงานประจ�ำปี 2566 - 51 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


การจัดโครงการของระดับขัน้ พื้นฐาน

❖ วิทยาลัยนาฏศิลปส ุพรรณบ ุรี


การจัดโครงการพัฒนาทักษะผูเ้ รียนด้านดิจิทลั เพื่อสร้าง Infographics ด้วย CANVA

❖ วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบ ุรี
การจัดโครงการส่งเสริมประชาธิปไตยการเลือกตัง้ สภานักเรียน

❖ วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช
การจัดโครงการพัฒนาทักษะชีวิตนักเรียนใหม่

รายงานประจ�ำปี 2566 - 52 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


การจัดโครงการของระดับอาชีวศึกษา

❖ วิทยาลัยช่างศิลป
การจัดโครงการอบรมเพื่อการป้องกันและแก้ไขปั ญหาการข่มขืนกระทาชาเราและการล่วงละเมิด
ทางเพศ

❖ วิทยาลัยช่างศิลปส ุพรรณบ ุรี


การจัดโครงการอบรมสร้างความรู้ ความเข้าใจปฐมนิเทศนักเรียน นักศึกษาและประชุมผูป้ กครอง

❖ วิทยาลัยช่างศิลปนครศรีธรรมราช
การจัดโครงการอบรมให้ความรูก้ ารป้องกันและแก้ไขปั ญหายาเสพติดและเพศวิถีในวัยรุ่น

รายงานประจ�ำปี 2566 - 53 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


การจัดโครงการของระดับปริญญาตรี

❖ คณะศิลปนาฏด ุริยางค์
การจัดโครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ “มอบผ้าตาราศิลป์ ”

❖ คณะศิลปศึกษา
การจัดโครงการพัฒนาศักยภาพความเป็ นผูน้ านักศึกษาคณะศิลปศึกษา ประจาปี การศึกษา 2566

❖ คณะศิลปวิจิตร
การจัดโครงการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เพื่อการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน

รายงานประจ�ำปี 2566 - 54 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.2.2
ย ุทธศาสตร์ที่ 2
การสร้างค ุณภาพผลงานวิจยั ผลงานสร้างสรรค์
ผลงานนวัตกรรม การสร้างเครือข่ายและเผยแพร่ผลงาน
ในระดับนานาชาติ และระดับนานาชาติ

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิ ลป์ ส่งเสริม สนับสนุนให้งานวิ จัย งานสร้างสรรค์ งานนวัตกรรมของ


สถาบันมีคณุ ภาพได้รบั การเผยแพร่ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ โดยกาหนดมาตรการพัฒนาผูว้ ิจัย
ของสถาบันฯ ให้มีศักยภาพในการจัดทาข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับทุนจากแหล่งทุนภายนอก ส่งเสริม
การเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานสร้างสรรค์ ผลงานนวัตกรรม ในระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ และ
การบูรณาการงานวิจยั งานสร้างสรรค์ หรืองานนวัตกรรมกับการเรียนการสอน การนาไปใช้ประโยชน์
หรือการต่อยอดในการหารายได้ สถาบันฯ ได้จดั โครงการพัฒนาศักยภาพในการจัดทาข้อเสนอโครงการ
เพื่อขอรับทุนจากแหล่งทุนภายนอกและการเผยแพร่ผลงานในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ จัดเวที
เผยแพร่ผลงานวิจัย ผลงานสร้างสรรค์ ผลงานนวัตกรรม ในระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ รวมถึง
ดาเนินการจัดทาวารสารพัฒนศิลป์ วิชาการ รายละเอียดการดาเนินการ ดังนี้

รายงานประจ�ำปี 2566 - 55 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.2.2.1 การเสริมสร้างทักษะด้านการวิจยั

1) ด าเนินการจัด โครงการเสริ มสร้า งทักษะ


ความรูด้ า้ นการวิจัย เพื่อผลิตนักวิจัยรุ่นใหม่และเพิ่ม
โอกาสในการขอรั บ สนับ สนุน ทุน การวิ จั ย และเป็ น
การพั ฒ นาคณาจารย์ แ ละบุค ลากรทางการศึ ก ษา
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ให้ได้รับความรูท้ างวิชาการ
ด้า นการวิ จั ย โดยด าเนิ น โครงการพั ฒ นาข้อ เสนอ
โครงการวิ จั ย ด้า นการเรี ย นการสอนและข้อ เสนอ
โครงการสร้างสรรค์ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2566
ระหว่างวันที่ 18 – 21 และ วันที่ 25 ตุลาคม 2565
ณ ห้อ งประชุม ชั้ น 4 อาคารหอสมุด สารสนเทศ
สถาบัน บัณ ฑิ ต พัฒ นศิ ล ป์ ศาลายา และการประชุม
ทางไกลผ่านระบบ Zoom meeting

2) จั ด โครงการสั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร


รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจยั งานสร้างสรรค์
งานนวัตกรรม ปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 ระหว่าง
วันที่ 8 - 10 และ ระหว่างวันที่ 15 – 16 พฤษภาคม
2566 ณ ห้ อ งประชุม ชั้ น 4 อาคารหอสมุ ด
สารสนเทศ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (ศาลายา) และ
การประชุมทางไกลผ่านระบบ Zoom meeting

รายงานประจ�ำปี 2566 - 56 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


3) จัดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการพัฒนา
ข้อ เสนองานวิ จั ย และงานสร้า งสรรค์ใ ห้ไ ด้รั บ ทุน
ในวั น ที่ 14 กรกฎาคม 2566 และ ระหว่ า งวั น ที่
17 – 19 กรกฎาคม 2566 ณ ห้อ งประชุมชั้น 4
อาคารสารสนเทศ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ศาลายา
และการประชุมทางไกลผ่านระบบ Zoom meeting

4) จั ด โครงการสัม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร


เขียนบทความงานวิจัย งานสร้างสรรค์ บทความ
วิ ชาการเพื่ อ เผยแพร่ในระดับ ชาติและนานาชาติ
ในวันที่ 5 กันยายน 2566 ณ ห้องประชุมชั้น 4
อาคารสารสนเทศ สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นศิ ล ป์
ศาลายา และการประชุมทางไกลผ่านระบบ Zoom Meeting

5) จัด โครงการสัมมนาเชิ งปฏิ บัติการ


น าเสนอหั ว ข้อ โครงการงานวิ จั ย การเรี ย น
การสอน และโครงการงานสร้า งสรรค์ เ พื่ อ
ขอรั บ ทุน ปี งบประมาณ พ.ศ. 2567 ในวั น ที่
19 กั น ยายน และวั น ที่ 22 กั น ยายน 2566
ณ ห้องประชุมชั้น 4 อาคารสารสนเทศ สถาบัน
บั ณ ฑิ ต พั ฒ นศิ ล ป์ ศาลายา และการประชุม
ทางไกลผ่านระบบ Zoom Meeting

รายงานประจ�ำปี 2566 - 57 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.2.2.2 สนับ สน นุ ท นุ การสร้า งงานวิ จ ัย งานสร้า งสรรค์ และการจัด การ
องค์ความรู้ จานวน 49 เรื่อง งบประมาณ 1,413,900 บาท (หนึ่ งล้านสี่แสน
หนึ่งหมื่นสามพันเก้าร้อยบาทถ้วน) ดังนี้
1) ให้ท นุ งานสร้า งสรรค์ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 เป็ นเงิน 976,000 บาท
(เก้าแสนเจ็ดหมื่นหกพันบาทถ้วน) จานวน 26 เรื่อง
2) ให้ท นุ การวิ จัย ด้า นการเรี ย นการสอน ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 เป็ นเงิน
209,400 บาท (สองแสนเก้าพันสี่รอ้ ยบาทถ้วน) จานวน 19 เรื่อง
3) ให้ทนุ การจัดการองค์ความรู้ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 เป็ นเงิน 228,500 บาท
(สองแสนสองหมื่นแปดพันห้าร้อยบาทถ้วน) จานวน 4 เรื่อง
2.2.2.3 จัดหาแหล่งท ุนวิจยั ภายนอก
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ได้รับสนับสนุนทุนการวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก จานวน 3 แหล่งทุน
รวม 33 ทุน งบประมาณ 5,969,000 บาท (ห้าล้านเก้าแสนหกหมื่นเก้าพันบาทถ้วน) ดังนี้
1) ได้รบั เงินอุดหนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกสว.) ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2566 สนับสนุนงานมูลฐาน (Fundamental Fund) งบประมาณ 2,759,000 บาท
(สองล้านเจ็ดแสนห้าหมื่นเก้าพันบาทถ้วน) ผูร้ บั ทุน จานวน 26 เรื่อง ดังนี้
1.1) เรื่อง การสร้างสรรค์นวัตกรรมการเรียนรู้ เรื่อง “ละครรา” สาหรับเด็กและ
เยาวชนโดยนางสาวธิตมิ า อ่องทอง สังกัดวิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง
1.2) เรื่อง การพัฒนาแอพพลิเคชันดนตรีพื้นบ้านอีสาน ประเภทเครื่องตี เป่ า ดีด สี
บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์เพื่อการเรียนรูด้ นตรีพื้นบ้านอีสานอย่างยัง่ ยืน โดย ผศ.ดร.โยธิน พลเขต
สังกัดวิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด
1.3) เรื่อง การพัฒนาแอปพลิเคชัน่ ฝึ กขับร้องเพลงไทยสาหรับเด็กเพื่อชาวไทยและ
ชาวต่างชาติ โดย ดร.สุชาดา โสวัตร สังกัดคณะศิลปศึกษา
1.4) เรื่อง การประเมินหลักสูตรนาฏดุริยางคศิ ลป์ ระดับประกาศนียบัตรวิ ชาชีพ
พุทธศักราช 2562 สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม โดย ผศ.ดร.ประวีนา เอี่ยมยี่ส่นุ
ดร.ทิพอนงค์ กุลเกตุ ดร.กิตติศักดิ์ สินธุโคตร ดร.กัลยาณี ยังสังข์ สังกัดสานักงานอธิการบดี
1.5) เรื่อง การพัฒนากิจกรรมการเรียนรูท้ ี่เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และทักษะ
การวิ จั ย ผ่ า นการเรี ย นรู้แ บบออนไลน์ ส าหรั บ ผู้เ รี ย นหลั ก สูต รประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ ครู
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ โดย ผศ.ดร.ภูริ วงศ์วิเชียร สังกัดคณะศิลปศึกษา

รายงานประจ�ำปี 2566 - 58 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


1.6) เรื่อง การศึกษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม
สูก่ ารจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 โดย ผศ.ธัญญาลักษณ์ ใจเที่ยง สังกัดคณะศิลปศึกษา
1.7) เรื่ อง กลมคนัง : การสืบทอดและสร้างสรรค์จากบทพระราชนิพนธ์เรื่ องเงาะป่ า
ในพระบาทสมเด็ จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หั ว โดยนายกฤษณะ สายสุนี ย์ สังกัดวิ ทยาลัยนาฏศิ ลป
นครศรีธรรมราช
1.8) เรื่อง สื่อมัลติมีเดีย ชุดฝึ กทักษะสาหรับพัฒนาศักยภาพผูเ้ รียนระนาดทุม้ เบื้องต้น
โดยว่าที่รอ้ ยตรีวิชยั ภูเ่ พ็ชร์ สังกัดคณะศิลปศึกษา
1.9) เรื่อง การสร้างสรรค์เพลงเดี่ยวเครื่องดนตรีไทยจากวงปี่ พาทย์เครื่องคู่ในตับเพลง
เรื่องหมูป่าขุนนา้ นางนอน โดย ผศ.ชยพร ไชยสิทธิ์ สังกัดวิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช
1.10) เรื่อง เพลงเปี ยโนอีสานสรภัญญ์ โดยนายสิทธิพงษ์ ยอดนนท์ และ ผศ.นคร วงศ์ไชย
รัตนกุล สังกัดวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี
1.11) เรื่ อง การพัฒนาทักษะการเรี ยนรูแ้ ละนวั ตกรรมในการแก้ปั ญหาชุมชนสาหรับ
นักศึ กษาเพื่ อการพัฒนาที่ ยัง่ ยื น ด้วยการเรี ยนรูแ้ บบบริ การสังคม โดย นายปรเมศวร์ พื ชผักหวาน
สังกัดสานักงานอธิการบดี
1.12) เรื่ อ ง การพั ฒนาแบบประเมิ นสมรรถนะการฝึ กประสบการณ์ วิ ชาชี พ ครู
ของนักศึ กษาปริ ญญาตรี หลักสูตรศึ กษาศาสตรบัณฑิ ต ๔ ปี ส่ วนภูมิ ภาคภาคใต้ สถาบั นบั ณฑิ ต
พัฒนศิลป์ โดยนางสาวปาริชาติ แซ่เบ๊ สังกัดวิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช
1.13) เรื่ อง การมี ส่ วนร่ วมของชุมชนในการน าภูมิ ปั ญญาท้องถิ่ นมาใช้ในการจั ด
การเรียนรูใ้ นสถานศึกษาอย่างยัง่ ยืนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อาเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย
โดย ผศ.พิมพ์พรลภัส ลักษณะวิเชียร สังกัดวิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย
1.14) เรื่ อง ดุริ ยางคศิ ลป์ ไทยสร้างสรรค์ ชุด สุดสงวน สามซอ โดย ผศ.สุวรรณี
ชูเสน สังกัดคณะศิลปนาฏดุริยางค์
1.15) เรื่อง แสงและรูปในงานประติมากรรมแก้ว โดย ผศ.กาญจนา ชลสุวัฒน์ สังกัด
วิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี
1.16) เรื่อง การศึ กษางานพุทธศิ ลป์ ร่วมสมัย กรณี ศึกษา ศรีวรรณ เจนหัตถการกิจ
โดย ผศ.มินทร์ลดา จักรชัยอนันท์ สังกัดคณะศิลปวิจิตร
1.17) เรื่อง ขนบ และพัฒนาการทักษะการเป่ าแคนประกอบหมอลาทางสัน้ ทานองขอนแก่น
สูช่ มชุนเพื่อความยัง่ ยืน โดยนายชยพล เพียรชนะ สังกัดวิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด
1.18) เรื่อง นวัตกรรมการขึ้นลอยในการแสดงโขนสูก่ ารราคู่แบบราชสานัก ชุด พระไทรอุม้ สม
โดย ผศ.ขวัญใจ คงถาวร สังกัดคณะศิลปนาฏดุริยางค์

รายงานประจ�ำปี 2566 - 59 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


1.19) เรื่อง ราวงสวัสดี : นวัตกรรมนาฏศิ ลป์ สร้างสรรค์เพื่อการส่งเสริมสุขภาวะที่ดี
ของผูส้ งู วั ยในจั งหวั ดนครปฐม โดย พิ มพิ กา มหามาตย์ ผศ.จิ นตนา อนุวั ฒน์ ผศ.ฤดี ชนก คชเสนี
และนายปรัชญา เข็มนาค สังกัดวิทยาลัยนาฏศิลป
1.20) เรื่ อง โขน สรร สุข : นวั ตกรรมการฝึ กหั ดโขนเพื่ อการเสริ มสร้างสุขภาวะ
โดย นายณรงค์ฤทธิ์ เชาว์กรรม สังกัดคณะศิลปนาฏดุริยางค์
1.21) เรื่อง การแสดงสร้างสรรค์ ชุด รฐา-กฤษณะ โดยนายเอกลักษณ์ หนูเงิน สังกัด
คณะศิลปนาฏดุริยางค์
1.22) เรื่อง การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพจิตด้วยศิลปะสาหรับผูส้ งู อายุ โดยการ
มีส่วนร่วมของชุมชน โดยนางสาวบุญเรือน จันทร์แก้ว และนางจิรวรรณ อังศุชวาลวงศ์ สังกัดวิทยาลัย
ช่างศิลปนครศรีธรรมราช
1.23) เรื่ อ ง นาฏนวั ต กรรมร าแม่ บ ทเบิ ก โรง โดย รศ.จิ น ตนา สายทองค า
ผศ.ฤทธิเทพ เถาว์หิรญ ั สังกัดคณะศิลปนาฏดุริยางค์
1.24) เรื่ อง การเบิ กหน้าพระ (ไหว้ครู) หนังใหญ่ : มรดกภูมิปั ญญาทางวัฒนธรรม
สู่การแสดงเบิกโรงสร้างสรรค์ชดุ “หนังใหญ่นาฏกรรม อานวยพร” โดยนายนิติพงษ์ ทับทิมหิน สังกัด
คณะศิลปนาฏดุริยางค์
1.25) เรื่ อง นาฏยประดิษฐ์ ชุด ราชย์สักการ โดยนางสาวกรกนก ทับจี น สังกัดคณะ
ศิลปนาฏดุริยางค์
1.26) เรื่ อง นาฏยประดิษฐ์ ชุด องคตยศยง โดยว่ าที่ รอ้ ยตรี จตุพร ภักดี สังกัดคณะ
ศิลปศึกษา
2) ได้รั บ เงิ น อุด หนุน ทุน การวิ จั ย และนวั ต กรรม ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2566
จากสานักงานการวิ จัยแห่งชาติ (วช.) ภายใต้แผนงาน P17 พัฒนาและประยุกต์ใช้มนุษยศาสตร์
สังคมศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ เพื่อส่งเสริมคุณค่าและความงอกงามของศิลปะและวัฒนธรรม
ให้เ ป็ นทุน ส าคั ญ ในการพั ฒ นาประเทศให้เ ป็ นอารยะอย่ า งยั ่ง ยื น และปรั บ ตัว ได้ทั น ต่ อ พลวั ต
การเปลี่ยนแปลง งบประมาณ 2,910,000 บาท (สองล้านเก้าแสนหนึ่งหมื่นบาทถ้วน) ผูร้ ับทุน
จานวน 6 เรื่อง ดังนี้
2.1) เรื่อง นาฏยประดิษฐ์ : มะเมี๊ยะ โดยนางสาวพิชญา บวรอิทธิกร สังกัดวิทยาลัยนาฏศิลป
2.2) เรื่อง นฤตยาพระอุมาเทวี โดยนางคณรัตน์ บัวทอง สังกัดวิทยาลัยนาฏศิลป
นครศรีธรรมราช
2.3) เรื่อง นาฏยประดิษฐ์ ชุด นาฏะปั นจักลีลา โดยนางสาวมรกต ไพรศรี สังกัดคณะ
ศิลปศึกษา
2.4) เรื่อง การแสดง ชุด มหาราชันจันทบูร โดยนายทรัพย์สถิต ทิมสุกใส สังกัด
วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี

รายงานประจ�ำปี 2566 - 60 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.5) เรื่อง ลายรดนา้ ร่วมสมัยการเตรียมพื้นรักใสบนวัสดุพื้นถิ่น แรงบันดาลใจจากวิถีชีวิต
ชาวใต้ โดยนางสาววรรณวิสา พัฒนศิลป์ สังกัดวิทยาลัยช่างศิลป
2.6) เรื่อง การสร้างสรรค์ลวดลายแบบอยุธยาสู่งานออกแบบผลิตภัณฑ์สินค้าของ
ที่ระลึกจังหวัดสุพรรณบุรี โดยนายแผน เอกจิตร สังกัดวิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี

3) ได้รับเงินอุดหนุนทุนการวิจัย ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 จากสานักงานรับรอง


มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. งบประมาณ 300,000 บาท
(สามแสนบาทถ้วน) เรื่อง การพัฒนาระบบการติดตาม และประเมินผลการนาผลการประเมินไปใช้
เพื่อพัฒนาคุณภาพของสถานศึ กษา สาหรับสถานศึกษาที่มีวัตถุประสงค์พิเศษ : วิทยาลัยนาฏศิลป
โดย ดร.ปรเมศวร์ พืชผักหวาน และนางสาวชัญญาภัค แก้วไทรท้วม

2.2.2.4 เผยแพร่ผลงานวิจยั และผลงานสร้างสรรค์ ในระดับชาติและนานาชาติ


สถาบันบัณ ฑิตพัฒนศิ ลป์ เล็ งเห็ นถึ งความสาคัญของการประชุมวิ ชาการระดับชาติและ
นานาชาติ ซึ่ ง ก่อ ให้เ กิ ด ประโยชน์หลายประการสาหรับ นักวิ ชาการ นักวิ จัย และผูเ้ ข้า ร่ว มประชุม
เพื่ อ ให้เ กิ ด การต่อ ยอดองค์ความรูแ้ ละนาไปใช้ป ระโยชน์ รวมทั้ง บูรณาการเข้า กับ ศาสตร์ต่า ง ๆ
เพื่อสร้างความก้าวหน้าและพัฒนาการศึกษาไทยด้านศิลปวัฒนธรรมอีกรูปแบบหนึง่ และยังเป็ นการ
แลกเปลี่ยนเรียนรูร้ ่วมกันในศาสตร์แห่งศิ ลป์ ที่สาคัญ อีกทั้งยังสร้างความแข็งแกร่งทางวิ ชาการ
งานวิ จัย และพัฒนาการศึ กษาด้า นศิ ลปวั ฒนธรรมด้วยการมีส่วนร่วมสร้า งและนาพาดนตรี แ ละ
วั ฒ นธรรมสู่ค วามส าเร็ จ อย่ า งยัง่ ยื น เพื่ อ มวลมนุษ ยชาติ โดยการน าเสนอผลงานสร้า งสรรค์
ระดับชาติ การนาเสนอผลงานวิจยั และการตีพิมพ์ในวารสารทัง้ ระดับชาติและระดับนานาชาติ ดังนี้
1) การเผยแพร่ผลงานวิจยั ผลงานสร้างสรรค์ และองค์ความรูข้ องสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
ผลงานวิจยั ผลงานสร้างสรรค์ และองค์ความรูไ้ ด้รบั การตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติ
และนานาชาติ จานวน 146 เรื่อง ดังนี้
1. การน าเสนอผลงานสร้า งสรรค์ ผลงานวิ จัย ในระดับ ชาติแ ละระดับ นานาชาติ
จานวน 105 เรื่อง ดังนี้
1.1 น าเสนอผลงานวิ จั ย ผลงานสร้า งสรรค์ ผลงานนวั ต กรรมที่ ไ ด้รั บ การ
เผยแพร่ในงาน THE 10TH INTERNATIONAL FESTIVAL OF ARTS AND CULTURE 2022 ระหว่าง
วันที่ 10 - 11 พฤศจิกายน 2565 ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จานวน 3 เรื่อง
1.2 จัดแสดงผลงานสร้างสรรค์ในนิทรรศการศิลปกรรมนานาชาติ Kenduri Seni
Nusantara - Patani 2565 ระหว่างวันที่ 13 สิงหาคม – 30 พฤศจิกายน 2565 จานวน 1 เรื่อง

รายงานประจ�ำปี 2566 - 61 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


1.3 เผยแพร่ผลงานสร้างสรรค์ในการประชุมวิ ชาการระดับชาติ งานมหกรรม
วั ฒ น ธ ร ร ม ท้ อ ง ถิ่ น ร่ ว ม ส มั ย ค รั้ ง ที่ 4 The national Creative Work VRU Presentation Folk
Contemporary Festival 2022 ระหว่างวันที่ 29 - 30 พฤศจิกายน 2565 ณ คณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี จานวน 4 เรื่อง
1.4 นาเสนอผลงานสร้างสรรค์ใน Southeat Asian Nation' Culture Confluence 2022
ณ เมืองคุวาหาฏิ รัฐอัสสัม ประเทศอินเดีย ระหว่างวันที่ 3 - 5 ธันวาคม 2565 จานวน 1 เรื่อง
1.5 จั ดแสดงผลงานสร้างสรรค์ในงานนิ ทรรศการศิ ลปะดิ จิ ทั ลออนไลน์ร ะดั บ
นานาชาติ ครัง้ ที่ 3 (The 3rd International Virtual Digital Art Exhibition) โดยสมาคม ASEDAS 2022 ระหว่าง
วันที่ 1 มิถนุ ายน – 31 ธันวาคม 2565 จานวน 1 เรื่อง
1.6 การนาเสนอผลงานนาฏศิ ลป์ สร้างสรรค์ระดับชาติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิ ลป์
ครั้งที่ 6 ระหว่ างวั นที่ 16 – 17 ธันวาคม 2565 ณ โรงละครศิ ลปนาฏดุริ ยางค์ สถาบันบัณฑิ ต
พัฒนศิลป์ จานวน 14 เรื่อง
1.7 จัดแสดงผลงานสร้างสรรค์ในงานนิทรรศการ consistency in diversity international
seminar faculty of visual arts Isi Yogyakarta วันที่ 19 ธันวาคม 2565 จานวน 1 เรื่อง
1.8 จั ดแสดงผลงานสร้างสรรค์ในงานจิ ตรกรรมบั วหลวง ณ หอศิ ลป์ สมเด็ จ
พระนางเจ้า สิริกิตติ์ วันที่ 1 มกราคม 2566 จานวน 1 เรื่อง
1.9 การนาเสนอผลงานสร้างสรรค์ดา้ นนาฏดุริยางคศิ ลป์ ระดับชาติและการแสดง
นิทรรศการผลงานทางทัศนศิลป์ ระดับชาติและนานาชาติ ในงานการแสดงมหกรรมศิลปวัฒนธรรมไทย
4 ภาค “สืบศิลป์ สร้างสรรค์ บัณฑิตพัฒนศิลป์ สู่แดนดินถิ่นบูรพา” ระหว่างวันที่ 14 - 15 มกราคม
2566 ณ วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี จานวน 48 เรื่อง
1.10 จั ด แสดงผลงานในโครงการสั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ การสร้า งสรรค์ผ ลงาน
ศิลปกรรมของคณาจารย์ ศิลปิ นระดับชาติ และนานาชาติ (โฮมดิน 3) ระหว่างวันที่ 20 - 26 กุมภาพันธ์
2566 ณ โรงปั้ นชุมชนด่านเกวียน อาเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา จานวน 1 เรื่อง
1.11 จัดแสดงผลงานสร้างสรรค์ในนิทรรศการโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการทาง
ทัศนศิลป์ และนิทรรศการนานาชาติ ครัง้ ที่ 17 ( The 17th Poh-Chang International Art Festival & Workshop
in Thailand 2023) ระหว่างวันที่ 9 - 11 กุมภาพันธ์ 2566 ณ พิพิธภัณฑ์เพาะช่างเฉลิมพระเกียรติ
จานวน 1 เรื่อง
1.12 จัดแสดงผลงานในงานนิทรรศการเครื่องปั้ นดินเผานานาชาติ "Beyond The Tea Cup"
ระหว่างวันที่ 2 กุมภาพันธ์ – 18 มีนาคม 2566 ณ อาร์เดลเธิรด์ เพลสแกลเลอรี (ทองหล่อซอย 10)
จานวน 1 เรื่อง
1.13 จั ด แสดงผลงานสร้า งสรรค์ใ นงานนิ ท รรศการ “ไฟลุก ” ระหว่ า งวั น ที่
2 - 30 เมษายน 2566 ณ บ้านสามครู ชุมชนหัวตะเข้ เขตลาดกระบัง กรุงเทพฯ จานวน 1 เรื่อง

รายงานประจ�ำปี 2566 - 62 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


1.14 จัดแสดงผลงานสร้างสรรค์ในโครงการ KMUTNB 8th International Art And
Design Workshop 2023 ภายใต้ชื่องาน“สรรค์สร้างอย่างยัง่ ยืน” ระหว่างวันที่ 1 - 4 มีนาคม 2566
ณ คณะสถาปั ตยกรรมและการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.)
จานวน 1 เรื่อง
1.15 การเผยแพร่ ผลงานวิ จั ยในการประชุมวิ ชาการระดับ ชาติ วิ ทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและนวั ตกรรม มหาวิ ทยาลัยแม่โจ้ ครั้งที่ 4 วันที่ 27 มีนาคม 2566 ณ ห้องเอกภพวิ ทยา
ชัน้ G อาคารจุฬาภรณ์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จานวน 1 เรื่อง
1.16 การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิ ลป์
ครั้งที่ 7 และการประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดับนานาชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ครั้งที่ 6
ระหว่างวันที่ 21 - 23 กรกฎาคม 2566 ณ โรงแรมสองพันบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จานวน 22 เรื่อง
1.17 นาเสนอผลงานสร้างสรรค์ในงานมหกรรมวิจัยแห่งชาติ 2566 ระหว่างวันที่
7 - 11 สิงหาคม 2566 ณ โรงแรมเซนทาราแกรนด์ และ บางกอกคอนเวนชัน่ เซนเตอร์ เซ็ นทรัลเวิลด์
กรุงเทพฯ จานวน 1 เรื่อง
1.18 โครงการสัมมนาวิ ชาการ วิจัย และอบรมเชิงปฏิบัติการด้านศิ ลปวัฒนธรรม
ระดับนานาชาติ ภายใต้หวั ข้อ "ศิลปวัฒนธรรมกับการพัฒนาที่ยงั ่ ยืน" The 1st International Conference on
Art and Culture for Sustainable Development "ICACSD" ในวั นที่ 23 สิงหาคม 2566 ณ คณะศิ ลปกรรม
ศาสตร์และวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จานวน 2 เรื่อง

2. ผลงานวิจยั ผลงานสร้างสรรค์ได้รบั การตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติและนานาชาติ


จานวน 41 เรื่อง ดังนี้
2.1 ชื่อผลงาน การสร้างชุดฝึ กทักษะเพื่อการพัฒนาทักษะการสีซอสามสายคลอร้อง
ของนักเรียนระดับชัน้ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ วิทยาลัยนาฏศิลป ชื่อวารสาร วารสารดนตรีและการแสดง
ปี ที่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565) ผูจ้ ัดทา นายชนะชัย กอผจญ ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ัดทา
วิทยาลัยนาฏศิลป
2.2 ชื่อผลงาน ละครในราชสานัก: องค์ความรูม้ รดกภูมิปั ญญาทางวั ฒนธรรม
ของไทย ชื่อวารสาร วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ ปี ที่ 24 ฉบับที่ 1(47) กรกฎาคม - ธันวาคม
2565 ชื่อผูจ้ ดั ทา ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ขวัญใจ คงถาวร ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ดั ทา คณะศิลปนาฏดุริยางค์
2.3 ชื่อผลงาน บทความเพลงช้า – เพลงเร็ว ชื่อวารสาร วารสารมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ปี ที่ 14 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2565
ชื่ อผูจ้ ัดท า ผศ.ฤดี ชนก คชเสนี ผศ.นฤมล ณ นคร ผส.จิ นตนา อนุวั ฒน์ ผศ.ธนกร สุวรรณอ าภา
และนางสาวพิมพิกา มหามาตย์

รายงานประจ�ำปี 2566 - 63 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.4 ชื่อผลงาน อินทกะอสุรบาล: นาฏศิลป์ ไทยสร้างสรรค์จากคติความเชื่อเรื่องยักษ์
ในพุทธศาสนา ชื่อวารสาร ดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา ปี ที่ 8 ฉบับที่ 2 (2022) กรกฎาคม –
ธันวาคม 2565 ชื่อผูจ้ ดั ทา นายเจษฎา เนตรพลับ ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ดั ทา วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย
2.5 ชื่อเรื่อง องค์ความรูป้ ราชญ์ดรุ ิยางคศิ ลปิ น : ครูอานาจ นุ่นเอียด ชื่อวารสาร
วารสารพั ฒนศิ ลป์ วิ ชาการ ปี ที่ 6 ฉบั บที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565) ชื่ อผูจ้ ั ดท า ผูช้ ่ ว ย
ศาสตราจารย์กิตติชยั รัตนพันธ์ ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ดั ทา วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง
2.6 ชื่อเรื่อง กลองไชยมงคล : การเปรียบเที ยบหลักการเรี ยนรูข้ องพ่อครูมานพ
ยาระณะ ปราชญ์พื้ นบ้านล้านนา และทฤษฎี ทางการศึ กษาของ Benjamin Bloom ชื่ อวารสาร วารสาร
พัฒนศิ ลป์ วิ ชาการ ปี ที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565) ชื่อผูจ้ ัดทา ผูช้ ่วยศาสตราจารย์
ปทุมทิพย์ กาวิล ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ัดทา วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่
2.7 ชื่ อ เรื่ อ ง วงปี่ พาทย์ ค ณะรั ต นบรรเลง และการสื บ ทอดทางดนตรี ข อง
นายพิษ รัตนสันเทียะ ชื่อวารสาร วารสารพัฒนศิลป์ วิชาการ ปี ที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม
2565) ชื่อผูจ้ ดั ทา นายอัครเดช แดนงูเหลือม ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ดั ทา วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา
2.8 ชื่อเรื่ อง การเจรจาเลียนสาเนียงตามเชื้อชาติที่ ปรากฏในละครพันทาง เรื่ อง
ราชาธิราช ชุด สมิงพระรามอาสา ชื่อวารสาร วารสารพัฒนศิลป์ วิชาการ ปี ที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม –
ธันวาคม 2565) ชื่อผูจ้ ดั ทา นายภุมรินทร์ มณีวงษ์ ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ดั ทา วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย
2.9 ชื่ อเรื่ อง การพัฒนาการเล่าเรื่ องดิ จิ ทัลส าหรับนักศึ กษาวิ ทยาลัยนาฏศิ ลป
เชียงใหม่ ชื่ อวารสาร วารสารพัฒนศิ ลป์ วิ ชาการ ปี ที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565)
ชื่อผูจ้ ัดทา นายรัฐพล พรหมมาศ และนายประโยชน์ มีสกุล ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ัดทา วิทยาลัยนาฏศิลป
เชียงใหม่
2.10 ชื่อเรื่อง การพัฒนาแบบฝึ กทักษะการร้องร่าย สาหรับขับร้อง ประกอบการ
แสดงโขน-ละคร รายวิชาทักษะดนตรีไทย 1 ของนักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาดนตรี
ศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ชื่อวารสาร วารสารพัฒนศิลป์ วิชาการ ปี ที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม –
ธันวาคม 2565) ชื่อผูจ้ ดั ทา นางชุลี เมธาศุภสวัสดิ์ ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ดั ทา วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์
2.11 ชื่อเรื่อง การใช้นา้ ดินสีในการสร้างสรรค์งานเครื่องเคลือบดินเผา ชื่อวารสาร
วารสารพัฒนศิ ลป์ วิ ชาการ ปี ที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565) ชื่ อผูจ้ ัดท า นางสาว
เกษกานต์ ชูประดิษฐ์ ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ดั ทา วิทยาลัยช่างศิลป
2.12 ชื่ อเรื่ อง จิ ตรกรรมลายรดน ้าร่ วมสมัย แรงบันดาลใจจากวิ ถี ชี วิ ตชาวใต้
ชื่อวารสาร วารสารพัฒนศิ ลป์ วิ ชาการ ปี ที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565) ชื่อผูจ้ ัดท า
นางสาววรรณวิสา พัฒนศิลป์ ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ัดทา วิทยาลัยช่างศิลป

รายงานประจ�ำปี 2566 - 64 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.13 ชื่อเรื่อง การพัฒนาแบบฝึ กการเขียนร้อยแก้วเชิงสร้างสรรค์สาหรับนักศึ กษา
ปริญญาตรี ชั้นปี ที่ 2 วิ ทยาลัยนาฏศิ ลปสุโขทัย ชื่อวารสาร วารสารมหาวิ ทยาลัยศิ ลปากร ปี ที่ 42
ฉบับที่ 6 (พฤศจิกายน – ธันวาคม) พ.ศ. 2565 ชื่อผูจ้ ดั ทา ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์กิตติคณ ุ รัตนเดชกาจาย
ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ดั ทา วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย
2.14 ชื่ อผลงาน แนวทางการจัดการศึ กษาด้านศิ ลปกรรมที่ ส่งเสริ มเศรษฐกิ จ
เชิ งสร้างสรรค์ ชื่ อวารสาร วารสารสังคมศาสตร์และวั ฒนธรรมโรงเรี ยนพระปริ ยัติ ธรรมสามั ญ
วั ดสระเรี ยง จ.นครศรี ธรรมราช ปี ที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2565) ผูจ้ ัดท า ผูช้ ่วย
ศาสตราจารย์ทวีวัฒน์ จิตติเวทย์กลุ ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ดั ทา วิทยาลัยช่างศิลป
2.15 ชื่อผลงาน การสืบทอดทางดนตรีของสานักดนตรีไทยบ้านสิงห์บรุ ี ชื่อวารสาร
วารสารทีทัศน์วัฒนธรรม ปี ที่ 21 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2565) ผูจ้ ัดทา นายสุรศักดิ์ ทองคาศรี
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์สาริศา ประทีปช่วง นางวัชรมณฑ์ อรัณยะนาค ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ัดทา โครงการ
บัณฑิตศึกษา
2.16 ชื่อผลงาน ดนตรีในกระบวนพยุหยาตราทางสถลมารค ชื่อวารสาร วารสาร
ชุมชนวิจยั มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ปี ที่ 16 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม – ธันวาคม 2565) ชื่อผูจ้ ดั ทา
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ธัญญลักษณ์ อุบลเลิศ และนายญานเวทย์ เหมือนพร้อม ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ัดทา
วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด
2.17 ชื่อผลงาน ประวัติและรูปแบบการแสดงหนังประโมทัย คณะเพชรบ้านราช
จัง หวั ด ร้อ ยเอ็ ด ชื่ อ วารสาร วารสารวิ ช าการมหาวิ ท ยาลัย ราชภัฏ ศรี ส ะเกษ ปี ที่ 16 ฉบับ ที่ 3
(กันยายน – ธันวาคม 2565)ชื่อผูจ้ ัดทา นายพุฒธิพงษ์ พาหา ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ัดทา วิทยาลัย
นาฏศิลปร้อยเอ็ด
2.18 ชื่อผลงาน การสร้างสรรค์เดี่ยวซออูเ้ พลงฉิ่งมุลง่ ชัน้ เดียว ชื่อวารสาร วารสาร
วิ พิธพัฒนศิ ลป์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิ ลป์ ที่ 2 ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม 2565) ผูจ้ ัดทา
นายฐกฤต สุกลุ กิตติไกร ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ดั ทา คณะศิลปศึกษา
2.19 ชื่อผลงาน แนวทางพัฒนาการใช้สื่อการสอนออนไลน์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
โดยใช้แบบจาลอง Assure Model ชื่อวารสาร วารสารสังคมศาสตร์และวัฒนธรรม ปี ที่ 7 ฉบับที่ 1
(มกราคม 2566) โรงเรียนพระปริยัติธรรมสามัญวั ดสระเรียง จังหวัดนครศรีธรรมราช ชื่อผูจ้ ดั ทา
นางสาวธนพัต ธรรมเจริญพงศ์ ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ดั ทา วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี
2.20 ชื่อผลงาน ศิลปะภาพถ่ายในสื่อดิจิทัล โดยการจัดการเรียนรูแ้ บบประสบการณ์
ของนักศึกษาในสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ชื่อวารสาร วารสารสหวิทยาการวิ จัยและวิชาการ ปี ที่ 3
ฉบับที่ 2 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2566 ชื่อผูจ้ ัดทา นางสาวธนพัต ธรรมเจริญพงศ์ ชื่อหน่วยงาน
ของผูจ้ ดั ทา วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี

รายงานประจ�ำปี 2566 - 65 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.21 ชื่ อ ผลงาน การวิ เ คราะห์พ ฤติ ก รรมการใช้สื่ อ การสอนออนไลน์ด ้ว ย
แบบจาลอง Assure Model ของคณะครูอ าจารย์ในสถาบันบัณ ฑิตพัฒนศิ ลป์ ชื่อ วารสาร วารสาร
สหวิทยาการวิจัยและวิชาการ ปี ที่ 2 ฉบับที่ 2 มีนาคม – เมษายน 2566 ชื่อผูจ้ ัดทา นางสาวธนพัต
ธรรมเจริญพงศ์ ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ดั ทา วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี
2.22 ชื่อผลงาน ลงสรงนาฏดนตรี : นาฏศิลป์ สร้างสรรค์การราลงสรงจากละคร
ราสู่ลิเก ชื่อวารสาร วารสารไทยศึ กษา จุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย ปี ที่ 19 ฉบับที่ 1 มกราคม –
มิถนุ ายน 2566 ชื่อผูจ้ ัดทา นายกฤษณะ สายสุนีย์ ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ัดทา วิ ทยาลัยนาฏศิ ลป
นครศรีธรรมราช
2.23 ชื่อผลงาน ละครราเรื่อง กาตยานี : นาฏศิลปสร้างสรรค์จากภารตนาฏยัม
และนาฏศิลป์ ไทย ชื่อวารสาร วารสารมนุษย์ศาสตร์วิชาการ ปี ที่ 30 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถนุ ายน
2566 มหาวิ ท ยาลัยเกษตรศาสตร์ ชื่ อ ผูจ้ ัด ทา นายกฤษณะ สายสุนีย์ ชื่อ หน่ว ยงานของผูจ้ ัดทา
วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช
2.24 ชื่อผลงาน ความสาคัญของการละเล่นมอญซ่อนผ้าในมิตเิ พลงไทยสาเนียงมอญ
ชื่อวารสาร วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์ ปี ที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2566) ชื่อผูจ้ ัดทา
นายจักกฤษณ์ วัฒนกูล ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ดั ทา วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี
2.25 ชื่อผลงาน การใช้แอพพลิเคชัน TikTok เพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรูเ้ รื่อง
ศัพท์สังคีตดนตรีไทย (ปี่ ใน) ชื่อวารสาร วารสารพัฒนศิลป์ วิชาการ ปี ที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม -
มิถนุ ายน 2566) ชื่อผูจ้ ัดทา นายอาพน ชุมยวง และว่าที่รอ้ ยตรีบญุ เลิศ กร่างสะอาด ชื่อหน่วยงาน
ของผูจ้ ดั ทา วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี
2.26 ชื่อผลงาน การสังเคราะห์ศิลปนิพนธ์ของนักศึกษา หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต
สถาบันบัณ ฑิตพัฒนศิ ลป์ ชื่ อ วารสาร วารสารพัฒนศิ ลป์ วิ ชาการ ปี ที่ 7 ฉบับ ที่ 1 (มกราคม -
มิถนุ ายน 2566) ชื่อผูจ้ ัดทา นางทิพอนงค์ กุลเกตุ ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ัดทา วิ ทยาลัยนาฏศิ ลป
สุพรรณบุรี
2.27 ชื่อผลงาน กระบวนการสร้างสรรค์ศิลป์ การขับเสภาละครเรื่อง ขุนช้าง ขุนแผน
ตอน ขุนแผนพานางวันทองหนี ภาคภาษาอังกฤษ ชื่อวารสาร วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ปี ที่ 17 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถนุ ายน 2566) ผูจ้ ัดทา
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์นพคุณ สุดประเสริฐ ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ดั ทา คณะศิลปนาฏดุริยางค์
2.28 ชื่อผลงาน ผลของการใช้รปู แบบการจัดการเรียนรูเ้ พื่อส่งเสริมคุณลักษณะ
ความเป็ นพลเมืองดีตามแนวคิดการเรียนการสอนโดยการบริการสังคม สาหรับนักศึกษาปริญญาตรี
ชื่อวารสาร วารสารสังคมศาสตร์วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ปี ที่ 14 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม –
ธันวาคม 2566) ผูจ้ ดั ทา นายปรเมศวร์ พืชผักหวาน ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ดั ทา สานักงานอธิการบดี

รายงานประจ�ำปี 2566 - 66 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.29 ชื่ อ ผลงาน The Creation of Abstract Paintings Inspired from Nature by Yarn
Embroidery Process ชื่อวารสาร วารสารวิพิธพัฒนศิ ลป์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิ ลป์ ปี ที่ 3 ฉบับที่ 1
(มกราคม - เมษายน 2566) ผูจ้ ัดทา นางสาวชุติมา พรหมเดชะ ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ัดทา วิทยาลัย
ช่างศิลป
2.30 ชื่อผลงาน ซอบ่ะเก่ากลาง: ทานองขับขานล้านนา แนวทางของแม่ครูบวั ซอน
ถนอมบุญ ศิลปิ นแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (การแสดงพื้นบ้าน - การขับซอ) ประจาปี พ.ศ. 2555
ชื่อวารสาร วารสารดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา ประจาฉบับ ปี ที่ 9 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม -
ธันวาคม พ.ศ. 2566) ผูจ้ ดั ทา นายธีรวัฒน์ หมื่นทา ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ดั ทา วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่
2.31 ชื่อผลงาน ภูมิปัญญาการสร้างกลองดิน ตามแนวทางของพ่อครูคา กาไวย์
ชื่อวารสาร วารสารดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา ประจาฉบับ ปี ที่ 9 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม -
ธันวาคม พ.ศ. 2566) ผูจ้ ดั ทา นายรณฤทธิ์ ไหมทอง วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ ชื่อหน่วยงานของ
ผูจ้ ดั ทา วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่
2.32 ชื่อผลงาน สตรีทอาร์ตกับการพัฒนาเมือง ชื่อวารสาร วารสารพัฒนศิลป์
วิ ช าการ ปี ที่ 7 ฉบั บ ที่ 1 (มกราคม - มิ ถ ุน ายน 2566) ผู้จั ด ท า นายปภณ กมลวุฒิ พ งศ์
ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ดั ทา วิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี
2.33 ชื่อผลงาน การพัฒนาทักษะการปฏิบัติขลุ่ยเพียงออ ของนักศึกษาปริญญาตรี
ปี ที่ 1 สาขานาฏศิลป์ ไทย ด้วยวิธีการสอนเสริม ชื่อวารสาร วารสารพัฒนศิลป์ วิชาการ ปี ที่ 7 ฉบับที่ 1
(มกราคม - มิถนุ ายน 2566) ผูจ้ ดั ทา นายธนาพงษ์ พรหมทัศน์ ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ัดทา วิทยาลัย
นาฏศิลปอ่างทอง
2.34 ชื่อผลงาน การสร้างสรรค์กระบวนท่ารบในการแสดงละครราเรื่องกาตยานี
ชื่ อ วารสาร วารสารพัฒนศิ ลป์ วิ ชาการ ปี ที่ 7 ฉบับ ที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2566) ผูจ้ ัด ท า
นายกฤษณะ สายสุนีย์ และรองศาสตราจารย์ ดร.ศุภชัย จันทร์สวุ รรณ์ ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ัดทา
วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช
2.35 ชื่อผลงาน เทคนิคสติ๊กเกอร์รปู ลอกนา้ ในงานประติมากรรมเครื่องเคลือบ
ดินเผาร่วมสมัยความสมบูรณ์แห่งท้องทะเล ผูจ้ ัดทา ผูช้ ่วยศาสตราจารย์โอภาส นุชนิยม ชื่อวารสาร
วารสารพัฒนศิลป์ วิชาการ ปี ที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2566) ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ดั ทา
คณะศิลปวิจิตร
2.36 ชื่อผลงาน อิทธิพลของเพลงลูกทุ่งที่ส่งผลต่อรูปแบบการแสดงลิเก ผูจ้ ดั ทา
นายอัชฌายง ตรีสมุทร ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ัดทา วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี ชื่อวารสาร วารสาร
ศิลปกรรมศาสตร์วิชาการวิจยั และงานสร้างสรรค์ ปี ที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2566)

รายงานประจ�ำปี 2566 - 67 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.37 ชื่อเรื่อง ชุดฝึ กระนาดทุม้ สาหรับพัฒนาศักยภาพของผูเ้ รียน ชื่อวารสาร
วารสารศรีวนาลัยวิจยั ปี ที่ 13 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2566) ผูจ้ ดั ทา ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์
กิตติ อัตถาผล ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ดั ทา วิทยาลัยนาฏศิลป
2.38 ชื่อผลงาน อิทธิพลของเพลงลูกทุ่งที่ส่งผลต่อรูปแบบการแสดงลิเก ชื่อวารสาร
วารสารศิลปกรรมศาสตร์วิชาการวิจยั และงานสร้างสรรค์ ปี ที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน
2566) ผูจ้ ดั ทา นายอัชฌายง ตรีสมุทร ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ดั ทา วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี
2.39 ชื่อผลงาน หลักการของทานองลูกเท่า ชื่อวารสาร Mahidol Music Journal
ปี ที่ 6 ฉบับที่ 1 (มีนาคม – สิงหาคม 2566) ผูจ้ ัดทา นายวีรศิลป์ ห่วงประเสริฐ ชื่อหน่วยงานของ
ผูจ้ ดั ทา วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี
2.40 ชื่อผลงาน การสร้างสรรค์การแสดงชุด เริงฤดียักษิณีเท่งตุก๊ ชื่อวารสาร
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาปี ที่ 17 ฉบับที่ 2
กรกฎาคม - ธันวาคม 2566 ผูจ้ ดั ทา นางมาลินี แทนบุญ และดร.สาทิด แทนบุญ ชื่อหน่วยงานของ
ผูจ้ ดั ทา วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี
2.41 ชื่ อ เรื่ อ ง Exploring the Potential of Independent Learning for the Acquisition
of Khim Musicianship ชื่ อ วา รสา ร The International Journal of Critical Cultural Studies (Scopus Q3)
Volume 21 Issue 2,2023 ผูจ้ ดั ทา ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์สาริศา ประทีปช่วง ชื่อหน่วยงานของผูจ้ ัดทา
สานักงานอธิการบดี
2) ดาเนินงานจัดทาวารสารพัฒนศิลป์ วิชาการ
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กาหนดยุทธศาสตร์ในการสร้างคุณภาพผลงานวิจัย ผลงาน
สร้า งสรรค์ ผลงานนวั ต กรรม การสร้า งเครื อ ข่า ยและเผยแพร่ ผ ลงานในระดับ ชาติแ ละนานาชาติ
เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาด้านศิลปวัฒนธรรมสู่มาตรฐานสากลผ่านกระบวนการเผยแพร่
ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ดา้ นศิลปวัฒนธรรม และได้ดาเนินการจัดทาวารสารพัฒนศิลป์ วิชาการ
(Patanasilpa Journal) เลขมาตรฐานสากลประจาวารสาร Print ISSN: 2539-5807 และ Online ISSN:
2985-1785 เพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ของครู อาจารย์ และบุคคลทัว่ ไป โดยมี
การเผยแพร่เล่มวารสารปี ละ 2 ฉบับ และในปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 ศูนย์ดชั นีการอ้างอิงวารสารไทย
ได้พิจารณาจัดกลุ่มคุณภาพวารสารเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI และวารสารพัฒนศิลป์ วิชาการจัดอยู่ในกลุ่ม
วารสารกลุ่มที่ 2 รับรองคุณภาพวารสารตัง้ แต่วันที่ 1 มกราคม 2566 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2567
โดยในปี งบประมาณ 2566 ได้จดั ทาและเผยแพร่ วารสารพัฒนศิลป์ วิชาการ ปี ที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม –
ธันวาคม 2565) และ ปี ที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถนุ ายน 2566) ในรูปแบบวารสารฉบับ พิ มพ์
(parallel electronic edition) และวารสารอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic journal)

รายงานประจ�ำปี 2566 - 68 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


วารสารฉบับพิมพ์ (parallel electronic edition)

วารสารอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic journal)

ระบบการจัดการวารสารไทย ระบบจัดการวารสารพัฒนศิลป์ วิชาการ


Thai Journal Online System (ThaiJO) สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (E-Journal)

ฐานข้อมูลองค์ความรูด้ า้ นศิลปวัฒนธรรมวารสารและสื่อสิ่งพิมพ์
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

รายงานประจ�ำปี 2566 - 69 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


ตามที่ สถาบันบัณ ฑิตพัฒนศิ ลป์ ได้กาหนดยุทธศาสตร์ในการสร้า งคุณ ภาพผลงานวิ จัย
ผลงานสร้า งสรรค์ ผลงานนวั ต กรรม การสร้า งเครื อ ข่า ยและเผยแพร่ ผ ลงานในระดับ ชาติและ
นานาชาติ เพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาด้านศิลปวัฒนธรรมสู่มาตรฐานสากลผ่านกระบวนการ
เผยแพร่ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ดา้ นศิ ลปวัฒนธรรม ทั้งนี้ โครงการบัณฑิตศึกษา สถาบัน
บัณฑิตพัฒนศิ ลป์ จึงได้จัดทาวารสารวิ พิธพัฒนศิ ลป์ (Wipitpatanasilpa Journal of Arts) ในรูปแบบ
วารสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Journal) E-ISSN: 2730-3640 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม เผยแพร่
ผลงานทางวิชาการ ผลงานวิจัยที่มีคณ ุ ภาพ เป็ นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรู้ สร้างเครือข่าย
และให้บริการวิชาการ งานวิจัยด้านศิลปวัฒนธรรมในระดับชาติและนานาชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
บทความด้านศิ ลปวัฒนธรรม สาขานาฏศิ ลป์ ดุริยางคศิ ลป์ ทัศนศิ ลป์ วรรณศิ ลป์ ศึ กษาศาสตร์
การบูรณาการศิ ลปวัฒนธรรม และวั ฒนธรรมข้า มศาสตร์ โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ คณาจารย์
นักศึกษา นักวิจยั และบุคคลทัว่ ไป ทัง้ ในระดับชาติและนานาชาติ โดยตีพิมพ์ 3 ฉบับต่อปี คือ ฉบับที่ 1
มกราคม - เมษายน ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม และ ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม
ปั จจุบันวารสารฯ ได้ดาเนินการเผยแพร่บทความเข้าสู่ปีที่ 3 และผ่านการประเมินคุณ ภาพ
วารสารให้อยู่ในระบบฐานข้อมูลศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai Journal Citation Index -TCI)
กลุ่ม ที่ 2 เป็ นที่ เ รี ย บร้อ ยแล้ว โดยรั บ รองคุณ ภาพตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 มกราคม 2566 ถึ ง วั น ที่
3 1 ธั น ว า ค ม 2 5 6 7 ดั ง ภ า พ ที่ ป ร า ก ฏ ใ น เ ว็ บ ไ ซ ต์ ร ะ บ บ จั ด ก า ร ว า ร ส า ร อ อ น ไ ล น์
https://so02.tci-thaijo.org/index.php/WIPIT

รายงานประจ�ำปี 2566 - 70 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


ในปี งบประมาณ 2566 วารสารวิพิธพัฒนศิลป์ ได้ดาเนินการเผยแพร่รปู แบบอิเล็กทรอนิกส์
เรียบร้อยแล้วดังนี้
1. เผยแพร่ บนเว็ บไซต์ Thai Journals Online (ThaiJO) (ระบบฐานข้อมูลวารสารอิ เล็ กทรอนิ กส์)

ปี ที่ 2 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม 2565) https://so02.tci-thaijo.org/index.php/WIPIT/issue/view/17340

ปี ที่ 3 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2566) https://so02.tci-thaijo.org/index.php/WIPIT/issue/view/17456

ปี ที่ 3 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2566) https://so02.tci-thaijo.org/index.php/WIPIT/issue/view/17531

รายงานประจ�ำปี 2566 - 71 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


1. 2. เผยแพร่บนเว็บไซต์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
ฐานข้อมูลองค์ความรูด้ า้ นศิลปวัฒนธรรม วารสารและสื่อสิ่งพิมพ์สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
ที่ https://www.bpi.ac.th/research/journals (ปี 2564-2566)

3) การนาเสนอผลงานสร้างสรรค์
การนาเสนอผลงานนาฏศิ ลป์ สร้างสรรค์ระดับ ชาติ สถาบันบัณ ฑิตพัฒนศิ ลป์ ครั้งที่ 6 เมื่อวันที่
16 – 17 ธันวาคม 2565 ณ โรงละครศิลปนาฏดุริยางค์

รายงานประจ�ำปี 2566 - 72 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


การนาเสนอผลงานสร้างสรรค์ดา้ นนาฏดุริยางคศิลป์ ระดับชาติและการแสดงนิทรรศการผลงานทาง
ทัศนศิลป์ ระดับชาติ และนานาชาติ ในงานการแสดงมหกรรมศิลปวัฒนธรรมไทย 4 ภาค “สืบศิลป์
สร้า งสรรค์ บั ณ ฑิ ต พั ฒ นศิ ล ป์ สู่แ ดนดิ น ถิ่ น บูร พา” ระหว่ า งวั น ที่ 14 - 15 มกราคม 2566
ณ วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี

การประชุมวิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ครั้งที่ 7 และการประชุม


วิชาการนาเสนอผลงานวิจัยระดับนานาชาติ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ครั้งที่ 6 ระหว่างวันที่ 21 - 23
กรกฎาคม 2566 ณ โรงแรมสองพันบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี

รายงานประจ�ำปี 2566 - 73 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


ย ุทธศาสตร์ที่ 3
2.2.3 การบริการวิชาการด้านศิลปวัฒนธรรมในสถานศึกษา
ช ุมชน และสังคม

2.2.3.1 ส่งเสริม สนับสน ุนให้มีการบริการวิชาการทัง้ ระดับท้องถิ่น ระดับชาติ


และนานาชาติ
ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ส่งเสริมและสนับสนุนให้คณะและ
วิทยาลัยในสังกัดทั้ง 18 แห่ง จัดบริการวิชาการด้านนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ คีตศิลป์ ช่างศิลป์ และ
ทัศนศิลป์ เพื่อพัฒนาความรูแ้ ละความสามารถของครู อาจารย์ นักเรียน และนักศึกษา จานวน 266 ครั้ง
โดยจาแนกออกเป็ น
❖ การบริการระดับท้องถิ่น จานวน 205 ครัง้ ดังนี้
หน่วยงาน จานวนครัง้ หน่วยงาน จานวนครัง้
1. คณะศิลปศึกษา 10 5. วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง 12
2. คณะศิลปวิจิตร 10 6. วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย 40
3. คณะศิลปนาฏดุริยางค์ 2 7. วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ 10
4. วิทยาลัยนาฏศิลป 4 8. วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี 4

รายงานประจ�ำปี 2566 - 74 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


หน่วยงาน จานวนครัง้ หน่วยงาน จานวนครัง้
9. วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา 14 14. วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ 3
10. วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี 23 15.วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช 7
11. วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี 7 16. วิทยาลัยช่างศิลป 10
12. วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง 32 17. วิทยาลัยช่างศิลปนครศรีธรรมราช 8
13. วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด 3 18. วิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี 6
❖ ภาพกิจกรรมโครงการการบริการวิชาการระดับท้องถิ่น
คณะศิลปศึกษา จัดโครงการอบรมคร ูเครือข่ายนาฏศิลป์ ดนตรี
ระหว่างวันที่ 2 - 5 พฤษภาคม 2566

คณะศิลปวิจิตร จัดกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบตั ิการการวาดภาพสีน้า


ในหัวข้อ "สีในภาพทิวทัศน์ ในวันที่ 17 ธันวาคม 2565

วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช จัดโครงการเด็กไทยเล่นดนตรีไทย 1 ชิ้น


ระหว่างวันที่ 28 - 29 มกราคม 2566

รายงานประจ�ำปี 2566 - 75 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


❖ การบริการวิชาการระดับชาติ จานวน 42 ครัง้ ดังนี้
หน่วยงาน จานวนครัง้ หน่วยงาน จานวนครัง้
1. คณะศิลปวิจิตร 4 6. วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย 12
2. วิทยาลัยนาฏศิลป 2 7. วิทยาลัยนาฏศิลปนครศรีธรรมราช 1
3. วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา 5 8. วิทยาลัยช่างศิลป 1
4. วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี 6 9. วิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี 1
5. วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง 4 10. วิทยาลัยช่างศิลปนครศรีธรรมราช 6
❖ ภาพกิจกรรมโครงการการบริการวิชาการระดับชาติ
วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบรุ ี จัดโครงการบริการสื่อนวัตกรรมเทคโนโลยีดา้ นดนตรี
นาฏศิลปและภ ูมิปัญญา (เช่าพื้นที่ Website ถ่ายทารายการมหรสพแห่งสยาม)
ระหว่างเดือนต ุลาคม 2565 - เดือนมีนาคม 2566 เดือนละ 4 ครัง้

วิทยาลัยช่างศิลปส ุพรรณบ ุรี จัดกิจกรรม สังคมแห่งการเรียนร ้ ู (Advanced Charcoal


Workshop) ในวันที่ 2 ธันวาคม 2565

วิทยาลัยนาฏศิลปส ุโขทัย เป็นวิทยากรโครงการการแสดงโขนผูห้ ญิงและเยาวชน


ระดับชาติ โขนสัมพันธ์จนั ทรเกษม ครัง้ ที่ 1 ในวันที่ 14 มีนาคม 2566

รายงานประจ�ำปี 2566 - 76 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


❖ การบริการวิชาการระดับนานาชาติ จานวน 19 ครัง้ ดังนี้
หน่วยงาน จานวนครัง้ หน่วยงาน จานวนครัง้
1. คณะศิลปนาฏดุริยางค์ 10 4. วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย 2
2. คณะศิลปวิจิตร 3 5. วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี 1
3. วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา 2 6. วิทยาลัยช่างศิลปนครศรีธรรมราช 1
❖ ภาพกิจกรรมโครงการการบริการวิชาการระดับชาติ
คณะศิลปนาฏด ุริยางค์ จัดโครงการบริการวิชาการหลักสูตรระยะสัน้ สส่ ู ากล
ด้านนาฏด ุริยางคศิลป์ ครัง้ ที่ 5 กิจกรรม Study Tour in Thailand 2023
ในวันที่ 29 พฤษภาคม 2566

วิทยาลัยนาฏศิลป จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมไทย – เกาหลีใต้


ในวันที่ 19 ธันวาคม 2565

คณะศิลปวิจิตร เป็นวิทยากรการบรรยายและ Workshop ร่วมกับประติมากรชาวอิตาลี


Dionisio Cimarelli ด้วยความร่วมมือจากสถานเอกอัครราชทูตอิตาลีประจาประเทศไทย
และ คณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ระหว่างวันที่ 27 - 28 มีนาคม 2566

รายงานประจ�ำปี 2566 - 77 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.2.3.2 การให้บริการหลักสูตรระยะสัน้
ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 คณะและวิทยาลัยในสังกัดสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ จัดอบรม
หลักสูตรระยะสั้น ด้านนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ คีตศิลป์ ช่างศิลป์ และทัศนศิลป์ เพื่อเป็ นการสืบสาน
สร้า งสรรค์ง านด้า นศิ ล ปวั ฒ นธรรม ให้ค งอยู่แ ละเป็ นที่ ป ระจักษ์แ ก่ส าธารณชน โดยจัด อบรมให้
นักเรียน นักศึกษา ประชาชน และผูท้ ี่สนใจ จานวน 45 หลักสูตร ดังนี้

หน่วยงาน จานวน หน่วยงาน จานวน


หลักสูตร หลักสูตร
1. คณะศิลปนาฏดุริยางค์ 10 9. วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง 3
2. คณะศิลปศึกษา 7 10 วิทยาลัยนาฏศิลป 1
3. คณะศิลปวิจิตร 1 11 วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ 1
4. วิทยาลัยนาฏศิลปนครราชสีมา 1 12.วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย 8
5. วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ 5 13.วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง 1
6. วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี 1 14.วิทยาลัยช่างศิลป 1
7. วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด 1 15.วิทยาลัยช่างศิลปสุพรรณบุรี 1
8. วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี 2 16.วิทยาลัยช่างศิลปนครศรีธรรมราช 1
❖ ภาพกิจกรรมการให้บริการหลักสูตรระยะสัน้
คณะศิลปวิจิตร จัดโครงการอบรมทัศนศิลป์ สู่เยาวชนและบ ุคคลทัว่ ไป
กิจกรรมศิลปะสีน้าสร้างสรรค์ ระหว่างวันที่ 5 - 6 , 19 - 20 และระหว่างวันที่
26 - 27 สิงหาคม 2566

คณะศิลปนาฏด ุริยางค์ จัดโครงการหลักสูตรระยะสัน้ ครัง้ ที่ 7


ภายใต้กิจกรรม TF LEARN PROJECT 2023 ในวันที่ 21 กรกฎาคม 2566

รายงานประจ�ำปี 2566 - 78 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


วิทยาลัยนาฏศิลปส ุโขทัย จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตรระยะสัน้ นาฏศิลป์ ดนตรี
หลักสูตรนาฏศิลป ดนตรี ระหว่างวันที่ 3 – 11 และ ระหว่างวันที่ 18 - 20 เมษายน 2566

วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ จัดกิจกรรมการสอนหลักสูตรระยะสัน้ (หลักสูตรเครือ่ งสาย


ไทย หลักสูตรดนตรีพ้ ืนบ้าน หลักสูตรละคร หลักสูตรโขน และหลักสูตรนาฏศิลป์
พื้นบ้าน) ระหว่างวันที่ 1 มิถ ุนายน 2566 – วันที่ 21 กันยายน 2566

วิทยาลัยช่างศิลปนครศรีธรรมราช จัดกิจกรรมอบรมหลักสูตรระยะสัน้ การวาดภาพ


ดอกไม้ดว้ ยสีอะคริลิก ระหว่างวันที่ 22 - 23 กรกฎาคม 2566

รายงานประจ�ำปี 2566 - 79 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


ย ุทธศาสตร์ที่ 4
การสืบสานศิลปวัฒนธรรมและเสริมสร้างค ุณค่าทางสังคม
2.2.4 และมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กบั ท้องถิ่นและประเทศชาติ
ด้วยท ุนทางศิลปวัฒนธรรม

2.2.4.1 การจัดกิจกรรมเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย ์


ในโอกาสต่าง ๆ

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ได้จัดโครงการเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริยแ์ ละพระบรมวงศานุวงศ์


ด้วยความสานึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ และสืบทอดพระราชปณิธานในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม
ของชาติ โดยมอบหมายให้สถานศึกษาทุกแห่งในสังกัด จัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หวั และพระบรมวงศานุวงศ์ 6 พระองค์ ดังนี้

รายงานประจ�ำปี 2566 - 80 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


การจัดกิจกรรมน้อมสานึกในพระมหากร ุณาธิค ุณ พระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอด ุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
วันชาติไทย และวันพ่อแห่งชาติ

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และหน่วยงานในสังกัดจัดกิจกรรมน้อมสานึกในพระมหากรุณาธิคณ

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร วันชาติไทย และวันพ่อ
แห่งชาติ ประกอบด้วย พิธีทาบุญถวายเป็ นพระราชกุศล การแสดงนาฏศิ ลป์ ไทย การบรรเลงดนตรีไทย
การบรรเลงดนตรีสากล และการจัดนิทรรศการ

วิทยาลัยช่างศิลป คณะศิลปศึกษา

วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบ ุรี วิทยาลัยนาฏศิลปลพบ ุรี

วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธ ุ์

รายงานประจ�ำปี 2566 - 81 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


การจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันคล้ายวันพระราชสมภพ
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชส ุดาฯ
สยามบรมราชก ุมารี และวันอนุรักษ์มรดกไทย

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และหน่วยงานในสังกัดจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันคล้าย


วั นพระราชสมภพสมเด็ จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็ จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
และวันอนุรกั ษ์มรดกไทย โดยจัดพิธีถวายพระพร จัดการแสดงนาฏศิลป์ ไทย จัดนิทรรศการผลงานศิลปกรรม
และจัดโครงการประกวดวาดภาพวันอนุรกั ษ์มรดกไทย

วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธ ุ์ วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง

คณะศิลปนาฏด ุริยางค์ วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด

วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่
วิทยาลัยช่างศิลปนครศรีธรรมราช

รายงานประจ�ำปี 2566 - 82 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


การจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา
สมเด็จพระนางเจ้าส ุทิดา พัชรส ุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และหน่วยงานในสังกัดจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันเฉลิม


พระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี โดยจัดพิธีทาบุญตักบาตร
ถวายพระราชกุศ ล พิ ธี ถวายเครื่ องราชสั กการะวางพานพุ่ม พิ ธี จ ุดเที ยนชั ยถวายพระพรชั ยมงคล
เฉลิมพระเกียรติ และจัดการแสดงนาฏศิลป์ ไทย
สานักงานอธิการบดี วิทยาลัยนาฏศิลป
คณะศิลปนาฏด ุริยางค์ คณะศิลปศึกษา
และคณะศิลปวิจิตร วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง

วิทยาลัยนาฏศิลป วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่
กาฬสินธ ุ์

วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบ ุรี

รายงานประจ�ำปี 2566 - 83 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


การจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันคล้ายวันประสูติ
สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักณ์
กรมพระศรีสวางวัฒน วรขัตติยราชนารี

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และหน่วยงานในสังกัดจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันคล้าย


วันประสูติ สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้ าจุฬาภรณวลัยลักณ์ กรมพระศรีสวางวัฒน วรชัตติยราชนารี
โดยจัดพิธีถวายพระพร พิธีเจริญพระพุทธมนต์ จัดการแสดงนาฏศิลป์ ไทย และกิจกรรมบริจาคโลหิต

วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง วิทยาลัยนาฏศิลปลพบ ุรี

สานักงานอธิการบดี วิทยาลัยนาฏศิลป
คณะศิลปนาฏด ุริยางค์ คณะศิลปศึกษา
วิทยาลัยนาฏศิลปส ุโขทัย และคณะศิลปวิจิตร

รายงานประจ�ำปี 2566 - 84 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


การจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ
พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ วั

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และหน่วยงานในสังกัดจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันเฉลิม


พระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หวั
โดยจัดกิจกรรมทาบุญตักบาตร พิธีถวายพระพร จัดการแสดงนาฏศิ ลป์ ไทย และพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณ
สานักงานอธิการบดี วิทยาลัยนาฏศิลป
เพื่อเป็ นข้าราชการที่ดีและพลังของแผ่นดิน คณะศิลปนาฏด ุริยางค์ คณะศิลปศึกษา
วิทยาลัยนาฏศิลปลพบ ุรี และคณะศิลปวิจิตร

คณะศิลปนาฏด ุริยางค์ วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบ ุรี

วิทยาลัยช่างศิลป วิทยาลัยนาฏศิลปอ่างทอง

รายงานประจ�ำปี 2566 - 85 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


การจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา
สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปี หลวง
และวันแม่แห่งชาติ

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และหน่วยงานในสังกัดจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันเฉลิม


พระชนมพรรษา สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี น าถ พระบรมราชชนนี พั น ปี หลวง
และวันแม่แห่งชาติ โดยจัดพิธีถวายพระพร จัดการแสดงนาฏศิลป์ ไทย และนิทรรศการ เพื่อเป็ นข้าราชการที่ดี
และพลังของแผ่นดิน

วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบ ุรี
วิทยาลัยช่างศิลป

วิทยาลัยช่างศิลปกาฬสินธ ุ์

วิทยาลัยช่างศิลปนครศรีธรรมราช

วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด คณะศิลปนาฏด ุริยางค์

รายงานประจ�ำปี 2566 - 86 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.2.4.1 การเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมภายในประเทศ
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เป็ นสถาบันการศึกษาด้านศิลปวัฒนธรรม ทัง้ ด้านนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์
คี ตศิ ลป์ ช่างศิ ลป์ และทัศนศิ ลป์ ด าเนินงานตามพัน ธกิ จหลัก ได้แก่ การสอน การวิ จัย และให้บริ การ
ทางวิชาการ ตลอดจนส่งเสริม สืบสาน สร้างสรรค์ และทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม เพื่อปลูกฝังจิตสานึกให้แก่
นักเรียน นักศึกษา ตลอดจนประชาชนทัว่ ไปได้ตระหนักถึงคุณค่าและความสาคัญและการมีส่วนร่วมในการ
อนุรั กษ์และเผยแพร่ ศิ ลปวั ฒนธรรมไทย สถาบั นบั ณฑิ ตพั ฒนศิ ลป์ มอบหมายให้หน่วยงานในสังกัด
จัดกิจกรรมเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม โดยมีโครงการและกิจกรรมสาคัญ ดังนี้

1) โครงการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมทัว่ ทิศแผ่นดินไทย (การแสดงโขน 4 ภ ูมิภาค)


สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ จัดการแสดงโขน เรื่อง รามเกียรติ์ ชุด พรหมพงศ์วงศ์อสุรา
ในงานมหกรรมระดับท้องถิ่น ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในจังหวัดที่ตั้งของหน่วยงานในสังกัด
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และพื้นที่ใกล้เคียง รวมทั้งจัดการแสดง ณ เวทีกลางแจ้งของวิ ทยาลัยนาฏศิลป
ทุกแห่ง ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 ได้จดั การแสดงโขน จานวน 29 ครัง้ โดยมีตวั อย่าง ดังนี้

วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด จัดการแสดงโขน เรื่อง รามเกียรติ์ ชุด พรหมพงศ์วงศ์อสุรา


ในงานมหกรรมวั ฒ นธรรมแห่ ง ชาติ วิ ถี ถิ่ น วิ ถี ไ ทย ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ประจ าปี 2566
“หุ่น กระติบ งึด อี ห ลี ยลวิ ถี ของดี อี ส าน” เมื่ อ วั น ที่ 24 ธัน วาคม 2565 ณ พระบรมธาตุนาดูน
อาเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม

รายงานประจ�ำปี 2566 - 87 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


วิ ท ยาลัยนาฏศิ ลปลพบุรี ร่ว มกับ จังหวั ด ลพบุรี จั ด การแสดงโขน เรื่ อ ง รามเกียรติ์
ชุด พรหมพงศ์วงศ์อสุรา ในงานวันอนุรักษ์มรดกไทย เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2566 ณ พระนารายณ์
ราชนิเวศน์ อาเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี

วิ ทยาลัยนาฏศิ ลปกาฬสินธุ์ จัดแสดงโขน เรื่อง รามเกียรติ์ ชุด พรหมพงศ์วงศ์อสุรา


ในงานบวงสรวงพญาศรีสัตตนาคราช เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2566 ณ ลานพญาศรีสัตตนาคราช
จังหวัดนครพนม
2) การแสดงต้อนรับประมุข อาคันต ุกะ และผูน้ าต่างประเทศ
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลให้จัดการแสดงและการบรรเลง
ต้อนรับประมุข อาคันตุกะและผูน้ าต่า งประเทศ ณ ตึกสันติไมตรี ทาเนียบรัฐบาล ในปี งบประมาณ
พ.ศ. 2566 จัดการแสดงต้อนรับ จานวน 4 ครัง้ ได้แก่
2.1) ต้อนรับประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมเวี ยดนามและภริ ยา เมื่อวันที่
17 พฤศจิกายน 2565 ณ ตึกไทยคูฟ่ ้ า ทาเนียบรัฐบาล กรุงเทพมหานคร

รายงานประจ�ำปี 2566 - 88 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.2) รับ เสด็ จมกุฎราชกุมารและนายกรัฐมนตรี แ ห่งราชอาณาจักรซาอุดีอ าระเบีย
เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2565 ณ ตึกไทยคูฟ่ ้ า ทาเนียบรัฐบาล กรุงเทพมหานคร

2.3) ต้อ นรั บ ประธานาธิ บ ดี แ ห่ ง สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น และภริ ย า เมื่ อ วั น ที่


19 พฤศจิกายน 2565 ณ ตึกไทยคูฟ่ ้ า ทาเนียบรัฐบาล กรุงเทพมหานคร

2.4) ต้อนรับนายกรัฐมนตรีแห่งมาเลเซี ยและภริยา เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566


ณ ตึกสันติไมตรี ทาเนียบรัฐบาล กรุงเทพมหานคร

รายงานประจ�ำปี 2566 - 89 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


3) โครงการนิทรรศการวิชาการและการแสดงทางศิลปวัฒนธรรม
สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นศิ ลป์ โดยวิ ทยาลั ย นาฏศิ ลป จั น ทบุ รี จั ด งานมหกรรม
ศิ ลปวัฒนธรรมไทย “สืบศิ ลป์ สร้างสรรค์ บัณฑิตพัฒนศิ ลป์ สู่แดนดินถิ่นบูรพา” ภายใต้โครงการ
นิ ท รรศการทางวิ ช าการและการแสดงทางศิ ล ปวั ฒ นธรรม วั น ที่ 14 – 15 มกราคม 2566
ประกอบด้ว ย นิ ท รรศการเฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระกนิ ษ ฐาธิ ร าชเจ้า กรมสมเด็ จ พระเทพ
รัตนราชสุด า สยามบรมราชกุมารี นิท รรศการผลงานทางทัศนศิ ลป์ สร้า งสรรค์ ระดับ นานาชาติ
มหกรรมการแสดงนาฏศิ ล ป์ และการบรรเลงดุริ ย างคศิ ล ป์ สี่ ภ าค การแสดงและน าเสนอผลงาน
สร้างสรรค์นาฏดุริยางคศิลป์ ระดับชาติ และการออกร้านจัดจาหน่ายของดีและสินค้าพื้นเมืองสี่ภาค
เพื่อส่งเสริมและยกระดับการศึกษาด้านศิลปวัฒนธรรม ให้แพร่หลายและยัง่ ยืนต่อไป

4) การเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรม
4.1) การแสดงต้อนรับการประชมุ ผูน้ าเขตเศรษฐกิจเอเชี ยแปซิฟิก APEC 2022
ช ดุ “BALANCE IN ALL ASPECTS” (สมด ลุ ในท กุ ด้าน) ในงานเลี้ ยงต้อนรับผูน้ าต่ างประเทศ
การประช ุมระดับผูน้ าเขตเศรษฐกิจเอเปค APEC 2022 ณ หอประช ุมกองทัพเรือ
กร ุงเทพมหานคร

รายงานประจ�ำปี 2566 - 90 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


4.2) การแสดงงานสโมสรสั น นิ บ าต เนื่ อ งในวั น เฉลิ ม พระชนมพรรษา
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หวั
เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2566 ณ ทาเนียบรัฐบาล กร ุงเทพมหานคร

4.3) การเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมภายในประเทศ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ จัดการแสดงในงานการแถลงข่าว เชียงใหม่เมืองเทศกาลโลก


ร่ว มแรง ร่ว มใจ เพื่ อ ก้า วต่อ ไปเชี ยงใหม่ เมื่อ วั นที่ 19 ตุลาคม 2565 ณ สปา รี สอร์ท เชียงใหม่
อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

วิ ท ยาลัย นาฏศิ ล ปเชี ย งใหม่ จัด การแสดงในงานเฉลิ ม ฉลองวั น ครบรอบของชมรม


ประสานมิตรนักธุรกิจชาวไต้หวัน เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2565 ณ สมาคมฮากกาเชียงใหม่ อาเภอเมือง
เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

รายงานประจ�ำปี 2566 - 91 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


คณะศิ ล ปนาฏดุริ ย างค์ จั ด การแสดง “รายการศิ ล ปนาฏยวาทิ ต ประจ าเดื อ น
พฤศจิ ก ายน” เมื่ อ วั น ที่ 4 พฤศจิ ก ายน 2565 บั น ทึ ก ณ โรงละครศิ ล ปนาฏดุริ ย างค์ เผยแพร่
ทางช่องทางออนไลน์ของคณะศิลปนาฏดุริยางค์

วิ ท ยาลั ย นาฏศิ ล ปสุโ ขทั ย ร่ ว มกั บ จั ง หวั ด สุโ ขทั ย จั ด โครงการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ
การแข่งขันในด้านการท่องเที่ยว กิจกรรมย่อย การเเสดง Mini Light and Sound เล่าเรื่องเมืองสุโขทัย
เพื่อเป็ นการกระตุน้ เศรษฐกิจและเพิ่มมูลค่าเพิ่มทางวัฒนธรรม จานวน 9 รอบ โดยจัดในวันเสาร์แรก
ของเดือน ณ วัดสระศรี อุทยานประวัตศิ าสตร์สโุ ขทัย จังหวัดสุโขทัย

วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี จัดการแสดงนาฏดุริยางคศิลป์ ระบาวีระชัยลิง เนือ่ งในงานงาน


“ 1 1 th Anniversary of NPRCT-CU and Official Opening Ceremony of the Primates Enterprise Co.,Ltd.”
ของศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 ณ ศูนย์วิจัย
ไพรเมทแห่งชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี

รายงานประจ�ำปี 2566 - 92 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


วิ ท ยาลัยนาฏศิ ลปนครราชสีมา จัด การแสดงในงานวิ สาขบูชาพุท ธบารมี การแสดง
พื้นบ้าน ชุด ฟ้ อนสักการะบูชาพระบรมสารีริกธาตุ เมื่อวันที่ 1 มิถนุ ายน 2566 ณ เอ็มซีซี ฮอลล์ ชัน้ 3
ห้างสรรพสินค้า เดอะมอลล์โคราช จังหวัดนครราชสีมา

คณะศิลปวิจิตร จัดนิทรรศการศิลปกรรมคณาจารย์ของคณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิต


พัฒนศิลป์ เมื่อวันที่ 10 – 30 มิถนุ ายน 2566 ณ คณะศิลปวิจิตร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

2.2.4.2 การเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมในต่างประเทศ

วิ ท ยาลัยนาฏศิ ลปสุโ ขทัย จัด การแสดงในงาน “Workshop contents of Nigeria” ภายใต้


โครงการเวิรก์ ช็อปของ Jinju World Folk Arts Biennale ปี 2022 เป็ นเวทีสาหรับการเสริมสร้างความ
ร่วมมือระหว่างประเทศ ผ่านวัฒนธรรมระหว่างเมืองสร้างสรรค์ของยูเนสโก 2565 JWFB เมื่อวันที่
13 - 23 ตุลาคม 2565 ณ เมืองจินจู สาธารณรัฐเกาหลี

รายงานประจ�ำปี 2566 - 93 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


วิ ท ยาลัย นาฏศิ ล ปอ่ า งทอง จั ด การแสดงเนื่ อ งในวั น คล้า ยวั น พระบรมราชสมภพ
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และวันพ่อแห่งชาติ
เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน - 9 ธันวาคม 2565 ณ The Vannasut Hotel by Nuad Thai เมืองกาฐมาณฑุ
สหพันธ์สาธารณรัฐประชาธิปไตยเนปาล

วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ ร่วมกับ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จัดการแสดง ในงาน


Thai Night เมื่อวันที่ 18 - 21 กุมภาพันธ์ 2566 ณ นครเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน

คณะศิลปนาฏดุริยางค์ จัดการแสดงในงาน Thailand Showcase 2023 by Thailand in UK


Marketplace เมื่อวันที่ 16 - 18 มิถนุ ายน 2566 ณ Canopy Market, King's Cross กรุงลอนดอน สหราช
อาณาจักร

รายงานประจ�ำปี 2566 - 94 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.2.4.3 การจัดการประกวดแข่งขันทางด้านศิลปวัฒนธรรม
1) โครงการประกวดนาฏศิลป์ ดนตรี คีตศิลป์ แห่งชาติ ครัง้ ที่ 6
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ จัดการประกวดนาฏศิลป์ ดนตรี คีตศิลป์ แห่งชาติ “นาฏยวาทิต
กิ ต ติ ป ระกาศ” ครั้ ง ที่ 7 ชิ ง ถ้ว ยพระราชทานสมเด็ จ พระกนิ ษ ฐาธิ ร าชเจ้า กรมสมเด็ จ พระเทพ
รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนและเปิ ดโอกาสให้นกั เรียนที่สนใจ
ด้านนาฏศิลป์ ดนตรี และคีตศิลป์ แสดงความสามารถทางศิลปวัฒนธรรมในการประกวดระดับชาติ
เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2566 ณ คณะศิลปศึกษาและคณะศิลปนาฏดุริยางค์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
(ศาลายา) จังหวัดนครปฐม
การประกวดในโครงการ ชิ งถ้ว ยพระราชทานฯ ประกอบด้ว ย ประเภทที ม จานวน
3 รายการ ได้แก่ การประกวดนาฏศิลป์ ไทย ระดับประถมศึกษา ชุด ราสีนวลออกวรเชษฐ์ การประกวด
นาฏศิ ลป์ ไทย ระดับมัธยมศึ กษา ชุด ระบาจันทกินรี และการประกวดดนตรีไทย วงปี่ พาทย์ไม้นวม
เครื่องคู่ เพลง สารถี เถา และประเภทเดี่ยว จานวน 6 รายการ แบ่งเป็ นระดับประถมศึกษา ประเภท
เดี่ยว ขลุ่ยเพียงออ เพลง พัดชา สองชัน้ ประเภทเดี่ยว ซอด้วง เพลงนกขมิ้น สองชัน้ และประเภทเดี่ยว
ขั บ ร้อ งเพลงไทย เพลง แขกบรเทศ เถา และระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา ประเภทเดี่ ย ว ขลุ่ย เพี ย งออ
เพลง สุรินทราหู สามชั้น ประเภทเดี่ยว ซอสามสาย เพลงนกขมิ้น สามชั้น และประเภทเดี่ยว ขับร้อง
เพลงไทย เพลง เขมรพวง เถา
ในการประกวดครั้งนี้มีผลงานที่ได้รับรางวัล ประเภททีม 24 รางวัล และประเภทเดี่ยว
47 รางวัล รวม 71 รางวัล และรวมเงินรางวัลทัง้ สิ้น 392,000 บาท

โรงเรียนศรัทธาสมุทร จังหวัดสมุทรสงคราม
รางวัลชนะเลิศถ้วยพระราชทานฯ ประเภทนาฏศิลป์ ไทย ระดับมัธยมศึกษา

รายงานประจ�ำปี 2566 - 95 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2) โครงการประกวดศิลปกรรมเด็กและเยาวชนแห่งชาติ ครัง้ ที่ 18
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิ ลป์ จัดการประกวดศิ ลปกรรมเด็กและเยาวชนแห่งชาติ ครั้งที่ 18
เพื่อสร้างแรงจูงใจ กระตุน้ ให้เด็ กและเยาวชนทุกระดับ ตระหนักและเห็ นคุณค่าศิ ลปกรรมสาขาต่าง ๆ
ส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็กและเยาวชนเกิดการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ดา้ นศิลปะ โดยศาสตราจารย์
กิ ต ติ ค ุณ บวรศั ก ดิ์ อุว รรณโณ นายกสภาสถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นศิ ล ป์ เป็ นประธานมอบรางวั ล
ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป กรุงเทพมหานคร
ในการประกวดครั้งนี้มีผลงานที่ ได้รับรางวัล จานวน 65 รางวัล นอกจากนี้ ผลงาน
ที่ ผ่า นการคัด เลือ กจากคณะกรรมการพิ จารณาสาหรับ จัด แสดง 150 รางวั ล รวม 215 รางวั ล
นามาจัดแสดงนิทรรศการผลงานศิลปกรรม ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป กรุงเทพมหานคร
ตัง้ แต่วันที่ 6 – 30 กรกฎาคม 2565

2.2.4.4 การอน ุรักษ์และสืบสานศิลปวัฒนธรรม


1) พิธีไหว้ครูดา้ นนาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ ประจาปี การศึกษา 2566
สถาบันบัณฑิ ตพัฒนศิ ลป์ จัดพิ ธี ไหว้ครูสถาบันบัณฑิ ตพัฒนศิ ลป์ ประจ าปี การศึ กษา
2566 เมื่อวันที่ 29 มิถนุ ายน 2566 ณ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (ศาลายา) โดยมีกิจกรรม ดังนี้
พิธีทาบุญถวายภัตตาหารเช้าพระสงฆ์ โดยอธิการบดีสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เป็ นประธาน
จุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย พระสงฆ์ 9 รูป เจริญพระพุทธมนต์ ถวายภัตตาหารเช้าพระสงฆ์ ประพรมนา้
พระพุทธมนต์แก่นกั ศึกษา คณาจารย์ เจ้าหน้าที่และผูเ้ ข้าร่วมพิธี ณ อาคารคณะศิลปนาฏดุริยางค์ ชัน้ 1
สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ 3 แห่ง ได้แก่ พระพุทธสิหิงค์ พระพิฆเนศวร และพระภูมิเจ้าที่ คณบดี
คณะศิลปวิจิตรสักการะศาลตายาย คณบดีคณะศิลปนาฏดุริยางค์ สักการะอนุสาวรียค์ ณ ุ ครูลมุล ยมะคุปต์
ผูอ้ านวยการวิทยาลัยนาฏศิลป สักการะอนุสาวรีย์ พลตรี หลวงวิจิตรวาทการ และคณบดีคณะศิลปศึกษา
สังเวยเทวดากลางแจ้ง
จากนัน้ ประกอบพิธีไหว้ครูสามัญ และพิธีไหว้ครู 3 สาขา ได้แก่ ด้านนาฏศิลป์ รศ.ศุภชัย
จันทร์สวุ รรณ์ ศิลปิ นแห่งชาติ เป็ นผูป้ ระกอบพิธี ณ อาคารเรียนภาควิชาศึกษาทัว่ ไป วิทยาลัยนาฏศิลป
ด้านดุริยางคศิลป์ คุณครูลายอง โสวัตร ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านดุริยางคศิลป์ ไทย เป็ นผูป้ ระกอบพิธี ณ อาคาร
คณะศิลปศึกษา และคุณครูสาคร โสภา ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านทัศนศิลป์ เป็ นผูป้ ระกอบพิธี ณ คณะศิลปวิจิตร

รายงานประจ�ำปี 2566 - 96 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2) โครงการการแสดง แสง สี เสียง สื่ อ ผสม ชุด วั นวาน วั นนี้ ที่ วั งหน้า และพิ ธีทาบุญ
เนือ่ งในวันคล้ายวันสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ครบรอบ 25 ปี
อธิ ก ารบดี สถาบั นบั ณ ฑิ ตพั ฒนศิ ลป์ น าคณะผู้บ ริ หาร ผู้เ ชี่ ยวชาญ ศิ ลปิ นแห่ งชาติ
คณาจารย์ บุคลากร ศิ ษย์เก่า และนักเรี ยนนักศึ กษา ร่วมท าบุญตักบาตรเนื่องในวั นครบรอบ 25 ปี
วันสถาปนาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิ ลป์ ทาบุญตักบาตรพระภิกษุสงฆ์ 29 รูป บาเพ็ญกุศลอุทิศถวายแด่
สมเด็จพระบวรราชเจ้าและกรมพระราชวังสถานมงคลทุกพระองค์ และอุทิศกุศลแด่บรุ พาจารย์ ทุกท่าน
ณ บริเวณรอบพระอุโบสถบวรสถานสุทธาวาส

การแสดง แสง สี เสียง วันวาน วันนี้ ที่วังหน้า ในโอกาสครบรอบ 25 ปี สถาปนาสถาบัน


บั ณ ฑิ ต พั ฒ นศิ ล ป์ ณ พระอุโ บสถบวรสถานสุท ธาวาส สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นศิ ล ป์ (วั ง หน้า )
โดย ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม เป็ นประธานในพิธี พร้อมด้วยผูบ้ ริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม
ผูบ้ ริหารสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ศิลปิ นแห่งชาติ ผูเ้ ชี่ยวชาญ ศิษย์เก่า คณาจารย์ บุคลากร นักเรียน
นักศึกษา และแขกผูม้ ีเกียรติ เข้าร่วมกิจกรรม

รายงานประจ�ำปี 2566 - 97 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


กิ จกรรมในงาน ประกอบด้ว ย การเสวนา “บอกเล่า นัง่ คุย วั นวาน วั นนี้ ที่ วั งหน้า ”
ผู้ร่ ว มเสวนาโดย นายสด แดงเอี ย ด กรรมการสภาผู้ท รงคุณ วุฒิ ส ถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นศิ ล ป์
รศ.ณรงค์ชัย ปิ ฎกรัช ต์ กรรมการสภาผูท้ รงคุณ วุฒิสถาบันบัณ ฑิตพัฒนศิ ลป์ และนายประเมษฐ์
บุณยะชัย ศิลปิ นแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง กิจกรรมวาดภาพของคณาจารย์และนักศึ กษาทาง
ทัศนศิลป์ และการแสดงแสง สี เสียง ชุด “วันวาน วันนี้ที่วังหน้า” บอกเล่าปฐมบทสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
รวมทั้ ง เผยแพร่ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมด้า นนาฏศิ ล ป์ ดนตรี คี ต ศิ ล ป์ และช่ า งศิ ล ป์ ของประเทศไทย
ให้เป็ นที่รจู้ กั ในระดับนานาชาติ

3) นิทรรศการ "ชีวิตกับลายเส้น" โดย ฐาปนันดรศิลปิ น ชวน หลีกภัย


สถาบันบัณฑิ ตพัฒนศิ ลป์ จัดนิทรรศการเชิ ดชูเกี ยรติศิ ลปิ น ด้านทัศนศิ ลป์ "ชี วิ ตกับ
ลายเส้น" โดย ฐาปนันดรศิลปิ น ชวน หลีกภัย โดย นายนุรกั ษ์ มาประณีต องคมนตรี เป็ นประธานในพิธีเปิ ด
นิทรรศการ เมื่ อวั นที่ 5 สิ งหาคม 2566 จัดแสดงระหว่ างวั นที่ 5 สิ งหาคม - 30 กันยายน 2566
ณ หอศิลป์ วังหน้า สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

รายงานประจ�ำปี 2566 - 98 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


ย ุทธศาสตร์ที่ 5
พัฒนาองค์กรให้เป็นสถาบันต้นแบบด้านนาฏศิลป์ ด ุริยางคศิลป์
2.2.5 คีตศิลป์ ช่างศิลป์ และทัศนศิลป์ ให้สอดคล้องกับการบริหาร
จัดการตามหลักธรรมาภิบาล

2.2.5.1 การปรับปร ุงอาคารสถานที่ และระบบสาธารณูปโภค พัฒนาสภาพแวดล้อม


และภูมิทศั น์

ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 สถาบันบัณฑิตพัฒนศิ ลป์ ได้ดาเนินการปรับปรุงอาคาร สถานที่


ระบบสาธารณูปโภค สภาพแวดล้อม และภูมิทัศน์ และมีการดาเนินการตามแผนพัฒนาทางกายภาพด้านพื้นที่
และจั ดท าแผนพั ฒนาทางกายภาพด้านพื้ นที่ ของหน่ วยงาน โดยการปรั บปรุงอาคารสถานที่ ระบบ
สาธารณูปโภค สภาพแวดล้อม และภูมิทัศน์ จานวนทั้งสิ้น 8 รายการ วงเงินงบประมาณ 192,548,400 บาท
(หนึง่ ร้อยเก้าสิบสองล้านห้าแสนสี่หมื่นแปดพันสี่รอ้ ยบาทถ้วน) ดังนี้

รายงานประจ�ำปี 2566 - 99 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


1) รายการก่อสร้าง จานวน 5 รายการ งบประมาณ 115,192,127 บาท (หนึ่งร้อยสิบห้าล้านหนึ่งแสนเก้า
หมื่นสองพันหนึง่ ร้อยยี่สิบเจ็ดบาทถ้วน)
2) รายการค่าออกแบบก่อสร้าง จานวน 1 รายการ งบประมาณ 22,576,273 บาท (ยี่สิบสองล้านห้าแสน
เจ็ดหมื่นหกพันสองร้อยเจ็ดสิบสามบาทถ้วน)
3) รายการปรับปรุง จานวน 2 รายการ งบประมาณ 54,780,000 บาท (ห้าสิบสี่ลา้ นเจ็ดแสนแปดหมื่นบาทถ้วน)

2.2.5.2 การพัฒนาองค์กรและการพัฒนาทรัพยากรบ ุคคล


1) การพัฒนาองค์กรการปรับปร ุงโครงสร้างสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
สถาบั น บั ณ ฑิ ต พั ฒ นศิ ล ป์ มี ก ารชี้ แ จงข้อ มู ล เกี่ ย วกั บ โครงสร้ า งส่ ว นราชการต่ อ
คณะอนุกรรมการพิจารณากลัน่ กรองการแบ่งส่วนราชการของสถาบันอุดมศึ กษาของรัฐที่ไม่อยู่ในสังกัด
กระทรวงการอุดมศึ กษา วิ ทยาศาสตร์ วิ จัยและนวั ตกรรม และได้ประสานความร่วมมื อด้านข้อมูลเพื่ อ
ปรับปรุงโครงสร้างส่วนราชการไม่ต ่ากว่ า 13 ครั้ง ซึ่ งผลปรากฏเป็ นไปในทิ ศทางที่ ดี สอดคล้องตาม
ยุทธศาสตร์การพัฒนา ประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 แผนยุทธศาสตร์กระทรวง
วัฒนธรรม และแผนพัฒนาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ทั้งนี้ กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและ
นวัตกรรม ในคราวประชุมคณะกรรมการการอุดมศึกษา ครั้งที่ 3/2566 เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2566 ได้มี
มติเห็ นชอบการขอจัดตั้งสานักวิ ทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และสานักศิ ลปวัฒนธรรม เป็ นส่วน
ราชการ โดยมอบหมายให้สถาบันบัณฑิตพัฒนศิ ลป์ พิ จารณาปรับปรุง (ร่าง) กฎกระทรวงการจัดตั้ง
ส่วนราชการในสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามมติคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา และเสนอสภาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนส่งมายังสานักงาน
ปลั ดกระทรวงการอุดมศึ กษา วิ ทยาศาสตร์ วิ จั ยและนวั ตกรรม เพื่ อน าเสนอรั ฐมนตรี พิ จารณาให้
ความเห็นชอบในการทากฎกระทรวงต่อไป

รายงานประจ�ำปี 2566 - 100 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2) ด้านการพัฒนาความรแ้ ู ละทักษะ
การพัฒนาทรัพยากรบุคคล เพื่อสนับสนุนให้ขา้ ราชการและบุคลากรทางการศึกษาในสังกัด
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามสายงาน อย่างต่อเนื่อง และสามารถนาศักยภาพ
ของตนเองมาใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพที่ตรงตาม ภาระงานที่ได้รับมอบหมาย เป็ นการ
ส่งเสริมความก้าวหน้าให้แก่ขา้ ราชการและบุคลากรทางการศึกษาให้ตรงกับสายงาน สนับสนุนให้ขา้ ราชการ
บุคลากรทางการศึกษาได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับหน่วยงาน ภายนอก และสร้างความร่วมมือ
ระหว่างหน่วยงาน ดังนี้
2.1 โครงการพัฒนาบุคลากรตามสมรรถนะรายบุคคล โดยการส่งบุคลากรเข้าร่วมอบรมกับ
หน่วยงานภายนอก จานวน 11 กิจกรรม ดังนี้
2.1.1 กิจกรรรมอบรมสัมมนาหลักสูตรเทคนิคการผ่านการประเมินการประกันคุณภาพ
งานตรวจสอบภายใน วันที่ 9 พฤศจิกายน 2565 ซึ่ งมีบคุ ลากรทางการศึ กษาอื่นตามมาตรา 38 ค (2)
เข้าร่วมการอบรม จานวน 3 ราย เป็ นการอบรมผ่านระบบ Application Microsoft Teams ณ มูลนิธิวิจัยและ
พัฒนาการเงินการคลัง กรมบัญชีกลาง
2.1.2 กิจกรรมการพัฒนาความรูข้ องผูป้ ฏิบัติงานด้านการตรวจสอบภายในสาหรับ
หน่วยงานของรั ฐ ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 ครั้ งที่ 1 รุ่นที่ 1 ในวั นที่ 6 ธันวาคม 2565 -
22 ธันวาคม 2565 ซึ่งมีบคุ ลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2) เข้าร่วมการอบรม จานวน 1 ราย
ณ กรมบัญชีกลาง ออนไลน์ผา่ นระบบ Microsoft Teams Live
2.1.3 กิจกรรรมอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร เรื่องแนวทางบันทึกข้อมูลในระบบการจัดซื้อจัดจ้าง
ภาครัฐ (e-GP) ระยะที่ 5 ภายใต้ พ.ร.บ. การจัดซื้อจัดจ้าง ระหว่างวันที่ 14-15 มกราคม 2566 ซึ่งมีบคุ ลากร
ทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2) เข้าร่วมการอบรมจานวน 3 ราย ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
ITSC6 อาคารเวียงคา ชัน้ 2 มหาวิทยาลัยรามคาแหง
2.1.4 กิ จกรรมการอบรมหลั กสูตรด้า นการบั ญชี ภาครั ฐ ประจ าปี งบประมาณ
พ.ศ. 2566 ในวันที่ 7 มีนาคม - 20 เมษายน 2566 ซึ่งมีบคุ ลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38 ค.(2)
เข้าร่วมการอบรมจานวน 1 ราย ณ กรมบัญชีกลาง ออนไลน์ผา่ นระบบ Facebook Live
2.1.5 กิ จกรรมการพัฒนาความรูข้ องผูป้ ฏิ บัติงานด้านการตรวจสอบภายในสาหรับ
หน่วยงานของรัฐ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 ครัง้ ที่ 1 รุ่นที่ 2 ในวันที่ 14 มีนาคม 2566 - 30 มีนาคม
2566 ซึ่ ง มี บ ุ ค ลากรทางการศึ ก ษาอื่ น ตามมาตรา 38 ค.(2) เข้า ร่ ว มการอบรม จ านวน 3 ราย
ณ กรมบัญชีกลาง ออนไลน์ผา่ นระบบ Microsoft Teams Live
2.1.6 กิ จกรรมการฝึ กอบรมหลั กสูตรมาตราฐานวิ ชาชี พด้านการจั ดซื้ อ จั ดจ้าง
และการบริหารพัสดุภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ C1 หลักสูตรหัวหน้าเจ้าหน้าที่ระดับต้น ในวันที่ 27 มีนาคม -
26 กรกฎาคม 2566 ซึ่งมีบคุ ลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38 ค.(2) เข้าร่วมการอบรม จานวน 1 ราย
ณ กรมบัญชีกลาง ผ่านระบบโปรแกรมอบรมของกรมบัญชีกลางออนไลน์
2.1.7 กิ จกรรมการฝึ กอบรมหลักสูตรมาตราฐานวิ ชาชี พด้านการจัดซื้ อจัดจ้างและ
การบริหารพัสดุภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ A1 หลักสูตรเตรียมความพร้อม รุ่นที่ 2 ในวันที่ 27 เมษายน -
26 มิถนุ ายน 2566 ซึ่งมีบคุ ลากรเข้าร่วมการอบรม จานวน 2 ราย ผ่านระบบออนไลน์

รายงานประจ�ำปี 2566 - 101 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.1.8 กิจกรรมอบรมการวิจัยจากงานประจาสาหรับสายสนับสนุนในระบบการศึกษาไทย
ในวันที่ 26 พฤษภาคม 2566 ซึ่งมีบคุ ลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38 ค.(2) จานวน 5 ราย ณ สมาคม
เครือข่ายการพัฒนาวิชาชีพอาจารย์และองค์กรระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (ควอท) ออนไลน์ผ่านระบบ
Zoom Meeting
2.1.9 กิจกรรมอบรมการประยุกต์ใช้เกณฑ์คณ ุ ภาพการศึกษาเพื่อการดาเนินการที่เป็ น
เลิศในวันที่ 14-16 มิถนุ ายน 2566 ซึ่งมีบคุ ลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38 ค.(2) เข้าร่วมการอบรม
จานวน 1 ราย ณ ภาควิชาวิศวกรรม อุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2.1.10 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร การจัดทารายงานการเงินรวมภาครัฐ
ด้วยอิเล็กทรอนิกส์ รุ่นที่ 7 ในวันที่ 16 สิงหาคม 2566 ซึ่งมีบคุ ลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38 ค.(2)
เข้าร่วมการอบรม จานวน 1 ราย ณ กรมบัญชีกลาง ออนไลน์ผา่ นระบบ Microsoft Teams
2.1.11 กิจกรรมอบรม หลักสูตร เทคนิคการเตรียมและการเขียนบทความทางวิชาการ
สาหรับสายสนับสนุนในระบบการศึกษาไทย รุ่นที่ 2 ในวันที่ 25 สิงหาคม 2566 ซึ่งมีบคุ ลากรทางการศึกษา
อื่น ตามมาตรา 38 ค.(2) เข้าร่วมการอบรม จานวน 3 ราย ณ สมาคมเครือข่ายการพัฒนาวิชาชีพอาจารย์
และองค์กรระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (ควอท) ออนไลน์ผา่ นระบบ Zoom Meeting
2.2 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการพัฒนาทักษะการใช้งานโปรแกรม Microsoft
office วันที่ 19 พฤศจิกายน 2565 ซึ่ งมีบคุ ลากรเข้าร่วมการอบรม จานวน 98 ราย ณ ห้องปฏิบัติการ
คอมพิวเตอร์ ชั้น 4 อาคารหอสมุดสารสนเทศ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ออนไลน์ผ่านระบบ Zoom Meeting
เพื่อให้บคุ ลากรภายในองค์มีทักษะความสามารถการใช้โปรแกรม Microsoft office เพิ่มขึ้นและนาความรูท้ ี่ได้
ไปประยุกต์ในการปฏิบตั งิ านให้ประสิทธิภาพยิ่งขึน้

รายงานประจ�ำปี 2566 - 102 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.3 โครงการพั ฒนาสมรรถนะบุคลากรสายสนับสนุนของสถาบั นบั ณฑิ ตพั ฒนศิ ลป์
ให้สอดคล้องกับสมรรถนะในการปฏิ บัติงาน ระหว่ างวันที่ 10 - 12 มีนาคม 2566 ซึ่ งมีบ ุคลากรทาง
การศึ กษาอื่ นตามมาตรา 38 ค (2) เข้าร่ วมการอบรม จ านวน 81 ราย ณ โรงแรมเอส.ดี .อเวนิ ว
กรุงเทพมหานครฯ เพื่อให้บคุ ลากรได้รับการพัฒนาสมรรถนะอย่างต่อเนื่อง และสามารถสร้างศักยภาพของ
ตนเองมาใช้ในการปฏิบตั งิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพที่ตรงกับภาระงาน

2.4 โครงการอบรมเชิ งปฏิ บัติการพัฒนาการผลิ ตสื่ อประชาสัมพันธ์ ประจ าปี ประมาณ


พ.ศ. 2566 ระหว่ างวั นที่ 17 - 18 มี นาคม 2566 ซึ่ งมี บ ุคลากรเข้าร่ วมการอบรม จ านวน 72 ราย
ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ชั้น 4 อาคารหอสมุดสารสนเทศ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิ ลป์ และออนไลน์
ผ่านระบบ Zoom เพื่อให้บคุ ลากรมีความรูแ้ ละพัฒนาความสามารถในการปฏิบัติงานออกแบบและผลิตสื่อ
เพื่อการประชาสัมพันธ์ได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และน่าสนใจ โดยการเผยแพร่ผา่ นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.5 โครงการสร้างผูน้ ายุคใหม่ ซื่ อสัตย์ รอบรู้ สูง้ าน มีธรรมาภิบาลในการบริหาร ในวันที่
20 - 22 มีนาคม 2566 ซึ่งมีบคุ ลากรเข้าร่วมการอบรม จานวน 65 ราย ณ ห้องประชุมแสนสุข 5 โรงแรม
บางแสนเฮอริเทจ จังหวัดชลบุรี เพื่อเตรียมความพร้อมสาหรับผูท้ ี่มีศักยภาพและความพร้อมตาแหน่ง
ผูบ้ ริหารที่มีวิสยั ทัศน์ มีภาวะผูน้ า มีคณ
ุ ธรรม และมีสรรถนะด้านการบริหารที่ดี

รายงานประจ�ำปี 2566 - 103 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.6 โครงการอบรมเชิ งปฏิ บั ติการหลักสูตรการใช้งานระบบสารสนเทศอิ เล็ กทรอนิ กส์
รูปแบบใหม่ วันที่ 31 มีนาคม 2566 ซึ่งมีบคุ ลากรเข้าร่วมการอบรม จานวน 100 ราย ณ ห้องปฏิบัติการ
คอมพิวเตอร์ ชัน้ 4 อาคารหอสมุดสารสนเทศ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และออนไลน์ผา่ นระบบ Zoom Meeting
เพื่อเพิ่มทักษะความรู้ ความสามารถในการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์รปู แบบใหม่ผา่ นเครือข่าย
2.7 โครงการพัฒนาบุคลากรทางการศึ กษาอื่น ตามมาตรา 38 ค.(2) เพื่อแต่งตั้งให้ดารง
ตาแหน่งประเภทวิชาการ ชานาญการ/ ชานาญการพิเศษ ในวันที่ 17 กรกฎาคม 2566 ซึ่งมีบคุ ลากรทาง
การศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2) เข้าร่วมการอบรม จานวน 69 ราย ณ ห้องประชุมชัน้ 5 อาคารสานักงาน
อธิการบดี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และออนไลน์ผ่านระบบ Zoom Meeting เพื่อสร้างความให้กับบุคลากร
เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบ และแนวทางการจัดทาผลงาน
2.8 โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเพิ่มพูนศักยภาพอาจารย์ดา้ นศิลปะ ในวันที่ 16 - 17
กันยายน 2567 ซึ่ งมีบคุ ลากรที่เข้าร่วมการอบรม จานวน 220 ราย ณ อาคารคณะศิลปศึ กษา สถาบัน
บัณฑิตพัฒนศิ ลป์ เพื่อเพิ่มพูนศักยภาพให้สามารถนาความรูท้ ักษะที่ได้รับจากการอบรมฯ ไปพัฒนาการ
จัดการเรียนการสอน ให้มีคณ ุ ภาพมาตรฐานเกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุด

2.9 โครงการเสริมสร้างศักยภาพและพัฒนาดุลยภาพของข้าราชการประจาปี งบประมาณ


2556 วันที่ 16-18 สิงหาคม 2566 ซึ่ งมีบคุ ลากรเข้าร่วมการอบรม จานวน 19 ราย ณ โรงแรมเอส.ดี.
อเวนิว กรุงเทพมหานครฯ เพื่อการรับรูเ้ กี่ยวกับสิทธิประโยชน์อนั พึงได้ และการเสริมสร้างคุณภาพและคุณค่า
ของชีวิต เพื่อการวางแผนชีวิตภายหลังเกษียณอายุราชการ

รายงานประจ�ำปี 2566 - 104 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


3) ด้านการเพิ่มค ุณว ุฒิการศึกษา
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ มีการจัดสรรทุนทางการศึกษาในระดับปริญญาโท – ปริญญาเอก
ให้กับบุคลากรในสังกัดเพื่ อเสริ มสร้างศั กยภาพบุคลากรให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิ ผล สามารถ
ปฏิบัติงานได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งเป็ นการพัฒนาบุคลากรให้ตรงตามโครงสร้างขององค์กร มีความรูต้ ามมาตรฐาน
ตาแหน่งที่กาหนด และให้เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานของการจัดการศึ กษาและเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ระดับอุดมศึ กษา โดยสถาบันบัณฑิตพัฒนศิ ลป์ จัดสรรทุนการศึ กษาสาหรับคณาจารย์ และบุคลากรทา
งการศึกษาในสังกัดสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 จานวน 22 ราย ประกอบด้วย
ระดับปริญญาโท จานวน 3 ราย และปริญญาเอก จานวน 19 ราย
4) การเข้าสูต่ าแหน่งทางวิชาการ
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิ ลป์ ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มีความก้าวหน้าในสายอาชีพของ
บุคลากรทัง้ สายวิชาการและสายสนับสนุนเพิ่มขึน้ ประจาปี งบประมาณ 2566 รายละเอียดดังนี้

2.2.5.3 การพัฒนาระบบสารสนเทศ

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ได้พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงานจัดการภายในองค์กร
ที่สอดคล้องตามแผนพัฒนาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. 2565-2569 ในยุทธศาสตร์ที่ 3 กลยุทธ์ที่ 2
พัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ และระบบฐานข้อมูลองค์ความรูด้ า้ นศิ ลปวัฒนธรรมให้เป็ นเอกภาพ
ในการบริ การทางวิ ชาการ บริ การองค์ความรูด้ า้ นศิ ลปวัฒนธรรม และยุทธศาสตร์ที่ 5 กลยุทธ์ที่ 2
ส่งเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการ การบริการทางการศึกษาและ
การปฏิ บัติงาน โดยพัฒนาและปรับปรุงการทางานของระบบสารสนเทศ เพื่ อให้เกิดประโยชน์สงู สุดแก่
นักเรียน นักศึกษา บุคลากร ตลอดจนผูร้ บั บริการทัง้ ภายในและภายนอกหน่วยงาน รายละเอียดดังนี้

รายงานประจ�ำปี 2566 - 105 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


1. ระบบบริหารการศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
เป็ นระบบให้บริการเกี่ยวกับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาและระดับอาชีวศึกษา ระดับอุดมศึกษา
และระดับบัณฑิตศึ กษา โดยมีระบบบริ การแก่นักเรี ยน นักศึ กษา ในการสมัครเรี ยน ลงทะเบี ยนเรี ยน
ตรวจสอบผลการศึกษา เป็ นต้น การเข้าใช้บริการระบบบริหารการศึกษา แบ่งตามระดับการศึกษาได้ดงั นี้
1.1 ระดับมัธยมศึ กษาและระดับอาชี วศึ กษา นักเรี ยนสามารถเข้าใช้งานผ่านทางเว็ บไซต์
https://eduregis.bpi.ac.th/

1.2 ระดับอุดมศึกษา นักศึกษาสามารถเข้าใช้งานผ่านทางเว็บไซต์ https://registra.bpi.ac.th/

1.3 ระดับบัณฑิตศึกษา นักศึกษาสามารถเข้าใช้งานผ่านทางเว็บไซต์ https://graduates.bpi.ac.th/

รายงานประจ�ำปี 2566 - 106 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2. ระบบกิจกรรมนักศึกษา
เป็ นระบบบริหารจัดการกิจกรรมเสริมหลักสูตรของนักศึ กษา ระดับปริญญาตรี เพื่อจัดเก็บ
ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ประกอบไปด้วย กิจกรรมบังคับ กิจกรรมบังคับเลือก และกิจกรรม
เลือกเสรี โดยนักศึกษาสามารถเข้าใช้งานผ่านเว็บไซต์ https://registra.bpi.ac.th/portal/login_student.php

3. ระบบจัดเก็บและให้บริการสื่อสาระองค์ความรู้
ปรับปรุงพัฒนาระบบจัดเก็บและให้บริการสื่อสาระองค์ความรู้ ให้สามารถรองรับความต้องการ
ของผู้มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ทั้ ง ภายใน คื อ บุ ค ลากรของหน่ ว ยงาน นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษาในสั ง กั ด
และภายนอก ได้แก่ ประชาชนทัว่ ไป ครู อาจารย์ ผูส้ อนทางด้านศิ ลปะ ได้แก่ นาฏศิ ลป์ ดุริยางคศิ ลป์
ทัศนศิ ลป์ ในการอ้างอิ งองค์ความรูด้ า้ นศิ ลปะ ตามแนวทางตามแผนพัฒนาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิ ลป์
เว็บไซต์ระบบ https://media.bpi.ac.th

รายงานประจ�ำปี 2566 - 107 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.2.5.4 ผลการประกันค ุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2565
การประกันคุณภาพการศึกษา เป็ นกลไกและเป็ นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
เพื่ อท าให้ เ กิ ด ความมั ่ น ใจว่ า การจั ด การศึ กษามี คุ ณ ภาพและได้ ม าตรฐาน สอดคล้ อ งกั บ
ความต้องการของชุมชนและสังคม และถือว่าการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เป็ นส่วนหนึ่งของกระบวน
การบริ หารสถานศึ กษาที่ ต อ้ งด าเนินการอย่ างต่อเนื่อง เพื่ อน าไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศึ กษา การด าเนินงานประกันคุณภาพการศึ กษาของสถานศึ กษาให้เป็ นไปตามนโยบาย เป้ าหมาย
และระดับคุณภาพมาตรฐานที่กาหนดโดยสถานศึ กษา หรื อหน่วยงานต้นสั งกัด ซึ่ งการประกันคุณภาพ
การศึ กษาจะมีประสิทธิผล เมื่ อได้มีการประเมินผลการดาเนินงาน และนาผลการตรวจประเมิ นคุณภาพ
มาพัฒนา ปรับปรุงการดาเนินงาน อย่างต่อเนื่องตามวงจรคุณภาพ รวมทั้งการทบทวน และการติดตาม
กระบวนการดาเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างใกล้ชิด
ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 ซึ่ งอยู่ในระหว่างภาคเรี ยนที่ 2 ของปี การศึ กษา 2565 สถาบัน
บัณฑิตพัฒนศิลป์ ดาเนินการจัดการศึกษา 2 ระดับ คือ การศึกษาขัน้ พื้นฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษา
โดยสถาบันฯ ได้กาหนดให้หน่วยงานในสังกัดที่จัดการศึกษา ดาเนินการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
3 กลุม่ การศึกษา ได้แก่ การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน การประเมินคุณภาพ
การศึกษาภายในการอาชีวศึกษา และการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา โดยมีผล
การประเมินดังนี้
1) ผลการประเมิ น ค ณ ุ ภาพการศึ ก ษาภายในระดับการศึ ก ษาขัน้ พื้ น ฐาน ประจ า
ปีการศึกษา 2565
ปี การศึกษา 2565 สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ได้กาหนดให้หน่วยงานในสังกัดที่จัดการเรียน
การสอนในระดับการศึ กษาพื้ นฐานวิ ชาชี พ ด าเนินการประกันคุณภาพการศึ กษาภายใน ตามมาตรฐาน
การศึกษา ระดับพื้นฐานวิชาชีพ จานวน 4 มาตรฐาน ประกอบไปด้วย
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ้ รียน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจัดการ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ
มาตรฐานที่ 4 อัตลักษณ์ผเู้ รียน และเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
โดยมีผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ดังนี้

รายงานประจ�ำปี 2566 - 108 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


ผลการประเมินค ุณภาพการศึกษาภายใน ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
วนศ. ยอดเยี่ยม
วนศ.กาฬสินธุ์ ยอดเยี่ยม
วนศ.จันทบุรี ยอดเยี่ยม
วนศ.เชียงใหม่ ยอดเยี่ยม
วนศ.นครศรีธรรมราช ยอดเยี่ยม
วนศ.นครราชสีมา ยอดเยี่ยม
วนศ.พัทลุง ยอดเยี่ยม
วนศ.ร้อยเอ็ด ยอดเยี่ยม
วนศ.ลพบุรี ยอดเยี่ยม
วนศ.สุโขทัย ยอดเยี่ยม
วนศ.สุพรรณบุรี ยอดเยี่ยม
วนศ.อ่างทอง ยอดเยี่ยม
กาลังพัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลิศ ยอดเยี่ยม
เกณฑ์คณ
ุ ภาพของมาตรฐานมี 5 ระดับ ดังนี้
- ยอดเยี่ยม
- ดีเลิศ
- ดี
- ปานกลาง
- กาลังพัฒนา
2) ผลการประเมินคณ
ุ ภาพการศึ ก ษาภายในการอาชี วศึ ก ษา ประจาปีการศึ ก ษา
2565
ปี การศึกษา 2565 สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ได้กาหนดให้หน่วยงานในสังกัดที่จัดการเรียน
การสอนในระดับอาชีวศึ กษา ดาเนินการประกันคุณภาพการศึ กษาภายใน ตามมาตรฐานการอาชีวศึ กษา
จานวน 4 มาตรฐาน ประกอบไปด้วย
มาตรฐานที่ 1 คุณลักษณะของผูส้ าเร็จการศึกษาศิลปกรรมที่พึงประสงค์
มาตรฐานที่ 2 การจัดการศึกษาศิลปกรรม
มาตรฐานที่ 3 การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 4 อัตลักษณ์ผเู้ รียน และเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ดังนี้

รายงานประจ�ำปี 2566 - 109 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


ผลการประเมินค ุณภาพการศึกษาภายในการอาชีวศึกษา

4.98 4.91 4.9 4.88 4.76 4.83 4.8 4.56 4.87


5 4.79 4.61 4.58 4.75
4.3
4 3.5
ระดับคะแนน

เกณฑ์ระดับคุณภาพของมาตรฐาน มีดงั นี้


คะแนน 4.51 – 5.00 มีระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม
คะแนน 3.51 – 4.50 มีระดับคุณภาพ ดีเลิศ
คะแนน 2.51 – 3.50 มีระดับคุณภาพ ดี
คะแนน 1.51 – 2.50 มีระดับคุณภาพ ปานกลาง
คะแนน 0.00 – 1.50 มีระดับคุณภาพ ต้องปรับปรุงเร่งด่วน

3) ผลการประเมินคณ
ุ ภาพการศึ กษาภายในระดับอ ุดมศึ กษา ประจาปีการศึกษา
2565
ในปี การศึ กษา 2565 สถาบันบัณฑิ ตพัฒนศิ ลป์ ด าเนิ นการประเมิ นคุณภาพการศึ กษา
ระดับอุดมศึกษา โดยสถาบันฯ ดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตามระบบการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายใน ระดับสถาบัน จานวน 5 องค์ประกอบ ประกอบไปด้วย
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต
องค์ประกอบที่ 2 การวิจยั
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ
องค์ประกอบที่ 4 การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ
มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ดังนี้

รายงานประจ�ำปี 2566 - 110 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


ผลการประเมินค ุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสถาบัน
ปีการศึกษา 2565
5
4.29
4

ระดับคะแนน
3
2
1
0
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

เกณฑ์ระดับคุณภาพของมาตรฐาน มีดงั นี้


คะแนน 4.51 – 5.00 มีผลการดาเนินงานระดับดีมาก
คะแนน 3.51 – 4.50 มีผลการดาเนินงานระดับดี
คะแนน 2.51 – 3.50 มีผลการดาเนินงานระดับพอใช้
คะแนน 1.51 – 2.50 มีผลการดาเนินงานต้องปรับปรุง
คะแนน 0.00 – 1.50 มีผลการดาเนินงานต้องปรับปรุงเร่งด่วน
ทั้งนี้ ผลคะแนนการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบันมีระดับคะแนนเพิ่มขึ้น
ทุกปี เมื่อเทียบกับปี การศึกษา 2562 ปี การศึกษา 2563 และ ปี การศึกษา 2564 ดังนี้

ผลการประเมินค ุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสถาบัน


ประจาปีการศึกษา 2565
เทียบกับปีการศึกษา 2562 2563 และ 2564
5
4.26 4.29
4.20
4 3.84
ระดับคะแนน

0
ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา ปี การศึกษา
2562 2563 2564 2565
3.84 4.26
4.20 4.29

รายงานประจ�ำปี 2566 - 111 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.2.5.5 ผลการประเมินค ุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงาน
ภาครัฐ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2566
ผลคะแนนภาพรวมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงาน
ภาครัฐ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2566 เท่ากับ 96.38 คะแนน อยู่ในระดับ
ผ่าน

โดยมีผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ เพิ่มขึ้น
ทุกปี เมื่อเทียบกับปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 และงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้

ผลคะแนนการประเมินค ุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน
ของหน่วยงานภาครัฐ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เทียบกับ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และ 2565
94.31 96.38
86.72

ปี งบประมาณ ปี งบประมาณ ปี งบประมาณ


พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566

รายงานประจ�ำปี 2566 - 112 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ได้ดาเนินการเก็บข้อมูล จาก 3 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 แบบวัดการรับรข้ ู องผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียภายใน ประกอบด้วย 5 ตัวชี้วัด ได้แก่
ตัวชี้วัดการปฏิบัติหน้าที่ ตัวชี้วัดการใช้งบประมาณ ตัวชี้วัดการใช้อานาจ ตัวชี้วัดการใช้ทรัพย์สิ นของ
ราชการ และตัวชี้วัดการแก้ไขปั ญหาการทุจริต
ส่วนที่ 2 แบบวัดการรับรข้ ู องผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก ประกอบด้วย 3 ตัวชี้วัด ได้แก่
ตัวชี้วัดคุณภาพการดาเนินงาน ตัวชี้วัดประสิทธิภาพการสื่อสาร และตัวชี้วัดการปรับปรุงระบบการ
ทางาน การเก็บข้อมูล จาแนกออกเป็ น 2 ส่วน คือ ผูร้ ับบริการหรือติดต่อราชการเข้าตอบด้วยตนเอง
และผูป้ ระเมินจัดเก็บข้อมูล
และส่วนที่ 3 แบบวัดการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด ได้แก่ ตัวชี้วัด
การเปิ ดเผยข้อมูล และตัวชี้วัดการป้องกันการทุจริต โดยมีผลการประเมินรายตัวชี้วัด ดังนี้

การปฏิบตั หิ น้าที่ 99.78


100
การป้องกันการทุจริต การใช้งบประมาณ
75
100.00 99.40
50
การเปิ ดเผยข้อมูล การใช้อานาจ
25
100.00 99.79
0
การปรับปรุงระบบการ
การใช้ทรัพย์ของราชการ
ทางาน
87.22 99.22
ประสิทธิภาพการสื่อสาร การแก้ไขปั ญหาการทุจริต
87.86 คุณภาพการดาเนินงาน 99.79
89.42

รายงานประจ�ำปี 2566 - 113 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


2.2.5.6 ผลการประเมินผลการดาเนินงานตามแผนพัฒนาสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2566

รายงานประจ�ำปี 2566 - 114 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์


รายงานประจ�ำปี 2566 - 115 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
รายงานประจ�ำปี 2566 - 116 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
รายงานประจ�ำปี 2566 - 117 - สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

You might also like