You are on page 1of 60

ปีที่ 40

ฉบับที่

กรกฎาคม
-
สิงหาคม
2555

นักสืบฟอสซิล

สื่อสามมิติชุดบันทึกโลก ตอน
ชีวิตในห้วงน้ำ
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และการประดิษฐ์
จัดการเรียนการสอนฟิสิกส์
อย่างไรให้สนุก...

เกมพัฒนาความคิด
สู่วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
เปิดเล่ม คณะ​ที่​ปรึกษา​​​
​ประธาน​กรรมการ​​สสวท​.​
​ผู้​อำนวย​การ​​สสวท​.​
กรรมการ​ผู้​จัดการ​บริษัท​​นาน​มี​บุ๊ค​ส์​​จำกัด​
ช่ ว งเดื อ นสิ ง หาคมของทุ ก ปี มี ง านที่ ส ำคั ญ
ซึ่งทุกคนรอคอยนั่นคือ มหกรรมวิทยาศาสตร์และ บรรณาธิการ​บริหาร​​​​​
สุภารัตน์ ภูไตรรัตน์ ​​​​
เทคโนโลยีแห่งชาติ ณ ศูนย์นทิ รรศการและการประชุม ​​
ไบเทค บางนา ซึ่ ง หน่ ว ยงานภาครั ฐ และเอกชน ที่​ปรึกษา​กอง​บรรณาธิการ​​​
รอง​ผู้​อำนวย​การ​สสวท. ​​​
จำนวนมากจะมาจัดนิทรรศการและนำเสนอกิจกรรม ผู้​ช่วย​ผู้​อำนวย​การ​สสวท. ​​
ต่าง ๆ ด้วยเทคโนโลยีทที่ นั สมัย และมีรปู แบบกิจกรรม
หัวหน้าก​ อง​บรรณาธิการ​​​​
ที่สนุกสนาน เป็นการเปิดมุมมองใหม่และสร้างแรง ​​พงษ์​เทพ​​บุญ​ศรี​โรจน์
บั น ดาลใจให้ เ ยาวชนหั น มาสนใจวิ ท ยาศาสตร์ กั น ​​​
กอง​บรรณาธิการ​​​​​​
มากขึ้น สำหรับปีนี้ สสวท. ก็ได้เข้าร่วมงานนี้ด้วย สุพรรณี ชาญประเสริฐ เชอรี่ อยู่ดี
โดยจัดกิจกรรม “สสวท. ผจญภัยในดินแดนมหัศจรรย์” แบ่งเป็นโซนความสนุกถึง ชมัยพร ตั้งตน เบ็ญจวรรณ ศรีเจริญ
20 โซน เช่น สนามเด็กเล่น ห้องปฏิบตั กิ ารวิทยาศาสตร์ กลเกมคณิตศาสตร์ เป็นต้น ดร.วนิดา ธนประโยชน์ศักดิ์ ราม ติวารี
พร้อมจัดแสดงสื่อการเรียนการสอนในหลายรูปแบบ และในนิตยสารฉบับนี้ก็ได้ ดร.กุศลิน มุสิกุล พรพจน์ พุฒวันเพ็ญ
อุปการ จีระพันธุ ทิพย์วรรณ สุดปฐม
นำบางกิจกรรมในงานมาให้ท่านได้ลงมือทำ ได้แก่ “กิจกรรมน่าสนใจกับสาขา ปาริฉัตร พวงมณี สุพจน์ วุฒิโสภณ
ชีววิทยา” ดร.ประสงค์ เมธีพินิตกุล ดร.สุพัตรา ผาติวิสันติ์
นอกจากนี้ในเล่มยังมีกิจกรรม “นักสืบฟอสซิล” “เกมพัฒนาความคิดสู่ ดร.พรชัย อินทร์ฉาย อรวรรณ อินทวิชญ
ดุสิต สังข์ร่วมใจ ธวัชชัย ชนะกานนท์
วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์” “แบบจำลองโมเลกุลหลอด” และ “ตามหาคาร์บอน” ดร.ชัยวุฒิ เลิศวนสิริวรรณ ถนิม ทิพย์ผ่อง
ให้ผู้สอนนำไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ เพราะมีรูปแบบที่น่าสนใจและ
ตื่นเต้น ช่วยกระตุ้นความสนใจของเด็กได้เป็นอย่างดี พร้อมแนวทางการสอน ผู้​ช่วย​กอง​บรรณาธิการ​​​
ฟิสิกส์เรื่อง “จัดการเรียนการสอนฟิสิกส์อย่างไรให้สนุก ปลูกความคิดสู่ปัญญา” ​ดร.สม​ชาติ​​​ไพศาล​รัตน์​​​​​
วนิดา​คล่อง​อาสา​​​
ซึ่งเชื่อว่าเนื้อหาในฉบับนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับผู้สอนอย่างแน่นอน ​​นิลุบล​​กอง​ทอง​​​​
ทีมงานนิตยสาร สสวท. ขอเชิญชวนผู้อ่านที่มีความสนใจงานเขียนด้าน รัชนี​กร​​มณีโ​ชติ​รัตน์​
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ส่งผลงานเขียนที่มีเนื้อหาเหมาะสมกับ สินีนาฎ ทาบึงกาฬ
ดวงมาลย์ บัวสังข์
ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษามาที่กองบรรณาธิการนิตยสาร ซึ่งผลงานที่
ได้รับการตีพิมพ์จะได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสม มาร่วมกันสร้างสังคมไทยให้เป็น วัตถุประสงค์
สังคมแห่งการเรียนรู้วิทยาศาสตร์กับพวกเรากันเถอะ 1. เผย​แพร่​และ​ส่ง​เสริมค​ วาม​รู้​ทาง​ด้านวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์​และ​เทคโนโลยี​ให้​แก่​ครูแ​ ละ​ผู้​สนใจ​ทั่วไป
2. เผย​แพร่​กิจกรรม​และ​ผล​งาน​ของ สสวท.
บรรณาธิการบริหาร 3. เสนอ​ความ​ก้าวหน้า​ของ​วิทยาการ​ใน​ด้าน​การ​
ศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์แ​ ละ​เทคโนโลยี​ที่​จะ
สนับสนุน​การ​ศึกษา​ของ​ชาติ​ให้​ทัน​กับ​เหตุการณ์​
เจ้าของ ปัจจุบัน
สถาบันส​ ่ง​เสริม​การ​สอน​วิทยาศาสตร์แ​ ละ​เทคโนโลยี​​ ​ 4. แลก​เปลี่ยน​และ​รับ​ฟัง​ความ​คิด​เห็น​ต่าง ๆ
924​​​ถนน​สุขุมวิท​แขวง​พระโขนง​​เขต​คลองเตย​​กทม​.​1​ 0110​​โทร​.​​0​-​2392​-​4021​​ต่อ​​3307​​​​​
เกี่ยว​กับความ​รู้​ทาง​ด้าน​วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
(ข้อเขียนทั้งหมดเป็นความเห็นอิสระของผู้เขียน มิใช่ของ สสวท. หากข้อเขียนใดผู้อ่านเห็นว่า ​และเทคโนโลยีจ​ าก​ครู​และ​ผู้​สนใจ​ทั่วไป
ได้มีการลอกเลียนแบบหรือแอบอ้างโดยปราศจากการอ้างอิง กรุณาแจ้งให้กองบรรณาธิการทราบด้วย
จักเป็นพระคุณยิ่ง)
สารบัญ
ปีที่ 40 ฉบับที่ 178 กรกฎาคม-สิงหาคม 2555

1 เปิดเล่ม

เรื่อง​เด่น​ประจำ​ฉบับ
3 มหกรรม​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยีแ​ ห่ง​ชาติ
กิจกรรม​วิทยาศาสตร์​ยิ่งใหญ่​แห่ง​ปี
6 วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ​การ​ประดิษฐ์
12 กิจกรรม​น่า​สนใจ​กับ​สาขา​ชีววิทยา​ใน​งาน​มหกรรม​วิทยาศาสตร์​ 23
รอบรู้​วิทย์
6 และ​เทคโนโลยี​ปี 2555

รอบรู้คณิต
15 ฟิสิกส์ จัดการ​เรียน​การ​สอน​ฟิสิกส์​อย่างไร​ให้​สนุก 35 การแก้ปัญหาโจทย์ ปรากฏการณ์ 1-3-3-1
ปลูกความคิดสู่ปัญญา ตอนที่ 1 จุดกำเนิด 38 การแก้ปัญหาโจทย์ จดหมายเปิดผนึกถึง
20 เคมี แบบ​จำลอง​โมเลกุล​หลอด เด็ก (อยาก) ฉลาดคิดแบบคณิตศาสตร์
23 พลังงาน นิวเคลียร์พ​ ลังงาน​ทาง​เลือก​ใหม่ ?
26 การ​เปลี่ยนแปลง​ภูมิ​อากาศ ตาม​หา​คาร์บอน
28 ธรณีวิทยา นักสืบฟ​ อสซิล
สื่อ​การ​เรียน​รู้​กระตุ้น​ต่อม​คิด
32 สื่อการสอน สื่อ​สาม​มิติ​ชุดบันทึก​โลก ตอน ชีวิต​ใน​ห้วง​น้ำ
40 เว็บไซต์ WolframAlpha เพื่อ​การ​เรียน​การ​สอน​คณิตศาสตร์
​ และ​วิทยาศาสตร์​แบบ​บูรณาการ

32
43 เว็บไซต์​ช่วย​สอน
44 หนังสือน่าอ่าน
46 เกม​การ​ศึกษา เกม​พัฒนา​ความ​คิด สู่​วิทยาศาสตร์​คอมพิวเตอร์
นานาสาระ
48 หลักสูตร เปิดต​ ัวห​ ลักสูตร​ห้องเรียน​พิเศษ​วิทยาศาสตร์​ระดับ​มัธยมศึกษา​ตอน​ต้น​ตาม​แนวทาง สสวท.
และ สอ​วน.
50 กิจกรรมเสริมการเรียนรู้ ครูแ​ ละ​เยาวชน​ชาย​แดน​ใต้ “ตะลุย​ค่าย​บูรณ​า​การ​วิทย์​คณิตเ​มือง​กรุง”
53 บุคคล​สำคัญ เลอ​ง ฟู​โกล์ (León Foucault)
56 News
58 Quiz Quiz กับต​ ่าย​แสน​ซน
เรื่องเด่นประจำฉบับ
​>> สรารัตน์ แพ่งน้อย pst.ac.th

มหกรรมวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ
กิจกรรมวิทยาศาสตร์ยิ่งใหญ่แห่งปี
ม​ หกรรม​วทิ ยาศาสตร์แ​ ละ​เทคโนโลยีแ​ ห่งช​ าติประจำ​ปี 2555 จัดขึน้ ระหว่าง วันท​ ี่ 17-31
สิงหาคม 2555 ณ ศูนย์น​ ทิ รรศการ​และ​การ​ประ​ชมุ ไ​บ​เทค บางนา มีหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
ร่วมจัดงานจำนวนมากอีกเช่นเคย สำหรับนิทรรศการเด่นในปีนี้มีมากมาย อาทิ นิทรรศการ


คณิตศาสตร์ นิทรรศการนวัตกรรมเพื่อโลกสีเขียว นิทรรศการวิทยาการในโลกมุสลิม
ถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโน- ล้ำค่า ซึ่งล้วนแต่เป็นกิจกรรม Hands-on ที่ให้ผู้เข้าชมงาน
โลยี (สสวท.) ได้ ร่ ว มกั บ องค์ ก ารพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ได้ ล งมื อ ทำด้ ว ยตนเอง เพื่ อ ฝึ ก ทั ก ษะทางวิ ท ยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) จดั นิทรรศการและ การคิดแก้ปัญหา รวมทั้งความคิดสร้างสรรค์
กิจกรรม “สสวท. ผจญภัยในดินแดนมหัศจรรย์” ซึง่ แบ่งเป็น นอกจากนี้ สสวท. ยังได้นำเสนอสื่อการเรียนการสอน
โซนต่าง ๆ หลายโซน ได้แก่ สนามเด็กเล่น, ห้องปฏิบัติการ หลากหลายรูปแบบ เช่น สือ่ ดิจทิ ลั ประกอบการเรียนรูว้ ทิ ยา-
วิทยาศาสตร์, กลเกมคณิตศาสตร์, โรงหนังหรรษา, ธารา ศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี การฉายภาพยนตร์การ์ตนู
พาเพลิน, ส่องกล้องหาคู่, ท่องโลกธรณีและมหาสมุทร, วิทยาศาสตร์เรือ่ ง “ไซน์คดิ ส์ พิชติ ปริศนา” รวมทัง้ หนังสือเรียน
เกมล่าท้ามังกร, เครื่องร่อนเจ้าเวหา, Hands-on Station I, และเอกสารประกอบการเรียนการสอน และจัดให้มีการ
Hands-on Station II, หอนาฬิกาเจ้าปัญหา, กระสวย แข่ ง ขั น ทำแบบทดสอบการคู ณ -หารทศนิ ย ม แข่ ง ขั น ทำ
อวกาศ, ลานประลองเกมดิจิทัล, IPST Learning Space, แบบทดสอบการคาดคะเนมุม เป็นต้น
IPST Bookstore, กำแพงอัจฉริยะ, เวทีกจิ กรรม, มหาขุมทรัพย์
ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 3
นิทรรศการโลกและเอกภพ สร้างความเข้าใจ
พื้นฐานเรื่องดวงดาว และรู้เรื่องเทคโนโลยีอวกาศ

นิทรรศการโลกและเอกภพ นิทรรศการคณิตศาสตร์
ด้วยใน ปี พ.ศ. 2555 มีเหตุการณ์ความก้าวหน้าทาง “Math land แดนคณิตคิดเพลิน”
วิทยาศาสตร์เกิดขึ้น นั่นคือความสำเร็จในการสร้างยาน นำเสนอนิทรรศการความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ที่
“คิวริออซิตี (Curiosity)” ยานอวกาศลำใหม่ไปยังดาวอังคาร ประยุ ก ต์ ใช้ ใ นด้ า นต่ า งๆและในชี วิ ต ประจำวั น โดยมี นั ก
งานนี้จึงพลาดไม่ได้ที่จะนำภาพเหตุการณ์ต่าง ๆ มาจัดแสดง คณิตศาสตร์อย่าง แอลัน เทอริง (Alan Turing) ผู้ประดิษฐ์
ให้ ผู้ ร่ ว มงานได้ รั บ ชมและร่ ว มเป็ น หนึ่ ง ในประวั ติ ศ าสตร์ เครื่องคิดเลข Turing Machine และเป็นผู้วางรากฐาน
มนุษยชาติ โดยไฮไลต์ของนิทรรศการคือ “อุโมงค์โลกและ คอมพิ ว เตอร์ ส มั ย ใหม่ เป็ น ไฮไลต์ ใ นการจั ด นิ ท รรศการ
เอกภพ” บอกเล่าเรื่องการกำเนิดของเอกภพผ่านจอภาพ เนื่องจากปีนี้ครบรอบ 100 ปีของการคิดค้นของเขาพอดี
ขนาดยักษ์ ซึ่งเมื่อทุกคนได้เดินเข้าไป จะรู้สึกเหมือนได้ ทั้ ง ยั ง มี กิ จ กรรม Hands-on ให้ ผู้ ช มฝึ ก แก้ ปั ญ หาโจทย์
หลุดเข้าไปยังอวกาศ เนื่องจากภาพที่แสดงนั้น ไม่เพียงแต่ คณิตศาสตร์อย่างสนุกสนาน เรียกได้ว่าโซนคณิตศาสตร์
ปรากฏอยูบ่ นจอภาพ แต่ยงั สะท้อนไปยังผนังของอุโมงค์ดว้ ย ปีนี้เป็นสีสันเรียกผู้ชมได้มากทีเดียว และช่วยให้บุคคลทั่วไป
สร้ า งอารมณ์ แ ละความรู้ สึ ก ได้ ยิ่ ง กว่ า การชมภาพยนตร์ เข้าใจว่าคณิตศาสตร์มีความสำคัญมากแค่ไหน และทำไม
สามมิติธรรมดาเสียอีก นอกจากนี้ภายในนิทรรศการยังจัด เราต้องเรียนคณิตศาสตร์
แสดงระบบสุรยิ ะจำลองทีน่ ำเทคนิคแสงสีเข้ามาช่วย ผูช้ มจะ นิทรรศการคณิตศาสตร์
ได้เห็นดาวส่องสว่างแบบที่ไม่ต้องใช้จินตนาการอีกต่อไป เป็นอีกโซนหนึ่งที่เด็กๆ
ให้ความสนใจมาก
มีชนิ้ อุกกาบาตให้ได้ชมอย่างใกล้ชดิ รวมทัง้ ห้องตาชัง่ อวกาศ
เป็นห้องกระจกที่เมื่อแต่ละคนเข้าไป จะมีตาชั่งคำนวณ
น้ำหนักของเราเมื่ออยู่ที่ดาวต่าง ๆ เรียกความสนใจและ
รอยยิ้มได้ไม่น้อย

4 >> นิตยสาร สสวท.


นิทรรศการ​นวัตกรรมเพื่อโลกสีเขียวในด้านต่างๆ
นิทรรศการ​รู้ทันพิบัติภัย ที่นำเสนอวิธีเอาตัวรอด เช่น พลังงาน ขยะ เพื่อให้ประเทศไทยเป็นเมืองสีเขียว
ท่ามกลางพิบัติภัยต่าง ๆ ได้อย่างรู้เท่าทัน
นิทรรศการน้ำ “มารู้จักน้ำให้มากกว่าที่เคย” นอกจากนี้ยังมีการแจกของเล่นทางวิทยาศาสตร์ด้วย
สังคมไทยผูกพันกับสายน้ำ จึงได้จดั แสดงนิทรรศการ เป็นโมเดลแผ่นกระดาษ ที่เมื่อเราพับประกอบแล้วจะได้เป็น
ให้เห็นคุณค่าและความสำคัญของน้ำ ทรัพยากรอันล้ำค่าที่ ของเล่นหรือสิ่งประดิษฐ์ที่ประยุกต์มาจากหลักวิทยาศาสตร์
นับวันจะถูกละเลยไป โดยจะได้พบกับ การสร้างเสียงดนตรี ง่าย ๆ เช่น การสร้างภาพยนตร์จากวงล้อกระดาษ
จากสายน้ำ รุง้ สายน้ำ เรือดำน้ำ ฯลฯ ซึง่ ทุกคนสามารถ ทีอ่ าศัยหลักการ “ภาพติดตา” หรือความจดจำใน
เล่ น และสนุ ก กั บ แบบจำลองที่ จั ด แสดงได้ ด้ ว ย การมองเห็นของเรามาใช้ในการสร้าง เกมพับ
กระดาษที่ให้หาวิธีพับเพื่อให้เห็นภาพทั้ง 7
ภายในงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และ ภาพที่ซ่อนอยู่ในแผ่นกระดาษ กรอบรูป
เทคโนโลยีแห่งชาติ ประจำปี 2555 นี้ ได้แบ่ง ไอน์สไตน์ซงึ่ เป็นกรอบรูปทีเ่ มือ่ เรามองจาก
พื้นที่การจัดงานออกเป็น 3 โซนหลัก คือ โซน มุมต่าง ๆ จะเห็นดวงตาของไอน์สไตน์ขยับ
ของกิจกรรมและนิทรรศการ ตามที่ได้กล่าวมา ตามเราไป ซึ่งที่กล่าวมานั้นเป็นที่ชื่นชอบ
บางส่ ว นตามข้ า งต้ น โซนการประกวดและ ของผู้ ที่ ม าชมงาน โดยเฉพาะเด็ ก ๆเป็ น
แข่งขัน และส่วนการสัมมนาเผยแพร่ความรู้ทาง อย่างมาก
วิ ท ยาศาสตร์ โดยในแต่ ล ะโซนได้ แ บ่ ง ออก วิทยาศาสตร์เป็นพื้นฐานที่สำคัญใน
เป็นส่วนย่อย ๆ อีกมากมาย โดยมีนิทรรศการจาก การพัฒนาประเทศในทุกด้าน งานมหกรรม
ต่างประเทศด้วย อาทิเช่น เยอรมนี ออสเตรเลีย จีน หุ่นยนต์ดูแลผู้ป่วย วิทยาศาสตร์แห่งชาติในแต่ละปี จะช่วยกระตุ้น
เนเธอร์แลนด์ ญี่ปุ่น เป็นต้น ประจำโรงพยาบาล
ให้คนไทยเกิดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มากขึ้น
ในขณะเดียวกันก็เป็นการบ่งบอกให้รู้ว่า ในแต่
นิทรรศการน้ำที่ให้เด็ก ๆ ละปีประเทศของเรามีความก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์
ได้เล่นสนุก พร้อมทั้งเห็น คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีมากน้อยแค่ไหน ทั้งในด้าน
คุณค่าของน้ำ
นวัตกรรมและสือ่ ต่างๆ เพือ่ เป็นแนวทางในการพัฒนาต่อไป

ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 5


àÃ×èͧഋ¹»ÃШөºÑº
>> อุปการ จีระพันธุ/หัวหน้าสาขาออกแบบและเทคโนโลยี สสวท./E-mail: ojeer@ipst.ac.th

วิทยาศาสตร์​เทคโนโลยี​
และ​การ​ประดิษฐ์​
ทุก​ปี​ใน​วัน​ที่​ 18​ สิงหาคม​ จะ​มี​กิจกรรม​หนึ่ง​ที่​มี​ความ​สำคัญ​ นั่น​คือ​
วัน​วิทยาศาสตร์ซึ่ง​เป็น​วัน​ที่พระบาท​สมเด็จ​พระจอมเกล้า​เจ้า​อยู่​หัว​รัชกาล​ที่​4
ทรง​คำนวณ​การ​เกิด​สุริยุปราคาที่​ตำบล​หว้า​กอ​ จังหวัด​ประจวบคีรีขันธ์​ เมื่อ​
วัน​ที่​18​สิงหาคม​พ.ศ.​2411​ได้​อย่าง​แม่นยำ​วัน​วิทยาศาสตร์​เริ่ม​ขึ้น​เป็น​ครั้ง​
แรกเมื่อ​วัน​ที่​18​สิงหาคม​พ.ศ.​2525​โดย​มติ​ของ​คณะ​รัฐมนตรี​เมื่อ​วัน​ที่​14​
เมษายน​พ.ศ.​2525​เพือ่ เ​ป็นการ​เฉลิมพระเกียรติ​และ​ได้ป​ ระกาศ​ยกย่อง​วา่ ​ทรง​
เป็นพระ​บิดา​แห่ง​วิทยาศาสตร์​ไทย​เนื่องจาก​ได้​ทรง​ศึกษา​วิชา​วิทยาศาสตร์​โดย​
เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​ดาราศาสตร์​พระองค์​ทรง​วาง​รากฐาน​ที่​จะ​นำ​วิทยาการ​ใหม่​ของ​
ต่าง​ประเทศ​​ตลอด​จน​ความ​รู้​ทาง​วิทยาศาสตร์​แผน​ใหม่และ​เทคโนโลยี​ เข้า​มา​
ใช้อ​ ย่าง​ระมัดระวังแ​ ละ​ดดั แปลง​ให้เ​หมาะ​สม​กบั ส​ งิ่ แ​ วดล้อม​และ​สถานการณ์ข​ อง​
ประเทศ

วันวิทยาศาสตร์

6 >> นิตยสาร สสวท.


งาน “วันว​ ทิ ยาศาสตร์” จัดขึน้ ท​ กุ ป​ ี โดย​​มีก​ าร​เปลีย่ น​
แปลงรูปแบบไป​ตาม​กาล​สมัย ชื่อ​ของ​งาน​ก็​มี​การ​เปลี่ยนไป​
ด้วย เ​ช่น สัปดาห์ว​ ทิ ยาศาสตร์แ​ ห่งช​ าติ มหกรรม​วทิ ยาศาสตร์​
และ​เทคโนโลยี​แห่ง​ชาติ เป็นต้น สถาน​ที่​จัด​งาน​ก็​มี​การ​
เปลี่ยนแปลง​เพื่อ​ความ​เหมาะ​สม มี​ทั้ง​ระดับ​จังหวัด ระดับ​
ภูมิภาค จนถึง​ระดับ​ประเทศ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยา-
ศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ก็ม​ ี​การ​จัด​งาน​ใน​วัน​ดังก​ ล่าว
​มา​ตลอด ทั้ง​จัด​เอง ร่วม​มือ​กับ​หน่วย​งาน​อื่นจน​ไป​ถึง​เป็น​
หน่วย​งาน​หลัก​ใน​การ​จัดร​ ะดับ​ประเทศ

วันเทคโนโลยีของไทย

จาก​ความ​เป็น​มา​ของ​วัน​วิทยาศาสตร์​จะ​เห็น​ได้​ว่า เขื่อน​แก่ง​กระจาน จังหวัดเ​พชรบุรี เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.


เทคโนโลยีเ​กิด​ขึ้น​ใน​ประเทศไทย​มา​นาน​แล้ว มีความสัมพันธ์ 2515 และ​ทรง​พระ​ปรีชา​สามารถ​ทำให้ฝ​ น​ตกลง​ตรง​เป้าห​ มาย
ใกล้ชิดกับวิทยาศาสตร์ และ​มัก​จะ​อยู่​คู่​กับ​วิทยาศาสตร์เสมอ ท่ามกลางสายตา​ของ​คณะ​ผแ​ู้ ทน​ของ​รฐั บาล​จาก​ตา่ ง​ประเทศ
นอกจากวันวิทยาศาสตร์แล้ว ยังมีวันสำคัญอื่นที่ควร โดย​วัน​เทคโนโลยี​ของ​ไทยนีเ้​ริ่ม​ขึ้นเ​ป็นค​ รั้ง​แรก เมื่อ​วัน​ที่ 19
กล่าวถึง ได้แก่ วันเ​ทคโนโลยีข​ อง​ไทย และวันน​ ัก​ประดิษฐ์ ตุลาคม พ.ศ. 2544 โดยมติ​ของ​คณะ​รัฐมนตรี เมื่อ​วันท​ ี่ 12
ซึ่งมีความเป็นมาโดยย่อ ดังนี้ ธันวาคม พ.ศ. 2543 เพื่อ​เป็นการ​เฉลิมพระเกียรติ และ​ได้​
“วัน​เทคโนโลยี​ของ​ไทย” ตรง​กับ​วัน​ที่ 19 ตุลาคม ประกาศ​ยกย่อง​วา่ ทรง​เป็น พระ​บดิ า​แห่งเ​ทคโนโลยีข​ อง​ไทย
ของ​ทุก​ปี เพื่อรำลึกถึงการที่พระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว เนื่องจาก​ได้​ทรง​นำ​เทคโนโลยี​สมัย​ใหม่ มา​ประยุกต์​ใช้​แก้ไข​
ภูมพิ ล​อดุลย​เดชมหาราช รัชกาล​ที่ 9 ทรง​อำนวย​การ​สาธิต​ ปัญหา​ความ​เดือด​ร้อน​ของ​ประชาชนอย่างได้ผล
การทำฝนเทียม เป็นครั้ง​แรก​ของ​โลก​ด้วย​พระองค์​เอง ณ
ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 7
วัน​นัก​ประดิษฐ์
“วันน​ กั ป​ ระดิษฐ์” ตรง​กบั ว​ นั ท​ ี่ 2 กุมภาพันธ์ ของ​ทกุ ป​ ี ซึง่ เ​ป็นว​ นั ท​ พี่ ระบาท​
สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว​ภูมิพล​อดุลย​เดชมหาราช ทรง​ได้​รับ​การ​ทูลเกล้าฯ ถวาย
สิทธิ​บัตร​การ​ประดิษฐ์ “เครื่องกล​เติม​อากาศ​ที่​ผิวน้ำ​หมุน​ช้า​แบบ​ทุ่น​ลอย”
หรือกังหัน​ชัย​พัฒนา เมื่อ​วัน​ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2536 โดยมติ ​ของ​คณะ​
รัฐมนตรี เมื่อ​วัน​ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2537 และ​ยัง​เป็น​วัน​ที่​ระลึก​ถึงวัน​
ประวั ติ ศ าสตร์ ​​ข องการ​จด​ทะเบีย น​และ​ออก​สิท ธิ ​บั ต ร​ใ ห้ ​แ ก่ ​พ ระ​ม หา​ก ษั ต ริ ย์ ​
พระองค์​แรก​ของ​โลก​ที่​ทรง​คิดค้น​ประดิษฐ์​สิ่ง​ที่​เป็น​ประโยชน์​ต่อ​ประเทศ และ​
ทรง​ได้ร​ บั พระ​สมัญญา​นาม “พระ​บดิ า​แห่งก​ าร​ประดิษฐ์ไ​ทย” และ “พระ​บดิ า​แห่ง​
การ​ประดิษฐ์โ​ลก” โดย​วนั น​ กั ป​ ระดิษฐ์ นีเ​้ ริม่ ข​ นึ้ เ​ป็นค​ รัง้ แ​ รก เมือ่ ว​ นั ท​ ี่ 2 กุมภาพันธ์
พ.ศ. 2538 และ​มก​ี าร​จดั ก​ จิ กรรมต่าง ๆ ในวันดังกล่าวติดต​ อ่ ก​ นั เ​รือ่ ย​มา​จนถึงป​ จั จุบนั
โดย สสวท. ได้​มี​โอกาส​ร่วม​งาน​หลาย​ครั้ง
วันสำคัญของชาติทั้งสามวันนี้ คือ วันวิทยาศาสตร์ วันเทคโนโลยีของไทย
และวันนักประดิษฐ์ จะมีการจัดกิจกรรมทีค่ ล้ายคลึงกัน กลุม่ เป้าหมายของผูเ้ ข้าชม
รวมถึงผู้ที่นำผลงานของตนมาแสดงจะเป็นคนกลุ่มที่มีความสนใจใกล้เคียงกัน
อีกส​ งิ่ ห​ นึง่ ท​ ช​ี่ ใ​ี้ ห้เ​ห็นว​ า่ เทคโนโลยี ได้เ​กิดข​ นึ้ ใ​นประเทศไทย​มา​นาน​แล้ว และ​
มัก​จะ​อยู่​คู่​กับ​วิทยาศาสตร์ มีการนำมาประกอบเป็น​ชื่อ​หน่วย​งานหลายหน่วยงาน
ในเวลาต่อมา อาทิ...

ภาพกิจกรรม
ในวัน​นัก​ประดิษฐ์

กังหัน​ชัย​พัฒนา

8 >> นิตยสาร สสวท.


กระทรวง​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี
มี​การ​เปลี่ยน​ชื่อ​​หลาย​ครั้ง เริ่ม​ต้น​ชื่อ “กระทรวง​วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี​และ​การ​พลังงาน” (ประกาศ​ใน​ราช​
กิจ​จา​นุเบกษา ฉบับ​พิเศษ เล่ม​ที่ ๙๖ ตอน​ที่ ๔๐ มี​ผล​บังคับ​ใช้​ใน​วัน​ที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2522) ต่อ​มา​ได้​เปลี่ยน​เป็น
“กระทรวง​วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ​สิ่ง​แวดล้อม” เมื่อว​ ันท​ ี่ 4 เมษายน 2535 และ​เปลี่ยน​เป็นช​ ื่อ​ใน​ปัจจุบันค​ ือ “กระทรวง​
วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี” เมื่อ​วัน​ที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2545 (http://www.most.go.th/main/index.php/about-us/
about.html)

สำนักงาน​พัฒนา​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี​แห่ง​ชาติ (สวทช.)
เป็น​หน่วย​งาน​ใน​กำกับ​ของ​กระทรวง​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี จัด​ตั้ง​ขึ้น​โดยพระราชบัญญัติพัฒนา​วิทยาศาสตร์​และ​
ั นา​วทิ ยาศาสตร์แ​ ละ​เทคโนโลยีแ​ ห่งช​ าติ (กวทช.) (http://
เทคโนโลยี พ.ศ. 2534 อยูภ่​ าย​ใต้ก​ าร​กำกับด​ แู ล​ของ​คณะ​กรรมการ​พฒ
www.nstda.or.th/aboutus-nstda)

สถาบัน​ส่ง​เสริม​การ​สอน​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี (สสวท.)
เป็น​หน่วย​งาน​ใน​กำกับ​ของ​กระทรวง​ศึกษาธิการ จัด​ตั้ง​ขึ้นเ​มื่อ​วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2515 ตาม​ประกาศ​คณะ​ปฏิวัติ
ฉบับ​ที่ 42 โดย​ใน ระยะ​แรก​ได้​รับ​การ​สนับสนุน​ทาง​ด้าน​การ​เงินและ​ด้าน​วิชาการ​จาก​โครงการ​พัฒนา แห่งสหประชาชาติ
(UNDP) ใน​ปี พ.ศ. 2528 ได้​ปรับ​เป็น​รัฐวิสาหกิจ​ประเภท​ไม่มี​ราย​ได้ และ​ได้​ปรับ​เป็น​หน่วย​งาน​ของ​รัฐที่​มิใช่​ส่วน​ราชการ​
และ​รฐั วิสาหกิจ ตาม พ​ระ​ราช​บญ ั ญัตส​ิ ถาบันส​ ง่ เ​สริมก​ าร​สอน​วทิ ยาศาสตร์แ​ ละ​เทคโนโลยี พ.ศ. 2541 (http://202.29.77.182/
portal/ipst_portal_th/2010-10-27-04-07-58/2010-10-27-04-10-07.html)

หน่วยงานเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์อื่น ๆ
สำหรับ​หน่วย​งาน​เกี่ยว​กับ​ทาง​ด้าน​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี นับ​วัน​จะ​มี​มาก​ขึ้นมี​การ​จัด​ตั้ง​หน่วย​งานใหม่่ ๆ โดย​ให้​
ออก​นอก​ระบบ​การ​ทำงาน​แบบ​เดิม​เช่น ศูนย์​ต่าง ๆ ภาย​ใต้สำนักงาน​พัฒนา​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี​แห่ง​ชาติ (สวทช.) ไม่​ว่า​
จะ​เป็นศูนย์​บริหาร​จัดการ​เทคโนโลยี (TMC) ศูนย์น​ าโน​เทคโนโลยี​แห่ง​ชาติ (NANOTEC) หรือองค์ก​ า​รพิ​พิธภัณพ์​วิทยาศาสตร์​
แห่ง​ชาติ (อพวช.) รวม​ไป​ถึง​การ​จัดต​ ั้ง​หน่วย​งาน​ระดับ​นโยบาย ได้แก่ สำนักงาน​คณะ​กรรมการ​นโยบาย​วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี​
และ​นวัตกรรม​แห่ง​ชาติ (สว​ทน.) ซึ่ง​ได้​มี​การ​ตรา​พระ​ราช​บัญญัติ​ว่า​ด้วย​วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี​และ​นวัตกรรม​แห่ง​ชาติ
พ.ศ. 2551 ขึ้น เนื่องจาก​เข้าใจ​แล้วว​ ่าวิทยาศาสตร์แ​ ละ​เทคโนโลยี มี​ความ​สำคัญ​ต่อ​ความเจริญ​ก้าวหน้า​ของ​ประเทศ รวม​ทั้ง​
ของ​โลก เพราะ​แต่ละประเทศ​ต่าง​แข่งขันก​ ัน ซึ่ง​ความ​รู้​พื้น​ฐาน​เริ่ม​วิ่ง​ไล่​ตาม​ทัน​กัน แต่จ​ ะ​แพ้​หรือ​ชนะ​กัน​ด้วยเทคโนโลยี ซึ่ง​เดิม​
วิทยาศาสตร์​ไม่​ต้อง​อาศัยเ​ทคโนโลยีม​ าก​นัก แต่​ปัจจุบันท​ ั้ง​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี​ต่าง​พึ่งพา​ซึ่งก​ ัน​และ​กัน

ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 9


ที่มาของคำว่าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จากทีก่ ล่าวมาทัง้ หมดจะเห็นว่าคำว่า วิทยาศาสตร์ และคำว่า เทคโนโลยี นัน้
มักใช้คู่กันเสมอ จึงใคร่ขอกล่าวถึงความหมายของทั้งสองคำนี้
คำ​วา่ “วิทยาศาสตร์” ตรง​กบั ค​ ำ​ภาษา​องั กฤษ​วา่ “science” ซึง่ ม​ า​จาก​ศพั ท์​
ภาษา​ละติ​นว่า “scientia” แปล​ว่า ความ​รู้ (knowledge)
​พจนานุกรม​ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2542) ได้​ให้​ความ​
หมาย​ของ​วิทยาศาสตร์​ไว้ 2 แบบ แบบ​แรก​คือ ความ​รู้​ที่​ได้​
โดย​ก าร​สั ง เกต​แ ละ​ค้ น คว้ า ​จ าก​ป รากฏการณ์ ​ธ รรมชาติ ​
แล้ว​จัด​เข้า​เป็น​ระเบียบ ความหมาย​แบบ​ที่​สอง​คือ วิชา​ที่​
ค้นคว้า​ได้​หลักฐ​ าน​และ​เหตุผลแล้วจ​ ัด​เข้า​เป็น​ระเบียบ
คำ​ว่ า “เทคโนโลยี ” ตรง​กั บ ​ค ำ​ภ าษา​อั ง กฤษ​ว่ า
“technology” ซึ่ง​มา​จาก​ภาษา​กรีก​ว่า “technologia”
แปล​ว่า การก​ระ​ทำ​ที่​มี​ระบบ อย่างไร​ก็ตาม​คำ​ว่า เทคโนโลยี
มัก​นิยม​ใช้​ควบคู่​กับ​คำ​ว่า วิทยาศาสตร์ โดย​เรียก​รวม ๆ ว่า
“วิ ท ยาศาสตร์ ​แ ละ​เ ทคโนโลยี ” พจนานุ ก รม​ฉ บั บ ราช-
บัณฑิตยสถาน (2542) ได้ให้ความ​หมาย​ของ​เทคโนโลยีคือ
วิ ท ยาการ​ที่ ​น ำ​เ อา​ค วาม​รู้ ​ท าง​วิ ท ยาศาสตร์ ​ม า​ใช้ ใ ห้ ​เ กิ ด​
ประโยชน์​ในทาง​ปฏิบัติ​และ​อุตสาหกรรม
ใน​สาระ​การ​ออกแบบ​และ​เทคโนโลยี ของ​หลักสูตร​
การ​ศึกษา​ขั้น​พื้น​ฐาน พุทธศักราช 2551 ที่​ประกาศ​ใช้​ทั่ว​
ประเทศ​ใน​ปัจจุบัน ได้​ให้​ความ​หมาย​ของ​เทคโนโลยีไว้​ว่า
เป็นการ​นำ​ความ​รู้ ทักษะ และ​ทรัพยากร​มาส​ร้าง​สิ่งของ​

เครื่อง​ใช้​หรือ​วิธี​การ​โดย​ผ่าน​กระบวนการ เพื่อ​
แก้​ปัญหา สนอง​ความ​ต้องการ หรือเ​พิ่มค​ วาม​
สามารถ​ใน​การ​ทำงาน​ของ​มนุษย์ (ซึง่ ค​ วาม​รท​ู้ ใ​ี่ ช้​
ส่วน​มาก​คือวิทยาศาสตร์​นั่นเอง) และ​เพื่อ​ให้​มี​
ความ​เข้าใจ​ใน​เรื่อง​ของ​เทคโนโลยี (ใน​การ​ศึกษา​
ตาม​หลักสูตร​ถูก​เปลี่ยน​ชื่อ​เป็นการ​ออกแบบ​
และ​เทคโนโลยี) สสวท. ได้จ​ ัด​ทำ​สื่อ​ต่าง ๆ ขึ้นอีกมากมาย
หลักสูตร​แกน​กลาง​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้น​ฐาน 2551
และ​สื่อก​ าร​เรียน​การ​สอน

10 >> นิตยสาร สสวท.


จาก​ที่​กล่าว​มา​ข้าง​ต้น​ทั้งหมด​ไม่​ว่า​จะ​เป็น​วัน​สำคัญ​
ทั้ง​สาม​วัน ชื่อ​หน่วย​งาน​ต่าง ๆ รวม​ไป​ถึง​ความ​หมาย​ของ​
วิทยาศาสตร์กับ​เทคโนโลยี สรุป​ได้​ว่า “สำหรับ​เรื่อง​ของ
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี รวม​ไป​ถงึ ก​ าร​ประดิษฐ์ จะ​เห็นไ​ด้ว​ า่
มี​ความ​เชื่อม​โยง​กัน นัก​ประดิษฐ์​ก็​ต้อง​อาศัย​เทคโนโลยี
เทคโนโลยี​ก็​ต้อง​อาศัย​ความ​รู้​ทาง​วิทยาศาสตร์​เป็น​หลัก
วิทยาศาสตร์​ต้อง​อาศัย​เทคโนโลยี​ใน​การ​แสวงหา​ความ​รู้​
ใหม่ ๆ และ​ต้ อ ง​อ าศั ย ​นั ก ​ป ระดิ ษ ฐ์ ​ใ น​ก าร​ท ำ​เ ครื่ อ ง​มื อ
เครื่อง​ใช้​ใน​การ​แสวงหา​ความ​รู้ นัก​ประดิษฐ์​รุ่น​ใหม่​ก็​ไม่ใช่​
จะ​ใช้​ความ​ชำนาญ​และ​ทักษะ​เพียง​เท่านั้น แต่​ต้อง​อาศัย​
วิทยาศาสตร์แ​ ละ​เทคโนโลยี ถงึ จ​ ะ​ประดิษฐ์ช​ นิ้ ง​ าน​ทท​ี่ นั ส​ มัย
​เพื่อ​แข่งขัน​กับ​ผู้​อื่น​ได้”
​ความ​เชื่อม​โยง​ระหว่าง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
อันยาวนานนี้ มี​แนว​โน้ม​ที่​จะ​ยิ่ง​มาก​ขึ้นจน​ใน​ประเทศ​แนว​ ประชากร​จงรัก​ภักดี รอ​เฝ้า​รับ​เสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
หน้า​ทางการ​ศึกษา​ ในศตวรรษ​ที่ 21 ได้​เริ่ม​มกี​ า​รบู​รณา​การ​
ศาสตร์​ทั้ง 4 ด้าน​เข้า​ด้วย​กัน รวม​เรียก​ย่อ ๆ ว่า STEM ซึ่งม​ า​
จาก Science, Technology, Engineering, Mathematics อำนวย​ความ​สะดวก​สบาย​แก่ม​ วล​มนุษย์ใ​นภายภาค​หน้าต​ อ่ ไ​ป
ซึ่ง​สอดคล้อง​กับ​งาน​ส่วน​ใหญ่ข​ อง สสวท. โดย​การ​พัฒนา​ต่อย​อด​ดัง​กล่าว​ต้อง​อาศัยพื้น​ฐาน​จาก​สิ่ง​ที่​
สำหรับก​ าร​จดั ง​ าน​ใน​วนั ส​ ำคัญด​ งั ก​ ล่าว​รวม​ทงั้ ช​ อื่ ง​ าน คน​รุ่น​ก่อน ๆ พัฒนา​หรือ​คิดค้น​ขึ้น​มา​ก่อน และ​ไม่มี​การแบ่ง​
รูป​แบบ​ของ​การ​จัด​งาน ​ผู้​จัด​งาน ก็​มี​การ​เปลี่ยนแปลง​ไป​บ้าง แยก​วา่ เ​ป็นง​ าน​ของ​คน​ใด​คน​หนึง่ แต่ท​ กุ ค​ นจะ​ทำ​เพือ่ ป​ ระเทศ​
ตาม​นโยบาย ภาวะ​บา้ น​เมือง สถานการณ์ใ​น​แต่ละ​ปี แต่ด​ ว้ ย​ ชาติ พร้อม​ทจ​ี่ ะ​กา้ ว​ไป​ขา้ ง​หน้าด​ ว้ ย​กนั โดยอาศัยค​ วาม​จงรัก
จุด​มุ่ง​หมาย​เดียวกัน​คือ ต้องการ​ให้​ระลึก​ถึง​วัน​สำคัญ หรือ ​ภักดี​ของ​ทุก​คน​ที่​มี​ต่อ​องค์​พระบาท​สมเด็จ​พระเจ้าอยู่หัว
​เท​ิด​ทูนผู้​มี​พระคุณต​ ่อ​การ​พัฒนา​ประเทศ โดย​เฉพาะ​สถาบัน​ เป็น​ศูนย์​รวมใจ​ของ​คน​ทั้ง​ชาติ พระองค์​ทรง​มี​พระคุณ​อนันต์
พระ​ม หา​ก ษั ต ริ ย์ ที่ ​ส ามารถ​ใช้ ​เ ป็ น ​แ นวทาง​ใ ห้ ​ผู้ ค น​รู้ จั ก​ ต่อ​วงการ​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี​ของ​ประเทศ ที่ทุก​คน​
ศึกษา หาความ​รู้ แก้ป​ ญ ั หา หรือพ​ ฒ ั นา​สงิ่ ต​ า่ ง ๆให้ม​ ป​ี ระโยชน์ จะ​ต้อง​พยายาม​เจริญ​รอย​ตามพ​ระ​ยุคลบาท

เรื่องน่ารู้
ในงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2555 มีการสัมมนาทีน่ า่ สนใจเรือ่ งหนึง่
นั่นคือ “ศิลปะการถ่ายทอดปรากฏการณ์ธรรมชาติผ่านภาพยนตร์” โดยปีเตอร์ แมกลีช (Peter
McLeish) ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการถ่ายภาพปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ชาวแคนาดา ถึงปรากฏการณ์ฟา้ ผ่า
รูปแบบใหม่ที่เรียกว่า red sprites ซึ่งคือปรากฏการณ์ทางธรรมชาติของแสงในชั้นบรรยากาศ
ทีเ่ กิดขึน้ ในช่วงฝนฟ้าคะนอง และเกิดขึน้ ในเวลาเพียงเศษเสีย้ ววินาทีเท่านัน้ การถ่ายเทประจุทเี่ กิดขึน้
ภายในเมฆทำให้บริเวณส่วนบนของเมฆเป็นประจุบวก ขณะที่ส่วนฐานของเมฆเป็นประจุลบ ประจุ
ลบบริเวณฐานเมฆจะเหนีย่ วนำพืน้ ดินด้านล่างให้กลายเป็นประจุบวก ทำให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้าขึน้
ระหว่างเมฆและพืน้ ดิน มีการปลดปล่อยประจุและเกิดฟ้าผ่าขึน้ แต่การเกิด red sprites เป็นการเกิด
ฟ้าผ่าบริเวณบรรยากาศชั้นสแตรโทสเฟียร์หรือสูงกว่า ลักษณะเป็นสีแดงสลัว เกิดขึ้นรวดเร็วมาก
คือใช้เวลาเพียง 0.003-0.01 วินาทีเท่านั้น ซึ่งเห็นกลุ่มลำแสงสีแดงแวบหนึ่งแล้วหายไป
ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 11
เรื่องเด่นประจำฉบับ
​>> ยุวศรี ต่ายคำ/นักวิชาการ สาขาชีววิทยา สสวท./E-mail: ytaik@ipst.ac.th

กิจกรรม​น่า​สนใจ​กับ​สาขา​ชีววิทยา​ในงาน​
ม​ หกรรม​วิทยาศาสตร์​และเทคโนโลยี
ปี 2555 กลับ​มา​อีก​ครั้ง​กับ​กิจกรรม​ดี ๆ นั่น​ก็​คือ​มหกรรม​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี​
แห่ง​ชาติ​ประจำ​ปี 2555 ที่​จัด​ขึ้น​เป็น​ครั้ง​ที่ 3 ระหว่าง​วัน​ที่ 17-31 สิงหาคม​นี้ ณ ศูนย์​
นิทรรศการ​และ​การ​ประ​ชมุ ไ​บ​เท​ค บาง​นา ซึง่ ส​ ถาบันส​ ง่ เ​สริมก​ าร​สอน​วทิ ยาศาสตร์แ​ ละ​
เทคโนโลยี (สสวท.) ได้เ​ตรียม​จดั ก​ จิ กรรม​เกีย่ ว​กบั ว​ ทิ ยาศาสตร์แ​ ละ​เทคโนโลยีม​ ากมาย
อาทิ​กิจกรรม​บน​เวที กิจกรรม workshop และ​กิจกรรม Hands-on
ใน​ปี​นี้​สาขา​ชีววิทยา สสวท. ได้จ​ ัด​กิจกรรม workshop
ที่​น่า​สนใจ​ทั้งหมด 4 กิจกรรม ได้แก่​ กิจกรรม​การ​ถ่ายทอด​ ตัวอย่าง​ใบ​ความ​รู้​รูป​แบบ​ลักษณะ​
ลักษณะ​ทาง​พันธุกรรม กิจกรรม​หุ่น​จำลอง​ไวรัส​ไข้​หวัด​ใหญ่ ทาง​พันธุกรรม​ของ​ใบหน้า​คน
กิจกรรม​แบบ​จำลอง​โครงสร้าง​หมูเ​่ ลือด​ระบบ ABO และ​กจิ กรรม 1. รูป​ทรง​หน้า
​ตาม​หา​บรรพบุรุษ รูป​ไข่หรือ​ค่อน​ข้าง​กลม รูป​เหลี่ยม
กิจกรรม​ที่ 1 : การถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรม
กิจกรรม​นี้​เน้น​ให้​ผู้​เรียน​ได้​เห็น​ถึง​ความ​หลาก​หลาย​ใน​
การ​รวม​ตัว​กัน​ของ​ยีน​ที่​ทำให้​เกิด​เป็น​ลักษณะ​ทาง​พันธุกรรม​
ที่​หลาก​หลาย โดย​จะ​เน้น​หลัก​การ​ใช้​กฎ​ของ​ความ​น่า​จะ​เป็น​ AA, Aa aa
เพื่ อ ​ท ำนาย​แ บบแผน​ก าร​ถ่ า ยทอด​ลั ก ษณะ​ท าง​พั น ธุ ก รรม​
ของ​คน ​วิธี​การ​ทำ​กิจกรรม​จะ​เริ่ม​จาก​การ​แบ่งก​ ลุ่ม แล้วส​ มมติ​ 2. ลักษณะผม
ให้​ผู้​เรียน​และ​คู่​ของ​ผู้​เรียน​เป็น​พ่อ​และ​แม่​ที่​มี​จีโนไทป์​เป็น ผม​หยิก ผม​หยักศก ผม​ตรง
เฮเทอโรไซกัส (heterozygous) ทุก​ยีน และ​กำลัง​จะ​มี​ลูก​ที่​จะ​
ได้​รับ​การ​ถ่ายทอด​ลักษณะ​ทาง​พันธุกรรม​โดย​การ​สุ่ม​จาก​พ่อ​
แม่ ​โดย​สมมติ​ให้​ใช้​วิธี​โยน​เหรียญ​หัว-ก้อย ขั้น​ตอน​แรก​จะ​ให้​
ระบุ​เพศ​ของ​ลูก​ก่อน​ โดย​ถ้า​เหรียญ​ออก​หัว​เป็น​โครโมโซม X
หรือล​ กู สาว แต่ถ​ า้ เ​หรียญ​ออก​กอ้ ย​เป็นโ​ครโมโซม Y หรือล​ กู ชาย M1M1 M1M2 M2M2
เมือ่ ร​ ะบุเ​พศ​ได้แ​ ล้วผ​ ท​ู้ ร​ี่ บั บ​ ทบาท​เป็นพ​ อ่ แ​ ละ​แม่จ​ ะ​โยน​เหรียญ
​คนละ​เหรียญ​พร้อม​กัน​เพื่อ​ดู​โอกาส​การ​เกิด​ของ​ลักษณะ​ต่าง ๆ 3. รูป​ทรง​ของตา
บน​ใบหน้า​ที่​ถ่ายทอด​ไป​ยัง​ลูก โดย​วิทยากร​จะ​มี​ใบ​ความ​รู้​เรื่อง​ รูป​แบ​บอัล​มอน​ด์ รูป​แบบ​ทรง​มน
รูป​แบบ​ลักษณะ​ทาง​พันธุกรรม​ของ​ใบหน้า​คน​ให้​ดู​ประกอบ​
ดัง​ตัวอย่าง​ ซึ่ง​ใน​กิจกรรม​จริง​จะ​มี​ลักษณะ​ทาง​พันธุกรรม​ให้​
เลือก​มากกว่าน​ ี้​คือ 36 ยีน​ที่​ควบคุมล​ ักษณะ​ต่าง ๆ 30 ลักษณะ TT, Tt tt
12 >> นิตยสาร สสวท.
เมื่อ​ผู้เรียนโยน​เหรียญ​และ​บันทึก​ลักษณะ​จี​โนไทป์​ทั้งหมด​ของ​ใบหน้า​คน​ได้​แล้ว ให้​วาด​รูป​หน้า​และ​ส่วน​ประกอบ​บน
​ใบหน้า​ของ​ลูก (F1) ทีเ่​กิด​ลง​ใน​กระดาษ​ให้​สมบูรณ์ พร้อม​ตั้ง​ชื่อ​ลูก โดย​​บันทึก​ข้อมูล​ลง​ใน​ใบ​บันทึก​กิจกรรม​ดัง​ตัวอย่าง
ใบ​บันทึก​กิจกรรม
ลักษณะ​ทาง​พันธุกรรม​ของ​ลูก​คน​ที่ 1 (F1)
ชื่อ​พ่อ...................................................... ชื่อ​แม่.............................................................................
ชื่อ​ลูก​คน​ที่ 1............................................ เพศ................................................................................
คำ​ชี้แจง 1. เติม​ข้อมูลล​ ักษณะ​ทาง​พันธุกรรม​ที่​ได้​จาก​การ​โยน​เหรียญ​ลง​ใน​ช่อง​ของ​ตาราง​ให้​ครบ​ทุก​ช่อง
2. นำ​ข้อมูลท​ ี่​ได้​ไป​วาด​รูปภาพ​ลักษณะ​ของ​ลูก​คน​ที่ 1

ที่ ลักษณะ ยีน​จาก​แม่ ยีน​จาก​พ่อ จีโนไทป์ ฟี​โน​ไทป์ รูป​วาด​ฟี​โน​ไทป์


1 รูป​ทรง​หน้า Aa Aa
2 รูป​ทรง​ของ​จมูก Ff Ff

ส่วน​ผู้​เรียน​กลุ่ม​ที่​มี​ลูกชาย​ ก็​ให้​นำ​ภาพ​ของ​ลูกชาย​ไป​ขอ​แต่งงาน​กับ​ลูกสาว​กลุ่ม​อื่น แล้ว​ให้​ผู้​เป็น​พ่อ​และ​แม่​โยน​เหรียญ​


เพือ่ ด​ โ​ู อกาส​ลกั ษณะ​บน​ใบหน้าท​ ถ​ี่ า่ ยทอด​ไป​ยงั ล​ กู ข​ อง​ตนเอง​เช่นเ​ดิม เพือ่ ห​ า​ลกั ษณะ​ทาง​พนั ธุกรรม​ทจ​ี่ ะ​ถา่ ยทอด​ไป​ยงั ร​ นุ่ ห​ ลาน
(F2) วิทยากร​คาด​หวัง​ว่า​เมื่อ​ทำ​กิจกรรม​โยน​เหรียญ​เพื่อ​ดู​ความ​น่า​จะ​เป็น​ใน​การ​ถ่ายทอด​ลักษณะ​ต่าง ๆ ของ​ใบหน้า​คน​และ​
วาด​รูป​แล้ว ผู้​เรียน​จะ​สามารถ​อธิบาย​ได้​ว่าย​ ีน​ที่​ควบคุม​ลักษณะ​ทาง​พันธุกรรม​ซึ่ง​อยู่​เป็นค​ ู่ ๆ จะ​แยก​ออก​จาก​กัน​อย่าง​อิสระ​ใน​
ขณะ​ที่​มี​การ​สร้าง​เซลล์ส​ ืบพันธุ์​ของ​พ่อ​และ​แม่ และ​เมื่อ​มี​การ​ถ่ายทอด​ทาง​พันธุกรรม​ไป​ยัง​ลูก จะ​พบ​ว่า​ยีน​สามารถ​เข้า​คู่​กันใ​หม่​
ได้​เป็น​จีโนไทป์​แบบ​ต่าง ๆ ใน​รุ่น​ลูก​ซึ่งจ​ ะ​ปรากฏ​เป็น​ฟี​โน​ไทป์​แตกต่างกัน
กิจกรรม​ที่ 2 : หุ่นจำลองไวรัสไข้หวัดใหญ่
กิจกรรม​หนุ่ จ​ ำลอง​ไวรัสไ​ข้ห​ วัดใ​หญ่ (influenza virus)
เป็น​กิจกรรม​ที่​จัด​ขึ้น​เพื่อ​ให้​ผู้​เรียน​มี​ความ​รู้​ความเข้าใจ​เกี่ยว​
กับ​ไข้​หวัด​ใหญ่​ว่า ​เพราะ​เหตุ​ใด​หลาย​ประเทศ​ใน​โลก​จึง​ให้​
ความ​สำคัญก​ บั ไ​วรัสช​ นิดน​ ี้ โดย​ผเ​ู้ รียน​สามารถ​นำ​แบบ​จำลอง​
ไวรัสน​ ไ​ี้ ป​ใช้ใ​น​การ​อธิบาย​โครงสร้าง​และ​สว่ น​ประกอบ​ทส​ี่ ำคัญ​
ของ​ไวรัส​ไข้​หวัด​ใหญ่ และ​อุปกรณ์​ส่วน​ใหญ่​เป็น​อุปกรณ์​ที่​
หาไม่ย​ าก​และ​มร​ี าคา​ไม่แ​ พง ซึง่ ไ​ด้แก่ คัตเ​ตอร์ ทีเ​่ จาะ​กระดาษ หุ่นจำลองไข้หวัดใหญ่ก่อนประกอบ หุ่นจำลองไข้หวัดใหญ่
ไม้บรรทัด ลวด​กำมะหยี่​แทน​กรด​นิว​คลิอิก ลูกบอล​พลาสติก​ เมื่อประกอบเสร็จแล้ว
ผ่า​ครึ่ง​แทน​โครงสร้าง​โปรตีน​ที่​หุ้ม​กรด​นิว​คลิอิก ฟองน้ำ จุก​ ภาย​หลัง​จาก​การ​ทำ​กิจกรรม​ วิทยากร​คาด​หวัง​ว่า​
ลูกโป่ง แทน​ไกล​โค​โปรตีน H และ​ไกล​โค​โปรตีน N ก้าน​ลกู โป่ง ผูเ​้ รียน​จะ​มค​ี วาม​เข้าใจ​โครงสร้าง​ของ​ไวรัสม​ าก​ขนึ้ ​และ​เหตุใ​ด
ลวด​กำมะหยี่ โดย​ชนิดข​ อง​ไกล​โค​โปรตีนจ​ ะ​ถกู น​ ำ​มา​เรียก​เป็น​ เชื้อไวรัส​จึงกลาย​
​​ พันธุเ์​ป็น​ไวรัส​สาย​พันธุ์​ใหม่ ๆ ได้​ง่าย โดยใน
สาย​พนั ธุข​์ อง​ไข้ห​ วัดใ​หญ่ต​ า่ ง ๆ เช่น H5N1 หรือ H2N3 เป็นต้น​ งานมหกรรม​วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติปี 2555 นี้
ซึง่ เ​มือ่ น​ ำ​โครงสร้าง​หลักข​ อง​ไวรัสเ​หล่าน​ ม​ี้ า​ประกอบ​กนั จ​ ะ​ได้​ วิทยากรจะ​มี​​แบบ​จำลอง​ของ​ไว​รัส​อื่นๆ อีก​หลาย​ชนิด​ไป​
เป็น​อนุภาค​ของ​ไวรัส​ไข้​หวัด​ใหญ่​ดัง​ภาพ นำ​เสนอด้วย
ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 13
กิจกรรม​ที่ 3 : แบบจำลองโครงสร้างหมู่เลือดระบบ ABO
​กิจกรรม​นี้จัด​ขึ้น​เพื่อ​ให้​ผู้​เรียน​มี​ความ​รู้​ความ​เข้าใจ​เกี่ยว​กับ​หมู่​เลือด ​และ​การ​ให้​และ
รับ​เลือด หมู่​เลือด​ของ​คน​ถูก​กำหนด​โดย​โปรตีน​ที่​เกาะ​บน​ผิว​ของ​เซลล์​เม็ด​เลือด​แดง หรือ​ที่​
เรียก​ว่า “แอนติเจน” ​มอี​ ยู่ 2 ชนิด​คือ A และ B คน​ที่​มี​เลือด​หมู่ A จะ​มี​แต่​แอนติเจน A เท่านั้น
คน​ที่​มเี​ลือด​หมู่ B ก็​จะ​มี​แต่แ​ อนติเจน B เท่านั้น คน​ที่​มี​เลือด​หมู่ AB จะ​มี​แอนติเจน​ทั้ง A และ B
ส่วน​คน​ที่​มี​เลือด​หมู่ O จะ​ไม่​พบ​แอนติเจน​ทั้ง A และ B นอกจาก​นั้น​ใน​พลาสมา​ก็​จะ​มี​โปรตีน​
ที่​เรียก​ว่า “แอนติบอดี” ซึ่ง​ปกติ​จะ​ไม่​ทำ​ปฏิกิริยา​กับ​แอนติเจน​บน​ผิว​ของ​เซลล์​เม็ด​เลือด​แดง​
ของ​ตัว​เอง แต่​จะ​ทำ​ปฏิกิริยา​กับ​แอนติเจน​บน​ผิว​ของ​เซลล์​เม็ด​เลือด​แดง​ของ​คน​อื่น​ที่​มี​หมู่​เลือด
​ต่าง​กัน ซึ่ง​อุปกรณ์​ที่​ใช้ได้​แก่ ผ้า​สี​แดง สำลี เชือก​หรือ​ด้าย ลวด​กำมะหยี่ ลวด​ริบบิ้น ตีน​ตุ๊กแก
กรรไกร กาว เมือ่ ท​ ำ​แบบ​จำลอง​หมูเ​่ ลือด​เรียบร้อย​แล้ว ว​ ทิ ยากร​คาด​หวังว​ า่ ผ​ เ​ู้ รียน​จะ​มค​ี วามเข้าใจ​
เรื่อง​ของ​การ​ให้​และ​รับ​เลือด​มาก​ขึ้น​ว่าเลือด​ของ​ผู้​ให้​ต้อง​ไม่มี​แอนติเจน​ที่​ตรง​กับแอนติบอดี​
ของ​ผู้รับ ​เพราะ​จะ​ทำให้​เซลล์​เม็ด​เลือด​แดง​ของ​ผู้รับ​จับ​ตัว​กัน​เป็นก​ลุ่ม​ตก​ตะกอนมี​อันตราย​ถึง​
แก่ชีวิต​ได้

กิจกรรม​ที่ 4 : ตามหาบรรพบุรุษ
กิจกรรม​นี้จัด​ขึ้น​เพื่อ​ใ ห้​ผู้​เรี ยน​ไ ด้​เรี ย น​รู้ ​เรื่ อง​ก าร​จั ด​ก ลุ่ ม​สิ่ ง​มี ​ชี วิ ต ใน​ที่ ​นี้ ​วิ ท ยากร
​จะ​เน้น​การ​จัด​กลุ่ม​โดย​ใช้ล​ ักษณะ​ภายนอก​ใน​การ​จำแนก​เท่านั้น โดย​วิทยากร​จะ​แบ่งก​ ลุ่ม​ผู้​เรียน​
และ​จัด​เตรียม​โมเดล​รูป​สิ่ง​มี​ชีวิต​จำนวน 100 ชนิด​ที่​ติด​บน​แผ่น​แม่​เหล็ก ซึ่ง​เป็น​สิ่ง​มี​ชีวิตที่​ไม่มี​
อยู่​จริง​ใน​โลก​นี้ แต่​จะ​นำ​มา​ให้​ผู้​เรียน​ได้​ลอง​จัด​จำแนก​โดย​สังเกต​จาก​ลักษณะ​ภายนอก​ของ
​สิ่ง​มี​ชีวิต​แต่ละ​ชนิด ทั้งนี้​วิทยากร​จะ​ให้​ผู้​เรียน​สร้าง​สาย​วิวัฒนาการ (phylogeny) โดย​นำ​รูป​
โมเดล​ของ​สิ่ง​มี​ชีวิต​ชนิด​ต่าง ๆ มา​ติดตาม​ตำแหน่ง​ของ​ลำดับ​สายวิวัฒนาการ และ​ให้​ระบุ​ได้​ว่า
​สิ่ง​มี​ชีวิต​ชนิด​นี้​น่า​จะ​สืบสาย​วิวัฒนาการ​มา​จากสิ่ง​มี​ชีวิต​ชนิด​ใด ซึ่ง​วิทยากร​หวัง​ว่า​ผู้​เรียนจะ​มี​
ความ​เข้าใจ​เรื่อง​การ​จัด​จำแนก​สิ่ง​มี​ชีวิต​จาก​ลักษณะ​ภายนอก​ได้​มาก​ยิ่งข​ ึ้น

กิจกรรม​ทงั้ ​ 4 กิจกรรม​ทส​ี่ าขา​ชวี วิทยา​ สสวท. จัดข​ นึ้ ใ​น​งาน​มหกรรม​วทิ ยาศาสตร์แ​ ละ​
เทคโนโลยี​แห่ง​ชาติ​ประจำ​ปี 2555 นี้ วิทยากร​หวัง​ว่า​จะ​สามารถ​ช่วย​ทำให้​ผู้​เรียน​มี​ความ​รู้​
ความ​เข้าใจใน​เรื่อง​ลักษณะทางพันธุกรรม ไวรัสไข้หวัดใหญ่ โครงสร้างหมู่เลือด วิวัฒนาการ
ของสิ่งมีชีวิต และเรื่องที่ศึกษาได้มากขึ้น ​เนื่องจาก​ผู้​เรียน​จะ​ได้​มี​โอกาส​ลงมือ​ทำ​กิจกรรม
​ด้วย​ตนเอง

14 >> นิตยสาร สสวท.


รอบรู้วิทย์
ฟิสิกส์
​>> ราม ติว​ ารี/หัวหน้า​สาขา​ฟิสิกส์ สสวท./E-mail: rtiwa@ipst.ac.th

จัดการ​เรียน​การ​สอน​ฟิสิกส์​อย่างไร​
ให้​สนุก ปลูก​ความ​คิด​สู่​ปัญญา
ตอน​ที่ 1 จุดก​ ำเนิด
แน่นอน​ครับ คงจะ​ปฏิเสธ​ไม่​ได้​ว่า เรา​จะ​ให้​ผู้​เรียน​สนุก​กับ​การ​สอน​หรือ​การ​แสดง​ของ​เรา​ได้นั้น ​เรา​เอง​
ต้อง​สนุก​ก่อน และ​สำหรับ​ผม​การ​จัดการ​เรียน​การ​สอน​เป็น “การ​แสดง” ชนิด​หนึ่ง​ที่​มี “บท​แสดง” ที่​ยาก​มาก
เพราะ​ต้อง​แสดง​ให้การ​ให้​ความ​รู้​เนียน​ไป​กับ​การบันเทิง​ สม​กับ​การ​เป็น Edutainer ที่​ยอด หลัง​จาก​ที่​ผม​ได้​
พยายาม​ฝกึ ฝน​ตงั้ แต่ป​ ี พ.ศ. 2546 และ​สงั เกต​ปฏิกริ ยิ า​ของ​ผช​ู้ ม​ทงั้ เ​ด็ก ผูใ้ หญ่ คน​สงู อ​ ายุ ครู นักเรียน ผม​กพ​็ บ​
กับแ​ นวทาง​ทผ​ี่ ม​เรียก​วา่ My Way “เส้นท​ าง​ของ​ผม” ทีไ​่ ม่รว​ู้ า่ ถ​ กู ห​ รือผ​ ดิ โดน​หรือไ​ม่ ผม​ไม่ส​ ามารถให้คำ​ตอบ​​
ที่ถูกใจ​ทุก​คน​ได้ ผม​ก็​เหมือน​กับ​นัก​แสดง​ทั่วไป​ที่​หลงใหล​ได้​ปลื้ม​กับ​เสียง​หัวเราะ ปรบ​มือ ความ​กระตือรือร้น​
ของ​ผู้​ชม​ใน​การ​ร่วม​แสดง แล้ว​ก็​ทึกทัก​สรุป​ว่า​ผู้​ชม​สนุก​และ​มัน​ไป​กับ​เรา
จน​กระทัง่ ว​ นั ห​ นึง่ ผ​ ใู้ หญ่ท​ จ​ี่ ริงจังแ​ ละ​มแี นวคิดเดียวกับผ​ ม​คอื อ​ ดีตผ​ อ​ู้ ำนวย​การ สสวท. ศ. ดร.สุรนิ ทร์ พงศ์ศ​ ภุ ส​ มิทธิ์ ท่าน​ได้​
ชม​การแสดงของผม​ครัง้ ส​ อง​ครัง้ ก​ ข​็ อ​ให้ผ​ ม​ตงั้ โ​ครงการ​เป็นก​ จิ กรรม​แบบ​จริงจัง แต่เ​มือ่ ผ​ ม​มอง​ปญ ั หา​ทอ​ี่ าจ​เกิดได้เ​มือ่ ท​ ำงานเป็น​
คณะ​บุคคล​ชุด​ใหญ่ ผนวก​กับ​บริบท​การ​ทำงาน​แบบ​สังคม​ไทย ผม​จึงยังรีรออยู่ จน​กระทั่ง​วันห​ นึ่งในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2550
ท่าน​มา​หา​ผม​และ​พดู ค​ ยุ ข​ อร้อง​แกม​สงั่ ใ​น​ที ผม​จงึ ร​ า่ ง​โครงการ Science show&Science drama งบ​ประมาณ​เกือบ 3 ล้าน​บาท
ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 15
กิจกรรม​หนึ่ง​ของ​โครงการ​นี้คือ การอบรม​ครู​ในถิ่น เหมือน​ลูกบอล” และเมื่อ​ผม​ปล่อย​ไข่นั้นจาก​ที่​สูง​ลง​ใน​ชาม​
ทุรกันดาร ครู​ตำรวจ​ตระเวน​ชายแดน​ที่​ศูนย์​สิ​ริน​ธร ค่าย​ แก้ว ไข่​ก็แตก พระองค์​ท่าน​ทรงยก​ขึ้น​มา​ดม​ กระบวนการ​
ตำรวจตระเวน​ชายแดน​พระราม​หก จังหวัดเพชรบุรี ใน​การ​ สังเกต​ของ​พระองค์ทา่ น​เหมือน​นกั ว​ ทิ ยาศาสตร์ผ​ ย​ู้ งิ่ ใ​หญ่อ​ ย่าง​
อบรม​ครูครั้งนี้ ​ผม​ได้​พบ​กับ​สิ่ง​มหัศจรรย์​และ​ยิ่ง​ใหญ่​ ทำให้​ ไม่มข​ี อ้ ส​ งสัย พระองค์ท​ า่ น​ถาม​วธิ ท​ี ำ​และ​จด​บนั ทึกทุกข​ นั้ ต​ อน
เกิดแรง​บันดาล​ใจที่​ยากแก่การบรรยาย จนสามารถ​นำ​มา​ เหตุการณ์ม​ หัศจรรย์น​ ไ​ี้ ม่จ​ บ​แค่ว​ นั น​ นั้ ความ​ปลาบปลืม้ ​
ลบล้าง​และ​ต่อสู้กับ​แรง​เสียด​ทาน​ทาง​สังคม​ที่​เกิด​กับ​ผมใน​ ของ​ผม​เพิ่มทวีคูณ​ขึ้น​อีก​หลาย​เท่า เมื่อ​ทราบ​จาก รศ.ดร.
การ​สร้าง​ผล​งาน​นวัตกรรม​ต่าง ๆ ต่อ​มา และ​คิดว​ ่าค​ ง​ดำรง​อยู่​ คุณห​ ญิงส​ ม​ุ ณฑา พรหม​บญ ุ ภาย​หลังว​ า่ พ​ ระองค์ท​ า่ น​ไป​เล่าใ​ห้​
ต่อไป อาจารย์ฟ​ งั และ​อาจารย์ก​ ท​็ ลู พ​ ระองค์ว​ า่ ​ ผม​เป็นล​ กู ศ​ ษิ ย์ข​ อง​
เพื่อน​ครู​ครับ (กลุ่ม​เป้า​หมาย​หลัก​ของ​ผม​คือครู แต่ถ้า อาจารย์ที่​คณะ​วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ผู้​อ่าน​มี​สถานะ​ทาง​สังคม​เป็นอย่าง​อื่น​ก็​ขอ​ใช้​คำ​ว่า​เพื่อน​อื่น) พระองค์​ทรงจำ​ไป​เล่า​ต่อ​ทำให้​ผม​มี​ความ​ปลาบปลื้ม​อย่าง​
ข้อความ​ที่​โปรย​มา​นั้น​มี​เจตนา​จะ​แลก​เปลี่ยน​เรียน​รู้​แนวทาง​ ลึก​ซึ้ง แรงบันดาล​ใจ​นี้ทำ​ให้​ผม​มี​กำลัง​ใจ​ก่อ​ให้​เกิด​การ
การ​คน้ หา​รปู แ​ บบ​วธิ นี ำ​เสนอ​วชิ าการว่าควรทำ​อย่างไร​ทท​ี่ ำให้ แข่งขัน​ฟิสิกส์​สัประยุทธ์ (IYPT) ขึ้น​ใน​ประเทศไทย และ
​ผู้​ฟังผู้​ชม​อยู่​กับ​เรา​ทั้ง​ร่างกาย​และ​หัวใจ ซึ่ง​ผม​คิด​ว่า​นี่​คือ​ ต่อ​มา​ก็​เป็นพลัง​ผลัก​ดัน​ให้​คิด​รายการ​โทรทัศน์​เกม​โชว์​
ปัญหา​ใหญ่​ใน​โรงเรียน ของ​ชั้น​เรียน​ปัจจุบัน​ทั่ว​ประเทศไทย​ วิทยสัประยุทธ์​ใน​ปี พ.ศ. 2554 ควบคุม​การ​ผลิต​รายการ​
ใน​ยุค​ที่​เยาวชน​ติด​อยู่​ใน​ร่างแห​สื่อ​สังคม​อย่าง​งมงาย สิ่ง​ จน​ไ ด้ ​รั บ รางวั ล ​ทั้ ง ​ร ะดั บ ​ป ระเทศ​แ ละ​ร ะดั บ ​น านาชาติ ​
มหัศจรรย์​ที่ยิ่งใหญ่​คือ สมเด็จ​พระ​เทพ​รัตน​ราช​สุ​ดาฯ สยาม​ ก่อน​ที่​จะ​ต้อง​วางมือ​หลัง​พบ​แรง​เสียด​ทาน​มากมาย เพื่อน​
บรม​ราช​กมุ ารี ทรงให้ค​ วาม​สนพระทัยไ​ข่น​ มิ่ ท​ ผ​ี่ ม​จดั แ​ สดง​เพือ่ ​ ครูค​ รับ ทีร​่ ะบาย​ความ​ใน​ใจ​บาง​อย่าง​ออก​มา​กเ​็ พือ่ แ​ ลกเปลีย่ น
อบรม​ครู​ใน​คราว​ที่​พระองค์​เสด็จ​เปิด​ศูนย์​เรียน​รู้​ใน​วัน​ที่ 21 ประสบการณ์ใ​ห้เ​พือ่ น​ครูท​ ราบ​วา่ ใ​น​ประเทศไทย​เรา​มส​ี ทิ ธิค​์ ดิ
กรกฎาคม พ.ศ. 2551 พระองค์ท​ า่ น​สม​เป็นป​ ราชญ์ พระองค์​ และ​ทำ​เต็ม​ศักยภาพ และ​จง​ภูมิใจ​แค่​นั้น จง​อย่า​ยึด​ติด​กับ
ผล​งานหรือ​สิ่ง​ที่​ตาม​มา จะทำให้​ความ​คิด​สร้างสรรค์​ของ​เรา​
ท่าน​ตรัสถาม​ว่า “​เป็น​ไข่​จริง ๆ หรือ ทำไม​กระดอน​ขึ้น​มา​
เดินต​ ่อไ​ป​ได้​เรื่อย ๆ อย่าง​ไม่​สิ้นส​ ุด

ปั จ จุ บั น รายการวิ ท ยสั ป ระยุ ท ธ์ เ ป็ น เกมโชว์


วิทยาศาสตร์ที่ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง
มีการพูดถึงในวงกว้าง ช่วยกระตุ้นให้ผู้ปกครอง
และเด็กหันมาสนใจวิทยาศาสตร์มากขึ้น เด็ก
เกิดความคิด กล้าท้าทาย และประยุกต์ใช้ให้เกิด
ประโยชน์ในทางสร้างสรรค์
16 >> นิตยสาร สสวท.
เพื่อน​ครู​ครับ เรา​ยอมรับ​หรือ​ไม่​ว่า​ อดีต​เป็นเสมือนก​ระ​จก​เว้า​ที่​สะท้อน​ภาพจริง​จาก​ตำแหน่ง​วัตถุ​ที่​อยู่​ระหว่าง​
จุดศูนย์กลาง​ถงึ จ​ ดุ โ​ฟกัสข​ อง​กระจก โดย​มส​ี ถานะ​การ​จดั การ​เรียน​การ​สอน​วชิ า​ฟสิ กิ ส์เ​ป็นว​ ตั ถุ ภาพ​ทเ​ี่ กิดใ​ น​ปจั จุบนั จ​ งึ เ​ป็น​
ภาพจริงข​ ยาย​ให้เ​ห็นค​ วาม​ตกต่ำข​ อง​การ​เรียน​รฟ​ู้ สิ กิ ส์ข​ อง​เยาวชน​ไทย​ตงั้ แต่ม​ ธั ยมศึกษา​ตอน​ตน้ ถ​ งึ ม​ ธั ยมศึกษาตอนปลาย​
ไป​จนถึง​ระดับ​อุดมศึกษา ส่วน​ภาพ​ขยาย​นั้น​จะ​น่า​กลัว​มาก​น้อย​ขึ้น​กับ​บริบท​ของ​แต่ละ​สถาน​ศึกษา หาก​ยอมรับ เรา​มา​
ช่วย​กนั ส​ รรค์ส​ ร้าง​ปจั จุบนั เ​พือ่ ส​ ะท้อน​ภาพ​ใน​อนาคต​ของ​การ​สอน​ฟสิ กิ ส์ใ​ ห้เ​ป็นภ​ าพ​สนุกสนาน น่าอ​ ภิรมย์เ​ฉก​เช่นเ​ดียว​กบั
​เหตุการณ์​ที่​เกิด​ใน​การ​จัด​บรรยาย​ของ​ผม​ที่​จะ​มา​แลก​เปลี่ยน​เรียน​รู้​กับ​ผู้​อ่าน โดย​เฉพาะ​กับ​เพื่อน​ครู​สอน​ฟิสิกส์
เมื่อ​วัน​ที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 เป็น​วันพ​ ืช​มงคล
โรงเรี ย น​สุ ร ศั ก ดิ์ ​ม นตรี ​ไ ด้ ​จั ด ​ง าน​เข้ า ​ค่ า ย​วิ ท ยาศาสตร์ -
คณิตศาสตร์ ของ​ศูนย์​ต้นแบบ​ห้องเรียน​พิเศษ​วิทยาศาสตร์​
ทั้ง​ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย
ได้​จดั ​ให้​มกี ารแสดง​และ​บรรยาย​วทิ ยาศาสตร์​ให้ส​ นุก ณ ลาน
กลาง​แจ้งใ​ต้ต​ น้ ป​ ระดู​่ มีดอ​ ก​สเ​ี หลือง​โปรยปราย​เหมือน​สายฝน​
ตลอด​เวลา ความ​สนุกแ​ ละ​นา่ ส​ นใจ​ของ​กจิ กรรม​ทจ​ี่ ดั ม​ ต​ี วั ชีว​้ ดั ​
ทีส่​ ะท้อน ณ เวลา​นั้น โดย​ไม่​ต้อง​มี​แบบสอบถาม​มา​เสีย​เวลา
วิเคราะห์ คือ​การ​ตรึง​ผู้​ชม​ ทั้งผู้​อำนวย​การ​โรงเรียนต่าง ๆ
ที่มา​ร่วม​งาน ครู นักเรียน ผู้​ปกครอง อายุ​ของ​ผู้​ชม​ตั้งแต่
12–72 ปี ชม​ตั้งแต่​เวลา 9.30-12.00 น. ใน​เต็นท์​กลาง​แดด
อุณหภูมิ​ประมาณ 38 ํC โดย​ไม่มี​ใคร​ลุก​ออก​ไป​ไหน รวม​ทั้ง
​ป ฏิ กิ ริ ย า​ต อบ​ส นอง​แ ละ​ค วามสนใจ​ข อง​ผู้ ​ช มบอก​เรา​ว่ า
การ​เรียน​รู้​เกิดท​ ี่ไหน​ก็ได้ โดย​ไม่มี​พรมแดน​ของวัยแ​ ละ​บริบท​
อื่น ๆ เป็นข้อจำกัด
เมื่อ​วัน​ที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ผมมี​โอกาส​
ไป​จดั แ​ สดง​ใน​งาน Siam Physics Congress 2012 ทีโ​่ รงแรม​
กรุงศ​ รีรเ​ิ วอร์ จังหวัดพ​ ระนครศรีอยุธยา ผูช​้ ม​ประมาณ 100 คน
เป็นอ​ าจารย์ม​ หาวิทยาลัยท​ เ​ี่ ป็นน​ กั ว​ จิ ยั ส่วน​ใหญ่เ​ป็นด​ อกเตอร์
มีศ​ าสตราจารย์ รอง​ศาสตราจารย์ ผูช​้ ว่ ย​ศาสตราจารย์ นำ​หน้า
​เกือบ​ทั้งหมด​ จน​ทำให้​น้อง​ป๋อ​ง​แป๋ง​ผู้​ช่วย​ของ​ผม (บัณฑิต
พสวท. ปริญญาโทจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) หวั่นไหว
บอก​ผม​ว่า​เวที​นี้​กำแพง​หนา​ทลายยาก และ​ผม​ต้อง​พบ​กับ
คำถาม​ที่​ต้อง​อึ้งแ​ น่นอน !

ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 17


6
บรรยากาศ​ที่​เกิด​ขึ้น​ใน​เวลา 8.30-11.30 น. คือ ทั้ง​นัก​ศึกษาปริญญา
​ตรี โท และเอก รวมทั้งคณาจารย์​ทุก​ท่าน​ที่​เข้า​ร่วมกิจกรรม ยินดี​ถอด​บทบาท​
ของ​ตน​ใน​ชวี ติ จ​ ริงอ​ อก​หมด​และ​เหลือบ​ ท​เดียว​คอื บทบาท​ของ​ผช​ู้ ม​ทเ​ี่ พลิดเพลิน
กับการ​ชม​การ​แสดง​รว่ ม การ​เล่น และ​การ​เข้าช​ งิ ร​ างวัล เมือ่ จ​ บ​การ​แสดง​มห​ี ลาย
​คำถาม​ที่​พบ และ​มี​คำถาม​หนึ่ง​จาก ​ศ. ดร.ชู​กิจ ลิมปิ​จำนงค์ รอง​อธิการบดี​
ฝ่าย​วิชาการ มหาวิทยาลัย​เทคโนโลยี​สุร​นารี ว่า​ผม​สามารถจัด​แสดง​ให้​มี
ผู้ชม​มาก​ที่สุด​ได้​กี่​คน ผม​ตอบ 3,000 คน ท่าน​เลย​ติดต่อ​มา​ภาย​หลัง​ให้​จัด​
แสดง​ให้น​ กั ศึกษา​ปี 1 คณะวิศวกรรมศาสตร์และ​คณาจารย์ป​ ระมาณ 2,000 คน
ในวัน​ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 และนีค่​ ือภาพ​บรรยากาศ​ของ​วันน​ ั้นที่
แสดงไปถึง 2 ชั่วโมงครึ่ง ผู้ชมได้ร่วมสนุกและมีแต่รอยยิ้มที่พอใจ

18 >> นิตยสาร สสวท.


การแสดงชุดไข่

ไข่แข็ง
ใน​ตอน​ที่ 1 นี้​ผม​ขอ​เสนอ​กิจกรรม​แรกของ​ชุด​การ​แสดง​คือ “ชุด​ไข่” มี​การ​
แยก​ไข่​ดิบ​กับ​ไข่​สุกจ​ าก​กอง​ไข่​ที่​วาง​ผสมกัน โดย​การ​หมุน​ไข่ หลัก​การ​ที่​นำ​มา​ใช้​คือ
“ความเฉือ่ ย” โดย​ไข่ส​ กุ เ​มือ่ ทำการ​หมุนจ​ ะ​หมุนไ​ด้ง​ า่ ย และ​เมือ่ จับใ​ห้ห​ ยุดก​ จ​็ ะ​หยุด​
ทันที ดู​ไข่​สุก​ก็​ปอก​เปลือก​ออก​มา ส่วน​ไข่​ดิบ​เมื่อ​ทำการ​หมุน​จะ​หมุน​ได้​ยาก​กว่า
เพราะ​เรา​จบั ห​ มุนท​ เ​ี่ ปลือก​ไข่ แต่ไ​ข่ข​ าว​และ​ไข่แ​ ดง​เป็นข​ องเหลว ด้าน​ใน​มค​ี วามเฉือ่ ย
จึงห​ มุนไ​ด้ย​ าก แต่เ​มือ่ ห​ ยุดห​ มุนแ​ ล้ว จับใ​ห้ห​ ยุดน​ งิ่ ก​ จ​็ ะ​ไม่ห​ ยุด เมือ่ ป​ ล่อย​จะ​หมุนต่อ
ดู​ไข่​ดิบ​ก็​ปอก​เปลือก​ออก​มา​เป็น​ไข่น​ ิ่ม แล้ว​ไข่​นิ่ม​มา​จาก​ไหน ไข่​นิ่ม​ก็​เตรียม​จาก​นำ
ไ​ข่ด​ บิ ไ​ป​แช่น​ ำ้ ส้มส​ ายชูป​ ระมาณ 2 วัน แล้วม​ า​ลา้ ง​เปลือก​ออก โดย​มส​ี มการ​ปฏิกริ ยิ า​
เคมีร​ ะหว่าง​เปลือก​ไข่​กับน​ ้ำส้มส​ ายชู​คือ
2CH3COOH + CaCO3 → Ca2+ + 2CH3COO- + CO2 + H2O
จากรูปบอกได้ไหมว่า ไข่ใบไหนเป็น
เยื่อหุ้มเซลล์ไข่ ไข่ดิบ ใบไหนเป็นไข่สุก
สายไข่ขาว
ที่ยึดเซลล์ไข่ เปลือกไข่

ช่องอากาศ

เยื่อหุ้มไข่ขาว

ไข่ขาว
ส่วนประกอบของไข่
ไข่แดง

พบ​กัน​ใหม่​ใน​ตอน​ที่ 2 นะ​ครับ
ไข่นิ่ม
ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 19
รอบรู้​วิทย์
เคมี
​>> ชาญ​ณรงค์ พูล​เพิ่ม/นัก​วิชาการ สาขา​เคมี สสวท./E-mail: cpool@ipst.ac.th

แบบ​จำลอง​โม​เล​กุล​หลอด
STRAW MOLECULAR MODEL
​ผู้​เขียนได้​มี​โอกาส​เดิน​ทาง​ไป​สัมมนา​เกี่ยว​กับ​นวัตกรรม​ทางการ​ศึกษา
วิทยา​ศาสตร์​และ​เทคโนโลยี​ใน​ศตวรรษ​ที่ 21 (INNOVATIONS IN SCIENCE
AND TECHNOLOGY EDUCATION (STE) FOR 21st CENTURY) ซึ่ง​จัด​โดย
SEAMEO RECSAM เมือง​ปีนัง ประเทศมาเลเซีย เมื่อวันที่ 16-17 กุมภาพันธ์
พ.ศ. 2554 จึงนำมาเล่าสู่กันฟัง
การ​สมั มนา​นม​ี้ ส​ี าระ​สำคัญเกีย่ ว​กบั ก​ าร​พฒั นา​ทาง​ดา้ น​การ​ศกึ ษาวิทยา​ศาสตร์
​และ​เทคโนโลยี​ใน​ศตวรรษ​ที่ 21 เพื่อ​ตอบ​สนอง​ผู้​เรียน พัฒนา​คุณภาพ​ครู ตลอด​
จน​อธิบาย​พื้นฐ​ าน​ของ​วิธกี​ าร​เรียน​รทู้​ างการ​ศึกษาวิทยา​ศาสตร์แ​ ละ​เทคโนโลยี การ
​เรียน​รู้​วิทยาศาสตร์ แนวทาง​การ​จัดการ​เรียน​รู้​แบบ​สืบ​เสาะ​หาความ​รู้​เพื่อ​นำ​ไป​สู่​
รูปแ​ บบ​การ​สอน​วทิ ยาศาสตร์โ​ดย​ใช้ส​ ถานการณ์บ​ น​พนื้ ฐ​ าน​การ​วจิ ยั การ​ประเมินผ​ ล​
การ​เรียน​รู้​อย่าง​เหมาะ​สม
การ​สมั มนา​ใน​ครัง้ น​ ท​ี้ ำให้ไ​ด้พ​ บ​วทิ ยากร​ทม​ี่ ค​ี วาม​เชีย่ วชาญ​จาก​หลาย​ประเทศ
ซึ่ง​ได้​เสนอ​กิจกรรม​ที่​น่า​สนใจ หนึ่ง​ใน​นี้​มี​กิจกรรม​ที่​สะดุด​ตา​และ​น่า​จะ​นำ​มา​ปรับ​
ใช้ได้​ก็​คือ กิจกรรม​การ​ประดิษฐ์​สิ่งของ​จาก​วัสดุ​เหลือใ​ช้ เช่น จาก​ขวด​น้ำพ​ ลาสติก
หลอด​พลาสติก ลวดเสียบ​กระดาษ นำ​มา​ทำ​เป็นจรวด​ขวด​น้ำ เลนส์น​ ้ำ และ​แบบ​
จำลอง​โมเลกุล​ทาง​เคมี
ใน​ทน​ี่ จ​ี้ ะ​ขอ​แนะนำ​กจิ กรรม​การ​ทำ​แบบ​จำลอง​โมเลกุล​
จาก​หลอด ซึ่ง​แบบ​จำลอง​โมเลกุล​ทาง​เคมี​ดัง​กล่าว​สามารถ​
นำ​มา​ประยุกต์​ใช้​เป็น​สื่อ​ประกอบ​การ​เรียน​การ​สอน​วิชา​เคมี
เพื่อ​เป็นการ​เสริม​ความ​เข้าใจ​ใน​เรื่อง​พันธะ​เคมี ไม่​ว่า​จะ​เป็น​
พันธะ​เดี่ยว (single bond) พันธะ​คู่ (double bond) พันธะ​
สาม (triple bond) ใน​สารประกอบ​อินทรีย์ (organic com-
pound) และ​รูป​ร่าง​ของ​โมเลกุล ใน​บาง​ครั้ง​การ​อ่าน​หรือแ​ ค่​
ดูภ​ าพ​อย่าง​เดียว​อาจ​จะ​เกิดค​ วาม​สบั สน แต่ถ​ า้ ใ​ช้แ​ บบ​จำลอง​
โมเลกุล​นี้​เข้า​มา​ช่วย​ประกอบ​การ​อธิบาย​ จะ​ทำให้​เกิด​ความ​
เข้าใจ​มาก​ยิ่ง​ขึ้น
20 >> นิตยสาร สสวท.
การ​ทำ​แบบ​จำลอง​โมเลกุลใช้​อุปกรณ์​เพียง​แค่กรรไกรและ​หลอด​พลาสติก
แต่​หลอด​พลาสติก​ที่​ใช้ต้อง​มี​ทั้ง​ขนาด​เล็ก​และ​ขนาด​ใหญ่ เพราะ​ต้อง​ใช้​หลอด​ขนาด​
เล็ก​แทน​ความ​ยาว​พันธะ ​และ​ใช้​หลอด​ขนาด​ใหญ่​ทำ​เป็น​ข้อ​ต่อ และ​หลอด​ทั้ง​สอง​
ขนาด​ต้อง​มี​หลาก​หลาย​สี เพราะ​ว่า​สี​ของ​หลอด​จะ​แทน​ชนิด​ของ​ธาตุ เพื่อ​ให้​เห็น​
ความ​แตก​ตา่ ง​กนั เช่น หลอด​สส​ี ม้ แ​ ทนอะตอม​ของ​ไฮโดรเจน สีเ​ขียว​แทนอะตอม​ของ​
คาร์บอน สีเ​หลือง​แทนอะตอม​ของ​ไนโตรเจน และ​สี​ม่วง​แทนอะตอม​ของ​ออกซิเจน
ดัง​ตาราง​แสดง​สี​ของ​หลอด​กับ​ของ​ธาตุ​แต่​ละ​ชนิ​ด

ตาราง​แสดงสี​ของ​หลอดกับของธาตุแต่ละชนิด คุณครู​หรือ​ผู้​ทำ​กิจกรรม​นี้ ควร​เตรียม​ข้อมูล​ของ​


ธาตุ H C N O
จำนวนของพันธะ 1 4 3 2 ความ​ยาว​พันธะ​และ​ความ​ยาว​ของ​หลอด ดัง​แสดง​ไว้​ใน​
สีของหลอด สีส้ม สีเขียว สีเหลือง สีม่วง ตาราง​แสดง​ความ​ยาว​พันธะและ​ความ​ยาว​ของ​หลอด
รูป
รวม​ทั้ง​ตาราง​เปรียบ​เทียบ​รัศมี​ของ​ธาตุ​และ​ความ​ยาว​
ของ​หลอด เพือ่ น​ ำ​มา​เปรียบ​เทียบ​สดั ส่วน​ให้ใ​กล้เ​คียง​กบั ​
รูป​ร่าง​โมเลกุล​จริงม​ าก​ที่สุด
ตาราง​แสดงความยาวพันธะและความยาวของหลอด

ตาราง​เปรียบเทียบรัศมีของบางธาตุและความยาวของหลอด

ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 21


จาก​ขอ้ มูลข​ า้ ง​ตน้ นำ​มาส​รา้ ง​เป็นแ​ บบ​จำลอง​ได้ ตัวอย่าง​เช่น โมเลกุลข​ อง​แก๊ส​
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ประกอบ​ด้วย​พันธะ​คู่​ของ​คาร์บอน​ที่​ใช้​หลอด​สี​เขียวกับ​
ออกซิเจน​ที่​ใช้​หลอด​สี​ม่วง 2 ​อะตอม มี​รูป​ร่าง​เป็น​เส้น​ตรง ดัง​รูป

โมเลกุลข​ อง​นำ้ (H2O) มีร​ ปู ร​ า่ ง​เป็นม​ มุ ง​ อ​ประกอบ​ดว้ ย​


พันธะ​เดี่ยวของ​ออกซิเจน​ที่​ใช้​หลอด​สี​ม่วงกับ​ไฮโดรเจน​ที่​ใช้​
หลอด​สี​ส้ม และ​โมเลกุลข​ อง​แก๊ส​ออกซิเจน (O2) มี​รูป​ร่าง​เป็น​
เส้น​ตรง​ประกอบ​ด้วย​พันธะ​คู่​ของ​ออกซิเจน ดัง​รูป

สำหรับโ​มเลกุลท​ ี่​มี​ขนาด​ใหญ่​กว่า เช่น ​สารประกอบ​เคมีอินทรีย์​ก็​ทำได้​เช่น​เดียวกัน ตัวอย่าง​เช่น


โพร​เพน (CH3- CH2-CH3) เอ​ทา​นาล (CH3-CHO) เอ​ทา​นอล (CH3- CH2- OH) แนฟ​ทา​ลีน (C10H8)

CH3- CH2-CH3 CH3-CHO

CH3- CH2-OH C10H8


บรรณานุกรม
Olmsted III., John&Williams, Gregory M.. (1994).
Chemistry the molecular science. St.Louis
Missouri : Mosby.
Chang, Raymond. (2008). Chemical Bonding I : Basic
Concepts. New York : Mc Graw Hill.
“Straw Molecular Model.” (Online). Available :
http://zamcopter.web.fc2.com/20_straw_mo
จาก​กจิ กรรม​ดงั ก​ ล่าว​กเ​็ ป็นอ​ กี ห​ นึง่ ท​ าง​เลือกทีส​่ ามารถ​นำ​มา​ประยุกต์ใ​ช้ก​ บั lecular_model.htm (Retrieved 10/6/2012)
“Straw Molecular Model.” (Online). Available :
ก​ าร​เรียน​การ​สอน​ใน​วชิ า​เคมีไ​ด้ ตลอด​จน​วสั ดุต​ า่ ง ๆ สามารถ​หา​ได้ง​ า่ ย มีร​ าคา​ถกู

http://nonbei01.fc2web.com/20_straw_molecu
ทั้งนี้​วิธี​การ​ทำ​แบบ​จำลอง​โมเลกุล​อย่าง​ละเอียด​สามารถ​หา​อ่าน​ได้​จาก​เอกสาร​ lar_model_3.htm (Retrieved 10/6/2012)

และ​เว็บไซต์ ตาม​บรรณานุกรม
22 >> นิตยสาร สสวท.
รอบรู้​วิทย์
พลังงาน
​>> ธันยากานต์ ยืนตระกูลชัย/นักวิชาการ สาขาประเมินมาตรฐาน สสวท./E-mail: kampa@ipst.ac.th

นิวเคลียร์
พลังงาน​ทาง​เลือก​ใหม่?
ใน​ช่วง​หลาย​ปี​ที่​ผ่าน​มา​ เรื่อง​ของ​พลังงาน​ถือ​เป็น​เรื่อง​ที่​คน​ทั่วไป​ให้​ความ​สนใจ จาก​ข้อมูล​ของ​กรม​พัฒนา​พลังงาน​
ทดแทน​และ​อนุรกั ษ์พ​ ลังงาน กระทรวง​พลังงาน พบ​วา่ ใน​เดือน​มนี าคม พ.ศ. 2555 ประเทศไทย​ใช้พ​ ลังงาน​ทกุ ป​ ระเภท​รวม​
เป็น 6,603 พันตัน​เทียบ​เท่าน้ำมัน​ดิบ1 คิด​เป็น​มูลค่า 182,287 ล้าน​บาท ซึ่ง​เพิ่ม​ขึ้น​จาก​ปี​ที่​ผ่าน​มา​และ​มี​แนว​โน้ม​เพิ่ม​ขึ้น​
ทุก ๆ ปี โดย​ภาค​การ​ขนส่ง​และ​ภาค​อุตสาหกรรม​ใช้​พลังงาน​สูง​กว่า​ส่วน​อื่น ๆ (ภาพ​ที่ 1) และ​เมื่อ​พิจารณา​ใน​ภาพ​รวม​ของ​
โลก​แล้วจะ​เห็น​ว่า ความ​ต้องการ​พลังงาน​มี​แนว​โน้ม​เพิ่ม​ขึ้น​เช่น​กัน (ภาพ​ที่ 2)

ภาพ​ที่ 1 การ​ใช้​พลังงาน​จำแนก​ตาม​สาขา​เศรษฐกิจ ภาพ​ที่ 2 ความ​ต้องการ​พลังงาน​ใน​ภาพ​รวม​ของ​ทั้งโ​ลก​จำแนก​


ที่ ม า: กรม​พั ฒ นา​พ ลั ง งาน​ท ดแทน​แ ละ​อ นุ รั ก ษ์ ​พ ลั ง งาน ตาม​ประเภท​ของ​แหล่งพ​ ลังงาน
ที่มา: International Atomic Energy Agency

ใน พ.ศ. 2555 ประเทศไทย​สามารถ​ผลิต​พลังงาน​ได้​เพิ่ม​ขึ้น​ร้อย​ละ 2.5 เมื่อ​เทียบ​ปริมาณ​ที่​ผลิต​ได้ใน พ.ศ. 2554


แต่​เนื่องจาก​ความ​ต้องการ​ใช้​พลังงาน​เพิ่ม​ขึ้นจึง​ต้อง​มี​การนำ​เข้า​พลังงาน​เพิ่ม​ขึ้นร้อย​ละ 18.4 โดย​การ​ไฟฟ้า​ฝ่าย​ผลิต​แห่ง​
ประเทศไทย​ ได้​คาด​การณ์​ความ​ต้องการ​ไฟฟ้า​สูงสุด​ใน พ.ศ. 2573 ว่า อาจ​สูง​ถึง 52,890 เมกะ​วัตต์ ซึ่ง​เชื้อ​เพลิง​หลักใ​น​การ
ผลิต​ไฟฟ้า​ของ​ประเทศไทยคือ แก๊ส​ธรรมชาติ คิด​เป็น​ร้อย​ละ 74.9 ของ​การ​ใช้​เชื้อ​เพลิง​ใน​การ​ผลิต​ไฟฟ้า​ทั้งหมด แต่​แก๊ส​
ธรรมชาติ​นี้ บาง​ส่วน​ยัง​ต้อง​นำ​เข้า​จาก​ประเทศ​พม่า หาก​พม่า​หยุด​การ​ส่ง​แก๊ส กำลัง​ผลิต​ไฟฟ้า​จะ​ลด​ลง​กว่า​ร้อย​ละ 20

1
หน่วย “พันตันเ​ทียบ​เท่าน​ ำ้ มันด​ บิ ” หรือ “ktoe” (kilo ton of oil equivalent) หมายถึง การ​ปรับเ​ทียบ​พลังงาน​ความ​รอ้ น​จาก​แหล่งพ​ ลังงาน​ชนิดต​ า่ งๆ เช่น แก๊สธ​ รรมชาติ
ถ่านหิน ให้เ​ทียบ​เท่า​น้ำมัน​ดิบ โดย​พลังงาน​ที่​ได้จ​ าก​การ​เผา​ไหม้​ของ​น้ำมันด​ ิบ 1,000 ตัน เท่ากับ 42 x 1012 จูล
ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 23
พลังงานทางเลือกอื่น ๆ
มีผ​ ท​ู้ ำการ​ศกึ ษา​และ​เสนอ​พลังงาน​ทาง​เลือก​อนื่ ๆ ได้แก่ ท​ ี่​สำคัญ​ที่สุด​ของ​โรง​ไฟฟ้า​พลังงาน​นิวเคลียร์คือ ไม่​ทำให้​เกิด​
(1) พลังงาน​ที่​ใช้​แล้ว​หมด​ไป (non-renewable แก๊ส​เรือน​กระจก​และฝน​กรด ซึ่งท​ ำให้​เกิด​ปัญหา​สิ่ง​แวดล้อม
energy) เช่น ถ่านหิน ที่​มี​ราคา​ถูก​และ​ประเทศไทย​มี​แหล่ง​ พลังงานนิวเคลียร์เป็นพลังงานที่เกิดจากการเปลี่ยน
ถ่านหิน​กระจาย​อยู่​ทั่ว​ประเทศ แต่​ถ่านหิน​ก่อ​ให้​เกิด​มลพิษ แปลงภายในนิวเคลียส ที่ประกอบด้วยอนุภาคโปรตอนและ
ฝุ่น แก๊ส​คาร์บอนไดออกไซด์ และ​ฝน​กรด ซึ่ง​ล้วน​แต่​ต้อง​ใช้​ นิวตรอน และมีอเิ ล็กตรอนวิง่ วนอยูร่ อบ ๆ นิวเคลียส พลังงาน
เทคโนโลยีข​ ั้น​สูง​เพื่อแ​ ก้​ปัญหา​มลพิษ​เหล่า​นี้ นิวเคลียร์เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ 2 ชนิด คือ “ปฏิกิริยา
(2) พลังงาน​หมุนเวียน (renewable energy) ที่​ นิ ว เคลี ย ร์ ฟิ ช ชั น ” ที่ เ กิ ด จากนิ ว เคลี ย สธาตุ ห นั ก เช่ น
ประเทศไทย​มี​อยู่​มากมาย เช่น พลังงาน​แสง​อาทิตย์​และ​ ยูเรเนียม-235 แตกตัวออกเป็นสองนิวเคลียสใหม่ที่มีขนาด
พลังงาน​ชีว​มวล2 สำหรับ​พลังงาน​แสง​อาทิตย์ ใน พ.ศ. 2554 ใกล้เคียงกัน และ “ปฏิกริ ยิ านิวเคลียร์ฟวิ ชัน” ทีเ่ กิดจากการ
ประเทศไทย​ได้​ติด​ตั้ง​การ​ใช้​งาน​ระบบ​ไฟฟ้า​ด้วย​เซลล์​แสง​ หลอมรวมกันของนิวเคลียสธาตุเบาสองธาตุ เช่น ไฮโดรเจน
อาทิตย์​ประมาณ 100.69 เมกะ​วัตต์ แต่​หาก​ต้องการ​ให้​ ปฏิ กิ ริ ย านิ ว เคลี ย ร์ ทั้ ง สองชนิ ด นี้ จ ะเกิ ด การปลดปล่ อ ย
พลังงาน​เพียง​พอ​กับ​ความ​ต้องการ​ไฟฟ้า​สูงสุด​ที่​คาด​การณ์​ไว้ พลังงานปริมาณมาก พลังงานทีถ่ กู ปลดปล่อยออกมามีหลาย
คง​ต้อง​ใช้​เงิน​ลงทุน​จำนวน​มาก​เพื่อ​ติด​ตั้ง​เซลล์​สุริยะ ส่วน​ รูปแบบ ได้แก่ พลังงาน ความร้อน รังสี และอนุภาคต่าง ๆ
พลังงาน​ชีว​มวล​นั้น ประเทศไทย​มี​พืช​ผล เศษ​วัสดุ​เหลือ​ใช้ แล้วพลังงานเหล่านี้จะใช้ในการผลิตไฟฟ้าได้อย่างไร
และ​มลู ส​ ตั ว์จาก​ภาค​เกษตรกรรม​จำนวน​มาก ทีส​่ ามารถ​เปลีย่ น โรงไฟฟ้ า พลั ง งานนิ ว เคลี ย ร์ ค รั้ ง แรกของโลกได้ ถู ก
เป็นพลังงาน​ได้ แต่​ใน​การ​ผลิต​พลังงาน​ไฟฟ้า​ใน​ปริ​มาณ​ สร้างขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร เมื่อ
เท่า ๆ กัน จะ​ตอ้ ง​ใช้เ​ชือ้ เ​พลิงช​ วี ม​ วลใน​ปริมาณ​ทมี่ า​กก​วา่ น​ ำ้ มัน​ พ.ศ. 2493 นับถึงปัจจุบันมีเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้งาน
และ​ถา่ นหิน อีกท​ งั้ ช​ วี ม​ วล​ทเ​ี่ ป็นว​ สั ดุเ​หลือใ​ช้จ​ าก​การเกษตร​ยงั ​ อยู่ทั่วโลกเกือบ 450 โรง โรงไฟฟ้าทั่วไปจะผลิตกระแสไฟฟ้า
มีป​ ริมาณ​ทไ​ี่ ม่แ​ น่นอน ขึน้ อ​ ยูก​่ บั ส​ ภาพ​ดนิ ฟ​ า้ อ​ ากาศ ดังน​ นั้ ก​ าร​ ด้วยการต้มน้ำเพื่อผลิตไอน้ำ และใช้ไอน้ำในการหมุนกังหัน
บริหาร​จัดการ​เชื้อ​เพลิงจ​ ึง​ทำได้​ยาก ที่ต่ออยู่กับแกนของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่เป็นขดลวดขนาด
เมื่อ​พลังงาน​มี​อยู่​อย่าง​จำกัด​และ​มี​ราคา​แพง และ​ ใหญ่ ซึ่งอยู่ระหว่างแท่งแม่เหล็ก การหมุนของขดลวดตัดกับ
ยัง ​ไ ม่ ​ส ามารถ​ใช้ ​พลังงาน​หมุนเวียน​ได้ ​เต็ม ​ตาม​ศั ก ยภาพ สนามแม่เหล็ก จะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า ข้อแตกต่างของ
ประเทศไทย​จะ​ทำ​อย่างไร​เพื่อ​ผ่าน​พ้น​วิกฤต​พลังงาน​นี้​ได้ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์กบั โรงไฟฟ้าทีใ่ ช้เชือ้ เพลิงชนิดอืน่ คือ แหล่ง
โรง​ไฟฟ้า​พลังงาน​นิวเคลียร์อาจ​เป็น​อีก​ทาง​เลือก​หนึ่ง​ ความร้อนที่ใช้ผลิตไอน้ำ โดยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์จะได้ความ
เพื่อ​แก้​ปัญหา​ได้ เนื่องจาก​เชื้อ​เพลิง​นิวเคลียร์มี​ราคา​ไม่​แพง ร้อนจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ในขณะที่โรงไฟฟ้าที่ใช้เชื้อเพลิง
สามารถ​ผลิต​พลังงาน​ได้​จำนวน​มาก​จาก​ปริมาณ​เชื้อ​เพลิง​ ฟอสซิล จะใช้วิธีการเผาไหม้เชื้อเพลิงในการผลิตความร้อน
เพียง​เล็กน​ ้อยและ​เหลือก​ าก​เชื้อ​เพลิง​น้อย (ภาพ​ที่ 3) ซึ่ง​ข้อดี​ นั่นเอง
ภาพ​ที่ 3 กาก​เชื้อ​เพลิง​ทเี่​กิด​ขึ้นใ​น 1 ปี จาก​โรง​ไฟฟ้า​ทใี่​ช้​แหล่ง​พลังงาน​
ต่าง ๆ กัน
ที่มา: International Atomic Energy Agency

2
พลังงานชีวมวล หมายถึง สารอินทรีย์ที่เป็นแหล่งกักเก็บ
พลังงานจากธรรมชาติ และสามารถนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิต
พลังงานได้ เช่น เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร มูลสัตว์
24 >> นิตยสาร สสวท.
ภาพที่ 4 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์แบบน้ำเดือด ภาพที่ 5 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์
ที่มา: http://std.kku.ac.th ที่มา: http://std.kku.ac.th

ความปลอดภัยของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
หลาย​ป ระเทศ​ไ ด้ ​มี ​ก าร​พั ฒ นา​โรง​ไ ฟฟ้ า ​พ ลั ง งาน​ ใน พ.ศ. 2551 คณะ​กรรมการ​นโยบาย​พลังงาน​แห่งช​ าติ
นิวเคลียร์เ​พื่อ​ความ​มั่นคง​ด้าน​พลังงาน​ใน​ระยะ​ยาว อย่างไร​ ได้​อนุมัติ​แผน​พัฒนา​กำลัง​ผลิต​ไฟฟ้า​ของ​ประเทศไทย พ.ศ.
ก็ตาม การ​สร้าง​โรง​ไฟฟ้า​พลังงาน​นิวเคลียร์​จะ​ต้อง​ใช้​เทคโน- 2550-2564 ฉบับป​ รับปรุงค​ รัง้ ท​ ี่ 2 กำหนด​วา่ ภายใน พ.ศ. 2564
โลยีข​ นั้ ส​ งู ต้อง​ใช้ง​ บ​ประมาณ​ใน​การ​กอ่ สร้าง​จำนวน​มาก และ​ ประเทศไทย​ต้อง​มี​โรง​ไฟฟ้า​พลังงาน​นิวเคลียร์​ที่​มี​กำลัง​ผลิต​
ยัง​ใช้​เวลา​นาน​ใน​การ​กอ่ สร้าง ตลอด​จน​ตอ้ ง​อาศัย​เทคโนโลยี​ รวม 2,000 เมกะ​วัตต์ ซึ่ง​ขณะ​นี้​อยู่​ใน​ขั้น​ตอน​ดำเนิน​การ​
ต่าง ๆ ใน​การ​ดำเนิน​การ​และ​กำจัด​กาก​นิวเคลียร์​ที่​มี​กัมมันต- โครงการ​โรง​ไฟฟ้า​พลังงาน​นิวเคลียร์ โดย​ต้อง​จัด​เตรียม​โครง
ภาพรังสีส​ งู ซึง่ ต​ อ้ ง​มว​ี ธิ ก​ี าร​ปอ้ งกันไ​ม่ใ​ห้ร​ วั่ ไ​หล​ไป​สส​ู่ งิ่ แ​ วดล้อม สร้าง​พื้น​ฐาน ศึกษา​ความ​เหมาะ​สม สำรวจ​และ​คัด​เลือก​
นอกจาก​นี้ เรื่อง​ของ​การ​ทำความ​เข้าใจ​กับ​ชุมชน​ที่​อยู่​ใกล้​กับ ทีต​่ งั้ โ​รง​ไฟฟ้า ก่อน​ทป​ี่ ระเทศไทย​จะ​ตดั สินใ​จดำ​เนินก​ าร​สร้าง​
​โรง​ไฟฟ้า​นิวเคลียร์​จัด​เป็น​เรื่อง​ที่​สำคัญ​เช่น​กัน บท​เรียน​จาก​ โรง​ไฟฟ้า​พลังงาน​นิวเคลียร์ จะ​ต้อง​พิจารณา​ให้​ดี​ถึง​ข้อดี​และ
อุบัติเหตุ​ใน​อดีต เช่น การ​ระเบิด​ของ​โรง​ไฟฟ้า​นิวเคลียร์​ ​ข้อ​เสีย​ของ​พลังงาน​นิวเคลียร์ เพื่อ​สร้าง​ความ​มั่นใจ​และ​ทำ
เชียร์โนบีล​ของ​อดีต​สหภาพ​โซเวียตเมื่อ 25 ปี​ก่อน ที่​กินพื้นที่ ความ​เข้าใจ​กับ​ประชาชน รวม​ทั้ง​เตรียม​ความ​พร้อม​ใน​การ​
ก​ ว่า 142,000 ตาราง​กโิ ลเมตร และทบวงการพลังงาน​ปรมาณู​ รับมือก​ บั ป​ ญ ั หา​ทอ​ี่ าจ​เกิดข​ นึ้ เพือ่ ก​ าร​แก้ป​ ญ
ั หา​วกิ ฤต​พลังงาน​
ระหว่าง​ประเทศ (IAEA) ได้​ประเมิน​ว่า มี​ผู้​ได้​รับ​ผลก​ระ​ทบ ใน​ระยะ​ยาว​และ​การ​พัฒนา​ที่​ยั่งยืน
หลาย​แสน​คน หรือการ​เกิด​อุบัติเหตุ​ของ​โรง​ไฟฟ้านิวเคลียร์​
ฟุ​กุ​ชิ​มะ​ไดอิชิประเทศ​ญี่ปุ่น เมื่อ​เดือน​มีนาคม พ.ศ. 2554
ที่​เกิด​จาก​แผ่นด​ นิ ​ไหว​ขนาด 8.9 ริกเตอร์ จน​ทำให้​ตอ้ ง​อพยพ​ บรรณานุกรม
International Atomic Energy Agency. “Nuclear Power and Sustainable Development.”
ผูค้ น​ทอ​ี่ าศัยอ​ ยูใ​่ น​รศั มี 20 กิโลเมตร​รอบ​โรง​ไฟฟ้า และ​คาด​วา่ (Online). Available : http://www.iaea.org/Publications/Factsheets/English/
ม​ ค​ี น​สญ
ู หาย​และ​เสียช​ วี ติ ก​ ว่า 1,700 คน อุบตั เิ หตุจ​ าก​โรง​ไฟฟ้า​ sustain.pdf (Retrieved 28/05/2555)
National Geographic ฉบับภาษาไทย. (2554). “เส้นท​ าง​สาย​นวิ เคลียร์ ใช่ห​ รือไ​ม่ พร้อม​หรือย​ งั .”
นิวเคลียร์แ​ ม้เ​กิดข​ นึ้ ไ​ม่บ​ อ่ ย​นกั แต่ท​ กุ ค​ รัง้ ล​ ว้ น​มค​ี วาม​เสียห​ าย National Geographic. (มิถุนายน). หน้า 82-83.
กรม​พฒั นา​พลังงาน​ทดแทน​และ​อนุรกั ษ์พ​ ลังงาน กระทรวง​พลังงาน. “สถิตพ​ิ ลังงาน​ของ​ประเทศไทย
และ​ส่ง​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​มนุษย์​เป็นอย่าง​มาก หลาย​ประเทศ 2554.” (ออนไลน์). เข้า​ถึง​ได้​จาก : http://www.dede.go.th/dede/images/stories/
ได้​หัน​มาท​บท​วน​ความ​เสี่ยง​ใน​การ​เกิด​อุบัติเหตุ​โรง​ไฟฟ้า​ stat_dede/up_16_mar_55/Thailand%20Energy%20Statistics-2011(preliminary)-
update16%20M%2012.pdf (สืบค้น 28/05/2555)
นิวเคลียร์​และ​หา​มาตรการ​ป้องกัน เช่น โรง​ไฟฟ้า​นิวเคลียร์​ สำนักพ​ ฒ
ั นา​โครงการ​โรง​ไฟฟ้าพ​ ลังงาน​นวิ เคลียร์ กระทรวง​พลังงาน. “โครงการ​โรง​ไฟฟ้าพ​ ลังงาน​
ทีเ​่ มือง​ฟล​ี พิ พ์สบูรก์ ประเทศ​เยอรมนี ทีร​่ ฐั บาลสัง่ ป​ ดิ เ​ป็นเ​วลา​ นิวเคลียร์ข​ อง​ประเทศไทย​มค​ี วาม​เป็นม​ า​และ​มแ​ี ผน​อย่างไร.” (ออนไลน์). เข้าถ​ งึ ไ​ด้จ​ าก : http://
www.nppdo.go.th/node/103 (สืบค้น 28/05/2555)
3 เดือน​เพื่อต​ รวจ​สอบ​ความ​ปลอดภัยห​ ลัง​จาก​เกิด​อุบัติเหตุ​ที่​
ญี่ปุ่น
ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 25
ÃͺÃÙŒÇԷ
¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ÀÙÁÔÍÒ¡ÒÈ
>> สมรศรี กันภัย/นักวิชาการ โครงการวิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ สสวท./E-mail: skanp@ipst.ac.th

ตามหาคารบอน
กิจกรรม​ตาม​หา​คาร์บอน​ที่​นำ​เสนอ​นี้​เป็น​กิจกรรม​เรียน​รู้​เกี่ยว​กับ​วัฏจักร​คาร์บอน​(carbon​cycle)​ซึ่ง​มี​เป้า​หมาย​
ต้องการ​ให้ผ​ ร​ู้ ว่ ม​กจิ กรรม​ได้เ​ข้าใจ​วฏั จักร​คาร์บอน​ใน​แง่ม​ มุ ท​ เ​ี่ กีย่ ว​กบั ก​ าร​เปลีย่ นแปลง​ภมู อ​ิ ากาศ​ซึง่ ป​ จ จุบนั ก​ าร​เปลีย่ นแปลง​
ภูมิ​อากาศ​ที่​กล่าว​ถึง​จะ​หมาย​ถึง​ภาวะ​ที่​เป็น​ไป​ใน​ทิศทาง​ที่​อุณหภูมิ​ของ​โลก​สูง​ขึ้น
ผูเขี
้ ยนได้แนวคิดของกิจกรรมจากเอกสารความรูเรื้ อ่ ง carbon cycle ทีพั่ ฒนาโดย University of New Hampshire,
Charles University และโครงการ GLOBE สำนักงานใหญ่ สหรัฐอเมริกา อีกทัง้ วัฏจักรคาร์บอนยังเกีย่ วข้องกับความรูของ ้ นักเรียน
ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กิจกรรมดังกล่าวจึงอาจจะช่วยให้ผู้เรียนหรือผู้ทำกิจกรรมได้เสริมความเข้าใจในเนื้อหาเกี่ยวกับ
วัฏจักรคาร์บอนมากขึ้น
นอกเหนือจากทีเรา ่ ได้ทราบความสำคัญของคาร์บอนว่า คาร์บอนเป็นองค์ประกอบของสิง่ มีชีวติ ซึง่ เมือ่ สิง่ มีชีวติ ตายลงจะ
ทำให้คาร์บอนที่สะสมอยู่ในสิ่งมีชีวิตนั้นถูกปล่อยออกสู่แหล่งต่าง ๆ ทั้งในดิน น้ำ และบรรยากาศ การปลดปล่อยและการสะสม
ของคาร์บอนจะหมุนเวียนกัน เรียกว่า วัฏจักร การปลดปล่อยคาร์บอนออกสูบรรยากาศ ่ จะอยูใน ่ รูปของแกสคาร์บอนไดออกไซด์
และแกสมีเทน ซึง่ เป็นแกสเรือนกระจกทีเป็ ่ นสาเหตุหลักก่อให้เกิดการเปลีย่ นแปลงภูมอากาศ ิ โลกในปจจุบนั ในกิจกรรมตามหา
คาร์บอน จึงมุ่งเน้นให้รู้จักการหมุนเวียนของคาร์บอนโดยการเปลี่ยนรูปของคาร์บอนเมื่อไปอยู่ในแหล่งต่าง ๆ
จาก ภาพ วั ฏ จั ก ร คาร์ บ อนจะ
การหายใจในดิน การ​สังเคราะห์​ การ​ระเบิด​ของ​ภูเขาไฟ​0.1 บรรยากาศ เห็น ได้ ว่า การ หมุนเวียน ของ วัฏจักร
(การ​ย่อย​สลาย)​58 ด้วย​แสง​120
การ​ตัด​ไม้​ทำลาย​ป่า​ 750 คาร์บอนแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม
การ​เผา​ไหม้ และ​การ​เปลี่ยนแปลง​
​เชื้อ​เพลิง​ การ​หายใจ สูญ​เสีย​จาก​ สีนำ้ เงินเป็นแหล่งทีสะสม
่ ไว้ หรือ pool
การ​ใช้​ประโยชน์​ที่ดิน
ซากดึกดำบรรพ์ ใ​ น​พืช​59 1.1 มหาสมุทร​90 ได้แก่ บรรยากาศ พืช ดิน เปลือกโลก
7.7
เชือ้ เพลิงซากดึกดำบรรพ์ มหาสมุทรทัง้
มหาสมุทร​92
ในระดับผิว ระดับความลึกปานกลาง
พืช​5,600 และพื้นมหาสมุทร
อีกกลุ่มหนึ่งใช้เส้นและลูกศรสี
ซาก​พืช​59
แดง เป็นกระบวนการการแลกเปลี่ยน
คาร์บอน จาก แหล่ง ต่าง ๆ หรือ flux
ึก​3 ลาง 25

เชื้อ​เพลิง​ แม่น้ำ​0.8
ุทร​ล ดบั ​ก ร​7

ซากดึกดำบรรพ์ ดิน​1,500 แบ่งเป็น ปลดปล่อยคาร์บอน (ลูกศร


7,2 ​
าสม กึ ร​ ะ สมุท

75
​มห ทุ ร​ล หา

5,000-10,000 ออก) ได้แก่ การหายใจในดิน (การย่อย


และ าสม ​ผิว​ม

เปลือก​โลก​
สลาย) การหายใจในพืช การระเบิดของ
ภูเขาไฟ การเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล
มห

100,000,000 การ​สะสม
ใน​ชั้น​ตะกอน​0.01 เศษ ซาก พืช ที่ ร่วง ลง จาก ต้น การ ตัด
สัญลักษณ์ ไม้ทำลายปา การปศุสัตว์ และการนำ
หน่วย:​พี​ตา​แก​รม​(Pg)​=​10^15​gC วัฏจักร​คาร์บอน คาร์ บ อน มา เก็ บ (ลู ก ศร เข้ า ) ได้ แ ก่
​ •​ แหล่ง​สะสม​(Pool):​Pg ที่มา: http://globecarboncycle.unh.edu/Carbon
​ •​ การ​แลก​เปลี่ยน​(fl​ux):​Pg/year CycleActivities.shtml กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การ
สะสมของตะกอน การดึงคาร์บอนใน
26 >> นิตยสาร สสวท. บรรยากาศลงสู่มหาสมุทร
เมื่อ​ผู้​ทำ​กิจกรรม​ได้​ทำความ​เข้าใจ​กับ​ภาพ​แล้ว​ให้​ทำ​กิจกรรม โดย​บอก​ว่า จากบัตร​คำ​ต่อ​ไป​นี้​ให้​นักเรียน​แบ่ง​กลุ่ม​ว่า
​บัตร​คำ​ใด​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​ปลด​ปล่อย​คาร์บอน และ​บัตร​คำ​ใด​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​สะสม​คาร์บอน
การ​หายใจ​ของ​สิ่ง​มี​ชีวิต แพ​ลงก์​ตอน​พืช มวล​ชีวภาพ​ของ​พืช การ​ปะทุ​ของ​ภูเขาไฟ

การ​สังเคราะห์​ด้วย​แสง การ​ผลิต​สินค้า​ใ
น​โรงงาน ฟาร์ม​ปศุสัตว์ การ​เดิน​ทาง​โดย​รถยนต์
อุตสาหกรรม


เชื้อเพลิงฟอสซิล สัตว์​น้ำ​ที่​มี​เปลือก การ​สะสม​ของ​ตะกอน บรรยากาศ

กระบวนการหายใจของ การ​ปลูก​ป่า​ทดแทน การ​


เปลี่ยนแปลง​พื้นที่​ป่า​ เปลือก​โลก
สิ่งมีชีวิตในดิน เป็นพืชไร่
โรง​ไฟฟ้า​เชื้อ​เพลิงถ​ ่านหิน เศษ​ซาก​อินทรียวัตถุ​ใน​ดิน ไฟ​ป่า การ​เผา​ตอ​ซัง​หลัง​เก็บ​เกี่ยว

หลัง​จาก​ผู้​ทำ​กิจกรรม​แบ่ง​กลุ่ม​ของ​บัตร​คำ​แล้ว​ให้​นำ​เสนอ​แนวคิด​ของ​กลุ่ม จาก​นั้น​​ให้​เชื่อม​โยง​ถึง​การ​เปลี่ยนแปลง​
ภูมิ​อากาศ​ว่า บัตร​คำ​ใด​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​เปลี่ยนแปลง​ภูมิ​อากาศ ตัวอย่าง​ใบ​กิจกรรม​ดัง​เอกสาร​ประกอบ​ด้าน​หลัง
หาก​ผอู้​ ่าน​ลอง​นำ​กิจกรรม​ไป​ใช้​และ​มี​ข้อ​เสนอ​แนะ​ใน​การ​พัฒนา​กิจกรรม​สามารถ​ส่ง​ข้อคิดเ​ห็น​มา​ได้​ค่ะ

ตัวอย่างใบบันทึกกิจกรรม
การหายใจในดิน การ​สังเคราะห์​ การ​ระเบิด​ของ​ภูเขาไฟ 0.1
(การ​ย่อย​สลาย) 58 ด้วย​แสง 120
บรรยากาศ 1. ดู​ภาพ​วัฏจักร​คาร์บอน​แล้ว​จำแนก​กลุ่ม​
การ​ตัด​ไม้​ทำลาย​ป่า​ 750 ของ​บัตร​คำ​ออก​เป็น​ 2 กลุ่ม คือ การ​ปลด​ปล่อย​
การ​เผา​ไหม้ และ​การ​เปลี่ยนแปลง​
​เชื้อ​เพลิง​
ซากดึกดำบรรพ์
การ​หายใจ
​ใน​พืช 59
การ​ใช้​ประโยชน์​ที่ดิน สูญ​เสีย​จาก​
มหาสมุทร 90
คาร์บอน​และ​การ​สะสม​คาร์บอน
1.1
7.7 2. นักเรียน​คิดว่า​กิจกรรม​ใด​ที่​เป็น​สาเหตุ​
มหาสมุทร 92
ของ​การ​เปลี่ยนแปลง​ภูมิ​อากาศ
พืช 5,600

ซาก​พืช 59
ึก 3 ลาง 25

เชื้อ​เพลิง​ ดิน 1,500 แม่น้ำ 0.8


ุทร​ล ดบั ​ก ร 7
7,2 ​
าสม ึกร​ ะ มุท

ซากดึกดำบรรพ์
75
​มห ทุ รล​ หาส

5,000-10,000
และ าสม ​ผิว​ม

เปลือก​โลก วัฏจักร​คาร์บอน
มห

100,000,000 การ​สะสม ที่มา: http://globecarboncycle.unh.edu/CarbonCycleActivities.shtml


ใน​ชั้น​ตะกอน 0.01

บรรณานุกรม
University of New Hampshire, Charles University, and the GLOBE Program Office. (2011). Teacher Guide: GLOBE Carbon Cycle. เอกสาร​ประกอบ​การ​อบรม GLOBE Train-
the- Trainer Workshop. November 3-5, 2011 Northwestern University, Evanston, IL, USA.
“ภาพ​วัฏจักร​คาร์บอน.” (ออนไลน์). เข้า​ถึง​ได้​จาก : http://globecarboncycle.unh.edu/CarbonCycleActivities.shtml (สืบค้น 30/07/2555)
สถาบันส่ง​เสริม​การ​สอน​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี กระทรวง​ศึกษาธิการ. (2554). หนังสือ​เรียน​รายวิชา​พื้น​ฐาน​วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 6 ชั้น​มัธยมศึกษา​ปี​ที่ 3 เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สกสค.
ลาดพร้าว.
แหล่ง​เรียน​รู้​เพิ่ม​เติม
“GLOBE Carbon Cycle.” (Online). Available : http://globecarboncycle.unh.edu/index.shtml.
ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 27
รอบรู้วิทย์
ธรณีวิทยา
​>> ฤทัย เพลง​วัฒนา และ ดร. นันท​วัน นันท​วนิช/นัก​วิชาการ สาขา​โลก ดาราศาสตร์ และ​อวกาศ สสวท. /E-mail: ruboo@ipst.ac.th
และ nnant@ipst.ac.th

นักสืบ​ฟอสซิล
ทำความ​รู้จัก​กับซ​ ากดึกดำบรรพ์
โลก​ของ​เรา​​มีว​ วิ ฒ
ั นาการ​มา​หลาย​ลา้ น​ปี สิง่ ม​ ช​ี วี ติ บ​ น​โลก​ลว้ น​เกิดแ​ ล้วต​ าย​หมุนเวียน​เป็นว​ ฏั จักร ร่างกาย​ทด​ี่ บั สูญจ​ ะสลาย
ไป​ตาม​ธรรมชาติ แต่​​ซาก​สิ่ง​มี​ชีวิต​บาง​อย่าง​มี​โอกาส​ที่​จะ​คง​อยู่ต่อ​ไป​อีก​หลาย​ล้าน​ปี ถ้า​สิ่ง​มี​ชีวิต​เหล่า​นั้น​ตาย​ลง​และถูก​
ทับถม​ใน​ชนั้ ต​ ะกอน​อย่าง​รวดเร็ว รวม​ทงั้ ผ​ า่ น​กระบวนการ​ทาง​ธรณีวทิ ยา​ตา่ ง ๆ เป็นร​ ะยะ​เวลา​นาน จน​เกิดเป็นโ​ครงสร้าง​ของซาก
​ที่​ปรากฏ​อยู่ใน​หินตะกอน​และ​ชั้น​ตะกอนซึ่ง​​เรียก​ว่า ซากดึกดำบรรพ์ (fossil) นอกจาก​นี้​ร่อง​รอย​บาง​อย่าง​ของ​สิ่ง​มี​ชีวิต​ที่​
พิมพ์ร​ อย​อยูใ​่ น​ตะกอน​ทแ​ี่ ข็งต​ วั เ​ป็นห​ นิ จ​ ดั เ​ป็นซ​ ากดึกดำบรรพ์เ​ช่นก​ นั เช่น รอย​ตนี ส​ ตั ว์ ซาก​ใบไม้ ซากดึกดำบรรพ์เ​หล่าน​ ม​ี้ คี ณ ุ ค่า
มาก เพราะ​ชว่ ยให้เ​รา​ทราบ​ถงึ ว​ วิ ฒ ั นาการ​ของ​สงิ่ ม​ ช​ี วี ติ ต​ งั้ แต่อ​ ดีตจ​ นถึงป​ จั จุบนั รวม​ทงั้ บ​ ง่ บ​ อก​สภาพ​แวดล้อม​ของ​โลก​ใน​อดีตไ​ด้ด​ ว้ ย

สำรวจ​ตรวจ​สอบ​เรื่อง​ซากดึกดำบรรพ์​ในห้องเรียน
ปัจจุบัน​สื่อ​การ​เรียน​รู้​หลายประเภท ไม่​ว่า​จะ​เป็น​ ​โครง​ร่าง​ของ​ซาก​สิ่ง​มี​ชีวิต​นั้น ทำให้​ส่วน​ที่​แข็ง​ของ​ซาก​สิ่ง​มี​
ภาพยนตร์ พิพิธภัณฑ์ หรือส​ ื่อด​ ิจิทัล​ต่าง ๆ ได้​มี​การนำ​เสนอ​ ชีวิต​เหล่า​นั้นก​ ลาย​เป็น​ซากดึกดำบรรพ์
เนื้อหา​ที่​เกี่ยว​เนื่อง​กับ​ซากดึกดำบรรพ์​อยู่​จำนวน​มาก โดย​ การ​พบ​ซากดึกดำบรรพ์​ในบริเวณ​ต่าง ๆ บน​โลก รวม​ทั้ง​
เฉพาะ​เกี่ยว​กับ​ไดโนเสาร์ ซึ่ง​สื่อ​เหล่า​นี้​สามารถ​กระตุ้น​ให้​ หลักฐ​ าน​ทาง​ธรณีวิทยา​อื่น ๆ ช่วยให้ตั้ง​สมมติฐานได้ว​ ่า ใน​อดีต
ผู้​เรียน​ทุก​เพศ​ทุก​วัย​เกิด​ความ​สนใจ​ที่​จะ​เรียน​รู้​เป็น​อย่าง​ดี ทวีป​ต่าง ๆ บน​โลก​เคย​อยู่​ติด​กัน เนื่องจาก​พบ​ซากดึกดำบรรพ์​
สำหรับก​ จิ กรรม​การ​เรียน​รเ​ู้ รือ่ ง “นักสืบฟ​ อสซิล” เป็นการ​จดั ของ​สิ่งม​ ี​ชีวิต​ชนิดเ​ดียวกัน​ปรากฏ​อยู่​ใน​หลาย​ทวีป
การ​เรียน​​รูแ​้ บบ active learning ซึง่ ผ​ เ​ู้ รียน​จะ​ได้ล​ งมือป​ ฏิบตั ​ิ ซากดึกดำบรรพ์​ของ​สิ่ง​มี​ชีวิต​ที่​ถูก​ค้น​พบ​ใน​ที่​ต่าง ๆ
และ​ใช้ก​ ระบวนการ​คดิ จ​ น​สามารถ​เชือ่ ม​โยง​องค์ค​ วาม​รไ​ู้ ด้ด​ ว้ ย​ สามารถ​บ่ง​ชี้​ว่า สภาพ​แวดล้อม​ใน​อดีต​เป็น​บน​บก​หรือ​ทะเล
ตนเอง ซึ่ง​องค์​ความ​รู้​ดัง​กล่าว​ไม่​ได้​จำกัด​เฉพาะ​กลุ่ม​หรือ​ และ​ถ้า​เป็น​ซากดึกดำบรรพ์​ดัชนี สามารถ​นำ​มา​เทียบ​หา​ช่วง​
บุคคล​ใด แต่​จะ​ขึ้น​อยู่​กับ​ความ​สนใจ​และ​ความ​สามารถ​ของ​ ของ​อายุ​หินตะกอน​ที่​พบ​ใน​บริเวณ​นั้น ๆ ​ได้
การ​เรียน​รู้​ของ​ผู้​นั้น แนวทาง​การ​จัด​กิจกรรม​การ​เรียน​รู้
กิจกรรม​การ​เรียน​รู้​เรื่อง​นักสืบ​ฟอสซิล​ประกอบ​ด้วย จาก​แนว​ความ​คดิ ใ​น​การ​จดั ก​ จิ กรรม​การ​เรียน​รด​ู้ งั ก​ ล่าว
3 กิจกรรม คือ จำลอง​การ​เกิดฟ​ อสซิล จิก๊ ซ​ อว์ต​ าม​หา​แผ่นท​ วีป สามารถ​สร้าง​รูป​แบบ​ของ​กิจกรรม​ได้​หลาก​หลาย​รูป​แบบ แต่​
และ​ซากดึกดำบรรพ์​ดัชนี ซึ่ง​มี​แนว​ความ​คิดดังนี้ รูป​แบบ​ที่​นำ​เสนอ​ใน​ครั้ง​นี้​จะ​เปิด​โอกาส​ให้​ผู้​เรียน​ได้​เกิด​การ​
เมือ่ ส​ งิ่ ม​ ช​ี วี ติ ต​ าย​ลง ซาก​จะ​ถกู ท​ บั ถม​และ​ฝงั ก​ ลบ​อย่าง​ เรียน​รู้​ตาม​ศักยภาพ​ของ​ผู้​เรียน เน้น​ที่​ผู้​เรียน​ได้​ลงมือ​ปฏิบัติ
รวดเร็ว เป็นการ​ช่วย​ชะลอ​การ​สลาย​ตัว​ของ​เนื้อเยื่อ​ต่าง ๆ สามารถ​สร้าง​องค์​ความ​รู้​พื้น​ฐาน และ​เชื่อม​โยง​องค์​ความ​รู้​
จาก​นั้น​สารละลาย​ของ​แร่​ธาตุ​ต่าง ๆ ใน​ชั้น​หินตะกอน และ​ ดัง​กล่าว​ได้​ด้วย​ตนเอง ส่วน​ผู้​เรียน​ที่​มี​ศักยภาพ​สูง​ควร​ศึกษา​
สารประกอบ​เหล็กบ​ าง​ชนิดจะ​แทรกซึมเ​ข้าไป​ใน​ช่อง​ว่าง​ของ ข้อมูลท​ เ​ี่ กีย่ วข้อง​ใน​ดา้ น​อนื่ ๆ เพิม่ เ​ติม​จะ​ทำให้สามารถ​ตอ่ ย​อด​
องค์​ความ​รู้​ได้​จนถึงร​ ะดับอ​ ุดมศึกษา
28 >> นิตยสาร สสวท.
กิจกรรม 1 : จำลอง​การ​เกิด​ฟอสซิล
จุด​ประสงค์​ของ​กิจกรรม เพื่อ​ให้ผ​ ู้เรียนสามารถ​​อธิบาย​การ​เกิด​ซากดึกดำบรรพ์ได้
วัสดุ-อุปกรณ์
1. สารส้มช​ นิด​เกล็ด 2. สี​ย้อม 3. น้ำ 4. ฟองน้ำ 5. บีกเ​กอร์ 6. แท่ง​แก้ว​คน​สาร
7. ช้อน​ตัก​สาร 8. ชุด​ตะเกียง​แอลกอฮอล์ (ตะเกียง​แอลกอฮอล์ ตะแกรง และ​ที่​กั้น​ลม)
วิธี​ทำ​กิจกรรม
1. เตรียม​สารละลาย​สารส้ม​อิ่มต​ ัว
โดย​เติม​น้ำ​เปล่า​ลง​ในบีก​เกอร์​แล้ว​นำ​ไป​
ต้ม​บน​ชุด​ตะเกียง​แอลกอฮอล์ จาก​นั้น​
เติม​สารส้ม​ที​ละ​น้อย​ลง​ใน​น้ำเ​ปล่า พร้อม​
กับ​ใช้​แท่ง​แก้ว​คน​สารละลาย เติม​สารส้ม​
จนกว่า​จะ​ไม่​สามารถ​ละลาย​ได้​อีก จะ​ได้​
สารละลาย​สารส้มอ​ ิ่ม​ตัว ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3
2. หยด​สี​ย้ อ ม​ลง​ใน​สารละลาย​
ภาพที่ 1 ขั้นตอนการทำกิจกรรมจำลองการเกิดฟอสซิล
สารส้ ม ​อิ่ ม ​ตั ว ​เ ล็ ก ​น้ อ ย​จ น​เ กิ ด ​สี ​ที่ ​เ ด่ น
​ชัด​ขึ้น
3. นำ​ฟองน้ำใ​ส่​ลง​ในบีก​เกอร์​เล็ก แล้ว​เท​สารละลาย​สารส้ม​ลง​ไป​จน​ท่วม​ชิ้น​ฟองน้ำ วาง​ทิ้ง​ไว้​ที่​อุณหภูมิ​ห้องเป็น​เวลา 1 คืน
4. นำ​ฟองน้ำ​ขึ้น​มา​จาก​สารละลาย​สารส้ม แล้ว​ตั้ง​ทิ้ง​ไว้ใ​ห้​แห้ง (ถ้า​ทิ้ง​ไว้​ตาม​ธรรมชาติ​ใช้​เวลา​ประมาณ 1-2 วัน)
5. สังเกต​การ​เปลี่ยนแปลง​ที่​เกิด​ขึ้นบ​ ริเวณ​ภายนอก​และ​ภายใน​ฟองน้ำ

ผล​การ​ทำ​กิจกรรม
จาก​การ​สังเกต​ลักษณะ​ภายนอก​ของ​ฟองน้ำ​ก่อน​แช่​
สารละลาย​สารส้ม จะ​พบรู​พรุน​ขนาด​ต่าง ๆ อยู่​โดย​รอบ​ชิ้น​
ฟองน้ำ (ภาพที่ 2ก) แต่​หลัง​จาก​ที่​แช่​ฟองน้ำ​ใน​สารละลาย​
สารส้ม 1 คืน แล้ว​สังเกต​อีก​ครั้ง​พบ​ว่า บริเวณ​ผิว​ภายนอก​ ข
ของ​ฟองน้ำจ​ ะ​มผ​ี ลึกส​ ารส้มเ​กาะ​อยูโ​่ ดย​รอบ (ภาพที่ 2ข) และ​

เมือ่ น​ ำ​มา​ผา่ จะ​พบ​ผลึกส​ ารส้มแ​ ทรก​ตวั อ​ ยูต​่ าม​สว่ น​ตา่ ง ๆ ทัว่
ท​ งั้ ฟ​ องน้ำ ทำให้ฟ​ องน้ำแ​ ข็งต​ วั ม​ าก​ขนึ้ (ภาพที่ 2ค-2ง) ดังน​ นั้ ​
ชิ้น​ฟองน้ำ​จะ​ใช้​แทน​ซาก​สิ่ง​มี​ชีวิต​ที่​ตาย​ลง​ แล้ว​ถูก​ทับถม
​และ​ฝัง​ตัว​อยู่​ใน​ชั้น​ตะกอน รู​พรุน​ของ​ฟองน้ำ​จะ​เปรียบ​ได้​กับ
​ช่อง​ว่าง​ที่​อยู่​ใน​โครง​ร่าง​ที่​แข็ง​ของ​สัตว์​หรือ​พืช ส่วน​สาร ค ง
ละลาย​สารส้ม​จะ​ใช้​แทน​สารละลาย​ของ​แร่​ธาตุ​ต่าง ๆ ที่​อยู่​ใน​
ชั้น​ตะกอน
ภาพที่ 2 การ​เปลี่ยนแปลง​ของ​ชิ้น​ฟองน้ำ​จาก​การ​ทำ​กิจกรรม

ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 29


กิจกรรม 2 : จิ๊ก​ซอว์​ตาม​หา​แผ่นท​ วีป

จุด​ประสงค์​ของ​กิจกรรม
เพื่อ​ให้​ผู้เรียน​สามารถ​อธิบาย​ สี​บน​แผ่นจ​ ิ๊ก​ซอว์​ทวีป
การ​เปลี่ยนแปลง​ของ​แผ่น​ทวีป​ใน​อดีต​ หมาย​ถึง ไซ​โน​กาทัส (Cynognathus)
จนถึง​ปัจจุบัน พร้อม​ยก​ตัวอย่าง​หลัก​
ฐาน​ที่​ใช้​สนับสนุน​แนวคิด หมาย​ถึง มี​โซ​ซอ​รัส (Mesosaurus)

วัสดุ-อุปกรณ์
หมาย​ถึง ลีสโ​ทร​ซอ​รัส (Lystrosaurus)
1. แผ่น​จิ๊ก​ซอว์ท​ วีป
2. ข้อมูล​การ​อธิบาย
หมาย​ถึง กลอส​โซพเทรีส (Glossopteris)

หมายเหตุ : สิ่งมีชีวิตเหล่านี้เป็นสัตว์เลื้อยคลานโบราณและพืชโบราณ

วิธี​ทำ​กิจกรรม
ทวีปแอฟริกา
• นำ​ภาพ​ที่​เป็นช​ ิ้น​ส่วน​ของ​ทวีปม​ า​ต่อ​กัน
มาดากัสการ์
อินเดีย • ศึกษา​ข้อมูล​ที่​ใช้​อธิบายสี​บน​แผ่นจ​ ิ๊ก​ซอว์​ทวีป
• วิเคราะห์​จาก​ข้อมูล​ที่​กำหนด​ให้ และ​ตั้ง​สมมติฐาน
ทวีปอเมริกาใต้ ​ เกี่ยว​กับการเปลี่ยนแปลง​ของแผ่น​ทวีป ตั้งแต่​อดีต
ออสเตรเลีย ​ จนถึง​ปัจจุบัน พร้อม​ทั้ง​เสนอ​เหตุผล​ที่​สนับสนุน
​ แนวคิด
ทวีป
แอนตาร์กติกา
ผล​การ​ทำ​กิจกรรม
ผูเ้ รียน​จะ​สามารถ​นำ​แผ่นจ​ กิ๊ ซ​ อว์ท​ วีปม​ า​ตอ่ ก​ นั โ​ดย​ใช้ส​ ​ี
ทีก​่ ำหนด และ​รปู ร​ า่ ง​ของ​ทวีปเ​ป็นเ​กณฑ์พ​ จิ ารณา ดังภ​ าพ​ที่ 3
​ภาพ​ที่ 3 จิ๊กซอว์ทวีป
ภาพ​ดัดแปลงจาก http://en.wikipedia.org/wiki/File: Snider-Pellegrini_Wegener_fossil_map.gif

กิจกรรม 3 : กิจกรรม​ซากดึกดำบรรพ์​ดัชนี
จุด​ประสงค์​ของ​กิจกรรม
เพื่อใ​ห้​ผู้เรียน​สามารถอธิบาย​ประโยชน์​ของ​ตาราง​ธรณี​กาล และ​ตั้ง​สมมติฐาน​เกี่ยว​กับ​ประวัติ​ความ​เป็นม​ า​ของ​พื้นทีจ่​ าก​
ข้อมูล​ที่​กำหนด​ให้
วัสดุ-อุปกรณ์
1. ตุ๊กตา​รูป​สัตว์ หรือ​ภาพ​สัตว์ เช่น โครง​ร่าง​ไดโนเสาร์ เปลือก​หอย หรือภ​ าพ​สัตว์​ใน​ยุค​ต่าง ๆ
3. กระบะ​ทราย 4. ตาราง​ธรณี​กาล 5. ก้อน​หินเ​ล็ก ๆ
30 >> นิตยสาร สสวท.
วิธี​ทำ​กิจกรรม
1. เตรียม​กระบะ​ทราย​เพื่อ​ให้​นักเรียน​ทำการ​ขุด​หา​ กระบะ​ทราย​ที่ 3 นำ​ตกุ๊ ตา​ของ​สตั ว์ใ​น​ยคุ พ​ าลีโ​อ​ซนี (ดู​
ซากดึกดำบรรพ์ ดังนี้ จาก​ตา​ราง​ธรณีก​ าล) และ​กอ้ น​หนิ 1-2 ก้อน ติดส​ ติก๊ เกอร์บ​ อก​
กระบะ​ทราย​ที่ 1 นำ​ภาพ​สัตว์​ที่​เป็น​จุด​เด่น​ของ​ยุ​ค อายุ​ไว้ 50 ล้าน​ปี ใส่ล​ ง​ไป​ใน​กระบะ​ทราย​และ​เท​ทราย​ลง​ทับ
ดี​โว​เนียน คือ ฉลาม และ​หอย (ดู​จาก​ตา​รา​งธรณี​กาล) ใส่ล​ ง​ 2. ให้น​ กั เรียน​ขดุ ก​ ระบะ​ทราย​ทล​ี ะ​กระบะ แล้วร​ ว่ ม​กนั ​
ไป​ใน​กระบะ​ทราย​และ​เท​ทราย​ลง​ทับ อภิปราย​ว่า จาก​การ​ค้น​พบ​ซากดึกดำบรรพ์​และ​หิน นักเรียน​
กระบะ​ทราย​ที่ 2 นำ​ตุ๊กตา​ไดโนเสาร์​ใน​ยุค​จู​แรส​ซิก คิด​ว่า​อยู่​ใน​ยุค​ใด มีอายุ​ประมาณ​เท่าใด โดย​เทียบ​กับ​ตาราง​
และ​แอม​โม​นอยด์ (ดูจ​ าก​ตา​รา​งธรณี​กาล) ใส่​ลง​ไป​ใน​กระบะ​ ธรณี​กาล และ​นักเรียน​สามารถ​ตั้ง​สมมติฐาน​ใด​ได้​บ้าง
ทราย พร้อม​ก้อน​หิน 1-2 ก้อน และ​เท​ทราย​ลง​ทับ
ผล​การ​ทำ​กิจกรรม
กิจกรรม​นี้​ผู้เรียน​อาจ​มแี​ นวคิดท​ ี่​หลาก​หลาย แต่​แนวคิด​เบื้อง​ต้น​ที่​ควร​ได้​จาก​หลัก​ฐาน​ที่​มี​อยู่​เป็นด​ ังนี้
ตาราง​ธรณี​กาล
1. การ​ขุด​พบ​ใน​กระบะ​ทราย​ที่ 1 พบ
​สัตว์​ใน​ยุ​คดีโว​เนียน อายุป​ ระมาณ 355–400
ล้าน​ปี ซึง่ ซ​ ากดึกดำบรรพ์ท​ พ​ี่ บ​สว่ น​ใหญ่อาศัย
​อยู่​ใน​ทะเล ดัง​นั้น​ผู้เรียน​อาจ​ตั้ง​สมมติฐาน​
ได้​ว่าบริเวณ​นนี้​ ่า​จะ​เคย​เป็น​ทะเล​มา​ก่อน
2. การ​ขุด​พบ​ใน​กระบะ​ทราย​ที่ 2 พบ​
สัตว์​ใน​ยุค​จู​แรส​ซิก อายุ​ประมาณ 135-200
ล้าน​ปี พบ​ซาก​ไดโนเสาร์ ดัง​นั้นผ​ ู้เรียน​อาจ​ตั้ง​
สมมติฐาน​ได้ว​ า่ บริเวณ​นเ​ี้ คย​มไ​ี ดโนเสาร์อ​ าศัย​
อยู่ และ​หินท​ ี่​พบ​นั้นม​ ีอายุป​ ระมาณ 135-200
ล้าน​ปีเช่น​กัน
ที่มาจาก: http://dinothai.blogspot.com/
2010/09/blog-post_18.html
ภาพที่ 4 ตารางธรณีกาลและซากดึกดำบรรพ์ที่ค้นพบในแต่ละยุค

3. การ​ขุด​พบ​ใน​กระบะ​ทราย​ที่ 3 ผู้เรียนจะพบ​สัตว์​ซึ่งอ​ าจ​จะ​ยังต​ ัดสิน​ใจ​ไม่​ได้​ว่า​อยู่​ใน​ยุค​พาลี​โอ​ซีน หรือนีโ​อ​ซีน แต่ถ​ ้า​


พบ​หิน​ที่​ทราบ​อายุ​แล้วอ​ ยู่​ด้วย​ดัง​ตัวอย่าง ผูเ้​รียน​จะ​สามารถ​ตัดสิน​ใจ​ได้​ว่า ซากดึกดำบรรพ์​นี้​อยู่​ในยุคพ​ าลี​โอ​ซีน
อย่างไร​ก็ตาม กิจกรรม​ต่าง ๆ เหล่าน​ เี้​ป็นการ​สร้าง​องค์ค​ วาม​รโู้​ดย​ใช้แ​ บบ​จำลอง​ใน​รูปแ​ บบ​ต่าง ๆ เพื่อก​ ระตุ้นใ​ห้ผ​ ู้เรียน​เกิด​
การ​คิด​วิเคราะห์​อย่าง​เป็น​ระบบ แต่​ไม่​สามารถ​ให้​ข้อมูล​ที่​ละเอียด ครบ​ถ้วน และ​เหมือน​จริง​ใน​เวลา​เดียวกัน​ได้ เช่น กิจกรรม​
จำลอง​การ​เกิด​ซากดึกดำบรรพ์ การ​ที่​สารส้ม​ตกผลึก​อยู่​ภายใน​ฟองน้ำ​แต่​ยัง​คง​มี​เนื้อ​ฟองน้ำ​เดิม​อยู่ ซึ่ง​จะ​ต่าง​กับ​ที่​เกิด​ขึ้น​จริง​
ใน​ธรรมชาติ​ที่​โครง​ร่าง​และ​เนื้อเยื่อ​เดิม​ของ​ซากดึกดำบรรพ์​จะ​หาย​ไป การ​บอก​ช่วง​ของ​อายุ​หิน​หรือ​อายุ​ของ​ซากดึกดำบรรพ์​
ดัง​ตัวอย่าง เป็น​เพียง​การ​เปรียบ​เทียบ​อายุโ​ดย​ใช้ข​ ้อมูล​ส่วน​หนึ่งเ​ท่านั้น แต่ใ​น​การ​บอก​อายุ​หิน อายุข​ อง​ซากดึกดำบรรพ์ หรือ​
ลำดับ​เหตุการณ์​ใน​อดีต​จำเป็น​ต้อง​ใช้​ข้อมูล​ทาง​ธรณีวิทยา​หลายด้าน​ประกอบกัน ดัง​นั้น​ผู้​เรียน​จะ​ต้อง​ใช้​แนวคิด​ที่​ได้​จาก​การ​
ทำ​กิจกรรม​ไป​สืบเ​สาะ​หาความ​รู้​เพิ่ม​เติม​ต่อ​ไป​เพื่อ​ให้​ได้​องค์​ความ​รู้​ที่​ครบ​ถ้วน
บรรณานุกรม
สถาบันส​ ่ง​เสริม​การ​สอน​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). หนังสือ​เรียน​รายวิชา​
พื้นฐ​ านโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. กรุงเทพฯ : โรง​พิมพ์ สกสค ลาดพร้าว. ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 31
สื่อการเรียนรู้ กระตุ้นต่อมคิด
สื่อการสอน
​>> เบ็ญจวรรณ ศรีเจริญ/ผู้เชี่ยวชาญ สาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนต้น สสวท./E-mail: bsrij@ipst.ac.th

สื่อสามมิติชุดบันทึก​โลก
ตอน ชีวิต​ใน​ห้วง​น้ำ
ประวั ติ​ความ​เป็น​มา​ของ​โลก​เป็น ​อี ก ​เ นื้ อ หา​ห นึ่ ง ​ที่ ​เ ป็ น​
องค์​ความ​รู้​ที่​สำคัญ ที่​ทำให้​นักเรียน​ได้​รู้ เข้าใจ และ​ตระหนัก​ถึง​
คุณค่า​ของ​สิ่ง​มี​ชีวิต​และ​ทรัพยากร​ต่าง ๆ บน​โลก​ของ​เรา

ปั จจุบนั ด​ ว้ ย​ความ​กา้ วหน้าข​ อง​เทคโนโลยีด​ า้ น​สอื่ ด​ จิ ทิ ลั


เป็น​ผล​ให้​เรา​สามารถ​ออกแบบ​เนื้อหา​ที่​มี​หลัก​ฐาน​
เพียง​ซากดึกดำบรรพ์ที่​เป็น​ร่อง​รอย กระดูก​ที่​กลาย​
เป็นห​ นิ โครง​รา่ ง​ใบ​พชื ท​ ก​ี่ ลาย​เป็นห​ นิ ซึง่ ห​ ลักฐ​ าน​เหล่าน​ ล​ี้ ว้ น​
บันทึก​อยู่​ใน​แผ่น​หิน​ตาม​ที่​ต่าง ๆ​บน​พื้น​โลก ผนวก​กับ​ข้อมูล​
จาก​การ​ศึกษา​ของ​นัก​วิทยาศาสตร์​พบ​ว่า โลก​ที่​เรา​
อาศัย​อยู่​มี​การ​เปลี่ยนแปลง​ตั้งแต่​อดีต​จนถึง​ปัจจุบัน นัก​
วิทยาศาสตร์ห​ ลาก​หลาย​สาขา​วชิ า​ได้ศ​ กึ ษา​บนั ทึกโ​ลก​จากแร่
หิน และ​ซากดึกดำบรรพ์ที่​พบ​บน​โลก รวม​ถึง​การ​ศึกษา​
อุกกาบาต ภาพถ่าย​ของ​ระบบ​สุริยะ และ​ระบบ​ดาว​เคราะห์​
การ​ค้น​พบ​ของ​นัก​วิทยาศาสตร์ ที่​ประมวล​ผล​จาก​หลัก​ฐาน​ อื่น ๆ เพื่อ​ให้เข้าใจ​ถึง​ประวัติการ​พัฒนาการ​ของ​โลก และ​การ​
ต่าง ๆ ทัว่ ท​ กุ ม​ มุ โ​ลก ร้อย​เรียง​กนั เ​ป็นประวัตค​ิ วาม​เป็นม​ า​ของ​ วิวัฒนาการ​ของ​สิ่ง​มี​ชีวิตท​ ี่​เคย​อาศัย​อยู่​บน​โลก
โลก ดังน​ ั้นเรื่อง​ราว​ต่าง ๆ เหล่า​นี้​ได้​ถูก​นำ​มา​ออกแบบ​ให้​เป็น​
​ ใน​อดีต โลก​ของ​เรา​มท​ี วีปท​ เ​ี่ ชือ่ ม​ตอ่ ก​ นั เ​ป็นท​ วีปเ​ดียว​
เนื้อหา​ที่​น่า​สนใจ สื่อสาร​ผ่าน​ระบบ​ดิจิทัล ด้วย​โมเดล​ภาพ​ มีข​ นาด​ใหญ่เ​ป็นม​ หา​ทวีป เรียก​วา่ พันเ​จีย (Pangaea) ทีล​่ อ้ ม​
สาม​มิติ และ​จัด​ทำ​เป็น​สื่อ​ชุด​ที่​ครู​ผู้​สอน​สามารถ​นำ​ไป​ใช้​ใน รอบ​ด้วย​มหาสมุทร​ขนาด​ใหญ่ชื่อ พัน​ทาลัส​ซา (Pantha-
ช​ นั้ เ​รียน​ได้ส​ ะดวก ผ่าน​เครือ่ ง​คอมพิวเตอร์ ผ่าน​เครือ่ ง​ฉาย​ภาพ lassa) และ​เมื่อ​ประมาณ 180 ล้าน​ปี​ที่​ผ่าน​มา พัน​เจียได้​
LCD นักเรียน​จะ​ได้​ศึกษา​เนื้อหา​เหล่า​นี้​บน​จอ​ร่วม​กัน แยก​ตวั อ​ อก​เป็นท​ วีปห​ ลาย​ทวีปท​ ม​ี่ ข​ี นาด​เล็กล​ ง ทวีปต​ า่ ง ๆ ได้​
สื่อ​สาม​มิติ ชุด บันทึก​โลก​ ซึ่งจัดทำขึ้นโดย สาขา เคลื่อนทีแ่​ ยก​ออก​จาก​กัน​จน​ปราก​ฏอยู่ ณ ตำแหน่งปัจจุบัน
วิทยาศาสตร์มัธยมศึกษาตอนต้น สสวท. จะช่วยให้​นักเรียน ใน​แต่ละ​ยุคแต่ละ​สมัย​ของ​โลกก็​จะ​ประกอบ​ด้วยสิ่ง​มี​ชีวิต
สามารถ​บอก​เล่าลำดับ​เหตุการณ์ การ​เปลี่ยนแปลง​เกี่ยว​กับ ลักษณะ​ของ​แผ่นท​ วีป ลักษณะ​ภมู อ​ิ ากาศทีแ​่ ตก​ตา่ ง​กนั ซึง่ จ​ าก​
ทวีปต​ า่ ง ๆ บน​โลก​ได้ ทัง้ ย​ งั ส​ ามารถ​วเิ คราะห์ คาด​การณ์ และ​ การ​รวบรวม​หลัก​ฐาน ทั้ง​จาก​ร่อง​รอย​ของ​ซากดึกดำบรรพ์
อธิบาย​ลกั ษณะ​ของ​ทวีปต​ า่ ง ๆ ใน​แต่ละ​ยคุ แต่ละ​สมัยต​ าม​เวลา​ และ​ซากดึกดำบรรพ์​ต่าง ๆ บน​แผ่น​หิน รูป​ร่าง​ของ​ขอบ​ทวีป​
ทาง​ธรณีที่​เปลี่ยน​ไป ​โดย​มี​สมมติฐาน​สนับสนุน น่า​เชื่อ​ถือ แต่ละ​ทวีป รวม​ถงึ ช​ นิด อายุ และ​โครงสร้าง​ของ​หนิ บน​ทวีป​ นัน้ ๆ
ที่​สำคัญ​ยัง​ส่ง​ผล​ให้นักเรียน​คาด​การณ์และ​อธิบาย​ลักษณะ​ ทำให้ ​ค าด​ก ารณ์ ห รื อ ​สั น นิ ษ ฐาน​ไ ด้ ​ว่ า ใน​ยุ ค ​ส มั ย หนึ่ ง ​มี ​
ของ​สิ่ง​แวดล้อม​และ​สิ่ง​มี​ชีวิต​บน​ทวีป​ใน​แต่ละ​ยุคแต่ละ​สมัย เหตุการณ์หรือส​ งิ่ แ​ วดล้อม​อย่างไร​บา้ งบน​แผ่นดินใน​สมัยน​ นั้ ๆ
ตาม​เวลา​ทาง​ธรณี​ได้อย่าง​มี​เหตุผล​สนับสนุนและน่า​เชื่อ​ถือ
32 >> นิตยสาร สสวท.
จาก การ ประมวล เรื่ อ ง ราว ดั ง กล่ า ว สามารถ นำ มา ในแต่ละตอนครูสามารถจัดการเรียนรู้ให้น่าสนใจ ตื่น
ออกแบบและนำเสนอเรื่องราวเนื้อหาทางวิทยาศาสตร์ได้ 7 เต้น โดยใช้โมเดลภาพสามมิติ ประกอบการจัดกิจกรรมการ
ตอน คือ เรียนรู้ได้ ดังตัวอย่าง
•​​กำเนิด​พิภพ การ​จัด​กิจกรรม​การ​เรียน​รู้​ตอน​ที่​3​ชีวิต​ใน​ห้วง​น้ำ:
มหายุคฮาเดียน (Hadean): 4,567-4,000 ล้านปีที่ ยุคแคมเบรียน: 542-488 ล้านปีที่ผ่านมา ยุคออร์โดวิเชียน:
ผ่านมา 488-444 ล้านปีที่ผ่านมา ยุคไซลูเรียน: 444-416 ล้านปีที่
•​ก้าว​แรก​แห่ง​ชีวิต​ ผ่านมา และยุคดีโวเนียน: 416-359 ล้านปีที่ผ่านมา
มหายุคอาร์เคียน (Archean): 4,000-2,500 ล้านปี จากองค์ความรูที้ รวบรวม
่ มา นำมาจัดเป็นแหล่งเรียนรู้
ที่ผ่านมา ในชั้นเรียนได้ว่า
มหายุคโพรเทอโรโซอิก (Proterozoic): 2,500-542
ล้านปีที่ผ่านมา
•​ชีวิต​ใน​ห้วง​น้ำ โลกในยุคนี้ผ่านพ้นยุคน้ำแข็งมาแล้ว
ยุคแคมเบรียน (Cambrian): 542-488 ล้านปีทผี่ า่ นมา แต่ ยั ง คง เห็ น ได้ ว่ า ใน ช่ ว งต้ น ของ ยุ ค แคม-
ยุคออร์โดวิเชียน (Ordovician): 488-444 ล้าน ปี เบรียน ชีวิต ส่วน ใหญ่ มี การพัฒนา ขึ้น อย่าง
ที่ผ่านมา ต่อเนื่องและหลากหลายในท้องทะเล ได้แก่
ยุคไซลูเรียน (Silurian): 444-416 ล้านปีที่ผ่านมา ไทร โล ไบต์ (trilobite) แบรคิ โอ พอด
ยุคดีโวเนียน (Devonian): 416-359 ล้านปีที่ผ่านมา (brachiopod) แกสโทรพอด (gastropod)
•​สัตว์​บก​ถือ​กำเนิด ฟองน้ำ และปลายุคแรก และในช่วง 450-443
ยุคคาร์บอนิเฟอรัส (Caboniferous): 359-299 ล้านปี ล้ า น ปี ที่ ผ่ า น มา ของ ยุ ค ออร์ โด วิ เชี ย น แก ส
ที่ผ่านมา คาร์บอนไดออกไซด์ ในบรรยากาศ ลด ลง เกิด
ยุคเพอร์เมียน (Permian): 299-251 ล้านปีที่ผ่านมา ยุคน้ำแข็ง เกิดธารน้ำแข็งเกิดการสูญพันธุ์ของ
•​ โลก​ของ​ไดโนเสาร์/มุ่ง​สู่​ท้องฟา/การ​สูญ​พันธุ์​ครั้ง​ สิง่ มีชีวติ ในทะเล ร้อยละ 49 ของจีนสั ของสัตว์สูญพันธุ์
ยิ่ง​ใหญ่​ และมีแมงดาทะเลเกิดขึ้นในยุคนี้
ยุคไทรแอสซิก (Triassic): 251-200 ล้านปีที่ผ่านมา ในช่วง 420 ล้านปีทีผ่่ านมาของยุคไ​ซ​ลเ​ู รียน​ ภูมอากาศ

ยุคจูแรสซิก (Jurassic): 200-146 ล้านปีที่ผ่านมา ทั่วโลกมีการปรับตัวในช่วงปลายของยุคน้ำแข็ง เหล่าปลา
ยุคครีเทเชียส (Cretaceous): 146-65 ล้านปีทผี่ า่ นมา เริ่มพัฒนาจนมีขากรรไกรขึ้นมา ฉลามเริ่มพัฒนาขึ้นในยุคนี้
•​สัตว์​เลี้ยง​ลูก​ด้วย​น้ำนม ปลามีกระดูกสันหลังจึงได้เป็นเจ้าทะเล เพราะเต็มไปด้วย
ยุคพาลีโอจีน (Paleogene): 65-23 ล้านปีที่ผ่านมา นักล่าขนาดใหญ่ อีกทั้งเหล่าแมลงต่าง ๆ แมงมุม แมงปอง
ยุคนีโอจีน (Neogene): 23-2.5 ล้าน ปี ที่ ผ่าน มา ตะขาบ ก็เริม่ เกิดขึน้ ในยุคนีมากมาย้ จวบจนยุคด​ โ​ี ว​เนียน​จึง
•​จุด​กำเนิด​มนุษยชาติ เปรียบเสมือนยุคแห่งปลาอย่างแท้จริง ในโลกแห่งท้องทะเล
ยุคนีโอจีน (Neogene): 23-2.5 ล้าน ปีที่ผ่านมา เต็มไปด้วยชีวิตอันหลากหลาย เหล่าสัตว์มีกระดูกสันหลัง
ยุคควอเทอร์นารี (Quaternary): 2.5 ล้านปีทผี่ า่ นมาถึง และ ไม่มี กระดูก สัน หลัง ต่าง เติบโต แพร่ พันธุ์ อย่าง มากมาย
ปัจจุบัน ปลาที่มีขากรรไกร มีโครงกระดูก และเกล็ดตามลำตัว ฉลาม
รวม ทั้ง เฟร์น และ พืชที่ มี เมล็ด มี แพร่ หลาย อยู่ ทั่วไป มี ปา
เกิดขึ้นเป็นครั้งแรก

ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 33


แผ่นทวีปแพนโนเทียแยกเป็นทวีปลอเรเซีย และ
ทวีปกอนด์วานา มีแกสออกซิเจนในบรรยากาศมากขึน้
ประมาณร้อยละ 16 จนกระทัง่ ในช่วง 374 ล้านปีทีผ่่ าน
มา โลกต้องเผชิญกับการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ สิ่งมีชีวิต
ใน ท้อง ทะเล ราว ร้อย ละ 70 สูญ พันธุ์ อย่าง ต่อ เนื่อง
ภายในช่วงเวลาราว 20 ล้านปี สาเหตุเชื่อว่าเกิดจาก
การลดลงของปริมาณออกซิเจนในน้ำทะเล สิ่งมีชีวิตที่
ไม่มกระดู
ี กสันหลังในท้องทะเลจำนวนมากต่างเสียชีวติ
ลงในยุคนี้ เช่น ไทรโลไบต์ เป็นต้น และอุณหภูมิโลก
แผนที่ภูมิศาสตร์โลก เมื่อ 540 ล้านปีที่ผ่านมา ลดต่ำลงอย่างมากอีกครัง้ จวบจนเข้าสูยุ่ คน้ำแข็งอีกครัง้
เมื่อราว 350 ล้านปีที่ผ่านมา
ครู​สามารถ​จัดก​ ิจกรรม​การ​เรียน​รู้​ได้​ดังนี้
1) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับสาเหตุสำคัญที่ชีวิตส่วนใหญ่
พัฒนาขึน้ อย่างหลากหลายในท้องทะเล ในช่วงต้นของยุคแคมเบรียน โดยศึกษาและ
สังเคราะห์ข้อมูลจากองค์ความรูที้ ครู ่ จัดให้จากเอกสารในชุดสือ่ สามมิติ บันทึกโลก
2) นักเรียน นำ เสนอ จินตนาการ เกี่ยว กับ ลักษณะ และ การ ดำรง ชีวิต ของ
สิง่ มีชีวติ ในท้องทะเลในยุคนัน้ พร้อมบอกเหตุผลสนับสนุนโดยใช้โมเดลสามมิตขิ อง
มอดูลชีวิตในห้วงน้ำเป็นสื่อประกอบ
3) ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์เปรียบเทียบเกีย่ วกับสาเหตุการสูญพันธุ์
ของสิง่ มีชีวติ ในท้องทะเลในช่วงยุคออร์โดวิเชียน และในยุคดีโวเนียน ว่าเหมือนหรือ
ต่างกันอย่างไร
จาก เรื่อง ราวในแต่ละยุคสมัยของโลกที่นัก วิทยาศาสตร์ รวบรวม มา เมื่อ
ประมวลเข้าด้วยกันแล้ว นอกจากจะเห็นประวัตความ ิ เป็นมาของสิง่ มีชีวติ ต่าง ๆบน
โลกแล้ว ยังได้รับทราบถึงการพัฒนาหรือเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศแต่ละ
ยุคสมัย ซึ่งส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นบนโลกอย่างมาก เช่น โลกในยุค
น้ำแข็ง โลกในยุคทะเลทราย โลกในยุคที่มีแกสออกซิเจนน้อย เป็นต้น สภาวะแบบ
นีเป็
้ นการเปลีย่ นแปลงทีวน ่ เป็นวัฏจักร ส่งผลต่อวิวฒ
ั นาการของสิง่ มีชีวติ ในยุคต่าง ๆ
ของโลก
อยาก รู้ แล้วใช่ไหมคะ ท่านที่สนใจติดตามมา ชม การนำ เสนอ ผล งาน และ
กิจกรรมต่าง ๆ ของ สสวท. ได้ในงานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ประจำปี 2555 ได้นะคะ
บรรณานุกรม
ICS. (2008). International Stratigraphic Chart.
Palmer, D., (1999). The Atlas of the Prehistoric World, Discovery Channel, London: Marshall Publishing
เบ็ญจวรรณ ศรีเจริญ สุกัญญา วัฒนวิเชียร และวินัย เยาวน้อยโยธิน. (2552). บันทึกโลก. เอกสารประกอบการเรียน
การสอนวิทยาศาสตร์.

34 >> นิตยสาร สสวท.


รอบรู้​คณิต
การแก้ปัญหาโจทย์
​>> รศ. ดร.ปรีชา เนาว์เย็นผล/สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ปรากฏการณ์ 1-3-3-1
การก​ระ​ทำ​บาง​อย่าง​แม้ม​ บ​ี ริบท​ทต​ี่ า่ ง​กนั ​แต่อ​ าจ​มโ​ี ครงสร้าง​ของ​ผล​ของ​การ​ดำเนินก​ าร​เป็นอ​ ย่าง​เดียวกันก​ ไ็ ด้ เช่น การ​โยน​
เหรียญ​หนึง่ เหรียญ 2 ครัง้ ผล​ของ​การ​ดำเนินก​ าร​เขียน​ใน​รปู เ​ซต​ได้เ​ป็น {HH, HT,TH, HH} (เมือ่ HT หมาย​ถงึ โยน​เหรียญ​ครัง้ แ​ รก​
เหรียญ​หงาย​หัว และ​โยน​เหรียญ​ครั้งท​ ี่​2 เหรียญ​หงาย​ก้อย สัญลักษณ์ตัวอ​ ื่นก​ อ็​ ธิบาย​ได้ใ​น​ทำนอง​เดียวกัน) การ​มี​บุตร​2 ​คน ผล​
ของ​การ​ดำเนิน​การ​เขียน​ใน​รูป​เซต​ได้​เป็น {ชช, ชญ, ญช, ญญ} (เมื่อ ชญ หมาย​ถึง การ​มี​บุตร​คน​แรก​เป็น ชาย และ​บุตร​คน​ที่​สอง
เ​ป็น หญิง) สถานะ​ของ​การ​ปดิ เ​ปิดห​ ลอด​ไฟ​2 ด​ วง​ทน​ี่ ำ​มา​วาง​เรียง​ตอ่ ก​ นั ผล​ของ​การ​ดำเนินก​ าร​เขียน​ใน​รปู เ​ซต​ได้เ​ป็น {xx, xy, yx,
yy} (เมือ่ xy หมาย​ถงึ ก​ าร​ทห​ี่ ลอด​ไฟ​ดวง​แรก​ปดิ และ​หลอด​ไฟ​ดวง​ท​ี่ 2 เปิด) การก​ระ​ทำ​ทงั้ ​3 อย่าง​นอ​ี้ าจ​ใช้ต​ วั แ​ บบ​อย่าง​เดียวกัน
​แทน​ก็ได้ เช่น แทน​ด้วย​เซต {00, 01, 10, 11} เมื่อส​ ัญลักษณ์ 0 แทน​ผลลัพธ์​อย่าง​หนึ่ง และ 1 แทน​ผลลัพธ์​อีก​อย่าง​หนึ่ง
ใน​บทความ​นี้​จะ​ขอ​เสนอ​ตัวอย่าง​ปรากฏการณ์​ที่​ต่าง​กัน ​แต่​ผลลัพธ์​ของ​การก​ระ​ทำ​มี​โครงสร้าง​เป็น​อย่าง​เดียวกัน
คือ​มี​ตัวแบบเป็น 1-3-3-1
1) 11 ยก​กำลัง 1 ถึง 3
สังเกต​จำนวน​ที่​ได้​จาก 11 ยก​กำลัง 111 = 11, 112 = 121, 113 = 1331
เป็นต​ วั เลข​ทแ​ี่ สดง​จำนวน​พา​ลนิ โ​ดรม กล่าว​คอื ผลลัพธ์ท​ ไ​ี่ ด้ไ​ม่ว​ า่ จ​ ะ​อา่ น​เลขโดด​จาก​
ซ้าย​ไป​ขวา หรือ​ขวา​ไป​ซ้าย ก็ได้​จำนวน​เดียวกัน ผลลัพธ์​ของ 113 = 1331 ซึ่ง​มี​
แบบ​รูป 1-3-3-1 ยัง​พบ​ใน​บรรทัด​หนึ่ง​ของรูป​สามเหลี่ยม​ปาส​กาล

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ผลลัพธ์


H HHH
2) การ​โยน​เหรียญ 1 เหรียญ 3 ครั้ง H T HHT
เหรียญ​หนึ่งเหรียญ​มี​2 หน้า คือ หัว (H) และ ก้อย (T)
H T H HTH
T HTT
การ​โยน​เหรียญ 1 เหรียญ 3 ครัง้ จัดว​ า่ เ​ป็นการ​ทดลอง​เชิงส​ มุ่ H THH
ผลลัพธ์ท​ แ​ี่ สดง​การ​หงาย​ตา่ ง ๆ ของ​เหรียญ​ทเ​ี่ ป็นไ​ป​ได้ท​ งั้ หมด H
แสดง​ด้วย​แผนภูมิ​ต้นไม้​ได้​ดังนี้
T T
H
THT
TTH
T
T TTT

ปริภูมิตัวอย่าง (S) ของการโยนเหรียญ 1 เหรียญ 3 ครั้ง คือ


S = {HHH, HHT, HTH, HTT, THH, THT, TTH, TTT}
เหตุการณ์ที่เหรียญหงายหัวทั้ง 3 เหรียญ มี 1 กรณี
เหตุการณ์ที่เหรียญหงายหัว 2 เหรียญ หงายก้อย 1 เหรียญ มี 3 กรณี
เหตุการณ์ที่เหรียญหงายหัว 1 เหรียญ หงายก้อย 2 เหรียญ มี 3 กรณี
เหตุการณ์ที่เหรียญหงายก้อยทั้ง 3 เหรียญ มี 1 กรณี
การโยนเหรียญ 3 เหรียญ 1 ครั้ง ก็มีผลลัพธ์เช่นเดียวกันนี้ คือมีแบบรูปของผลลัพธ์เป็น 1-3-3-1
ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 35
3) การ​มี​บุตร 3 คน
เพศ​ของ​บุตร​โดย​ทั่วไป​มี​ 2 อย่าง คือ เพศ​ชาย (ช) และ​เพศ​หญิง (ญ) การ​ได้​บุตร​เพศ​ต่าง ๆ เป็นการ​ทดลอง​เชิง​สุ่ม
เช่นเ​ดียว​กับการ​โยน​เหรียญ ปริภูมิ​ตัวอย่าง​ของ​การ​มี​บุตร​เพศ​ต่าง ๆ จำนวน 3 คน คือ
S = {ชชช, ชชญ, ชญช, ชญญ, ญชช, ญชญ, ญญช, ญญญ}

เหตุการณ์​ที่​มี​บุตร​เพศ​ชาย​ทั้ง​3 คน มี​บุตร​เพศ​ชาย 2 คน​และ​เพศ​หญิง 1 คน มี​บุตร​เพศ​ชาย 1 คน​และ​เพศ​หญิง 2 คน


มีบ​ ุตร​เพศ​หญิง​ทั้ง​3 คน มี​จำนวน​ผลลัพธ์เ​ท่ากับ 1, 3, 3, 1 กรณี ตาม​ลำดับ
4) แผง​ไฟฟ้า​ที่​มี​หลอด​ไฟ 3 ดวง
การ​แสดง​สญ ั ญาณ​โดย​ใช้แ​ ผง​ไฟฟ้าท​ ม​ี่ ห​ี ลอด​ไฟ 3 ดวง เรียง​อยูใ​่ น​แนว​เส้นต​ รง
หลอด​ไฟ​แต่ละ​ดวง​แสดง​ได้​ 2 สถานะ​คือ ไฟ​เปิด (1) และ​ไฟ​ดับ (0) ซึ่งส​ ามารถ
​แสดง​ได้​ด้วย​ระบบ​ตัวเลข​ฐาน​สอง การ​แสดง​สัญญาณ​มี​กรณี​ต่าง ๆ ที่​เป็น​ไป​ได้
8 กรณี เขียน​ใน​รูป​เซต​ได้​เป็น {000, 001, 010, 011, 100, 101, 110, 111}
จะ​เห็น​ว่า​มี​กรณีท​ ี่​ไฟ​ดับ​ทั้ง​3 ​ดวง อยู่ 1 กรณี มี​กรณี​ที่​ไฟ​เปิด 1 ดวง อยู่ 3 กรณี
มีก​ รณีท​ ไ​ี่ ฟ​เปิด 2 ดวง อยู่ 3 กรณี และ​มก​ี รณีท​ ไี่ ฟ​เปิดท​ งั้ ​3 ด​ วงอยู่ 1 กรณี ผลลัพธ์​
มีแ​ บบ​รูป​เป็น 1-3-3-1
5) การ​เดิน​หมาก​บน​กระดาน​หมากฮอส
กระดาน​หมากฮอส​เป็นก​ระ​ดาน​รูป​สี่เหลี่ยม​จัตุรัส​ตเี​ป็น​ตาราง​มี​จำนวน 64
ช่อง ระบาย​สี 1 ช่อง เว้น 1 ช่องทั้งก​ ระดาน​เพื่อ​ใช้​วาง​หมาก การ​เดินห​ มากฮอส​มี​
กติกา​ให้​เดิน​ใน​แนว​ทแยง​มุมแ​ ละ​เดิน​ไป​ข้าง​หน้า​เท่านั้น
จาก​รปู ​ถ้าว​ าง​หมาก​ตวั ห​ นึง่ ไ​ว้ท​ ตี่ ำแหน่ง A ต้อง​เดินห​ มาก​ไป​ไว้ท​ ต​ี่ ำแหน่ง H
จะ​เห็น​ว่า​มวี​ ิธี​เดิน​หมาก​ได้ 3 วิธี คือ ABDH, ABEH และ ACEH
ถ้า​วาง​หมาก​ตัวห​ นึ่ง​ไว้ท​ ี่​ตำแหน่ง A การ​เดิน​หมาก​ไป​ที่​ตำแหน่ง G, I, J ใน​
แต่ละ​กรณีจะ​มจี​ ำนวน​วิธเี​ท่าไร
การ​เดิน​หมาก​จาก​ตำแหน่ง A ไป​ยัง​ตำแหน่ง G มี 1 วิธี คือ ABDG
การ​เดิน​หมาก​จาก​ตำแหน่ง A ไป​ยัง​ตำแหน่ง I มี 3 วิธี คือ ABEI, ACEI,
ACFI
การ​เดิน​หมาก​จาก​ตำแหน่ง A ไป​ยัง​ตำแหน่ง J มี 1 วิธี คือ ACFJ
การ​เดินห​ มาก​จาก​ตำแหน่ง A ไป​ยงั ต​ ำแหน่ง G, H, I, J ใน​แต่ละ​กรณีม​ จ​ี ำนวน​
วิธี​เป็น 1, 3, 3, 1 วิธี​ตาม​ลำดับ
6) จำนวนสับเซต
เซตที่มีจำนวนสมาชิก 3 ตัว เช่น A = {1, 2, 3} สับเซตของเซต A แบ่งได้เป็น 4 กลุ่ม คือ
สับเซตที่ไม่มีจำนวนสมาชิกเลย คือ เซตว่าง มี 1 สับเซต
สับเซตที่มีจำนวนสมาชิก 1 ตัว คือ {1}, {2}, {3} มี 3 สับเซต
สับเซตที่มีจำนวนสมาชิก 2 ตัว คือ {1, 2}, {1, 3}, {2, 3} มี 3 สับเซต
สับเซตที่มีจำนวนสมาชิก 3 ตัว คือตัวเอง {1, 2, 3} มี 1 สับเซต
จำนวนสับเซตของเซตที่มีจำนวนสมาชิก 3 ตัว มีจำนวนอยู่ในแบบรูป 1-3-3-1
36 >> นิตยสาร สสวท.
7) จำนวนวิธีในการจัดหมู่ (combination)
ถ้ามีสิ่งของจำนวน n สิ่ง นำมาจัดหมู่ครั้งละ r สิ่ง เมื่อ r ≤ n จำนวนวิธีในการจัดหมู่หาได้จากสูตร
เมื่อ n = 3 และ r = 0, 1, 2, 3

มีแบบรูปของผลลัพธ์เป็น 1-3-3-1

8) การกระจายทวินาม
(a + b)1 = a + b มีแบบรูปของสัมประสิทธิ์เป็น 1-1
(a + b)2 = a2 + 2ab + b2 มีแบบรูปของสัมประสิทธิ์เป็น 1-2-1
(a + b)3 = a3 + 3a2b + 3ab2 + b3 มีแบบรูปของสัมประสิทธิ์เป็น 1-3-3-1

9) การวิเคราะห์ประพจน์
การวิเคราะห์ประพจน์ (statement) ในวิชาตรรกศาสตร์ ถ้ามีประพจน์ 1 ประพจน์ คือ p จะมีกรณีต่าง ๆ เกิดขึ้น
2 กรณี คือ กรณีที่ประพจน์เป็นจริง (T) และเป็นเท็จ (F) ถ้ามีประพจน์ 2 ประพจน์ คือ p, q จะมีกรณีต่าง ๆ เกิดขึ้น 4 กรณี
แสดงดังตาราง p q
T T T ทั้งคู่ 1 กรณี
T F T ตัวหนึ่ง F ตัวหนึ่ง
F T มี 2 กรณี
F F F ทั้งคู่ 1 กรณี
มีแบบรูปของกรณีต่าง ๆ เป็น 1-2-1
ถ้ามีประพจน์ 3 ประพจน์ คือ p, q, r จะมีกรณีต่าง ๆ เกิดขึ้น 8 กรณี แสดงดังตาราง
p q r
T T T T ทั้ง 3 ตัว มี 1 กรณี
T T F T 2 ตัว F1 ตัว
T F T มี 3 กรณี
T F F
F T T
F T F T 1 ตัว F2 ตัว
F F T มี 3 กรณี
F F F F ทั้ง 3 ตัว มี 1 กรณี มีแบบรูปของกรณีต่าง ๆ เป็น 1-3-3-1
ปรากฏการณ์ห​ ลาย​อย่าง​เกิดข​ นึ้ ใ​น​สถานการณ์ท​ แ​ี่ ตก​ตา่ ง แต่อ​ าจ​มโ​ี ครงสร้าง​เหมือน​กนั ไ​ด้​จึงส​ ามารถ​แทน​ดว้ ย​ตวั แบบ​ทาง​
คณิตศาสตร์อ​ ย่าง​เดียวกันไ​ด้ ใน​ปญ ั หา​เกีย่ ว​กบั ก​ าร​จดั สรร​ปจั จัยท​ ม​ี่ อ​ี ยูอ่​ ย่าง​จำกัดเ​พือ่ น​ ำ​ไป​ใช้ใ​ห้เ​กิดป​ ระโยชน์ส​ งู สุด เช่น ได้ผ​ ล
ต​ อบแทน​มาก​ทสี่ ดุ กล่าว​คอื มีจ​ ดุ ป​ ระสงค์เ​พือ่ ต​ อ้ งการ​หา​คา่ ส​ งู สุด โดย​สามารถ​เขียน​จดุ ป​ ระสงค์น​ นั้ ใ​น​รปู ฟ​ งั ก์ชนั เ​ชิงเ​ส้น ข้อจ​ ำกัด
ข​ อง​ทรัพยากร​สามารถ​เขียน​ใน​รปู ส​ มการ​หรืออ​ สมการ​เชิงเ​ส้นด​ ว้ ย​ตวั แปร​เดียวกันก​ บั ฟ​ งั ก์ชนั จ​ ดุ ป​ ระสงค์ ใน​การ​แก้ป​ ญ ั หา​ลกั ษณะ​
นี้​สามารถ​ใช้​​​ตัวแบบแทน​ปัญหา​ที่​เรียก​ว่า กำหนดการ​เชิง​เส้น (linear programming) ได้
ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 37
รอบรู้​คณิต
การแก้ปัญหาโจทย์
​>> นวลจันทร์ ฤทธิ์ขำ/นักวิชาการ สาขาคณิตศาสตร์มัธยมศึกษา สสวท./E-mail: nphom@ipst.ac.th

จดหมายเปิดผนึก
ถึงเด็ก (อยาก) ฉลาด
คิดแบบคณิตศาสตร์
ถึงน​ อ้ ง ๆ ที่ (อยาก) รักค​ ณิตศาสตร์ท​ กุ ค​ น บ​ าง​คน​อาจ​ชอบ​คณิตศาสตร์ม​ าก
ชอบ​เข้าก​ ระดูกดำ​เลย​กว​็ า่ ไ​ด้ กิจกรรม​อะไร​ทเ​ี่ ป็นค​ ณิตศาสตร์ก​ ช็ อบ​ทำ ชอบ​เล่น
ยิ่ง​การ​คิด​เลข​ใน​ใจ​ยิ่ง​ชอบ ถ้าใ​ห้​คิด​เลข​ใน​ใจ​เมื่อ​ไรเป็นต้อง​นับน​ ิ้วม​ ือ นิ้วม​ ือ
​ไม่​พอต้อง​ขอ​ต่อ​ด้วย​นิ้ว​เท้า คณิตศาสตร์​ที่​เกี่ยว​กับ​รูป​ทรง​เรขาคณิต​ก็​ชอบ ตัด
กระดาษ​ให้​เป็นรูปสี่เหลี่ยม​จน​เสียกระดาษ​​ไป​หลาย​แผ่น​ก็​ยังไม่​ได้​รูป​สี่เหลี่ยม​สัก​ที
​แ ล้ ว ​ยั ง ​บ อก​ไ ด้ ​อี ก ​ว่ า ระหว่ า ง​ส อง​
(จริง ๆ แล้ว​ไม่​จำเป็น​ต้อง​ตัด​ก็ได้) ยิ่ง​เป็น​พวก​เกม​คณิตศาสตร์​ เล่นก​ ัน​หัว​ปัก​หัว​ปำ
จำนวน​นั้ น ​มี ​จ ำนวน​ที่ เ ป็ น เศษส่ ว น​
เกม​หมาก​กระดาน​เอย​หรือป​ ริศนา​ซอ่ น​เงือ่ น​เอย ก็ไ​ม่เ​คย​คดิ อ​ อก​สกั ท​ ี เล่นก​ บั เ​พือ่ น
อะไร​บ้ า ง เขาบอก​ไ ด้ ​ห ลาย​จ ำนวน
เพื่อน​เดินหนี​ไป 3 วัน​แล้ว ก​ลับม​ าน้อง​ยัง​นั่ง​จ้อง​หมาก​กระดาน​ทำ​ตาปริบ ๆ อยู่...
(น้อง​บอก​ได้​กี่​จำนวน) เพื่อน​คน​ที่​ว่า​
น้อง​อาจ​จะ​สงสัย​ตวั ​เอง​วา่ เป็น​เด็กเก่งคณิตศาสตร์หรือ​ไม่ ใน​เมือ่ ​ม​คี น​เคย​กล่าว​
นี้​เป็น​เด็ก​ฉลาด​คิด​แบบ​คณิตศาสตร์​
ไว้ว​ า่ “ทำ​อะไร​กต็ าม​ถา้ ใ​จ​รกั ซ​ ะ​อย่าง​กม​็ ช​ี ยั ไ​ป​กว่าค​ รึง่ ” (เป็นป​ ระโยค​ทน​ี่ อ้ ง​คดิ เ​อง​
หรือ​ไม่ คำ​ตอบ​คือ​ใช่​แน่นอน แต่​การ​
นัน่ แ​ หละ) แล้วค​ ดิ ว​ า่ ต​ วั เ​รา​กม​็ ช​ี ยั ไ​ป​ครึง่ ห​ นึง่ แ​ ล้ว ลอง​มอง​ไป​รอบตัว หรือแ​ ม้แต่ม​ อง
ฉลาด​คิด​เรื่อง​จำนวน​และ​ตัวเลข เป็น​
​เข้า​มา​ใน​ร่างกาย​ของ​น้อง​เอง​ ​เห็น​คณิตศาสตร์​อยู่​ในสิ่ง​เหล่า​นั้น​ไหม คำ​ตอบ​คือ
เพียง​หนึ่ง​ใน​ความ​ฉลาด​อีก​มากมาย​
ทุก​อย่าง​ที่​น้อง​เห็น​เป็น​คณิตศาสตร์ทั้งสิ้น ดัง​นั้น​น้อง​จะ​ตัดใจ​ไม่​ชอบ​คณิตศาสตร์​
มหาศาล​ที่ ​จ ะ​เ กิ ด ​ขึ้ น ​บ น​โ ลก​ข อง​
ไป​ได้​อย่างไร น้อง ๆ อยาก​ลอง​พิสูจน์​ความ​ชอบ​คณิตศาสตร์​ของ​ตัว​เอง​หรือ​ไม่!
คณิตศาสตร์ เช่น เพื่อน​เรา​บาง​คน​
บาง​คน​คิด​ว่า เก่ง​คณิตศาสตร์ห​ มาย​ถึง การ​หา​คำ​ตอบ​ถูกต​ ้อง​ทุก​ครั้ง ตอบ​คำถาม​
อาจ​จะ​มี​ความ​เชี่ยวชาญ​เรื่อง​รูป​ทรง
คุณครู​ถูก​ต้อง​และ​รวดเร็ว สอบ​วิชา​คณิตศาสตร์​ได้​คะแนน​สูงสุด แบบ​นี้​ถือว่า​เก่ง​
คณิตศาสตร์ ความ​คิด​เช่น​นี้​ไม่​ถูก​ต้อง หาก​แต่​คำ​ว่า​เก่ง​คณิตศาสตร์​หมาย​ถึง การ​
หา​คำ​ตอบ​ได้​ทันที​หรือ​ว่า​ต้อง​ใช้​เวลา​อีก​นิด​ก็ได้​คำ​ตอบ​เหมือน​กัน เมื่อ​ใด​ก็ตาม​
ที่​เจอ​โจทย์​มหา​หิน (ไม่ใช่​หิน​ธรรมดา) ความ​คิด​ที่​ว่า “ไม่มี​ทาง​ทำ​เลข​ข้อ​นี้​ได้”
“ไม่เ​ข้าใจ​เลข​ขอ้ น​ เ​ี้ ลย” ขอ​ให้ป​ ระโยค​เหล่าน​ จ​ี้ ง​หาย​ไป แล้วน​ อ้ ง​กใ​็ ช้ค​ วาม​คดิ เ​ต็มท​ ​ี่
กับ​ประโยค​ที่​ว่า “เรา​ยัง​แก้​โจทย์​ปัญหา​ข้อ​นี้​ไม่​ได้ เดี๋ยว​อีก​หน่อย​ก็​ทำได้​และ​
เสร็จ​แล้วไป​คุย​กับ​เพื่อน หรือ​ไป​ขอ​คำ​แนะนำ​จาก​ครู​มา​นิด​หน่อย​ก็​ทำได้​เอง​”
ไม่มี​กฎหรือ​ข้อ​บังคับ​ใด บังคับ​ว่า​น้อง​จะ​ต้อง​รีบ​คิด รีบ​หา​คำ​ตอบ​และ​ต้อง​เร็ว​และ​
ถูกต​ อ้ ง​ดว้ ย เสียเ​วลา​อกี น​ ดิ ห​ น่อย​กหา​ ​​็ คำ​ตอบ​ได้เ​หมือน​กนั แล้วเ​พือ่ น​คน​นนั้ คน​ท​ี่
เคีย้ ว​ตวั เลข​แทน​อาหาร​วา่ ง คิดเ​ลข​ได้เ​ร็วม​ าก แค่ก​ ะ​พริบต​ า​กต​็ อบ​ได้ท​ นั ทีว​ า่ ระหว่าง
1 กับ 1 จำนวน​ใดมากกว่า (น้อง​บอก​ได้​ไหม) เขา​บอก​ได้​โดย​ไม่​ต้อง​เสีย​เวลาคิด​
2 3
38 >> นิตยสาร สสวท.
จะสามารถ​ม อง​เ ห็ น​ภาพ​ของ​ทรง​ต่าง ๆ อย่าง​แจ่ม​ชั ด​ใ น​ เพือ่ น​อกี ค​ น​อาจ​
ห้วง​ความ​คิด บอก​ได้​ทันที​ว่า​รูป​เช่น​นี้จะสามารถ​พับ​เป็น​ จะ​ใช้ ​เวลา​ทั้ ง ​วั น ​ข ลุ ก​ พิษณุโลก
ลูกบาศก์​ได้โดย​ไม่​ต้อง​ลงมือ​ตัด​หรือ​พับ​ให้​เสีย​เวลา (​ลอง​ อยู่​กับ​การ​จำลองแบบ​
โคราช
พิสูจน์​ดู​นะ) เพื่อน​คน​นอี้​ าจ​จะ​คิด​เลข​ไม่​ได้​เรื่อง​เท่าไร​นัก แต่​ การบิน การ​จราจร​ของ​ กรุงเทพฯ
เมื่อ​ใด​ก็ตาม​ท่​ี เป็น​เรื่อง​รูป​ทรงเป็นอันได้​เรื่อง​ทุกที ถือ​เป็น รถยนต์ การ​เดินท​ าง​เรือ
ของ​หวานจาน​โปรด​เลย​ที​เดียว แน่นอน​เพื่อน​คน​นี้​ของ​น้อง ออก​มา​ในลักษณะ​ของ​
ก็​เป็น​เด็ก​ฉลาด​คิด​แบบ​คณิตศาสตร์ แม้​จะ​แตก​ต่าง​ไป​จาก​ กราฟ หรือ​โมเดล​ทาง​
กราฟเส้นทางการบิน
เพื่อน​คน​ที่​ชอบ​อาหาร​ว่าง​เป็น​ตัวเลข​ก็ตาม​ที คณิตศาสตร์​อื่น (น้อง​ ภายในประเทศ
เพือ่ น​คน​ตอ่ ไ​ป​ฉลาด​และ​เชีย่ วชาญ​เกม​หมาก​กระดาน​ จะ​ลอง​ดกู​ ็ได้) ที ม
่ า: www. school.net.co.th

มาก ชื่นช​ อบ​ปริศนา​ซ่อน​เงื่อน​เป็นช​ ีวิตจ​ ิตใจ (แม้​จะ​ไม่​เกี่ยว​ หรื อ ​เ พื่ อ น​อี ก ​ค น​ม อง​เ ห็ น ​อ ะไร​ก็ ​เ ป็ น ​ร หั ส ​ไ ป​ห มด
กับต​ วั เลข​หรือร​ ปู ท​ รง) ขอ​เพียง​เป็นเ​กม​ทา้ ทาย​สมอง​ทต​ี่ อ้ ง​ใช้​ ชอบรหัสเป็นชีวิตจิตใจ ชอบ​สร้าง​รหัสให้​เพื่อน​ช่วย​ถอดรหัส
ตรรกะคลี่คลาย​ปัญหา เพื่อน​คน​นี้​จะ​หา​ทาง​แก้​ปัญหาได้​ เป็นป​ ระจำ จน​ตอ้ ง​จด​บนั ทึกไ​ว้ บาง​รหัส​
รวดเร็ว​กว่า​เพื่อน​คน​อื่น ถ้า​น้อง ๆ ลอง​เล่น​เกม​ทิกแทก​โท ถอด​ยัง​ไม่​ได้ก​ ็​มี
กระดาน​ยักษ์​กับ​เพื่อน​คน​นี้ ที่​ต้อง​ผลัดกันทำเครื่องหมาย O เพื่อ น​ท่ี​ก ล่ า ว​ม า​แ ล้ ว ทั้ง หมด​น้ี
และ X ใครทำ​ให้เครื่องหมาย​เหมือน​กัน​เรียง​กัน 4 อันก่อน ถือว่าเ​ป็นเ​ด็กฉลาด​คดิ แบบ​คณิตศาสตร์​
​จะ​ชนะ กระดาน​เดียว​คง​ต้อง​เล่น​กัน​ทั้ง​วัน​แน่ (ลอง​เล่นดู​นะ) น้อง​อาจ​จะ​เริ่ม​ระแคะ​ระคาย​แล้ว​ว่า​
ตัว​เอง​มี​ความ​สามารถ​เพียง​พอที่​จะ​ไป​
อยู่​กับ​เพื่อน​กลุ่ม​นี้​ได้ มี​หลาย​คน​สงสัย​เช่น​นเี้​หมือน​กัน ความ​
จริง​ก็​คือ เด็ก​ฉลาด​คิด​แบบ​คณิตศาสตร์​แบ่ง​ได้​เป็น​หลาย​
ประเภท ไม่มี​ใคร​เกิด​มา​พร้อม​กับ​ความ​ฉลาด​ปราด​เปรื่อง​
ใน​เรื่อง​คณิตศาสตร์ การ​ฉลาด​คิด​แบบ​คณิตศาสตร์​เกิด​จาก​
ความ​สนใจ​อย่าง​จริงจัง​และ​ทุ่มเท​เรียน​รู้ ถ้า​น้อง ๆ อยาก​เป็น
​เด็ก​ฉลาด​คิด​แบบคณิตศาสตร์​ก็​ต้อง​เริ่ม​ต้น​ด้วย​ความ​เชื่อ​มั่น
​ว่า​ตัวเองมี​ความ​สามารถ​พิเศษ​อย่าง​ใด​อย่าง​หนึ่งใน​ทาง
​คณิต​ศาสตร์ และ​จะ​เป็น​เช่น​นั้น​ได้​ก็​ต้อง​ฝึก​อย่าง​หนัก และ​
ไม่มี​อะไร​จะ​เป็น​สนาม​ฝึก​ได้​ดี​ไป​กว่า​แบบ​ฝึกหัด​เชิงคณิต-
ศาสตร์ เพื่อ​ลับ​สมอง​ลอง​ปัญญา ถ้า​จะ​มี​เด็ก​ฉลาดคิด​แบบ​
คณิตศาสตร์​เพิ่ม​มา​อีก​สัก​คน ทำไม​เด็ก​คน​น้ัน​จะไม่ใช่​ตัว
​นอ้ ง​ละ่ ไม่ม​ีใคร​ตอบ​คำถาม​น​้ไี ด้​ด​ีเท่า​ตวั ​​นอ้ งเอง ขอ​ตอ้ นรับ
เพื่อน​คน​ถัด​มาไม่​สนใจ​เรื่อง​ความเร็ว​ใน​การ​แก้​ปัญหา
​เด็ก (อยาก) ฉลาด​คดิ ​แบบ​คณิตศาสตร์​ทกุ ​คน
เขา​อาจ​จะ​ทำ​โจทย์​ข้อ​นั้น​ซ้ำ​แล้ว​ซ้ำ​อีก เพื่อ​จะ​ดู​ว่า​มี​วิธี​ทำ​

แบบอื่น​อีก​ไหม​ที่​จะ​สามารถ​แก้​โจทย์​ปัญหา​นี้​ได้ (ลอง​ไป​ทำ​
สวัสดี
ดู​นะ)

บรรณานุกรม
เบิร์นส์, มารีลิน. ฉลาด​คิด​แบบ​คณิตศาสตร์. สร้างเสริมอัจฉริยะสำหรับเยาวชน
ชุดที่ 1 ลำดับที่ 5. กรุงเทพ : บริษัทซีเ​อ็ด​ยูเค​ชัน จำกัด.

ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 39


สื่อการเรียนรู้ กระตุ้นต่อมคิด
เว็บไซต์
​>> ดร.วัชรพงศ์ ศรีแสง/บัณฑิตโครงการ พสวท./สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง/E-mail: wsrisang@gmail.com

WolframAlpha
เพือ่ ก​ าร​เรียน​การ​สอน​คณิตศาสตร์​
และ​วิทยาศาสตร์​แบบ​บูรณาการ
WolframAlpha (Wolfram Alpha LLC., 2010) อ่าน​วา่ วูลแฟ​รม​แอลฟา คือ โปรแกรม​ทใ​ี่ ห้บ​ ริการ​ฟรี
โดย​ไม่ค​ ดิ ค​ า่ ใ​ช้จ​ า่ ย อยูท​่ เ​ี่ ว็บไ​ซต์ http://www.wolframalpha.com มีหน้าต​ า​คล้าย​เว็บไซต์ท​ วั่ ไป​และ​ใช้ง​ า่ ย
แต่​WolframAlpha เป็นโ​ปรแกรม​ที่​ใช้​เทคโนโลยี​ที่​ล้ำส​ มัย​ที่สุดเทคโนโลยีห​ นึ่ง​ของ​โลก
WolframAlpha มี​ลักษณะ​เป็น computational
knowledge engine หมาย​ถึง​ การ​รวบรวม​เทคโนโลยี​ 3​
อย่าง​ที่​ยอด​เยี่ยม​ของ​คอมพิวเตอร์ไว้ใ​น​เครื่อง​มือ​เดียวกัน ซึ่ง​
เทคโนโลยี​ดัง​กล่าว​ได้แก่
1. เป็น​เครื่อง​มือ​ใน​การ​สืบค้น ใช้​ค้นหา​ความ​รู้​ได้
2. เป็น​คลัง​ข้อมูล​ทาง​วิทยาศาสตร์​ที่​น่า​เชื่อ​ถือจาก
​แหล่ง​ข้อมูล​หลาย​แหล่ง
3. เป็น​เครื่อง​คำนวณ​ชั้น​สูง สามารถ​คำนวณ​คณิต-
ศาสตร์ร​ ะดับส​ งู ไ​ด้ เช่น แคลคูลสั อนุกรม​ทาง​คณิตศาสตร์ การ​
แก้​ระบบ​สมการ การ​แก้​สมการ​เชิงอ​ นุพันธ์ เป็นต้น ภาพที่ 1 เว็บไซต์ www.wolframalpha.com
โปรแกรม​นี้เป็นโปรแกรมที่น่า​เชื่อ​ถือ เพราะมีการ​ ​ปั ญ ญา​ป ระดิ ษ ฐ์ ที่ ​ล้ ำ ​เ ลิ ศ ​ท างคณิ ต ศาสตร์ วิ ท ยาศาสตร์
พัฒนา​ต่อย​อด​มา​จาก โปรแกรม​คำนวณ​ระดับ​สูง​ที่ชื่อ​ว่า และ​ศิลปวิทยา​การ ที่​ภาษา​อังกฤษ​เรียก​ว่า “เอ​ไอ”
Mathematica (Wolfram, 2003) ซึ่ง​นัก​วิทยาศาสตร์​ใช้ เนื่อง​จาก​ความ​สามารถ​และ​การ​ใช้​งาน​ของ Wolfrm
​กัน​อยู่​อย่าง​แพร่​หลายใน​มหาวิทยาลัย​ชั้น​นำ​ต่าง ๆ ของ​โลก
​ Alpha ​มี​หลาก​หลาย ใน​ที่​นี้​จึงขอ​ยก​ตัวอย่าง​เพียง​บาง​ส่วน​
จึง​เชื่อ​ได้​ว่า​ความ​สามารถ​ใน​การ​คำนวณ​นั้น​ล้ำ​เลิศ​แน่นอน ที่น่า​สนใจ เข้าใจ​ง่าย พร้อม​ทั้ง​ขอ​อธิ​บาย​วิธี​การ​ใช้​งาน​พอ​
แต่ส​ งิ่ ท​ เ​ี่ ป็นจ​ ดุ เ​ด่นข​ อง WolframAlpha คือ เทคโนโลยีห​ ลัก​ สังเขป เพื่อ​ให้​ท่าน​ผู้​อ่าน​นำ​ไป​ใช้​ใน​การ​จัดการ​เรียน​การ​สอน​
ใน​การ​ทำงาน​ของ WolframAlpha เป็นเ​ทคโนโลยีแ​ บบ​ปญ ั ญา​ คณิตศาสตร์และ​วิทยาศาสตร์​ได้​ตาม​สมควร
ประดิษฐ์ (Artificial intelligence, AI) จึงใช้ง​ าน​ได้ง​ า่ ย​สำหรับ หลัก​การ​เบื้อง​ต้น​ของ​การ​ใช้​โปรแกรม​ก็​คือ
​ผู้​ที่​มี​ความ​สามารถ​ทาง​คอมพิวเตอร์​ไม่​สูง​มาก​นัก ซึ่ง​ก็​คือ​ ขัน้ ท​ ​ี่ 1 ผูใ​้ ช้จ​ ะ​ตอ้ ง​เชือ่ ม​ตอ่ ก​ บั อ​ นิ เทอร์เน็ตแ​ ละ​เข้าไป
นักเรียน​ใน​ระดับประถม​ศึกษาและ​มัธยมศึกษา​สามารถ​ใช้ได้ ​ยัง​เว็บไซต์ www.wolframalpha.com เมื่อเ​ชื่อม​ต่อ​สำเร็จ
น​ นั่ เอง สิง่ ท​ ต​ี่ อ้ ง​ระลึกไ​ว้เ​สมอ​เกีย่ ว​กบั WolframAlpha คือ จะ​ปรากฏ​หน้า​จอ​ที่​มี​แถบ​ให้​ใส่​ข้อมูล​สี​ขาวอยู่​ตรง​กลาง​จอ
โปรแกรม​นี้​ไม่ใช่​เพียง​เครื่อง​มือค้นหา แต่เป็นโปรแกรม ภาพ (ภาพที่ 1)
40 >> นิตยสาร สสวท.

ขัน้ ท​ ​ี่ 2 ผูใ​้ ช้ง​ าน​จะ​ตอ้ ง​พมิ พ์ส​ งิ่ ท​ ต​ี่ อ้ งการ​ให้โ​ปรแกรม​
คำนวณ หรือ​สิ่ง​ที่​ผู้​ใช้​งาน​อยาก​รู้เข้าไป​ที่​ช่อง​ว่าง​สี​ขาว​ตรง​
กลาง​หน้าจ​ อ สิง่ ท​ พ​ี่ มิ พ์เ​ข้าไปจะ​เป็น พจน์ นิพจน์ หรือส​ มการ
​ทาง​คณิต​ศาสตร์​ใด ๆ ก็ได้ นอกจาก​นี้ ผู้​ใช้​งาน​ยัง​สามารถ
​พิ ม พ์ ​ป ระโยคหรื อ ​ว ลี ใ น​ภ าษา​อั ง กฤษ​เ พื่ อ ​ใ ห้ ​โ ปรแกรม​
วิเคราะห์ และ​คำนวณ​ได้​ด้วย ซึ่ง​ถือว่า​สะดวก​สบาย​เป็น​
อย่าง​ยิ่ง (หาก​แต่​การ​ทำ​แบบ​นี้​ได้ เบื้อง​หลัง​เป็น​เทคโนโลยี​
ที่​ล้ำ​สมัย​มาก ๆ ที่​จะ​ทำให้​คอมพิวเตอร์​สามารถ​เข้าใจ​ภาษา​
มนุษย์​ได้)
ขั้น​ที่​ 3 เมื่อ​พิมพ์​และ​กด​ส่ง​ข้อมูล​แล้ว โปรแกรม​จะ​
คำนวณ​โดย​ใช้ค​ วาม​สามารถ​ของ​เซิรฟ์ เวอร์ข​ อง​บริษทั เ​จ้าของ​
โปรแกรม​เอง ซึ่ง​มี​ประสิทธิภาพ​สูง​กว่า​เครื่อง​คอมพิวเตอร์​
ทัว่ ไป​มาก เมือ่ ไ​ด้ผ​ ลลัพธ์แ​ ล้ว เซิรฟ์ เวอร์จ​ ะ​สง่ ผ​ ลลัพธ์ก​ ลับมา
​ทันทีอย่าง​รวดเร็ว ซึ่ง​ผลลัพธ์​อาจ​จะ​มี​รูป​แบบ​ที่​หลาก​หลาย
สามารถ​เป็น​ได้​ทั้ง​ตัว​หนังสือ ตัวเลข ภาพสอง​มิติ ภาพ​สาม​
มิติ หรือไดอะแกรม ขึ้น​อยู่​กับ​สิ่ง​ที่​เราสืบค้น หรือ​สิ่ง​ที่​ผู้​ ภาพ​ที่ 2 ตัวอย่าง เมื่อใ​ห้​โปรแกรม​คำ​นวณ “y^2 + x^2 = 1, x = y + 1”
ใช้​งาน​ถาม​โปรแกรม​ไป โดย​นัก​วิทยาศาสตร์หรือผ​ ู้​เชี่ยวชาญ
​ใน​ศาสตร์​ด้าน​ที่​เรา​สืบค้น​นั้น เป็น​ผู้​คิดค้น​รูป​แบบ​ผลลัพธ์​
มา​ให้​กับ​ผู้​ใช้​งาน ซึ่ง​ถือ​ได้​ว่า​ความ​เป็น​วิชาการ​นั้นเชื่อ​ถือ​ได้​
อย่าง​ยิ่ง​ที​เดียว
ใน​ทน​ี่ จ​ี้ ะ​ขอ​ยก​ตวั อย่าง​งา่ ย ๆ เป็นต​ วั อย่าง​การ​คำนวณ​
คณิตศาสตร์​ ซึ่ง​ได้​กล่าว​แล้ว​ว่า​ผู้​ใช้​งาน​สามารถ​ใส่ พจน์
นิพจน์ หรือ​สมการ​ทาง​คณิตศาสตร์​ลง​ไป​ใน​ช่อง​ข้อความ​ได้
ใน​ตวั อย่าง​นี้ ผูใ​้ ช้ง​ าน​พมิ พ์ร​ ะบบ​สมการ y^2 + x^2 = 1,x = y + 1
(y^2 หมาย​ถงึ y ยก​กำลังส​ อง) ลง​ไป​ใน​ชอ่ ง​ขอ้ ความ​สข​ี าว เมือ่ ​
กด​ส่ง​คำถาม โปรแกรม​จะ​แก้​ระบบ​สมการ​ให้ และ​จะ​แสดง​
คำ​ตอบ​ให้แ​ ก่ผ​ ใ​ู้ ช้ง​ าน พร้อม​ทงั้ แ​ สดง​ภาพ​วงกลม​และ​เส้นต​ รง
ที่​เป็น​กราฟ​ของ​ระบบ​สมการ​นี้ (ภาพ​ที่ 2) จาก​ตัวอย่าง​เห็น​
ได้​ชัด​ว่า​ใช้​งาน​ง่าย​มาก นับ​ได้​ว่า​เครื่อง​มือ​นี้​เหมาะ​อย่าง​ยิ่ง​
สำหรับ​ใช้​เป็น​เครื่อง​มือ​ใน​การ​ช่วย​สอน​คณิตศาสตร์​ใน​ห้อง
เรียน เพือ่ ใ​ห้น​ กั เรียน​ได้ต​ รวจ​คำ​ตอบ และ​ได้เ​ห็นภ​ าพ​กราฟ​ได้​
อย่าง​รวดเร็ว เป็นการ​ใช้​เครื่อง​มือ​ที่​มี​อยู่​แล้วใ​น​ทุก ๆ โรงเรียน ​

คือ​เครื่อง​คอมพิวเตอร์ หรือ​เครื่อง​แท็บเล็ต​ตาม​นโยบาย​ของ​ ภาพ​ที่ 3 ตัวอย่าง​การ​คำนวณ​เมื่อ​พิมพ์​คำ​ว่า earthquakes และ


รัฐบาล และ​เพราะ​ว่า​โปรแกรม​นี้​เป็น​โปรแกรม​ที่​ฟรี ไม่​ต้อง​ Japan โปรแกรม​จะ​แสดง​แผนทีแ​่ ละ​กราฟ​แผ่นด​ นิ ไ​หว​ทป​ี่ ระเทศ​ญปี่ นุ่ ​
ใน​ช่วง​ 2 เดือน​ที่​ผ่าน​มา (WolframAlpha ส่ง​คำนวณ​เมื่อ​วัน​ที่
เสียค​ า่ ใ​ช้จ​ า่ ย จึงถ​ อื ไ​ด้ว​ า่ การ​ใช้เ​ครือ่ ง​มอื น​ ใ​ี้ น​การ​จดั การ​เรียน​ 28/5/2555)
การ​สอน ถือ​เป็นการ​จัดการ​เรียน​การ​สอน​ที่​ประหยัดและ
​พอ​เพียง​อีกด​ ้วย ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 41
ภาพ​ที่ 4 ตัวอย่าง​การ​คำนวณ​เมื่อพ​ ิมพ์​คำ​
ว่า Earthquakes และ Thailand โปรแกรม​
จะ​แสดง​แผนที่​และ​กราฟ​แผ่นด​ ิน​ไหว​ที่​
ประเทศไทย​ใน​ช่วง​2 เ​ดือน​ที่​ผ่าน​มา
ใน​กรณี​นี้​ต้อง​เลือก magnitude > 3
(ภาพ​จาก WolframAlpha ส่งค​ ำนวณ
​เมื่อ​วัน​ที่ 28/5/2555)

ตัวอย่างที่น่าสนใจอื่น ๆ
ข้อความที่พิมพ์ ผลลัพธ์
lim (sin x - x)/x^3 as x->0 -1/6 พร้อมทั้งวาดกราฟ (เป็นการหาค่าลิมิตของฟังก์ชัน )
earthquakes Japan 2011 แผนที่แผ่นดินไหวในประเทศญี่ปุ่น ปี ค.ศ. 2011, กราฟระหว่างเวลากับ
ความรุนแรงที่เกิด ฯลฯ (เป็นตัวอย่างการบูรณาการ คณิตศาสตร์กับวิทยาศาสตร์โลก)
100 mL of 1.5 molar K2CO3 ได้คุณสมบัติของสารละลายในหน่วยต่าง ๆ, ภาพสูตรเคมี (structure diagrams) ฯลฯ
in THF
Am I too drunk to drive? จะมีช่องเพิ่มเติมให้คำนวณว่าเราดื่มเหล้าอะไรไปเท่าไร, โปรแกรมแสดงค่า
แอลกอฮอล์ในกระแสโลหิต ฯลฯ
WolframAlpha เป็น​โปรแกรม​สากลที่ครูและ​นักเรียนสามารถศึกษาวิธีการ​ใช้​เพิ่ม​เติมได้​จาก​แหล่ง​เรียน​รู้​อื่น​อีก​
หลาย​ทาง ยก​ตัวอย่าง​เช่น http://www.wolframalpha.com/examples/ เป็นเ​ว็บไซต์​ตัวอย่างของ WolframAlpha เอง
ซึง่ ได้แ​ สดง​ตวั อย่าง​การ​ใช้ง​ าน​ไว้ตาม​หมวด​หมู่ ตามศาสตร์ต​ า่ ง ๆ ทีโ​่ ปรแกรม​สามารถ​คำนวณสืบค้นไ​ด้ อีกต​ วั อย่าง​คอื สามารถ​ไป
ช​ ม​วดิ โี อคลิปตัวอย่าง​การ​ใช้ง​ าน​โปรแกรม​ได้ที่ HYPERLINK “http://www.youtube.com” โดย​ใช้ค​ ำ​คน้ หา​วา่ WolframAlpha
ก็​จะ​พบ​วิดีโอคลิปส​ าธิต​การ​ใช้​งาน​มากมาย ช่วย​เป็น​แหล่ง​เรียน​รู้​ได้ดีทีเดียว
บรรณานุกรม
สุดท้าย​นี้​เชื่อ​ได้​เลย​ว่า หาก​ท่าน​ได้​ทดลอง​ใช้​โปรแกรม​ดังก​ ล่าวแล้ว ก็จะ Wolfram Alpha LLC. “Wolfram|Alpha.” (Online).
ไ​ด้พ​ บ​กบั ส​ งิ่ ใ​ หม่่ ๆ ทีท​่ นั ส​ มัย กราฟ หรือแ​ ผนภูมิ รูปแ​ บบ​ทไ​ี่ ม่เ​คยเห็นอีกม​ ากมาย Available : http://www.wolframalpha.com/
(Retrieved 22/02/2555)
ซึ่ง​เชื่อ​ได้​ว่า​สิ่ง​นี้​จะ​เป็นการ​กระตุ้นความ​รัก​เรียน ความ​อยาก​รู้​อยาก​เห็นใน​วิชา​ Wolfram, Stephen. (2003).The Mathematica Book.
5thed. Wolfram Media : Cambridge
คณิตศาสตร์แ​ ละ​วิทยาศาสตร์ให้แ​ ก่​ลูก​ศิษย์​ของ​ท่าน​ได้​เป็น​อย่าง​ดี University Press.

42 >> นิตยสาร สสวท.


สื่อการเรียนรู้ กระตุ้นต่อมคิด
เว็บไซต์
>> ดร. สุทธิพร สัจพันโรจน์/นักวิชาการ ฝ่ายนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ สสวท./ E-mail: ssajj@ipst.ac.th

เว็บไซต์ช่วยสอน
Exploratorium
http://www.exploratorium.edu/
จัด​ทำ​โดย​พิพิธภัณฑ์ Exploratorium ใน​ประเทศ​สหรัฐอเมริกา ที่​ใช้​
แนวคิดใ​หม่ใ​น​การ​สร้าง “แหล่งเ​รียน​ร”ู้ แทนทีจ​่ ะ​เป็นเ​พียง “แหล่งใ​ห้ค​ วาม​ร”ู้
เหมือน​พิพิธภัณฑ์​ทั่วไป ยังให้หลัก​การ​สำคัญ​คือ​ ต้องการ​ให้​ผู้​เข้า​ชม​ได้​มี​
โอกาส​สืบ​เสาะ​หาความ​รู้​ทาง​วิทยาศาสตร์​ด้วย​ตนเอง ตัวอย่าง​เช่น เรื่อง​การ​
เกิด​เสียง ผู้​เข้า​ชม​สามารถ​ดาวน์โหลด concept map อธิบาย​ทฤษฎี​การ​
เกิดเ​สียง แนวทาง​การ​จัด​กิจกรรม​เพื่อ​ให้​เกิดค​ วาม​เข้าใจ​ใน​เรื่อง​การ​เกิด​เสียง
รวม​ทั้ง​สามารถ​ดาวน์โหลด​วิดีโอ​คลิปขั้น​ตอน​การ​ทำ​อุปกรณ์​สำหรับ​จัด​
กิจกรรม​นี้​ได้ นอกจาก​นี้ Exploratorium ยัง​แบ่ง​กลุ่ม​ผู้​เข้า​ชม​ไว้​หลาย​กลุ่ม
เช่น นักว​ ชิ าการ ผูป​้ กครอง เยาวชน​ทวั่ ไป นักว​ ทิ ยาศาสตร์ ฯลฯ เพือ่ ใ​ห้ผ​ ส​ู้ นใจ
​เข้าม​ า​ศึกษา​ข้อมูล​บน​เว็บไซต์ไ​ด้ต​ าม​ความ​สนใจ​เฉพาะ​กลุ่ม

Extreme Science
http://www.extremescience.com/index.html
รวบรวม​ข้อมูล​เกี่ยว​กับ​ปรากฏการณ์​ทาง​ธรรมชาติ​และ​สิ่ง​อัศจรรย์​
ต่าง ๆ รวม​ถงึ ส​ ถิตโ​ิ ลก โดย​ใช้ห​ ลักก​ าร​ทาง​วทิ ยาศาสตร์ม​ า​อธิบาย เช่น สถาน​ท​ี่
ที่​ร้อน​ที่สุด​ใน​โลก ส่วน​ทลี่​ ึก​ที่สุด​ใน​ทะเล สัตว์​ที่​ดุร้าย​ที่สุด คลื่น​สึ​นา​มิ​ที่​ใหญ่​
ทีส่ ดุ เป็นต้น ซึง่ ค​ รูส​ ามารถ​นำ​ขอ้ มูลเ​หล่าน​ ไ​ี้ ป​ใช้ป​ ระกอบ​การ​เรียน​การ​สอน​วชิ า​
วิทยาศาสตร์ ขณะ​เดียวกันน​ กั เรียน​และ​ผส​ู้ นใจ​ทวั่ ไป​กส​็ ามารถ​ตดิ ตาม​อา่ น​และ
ด​ ว​ู ดิ โี อคลิปเ​พือ่ เ​พิม่ พูนค​ วาม​รห​ู้ รือเ​พือ่ ค​ วาม​เพลิดเพลินไ​ด้ Extreme Science
ได้​รับ​ความ​นิยม​มาก​และ​ได้​รับ​รางวัล​จาก​หลาย​สถาบัน ใน​เรื่อง​การ​ส่ง​เสริม​
การ​เรียน​การ​สอน​และ​การ​ให้​ความ​รู้​เพิ่ม​เติมท​ าง​ด้าน​วิทยาศาสตร์

Figure this!
http://www.figurethis.org/index.htm
เป็นเ​ว็บไซต์ท​ ไ​ี่ ด้ร​ บั ก​ าร​สนับสนุนจ​ าก​กระทรวง​ศกึ ษาธิการ​ของ​ประเทศ​
สหรัฐอเมริกา มี​วัตถุประสงค์​เพื่อ​ส่ง​เสริม​และ​พัฒนา​ทักษะ​กระบวนการ​คิด​
วิเคราะห์​และ​แก้​ปัญหา​ทาง​คณิตศาสตร์​สำหรับ​เด็ก​ระดับ​ชั้น​มัธยมศึกษา​
ตอน​ตน้ บน​เว็บไซต์ม​ ก​ี าร​จดั ห​ มวด​หมูค่​ ำถาม​คณิตศาสตร์เ​ป็น 5 หมวด ได้แก่
พีชคณิต เรขาคณิต การ​วัด จำนวน​ ​ความ​น่า​จะ​เป็นแ​ ละ​สถิติ เพื่อ​ให้​ง่าย​ต่อ​
การ​คน้ หา นอกจากนีย้ งั ม​ ค​ี ำถาม​คณิตศาสตร์ท​ เ​ี่ กีย่ วข้อง​กบั ช​ วี ติ ป​ ระจำ​วนั ใ​ห้​
ลอง​ทำ​ด้วย ตัวอย่าง​คำถาม​เช่น ภาชนะ​รูป​ทรง​ใด​สามารถ​บรรจุ​ข้าวโพด​คั่ว
​ได้​มาก​ที่สุด ถ้า​มี​แสตมป์​ราคา $0.33 กับ $0.15 ต้อง​ใช้​แสตมป์​แต่ละ​
ประเภท​เป็นจ​ ำนวน​เท่าใด​เพื่อส​ ่ง​พัสดุ​ใน​ราคา $2.77 เป็นต้น
ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 43
สื่อการเรียนรู้ กระตุ้นต่อมคิด

หนังสือน่าอ่าน
“หนังสือน​ า่ อ​ า่ น” ทีน​่ ำ​มา​แนะนำ​ในนิตยสาร สสวท. ฉบับน​ ี้ มีด​ ว้ ย​กนั ท​ งั้ หมด 4 เล่ม เป็นห​ นังสือ
​ชุด​แรก​ที่​ สสวท.พัฒนา​ขึ้น​ใน “โครงการ​พัฒนา​ตำรา​และ​สื่อ​สำหรับ​หลักสูตร​การ​ผลิต​และ​พัฒนา​ครู​
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์​และ​เทคโนโลยี” ซงึ่ เ​ป็นห​ นังสือท​ เ​ี่ หมาะ​สำหรับค​ รูป​ ระจำ​การ​และ​ผท​ู้ จ​ี่ ะ​มา​เป็น​
ครูว​ ทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์แ​ ละ​เทคโนโลยี ได้ใ​ช้ศ​ กึ ษา ค้นคว้า เพือ่ ใ​ ห้ม​ ค​ี วาม​รค​ู้ วาม​เข้าใจ​ใน​บทบาท​
และ​หน้าที่​ของ​ความ​เป็น​ครู​มือ​อาชีพ ซึ่ง​จะ​ต้อง​รอบรู้​ใน​เรื่อง​ต่าง ๆ เกี่ยว​กับ​การ​จัดการ​เรียน​การ​
สอน​อย่าง​มี​คุณภาพ สามารถ​จัดการ​เรียน​การ​สอน​ให้​นักเรียน​คิด​เป็น ทำ​เป็น รวม​ทั้ง​มี​จริยธรรม​และ​
ความ​รับ​ผิด​ชอบ
ชื่อ​หนังสือ: ครู​คณิตศาสตร์​มือ​อาชีพ : เส้น​ทาง​สู่​ความ​สำเร็จ
ชื่อ​ผู้​แต่ง: สถาบัน​ส่ง​เสริม​การ​สอน​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี
ผู้​ผลิต​และ​จำหน่าย: บริษัท​3-Q มีเดีย จำกัด
จำนวน​หน้า/ราคา: 295 หน้า ราคา 228 บาท

เนื้อหา​สำคัญ​ภายใน​เล่ม​ประกอบ​ด้วย แนวคิด​เกี่ยว​กับ​การ​เรียน​
การ​สอน​คณิตศาสตร์ สิ่ง​ที่​ครู​ควร​ตระหนัก มโน​ทัศน์​ที่​คลาด​เคลื่อน​ทาง​
คณิตศาสตร์ สื่อ​การ​เรียน​รู้ ปัญหา​การ​เรียน​การ​สอน​คณิตศาสตร์ การ​ใช้​
คำถาม​เพื่อ​พัฒนาการ​คิด การ​แก้​โจทย์​ปัญหา การ​วัด​และ​ประเมิน​ผล​การ​
เรียน​รู้​คณิตศาสตร์ การ​วิจัย​ใน​ชั้น​เรียน และ​ตัว​แบบ​ทาง​คณิตศาสตร์

ชื่อ​หนังสือ: ครู​วิทยาศาสตร์​มือ​อาชีพ: แนวทาง​สู่​การ​เรียน​การ​สอน​ที่​มี​ประสิทธิผล


ชื่อ​ผู้​แต่ง: สถาบัน​ส่ง​เสริม​การ​สอน​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี
ผู้​ผลิต​และ​จำหน่าย: บริษัท​อินเตอร์​เอ็ด​ดูเคชั่น ซัพพลาย​ส์ จำกัด
จำนวน​หน้า/ราคา: 415 หน้า ราคา 312 บาท

เนือ้ หา​ใน​เล่มป​ ระกอบ​ดว้ ย กระบวนการ​เรียน​รท​ู้ เ​ี่ หมาะ​สม​กบั เ​นือ้ หา​ตาม​มาตรฐาน


​ของ​หลักสูตร ธรรมชาติ​ของ​วิ​ทยา​ศาสตร์และ​เทคโนโลยี การ​พัฒนา​กระบวนการ​คิด
คำถาม​กับ​การ​เรียน​รู้ กลวิธี​การ​สอน เกม​เพื่อ​การ​เรียน​รู้ เทคโนโลยี​สารสนเทศ​และ​
การ​สื่อสาร​กับ​การ​เรียน​การ​สอน​วิทยาศาสตร์ การ​ประเมิน​ผล​การ​เรียน​รู้ การ​จัด​สภาพ​
แวดล้อม​และ​บร​ร​ยา​กา​ศกา​ร​เรียน​รู้ แนว​การ​จัด​กิจกรรม​การ​เรียน​รู้​วิทยาศาสตร์ และ​
แนว​การ​จัด​กิจกรรม​วทิ​ ยา​ศาสตร์บูรณ​า​การ​โดย​ใช้​แหล่ง​เรียน​รู้​ท้อง​ถิ่น
หนังสือ​ทั้ง​สอง​เล่ม​นี้​จะ​ช่วย​เติม​เต็ม​ให้​ครู​คณิตศาสตร์ ครู​วิทยาศาสตร์​ประจำ​การ​ได้​ทบทวน​แนวทาง​ใน​การ​จัด
การ​เรียน​การ​สอน และ​เป็น​คู่มือ​ให้​ผู้​ที่​จะ​มา​เป็น​ครู​คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์​ได้​ใช้​ศึกษา​เป็น​แนวทาง​ใน​การ​จัดการ​เรียน​
การ​สอน​คณิตศาสตร์ว​ ิทยาศาสตร์ใ​ห้​มี​คุณภาพ และ​เป็นไ​ป​ตาม​จุดม​ ุ่งห​ มาย​ของ​หลักสูตร​ยิ่งข​ ึ้น

44 >> นิตยสาร สสวท.


ชื่อ​หนังสือ: การ​วัดผล​ประเมิน​ผล​คณิตศาสตร์
ชื่อ​ผู้​แต่ง: สถาบัน​ส่ง​เสริม​การ​สอน​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี
ผู้​ผลิต​และ​จำหน่าย: บริษัท​ซี​เอ็ด​ยูเคชั่น จำกัด (มหาชน)
จำนวน​หน้า/ราคา: 245 หน้า ราคา 180 บาท

เนื้อหา​ภายใน​เล่ม​ประกอบ​ด้วย แนวทาง​การ​วัดผล​ประเมิน​ผล​
คณิตศาสตร์ หลัก​การ​สร้าง​แบบ​ทดสอบ รูปแ​ บบ​ของ​ข้อสอบ​พร้อม​ตัวอย่าง​
ข้อสอบ​แบบ​ต่าง ๆ การ​ประเมิน​สมรรถภาพ การ​ประเมิน​ตาม​สภาพ​จริง
การ​ประเมินด​ ้าน​คุณลักษณะ การ​วัดผล​ประเมินผ​ ล​ความ​สามารถ​ใน​การ​คิด​
และ​อภิ​ปัญญา

ชื่อ​หนังสือ: การ​วัดผล​ประเมิน​ผล​วิทยาศาสตร์
ชื่อ​ผู้​แต่ง: สถาบัน​ส่ง​เสริม​การ​สอน​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี
ผู้​ผลิต​และ​จำหน่าย: บริษัท​ซี​เอ็ด​ยูเคชั่น จำกัด (มหาชน)
จำนวน​หน้า/ราคา: 184 หน้า ราคา 160 บาท

เนือ้ หา​ภายใน​เล่มป​ ระกอบ​ดว้ ย แนวคิดเ​กีย่ ว​กบั ก​ าร​วดั ผล​ประเมินผ​ ล


​วิทยาศาสตร์ การ​สร้าง​เครื่อง​มือ​วัดผล​ประเมิน​ผล หลัก​การ​สร้าง​ข้อสอบ​
แบบ​ตา่ ง ๆ การ​ประเมินส​ มรรถภาพ การ​ประเมินก​ าร​ทำ​กจิ กรรม​และ​ผล​งาน
การ​ประเมินผ​ ล​โครง​งาน​วิทยาศาสตร์ การ​ประเมิน​ความ​สามารถ​ใน​การ​คิด
อภิ​ปัญญา​และ​จิตวิทยา​ศาสตร์

นอก​เหนือ​จาก​แนวทาง หลัก​การ​ที่​สำคัญ​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​วัดผล​ประเมิน​ผล​การ​เรียน​รู้​คณิตศาสตร์
และ​วิทยาศาสตร์ ที่​ได้​ให้​ไว้​อย่าง​ละเอียด สามารถ​นำ​ไป​ปฏิบัติ​ได้​จริง​แล้ว หนังสือ​วัดผล​ประเมิน​ผล​ทั้ง​สอง
เ​ล่มน​ ย​ี้ งั ไ​ด้ใ​ห้ต​ วั อย่าง​ขอ้ สอบ แบบ​ทดสอบ แบบ​ประเมิน แต่ละ​แบบ แต่ละ​ประเภท​ไว้ม​ ากมาย ซึง่ ง​ า่ ย​ตอ่ ก​ าร​
ที่​ครู​จะ​นำ​ไป​เป็น​แนวทาง​พัฒนา​แบบ​ทดสอบ​ขึ้นม​ า​ใช้​เอง​ให้​มี​ประสิทธิภาพ​สูง​ได้ด​ ้วย
สนใจสั่งซื้อได้ที่สำนัก​บริการ​วิชาการและบริหารทรัพย์สิน สถาบัน​ส่ง​เสริม​การ​สอน​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี
924 ถนนสุขุมวิท เขต​คลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทร. 0-2392-4021 ต่อ 3102 และ 3106
www.facebook.com/ร้าน​หนังสือ สสวท. E-mail: bookstore@ipst.ac.th

เรื่องน่ารู้ กลยุทธ์เพื่อการคิดริเริ่มและแก้ปัญหา
1. แบ่งงานใหญ่ให้เป็นงานชิ้นเล็ก ๆ การบรรลุถึงเป้าหมายที่เล็กย่อมง่ายกว่าเป้าหมายใหญ่
2. เชื่อมั่นในตนเอง ไม่มีใครตีกรอบให้คุณได้
3. รักษาทัศนคติที่ดีอยู่เสมอ ทัศนคติที่ดีคือ 90 เปอร์เซ็นต์ของการแก้ปัญหา
4. เอาชนะปัญหาให้เป็นนิสัย ยิ่งคุณแก้ปัญหาได้มากเท่าไร ก็ยิ่งเชี่ยวชาญมากขึ้นเท่านั้น
5. มองย้อนกลับไป ดูบทเรียนที่ผ่านมาว่าคุณเอาชนะปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างไร และจะปรับปรุงให้ดีขึ้นได้อย่างไร
ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 45
สื่อ​การ​เรียน​รู้ กระตุ้น​ต่อม​คิด
เกมการศึกษา
​>> พร​พิมล ตั้ง​ชัย​สิน/นัก​วิชาการ สาขา​คอมพิวเตอร์ สสวท./E-mail: ptang@ipst.ac.th

เกม​พัฒนา​ความ​คิด
สู่​วิทยาศาสตร์​คอมพิวเตอร์
ห ลาย​คน​คง​ยัง​ไม่​ทราบ​ราย​ละเอียด​เกี่ยว​กับ​วิทยา-
ศาสตร์​คอมพิวเตอร์​ว่า​เป็น​ศาสตร์​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​
อะไร​กัน​แน่ ถ้า​จะ​อธิบาย​อย่าง​ง่าย ๆ ก็​คือ​เกี่ยว
ข้อง​กับ​การ​เขียน​โปรแกรม​ภาษา​คอมพิวเตอร์​นั่นเอง ถ้า​เรา​
ต้องการ​เขียน​โปรแกรม​คอมพิวเตอร์เ​ก่ง ๆ จำเป็นต​ อ้ ง​มท​ี กั ษะ
สาขา​คอมพิวเตอร์ สถาบัน​ส่ง​เสริม​การ​สอน​วิทยา-
ศาสตร์แ​ ละ​เทคโนโลยี ได้พ​ ฒ ั นา​เกม​ฝกึ พ​ นื้ ฐ​ าน​ความ​คดิ อ​ ย่าง​
เป็น​ระบบ​และ​เป็น​ขั้นต​ อน ให้อ​ ยู่​ใน​รูป​ของ​เกม​ดิจิทัล ซึ่ง​จะ​
ทำให้​ดึงดูด​ความ​สนใจ​ของ​ผู้​เรียน​ได้​ดี​ยิ่ง​ขึ้น ควบคู่​ไป​กับ​การ​
พัฒนา​ความ​คิด​ใน​ระหว่าง​การ​เล่น​เกม​อีก​ด้วย ตัวอย่าง​เกม​
ของ​การ​คดิ อ​ ย่าง​เป็นร​ ะบบ​และ​เป็นข​ นั้ ต​ อน​กอ่ น วิทยาศาสตร์​ ดิจิทัล เช่น เกม​พา​ของ​สาม​สิ่งข​ ้าม​ฝั่ง เกม​ตวง​น้ำใ​ส่​กระบอก
คอมพิวเตอร์ หรือ​เรียก​อีก​อย่าง​​ว่า วิทยาศาสตร์สาขา เกม​คน้ หา​เหรียญ​ปลอม เกม​เหล่าน​ ล​ี้ ว้ น​พฒ ั นา​ความ​คดิ อ​ ย่าง​
วิทยาการ​คอมพิวเตอร์ มี​พื้น​ฐาน​มา​จาก​วิชา​คณิตศาสตร์​ เป็น​ระบบ​และ​เป็น​ขั้น​ตอน​ทั้ง​สิ้น ลักษณะ​ของ​เกม​จะ​มี​การ​
ไม่ต​ อ่ เ​นือ่ ง (discrete mathematics) ซึง่ ห​ ลาย​คน​สงสัยว​ า่ กำหนด​เงื่อนไข และ​ให้​ค้นหา​วิธี​ที่​จะ​ทำได้​จำนวน​น้อย​ครั้ง​
การ​ฝึกพ​ ื้น​ฐาน​ของ​การ​เขียน​โปรแกรม​คอมพิวเตอร์​ ทำไม​จึง​ ทีส่ ดุ ซึง่ เ​ป็นพ​ นื้ ฐ​ าน​ของ​การ​เรียน​เรือ่ ง​ขนั้ ต​ อน​วธิ ี (algorithm)
นำ​เกม​คณิตศาสตร์​มา​ให้​เล่น ตอน​นี้​คง​ได้​คำ​ตอบ​แล้ว​สินะ มา​ลอง​คิด​กัน​ดู​ไหม

เกม​พา​ของ​สาม​สิ่งข​ ้าม​ฝั่ง เป็นเ​กม​ที่​เหมาะ​สำหรับ​ผู้​เรียน​ตั้งแต่​ระดับช​ ั้น​ประถม​ศึกษา​ปที​ ี่ 4 ขึ้นไ​ป

แนวคิด: พิจารณา​ว่าสิ่ง​ใด​
ที่​อยู่​ด้วย​กัน​เพียง​ลำพัง​ไม่​ได้
ให้​เหลือ​สิ่ง​ที่​อยู่​ด้วย​กัน​ได้​เอา​ไว้

46 >> นิตยสาร สสวท.


เกม​ตวง​น้ำ​ใส่ก​ ระบอก เป็น​เกม​ที่​เหมาะ​สำหรับ​ผู้​เรียน​ตั้งแต่​ระดับ​ชั้นป​ ระถม​ศึกษา​ปี​ที่ 6 ขึ้นไ​ป
แนวคิด: พิจารณา​จาก​
กระบอก​ตวง 3 หน่วย
หาก​ตวง 2 ครั้ง​จะ​เหลือ​เศษ
1 หน่วย

เกม​ค้นหา​เหรียญ​ปลอม เป็นเ​กม​ที่​เหมาะ​สำหรับ​ผู้​เรียน​ตั้งแต่​ระดับ​
ชั้น​มัธยมศึกษา​ปที​ ี่ 1 ขึ้น​ไป แบ่งเ​ป็น 2 เกม​ย่อย คือ เกม​ค้นหา​เหรียญ​ปลอม​แบบ​ที่​
ทราบ​นำ้ ห​ นักว​ า่ เ​หรียญ​ปลอม​​เบา​กว่าเ​หรียญ​จริง และเกม​คน้ หา​เหรียญ​ปลอม​แบบ
​ที่​ไม่​ทราบ​น้ำ​หนัก​ว่า​เหรียญ​ปลอม​นั้นห​ นัก​หรือ​เบา​กว่า​เหรียญ​จริง ซึ่ง​ทั้ง 2 เกม​นี้
จะ​ใช้​จำนวน​ครั้ง​ใน​การ​ชั่ง​ไม่​เท่า​กัน
แนวคิด: พิจารณา​ว่า​จะ​
แบ่ง​เหรียญ​เป็น​กี่​กอง
กอง​ละ​กี่​เหรียญ
เพื่อ​ให้​ชั่ง​ได้​น้อย​ครั้ง​ที่สุด

ตัวอย่าง​เกม​ที่​นำ​มา​แสดง​นี้ จะ​ช่วย​ฝึก​ทักษะ​ของ​การ​
คิดแ​ ก้ป​ ญ
ั หา ซึง่ ถ​ า้ ห​ าก​ผเ​ู้ ล่นเ​กม​มค​ี วาม​คดิ ท​ ไ​ี่ ม่เ​ป็นร​ ะบบแล้ว เกม​น่า​คิด ผิด​หรือ​ถูก ปลูก​ปัญญา
จะทำให้ต้องใช้จำนวนครั้งมากกว่าที่ควรเป็น​ หากผู้เล่นได้ เกม​ค้นหา พัฒนา ขั้น​ตอน​คิด
ฝึกฝนจนชำนาญ จะ​ทำให้​มีความคิดที่เป็นระบบ มีขั้นตอน เกม​ฝึกฝน ค้น​วิธี มี​ขัด​ติด
ซึ่งเป็นพื้นฐานที่สำคัญของการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เกม​พิชิต ปริศนา น่า​ภาค​ภูมิ
ที่ดี นอกจากนี้ ผู้เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ควร​จะ​ต้อง​มี​
ตรรกะ (logic) ที่​ดี ​มี​วิธกี​ าร​เขียน​โปรแกรมได้​สั้น​ที่สุด โดย​ใช้​
ทรัพยากร​น้อย​ที่สุดให้​สามารถ​แก้​ปัญหา​ได้​เร็ว​ที่สุด
ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 47
นานาสาระ
หลักสูตร
​>> ดร.พรชัย อินทร์ฉาย/หัวหน้าสาขา พสวท. และ สควค. สสวท./E-mail: pinch@ipst.ac.th
คงนิตา เคยนิยม/นักวิชาการ สาขา พสวท. และ สควค. สสวท./E-mail: kkoei@ipst.ac.th

เปิด​ตัว​หลักสูตร
ห​ ้องเรียนพิเศษ​วิทยาศาสตร์
ระดับ​มัธยมศึกษา​ตอน​ต้น
ตาม​แนวทาง สสวท. และ​สอ​วน.
สถาบัน​ส่ง​เสริม​การ​สอน​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี (สสวท.) ร่วม​กับ​มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนา
มาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา (สอ​วน.) จัด​ทำ​หลักสูตร​สำหรับ​พัฒนา​และ​ส่ง​เสริม​ผู้​มี​ความ​สามารถ​พิเศษ​ทาง​วิทยาศาสตร์​
และ​คณิตศาสตร์ ระดับ​มัธยมศึกษา​ตอน​ต้น​ใน​รูป​แบบ​ห้องเรียน​พิเศษ​วิทยาศาสตร์ (Enrichment Talented Science
Classroom) เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเยาวชนอย่างเต็มศักยภาพ

หลักสูตรนี้เน้น​การ​จัดการ​ศึกษา​แบบ​เพิ่มพูน​ประสบ- สำคัญ คือ การ​คิดแก้​ปัญหา (problem solving thinking)


การณ์อย่าง​เต็ม​ตาม​ศักยภาพ​เป็น​ราย​บุคคล โดย​มี​รูป​แบบ​ การ​คิด​อย่างมีวิจารณญาณ (critical thinking) การ​คิด
โครงสร้าง​หลักสูตรประกอบ​ดว้ ย​สาระ​การ​เรียน​รู้ 3 กลุม่ และ สร้างสรรค์ (creative thinking) เน้นใ​ห้​มี​สมรรถนะ​ที่​สำคัญ​
กิจกรรม 1 กลุ่ม ดังนี้ ของ​ผู้​เรียน ตรง​ตาม​หลักสูตร​แกน​กลาง​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้น​ฐาน​
1. กลุ่มส​ าระ​การ​เรียน​รู้​รายวิชา​พื้น​ฐาน และ​รายวิชา​ พุทธศักราช 2551 ทีก​่ ำหนด 5 สมรรถนะ คือ ความ​สามารถ​ใน​
เพิ่ ม ​เ ติ ม ​วิ ท ยาศาสตร์ คณิ ต ศาสตร์ การ​ง าน​อ าชี พ ​แ ละ​ การ​สื่อสาร ความ​สามารถ​ใน​การ​คิด ความ​สามารถ​ใน​การแก้​
เทคโนโลยี กำหนด​จำนวน​หน่วยกิต กลุม่ ส​ าระ​การ​เรียน​รร​ู้ าย ปัญหา ความ​สามารถ​ใน​การ​ใช้​ทักษะ​ชีวิต และ​ความ​สามารถ​
วิชา​พื้น​ฐาน ตาม​หลักสูตร​แกน​กลาง​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้น​ฐาน​ ใน​การ​ใช้​เทคโนโลยี จึง​ควร​จัด​สาระ​การ​เรียน​รู้​รายวิชา​เพิ่ม​
พุทธศักราช 2551 ระดับ​มัธยมศึกษา​ตอน​ต้น ของ​กระทรวง​ เติม​ให้​กับ​นักเรียน ตาม​ข้อ​กำหนด​ปรัชญา​ห้องเรียน​พิเศษ​
ศึกษาธิการ โดย​จัด​รายวิชา​พื้น​ฐาน และ​รายวิชา​เพิ่ม​เติม​ และ​มาตรฐาน​สากล
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ การ​งาน​อาชีพและ​เทคโนโลยี ตาม​ 3. กลุ่ม​สาระ​การ​เรียน​รู้​รายวิชา​เพิ่ม​เติม​เรียน​ล่วง​หน้า
หนังสือเ​รียน​และ​คมู่ อื ค​ รูระดับม​ ธั ยมศึกษา​ตอน​ตน้ ของ สสวท. (Advance Placement Program: AP Program) เป็นร​ ายวิชา​
2. กลุ่ม​สาระ​การ​เรียน​รู้​รายวิชา​เพิ่มพูน​ประสบการณ์ เพิม่ เ​ติมพ​ เิ ศษ ทีจ​่ ดั อ​ ยูใ​่ น​กลุม่ ส​ าระ​การ​เรียน​รว​ู้ ทิ ยาศาสตร์และ
จัด​ตาม​ความ​เหมาะ​สม และจุด​เน้น​ตาม​ข้อ​กำหนด​ปรัชญา​ กลุม่ ส​ าระ​การ​เรียน​รค​ู้ ณิตศาสตร์ ตาม​แนวทาง​ของ สสวท. และ
ห้องเรียน​พเิ ศษ​และ​มาตรฐาน​สากล ตาม​แนวทางของ สสวท. สอ​วน. ทีจ่​ ัดเ​พิ่ม​เติม เพื่อ​เพิ่มพูน​ประสบการณ์ และ​เติมเต็ม
และ สอ​วน. โดย​โรงเรียน​จดั เ​สริมใ​น​รายวิชา​พนื้ ฐ​ าน รายวิชา​ ​ศักยภาพ​ของ​ผู้​เรียน​เป็นร​ าย​บุคคล
เพิม่ เ​ติม หรือจ​ ดั เ​ป็นร​ ายวิชา​เพิม่ เ​ติมโ​ดย​กำหนด​หน่วยกิตตาม​ 4. กลุม่ ก​ จิ กรรม​พฒ ั นา​ผเ​ู้ รียน จัดต​ าม​ขอ้ ก​ ำหนด​ปรัชญา​
ความ​เหมาะ​สม​ของ​แต่ละ​โรงเรียน โดย​มุ่ง​เน้น​ให้​นักเรียน​ได้​ ห้องเรียน​พเิ ศษ​และ​มาตรฐาน​สากล โดย​มก​ี จิ กรรม​การ​ฝกึ งาน
เพิ่มพูน​ความ​รู้​พื้น​ฐาน​ทาง​วิทยาศาสตร์ เน้นก​ ระบวนการ​คิด กิจกรรม​ค่าย​วิชาการ การ​ฟัง​บรรยาย​พิเศษ การ​ศึกษา​ดู​งาน
​เชิง​ลึก ฝึก​ทักษะ​การ​คิด​ขั้น​สูง เน้น​พัฒนา​กระบวนการ​คิด​ที่​ และ​อ่าน​หนังสือเ​พิ่ม​เติม ไม่​ต่ำ​กว่า 150 ชั่วโมง/ช่วง​ชั้น
48 >> นิตยสาร สสวท.
สำหรับ​การ​จัด​สาระ​การ​เรียน​รู้​และ​หน่วยกิต​ของ​สาระ​การ​เรียน​รู้​รายวิชา​พื้น​ฐาน​และเพิ่ม​เติม ให้​เป็น​ไป​ตาม​หลักสูตร​
แกน​กลาง​การ​ศกึ ษา​ขนั้ พ​ นื้ ฐ​ าน​พทุ ธศักราช 2551 ระดับม​ ธั ยมศึกษา​ตอน​ตน้ ของ​กระทรวง​ศกึ ษาธิการ โดย​เพิม่ ว​ ชิ า​ภาษา​องั กฤษ​
ให้เ​ข้มข​ น้ ม​ าก​ขนึ้ และ​จดั ส​ อน​รายวิชา​เพิม่ เ​ติม เ​น้นด​ า้ น​วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร แ​์ ละ​เทคโนโลยีจาก​รายวิชา​เพิม่ พูนป​ ระสบการณ์
และ/หรือรายวิชา​เพิ่ม​เติม​พิเศษ (Advance Placement Program: AP Program)
ตัวอย่างโครงสร้างหลักสูตร 3 ชั้นปี
ชั้น ม.1 ม.2 ม.3
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั่วโมง/ปี ชั่วโมง/ปี ชั่วโมง/ปี
โครงสร้าง พื้นฐาน เพิ่มเติม พื้นฐาน เพิ่มเติม พื้นฐาน เพิ่มเติม
1. ภาษาไทย 120 - 120 - 120 -
• ภาษา​ไทย​เพื่อก​ าร​เขียน​เชิง​วิชาการ - - - 40 - -
2. คณิตศาสตร์
• คณิตศาสตร์ สสวท. 120 80 120 80 120 80
• คณิตศาสตร์เ​รียน​ล่วง​หน้า* - - - - - (80)
3. วิทยาศาสตร์ 
• วิทยาศาสตร์ สสวท. 120 80 120 80 120 80
• วิทยาศาสตร์เ​รียน​ล่วงหน้า 1* - - - - - (40)
• วิทยาศาสตร์เ​รียน​ล่วงหน้า 2* - - - - - (80)
4. สังคมศึกษา ศาสนา ​และ​วัฒนธรรม 120 - 120 - 120 -
5. สุขศึกษา​และ​พลศึกษา 80 - 80 - 80 -
6. ศิลปะ 80 80 - 80 -
7. การ​งาน​อาชีพ​และ​เทคโนโลยี 80 - 80 - 80 -
• การ​โปรแกรม​เบื้อง​ต้น - 40 - - - -
• IPST - MicroBox - - - 40 - -
• การ​ออกแบบ​และ​เทคโนโลยี - - - - - 40
8. ภาษา​ต่าง​ประเทศ 120 - 120 - 120 -
• ภาษา​อังกฤษ​เพื่อก​ าร​อ่าน​และ​การ​เขียน - 40 - - - -
• ภาษา​อังกฤษ​เพื่อก​ าร​ฟัง​และ​พูด - 40 - - - -
• ภาษา​อังกฤษ​สำหรับว​ ิทยาศาสตร์ - - - 40 - -
คณิตศาสตร์
• ภาษา​อังกฤษ​เพื่อก​ าร​สื่อสาร (พูด-เขียน) - - - 40 - -
• ภาษา​อังกฤษ​เพื่อก​ ารนำ​เสนอ - - - - - 40
รวมชั่วโมงตามกลุ่มสาระ 840 280 840 320 840 240
กิจกรรม​พัฒนา​ผู้​เรียน 120 120 120
• กิจกรรม​แนะแนว/กิจกรรม​ชุมนุม
• กิจกรรม​เพื่อส​ ังคม สาธารณประโยชน์
• กิจกรรม​พิเศษ
รวม​ชั่วโมง/ปี 1,240 1,280 1,200
หมายเหตุ สาระ​การ​เรียน​รู้​พื้น​ฐาน ชั้น ม.1 - ม.3 จัดต​ าม​หลักสูตร​ขั้น​พื้นฐ​ าน​กำหนด
*เป็น​รายวิชา​ทจี่​ ัด​ให้​เป็น​ราย​กลุ่มหรือร​ าย​บุคคล​ตาม​ศักยภาพ
คัดจาก​โครงสร้าง​หลักสูตร​แบบ​ห้องเรียน​พิเศษ​วิทยาศาสตร์ ระดับม​ ัธยมศึกษา​ตอน​ต้น ตาม​แนวทาง สสวท.และ สอ​วน.
หาก​สถาน​ศึกษา​ใด​สนใจ​เข้า​ร่วม​โครงการ โปรดติดตามข้อมูลเพิ่มเติมที่ www.ipst.ac.th/scienceroom/ หรืือสมัคร​ได้ที่ สาขาพัฒนาและส่งเสริม
ผู้มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และส่งเสริมการผลิตครูวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ สสวท.
ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 49
¹Ò¹ÒÊÒÃÐ
¡Ô¨¡ÃÃÁàÊÃÔÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ
>> มณีมณฑ์ ใจชื่น/นักวิชาการ สำนักบริหารเครือข่ายและพัฒนาวิชาชีพครู สสวท./ E-mail: mjaic@ipst.ac.th

ครูและเยาวชน
ชายแดนภาคใต
“ตะลุยคายบูรณาการ
วิทยคณิตเมืองกรุง”
เมื่อช่วงต้นเดือนกรกฎาคม 2555 ที่ผ่านมา สถาบันส่งเสริมการสอน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้จัดกิจกรรมเสริมการเรียนรู้สำหรับครู
และนักเรียนจากโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในเขตจังหวัดภาคใต้ มีชื่อโครงการว่า “ค่ายบูรณาการวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ สำหรับครูและนักเรียนของโครงการพัฒนาครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ โรงเรียนเอกชนสอนศาสนา
อิสลามที่เปดสอนสายสามัญ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ในเขตจังหวัดชายแดนภาคใต้”
ค่ายนีม้ วัี ตถุประสงค์เพือ่ เพิม่ พูนศักยภาพของครูผูสอน
้ กิจกรรมในค่ายบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ฯ
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ จัดผสมผสานกันได้อย่างหลากหลาย สิ่งมุ่งเน้นที่สำคัญคือ
การจัดกิจกรรมวิชาการทีหลาก ่ หลาย สามารถคิดและพัฒนา กิจกรรม วิชาการ ที่ เน้น กระบวนการ คิด โดย เฉพาะ การ
กิจกรรมการเรียนรูวิ้ ทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เพือ่ พัฒนาการ แก้ปญหาด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
เรียนรูของ้ นักเรียน และยังเป็นการส่งเสริมให้ครูและนักเรียน ส่ง เสริม ความ คิด ริเริ่ม สร้างสรรค์และ สร้าง ความ รู้ ด้วย
ได้เปิดประสบการณ์การเรียนรู้นอกห้องเรียนในแหล่งเรียนรู้ ตนเองจากการร่วมเรียนรู้ในกลุ่ม การลงมือปฏิบัติ ซึ่งเป็น
ทีแตก
่ ต่างจากแหล่งเรียนรูใน ้ ท้องถิน่ ซึง่ จะช่วยกระตุน้ ให้เกิด การเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการที่ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด
การ พัฒนา กระบวนการ เรียน รู้ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ อีกทั้งได้ฝกทักษะทางสังคมในการทำงานร่วมกัน การอยู่
อย่างมีประสิทธิภาพ ร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ สามารถเป็นผู้นำและเป็นสมาชิก
ผู้ร่วมกิจกรรมเป็นครูและนักเรียนจากโรงเรียนที่เป็น ที่ดีของกลุ่ม มีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม ซึ่งคุณสมบัติ
ศูนย์การอบรมครูของ สสวท. จำนวน 60 ศูนย์ โดย 1 ศูนย์จะมี เหล่า นี้ เป็น เป้า หมาย ของ การ เรียน การ สอน วิทยาศาสตร์
ครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ 1 คน และครูผู้สอนคณิตศาสตร์ 1 คน คณิตศาสตร์ ที่สอดคล้องกับแนวปฏิรูปการเรียนรู้ซึ่งเยาวชน
และนักเรียนที่ทางโรงเรียนคัดเลือกอีก 2 คน รวมเป็น 4 คน ควรจะได้รับการพัฒนาและส่งเสริมในด้านนี้
ต่อศูนย์ ดังนั้นจะมีครูและนักเรียนร่วมโครงการนี้ทั้งหมด ครูและนักเรียนทีร่่ วมกิจกรรมทุกคนต่างให้ความสนใจ
240 คน สสวท. จึงได้แบ่งการจัดกิจกรรมเป็น 2 รุ่น คือ รุ่น และตื่นเต้นกับกิจกรรมที่มีความหลากหลาย ทันสมัย ได้มี
ที่ 1 วันที่ 30 มิถุนายน-2 กรกฎาคม 2555 สำหรับครูและ โอกาสเข้าชมและศึกษาหาความรู้ในแหล่งเรียนรู้ที่มีชื่อเสียง
นักเรียนจากจังหวัดสงขลา ปัตตานี และยะลา จำนวน 120 คน ด้าน วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี ได้แก่ กิจกรรม สืบ เสาะ
รุน่ ที่ 2 วันที่ 7-9 กรกฎาคม 2555 สำหรับครูและนักเรียนจาก หาความรู้ ณ พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้งมาดามทุสโซ เรียนรู้โลกและ
จังหวัดพัทลุง นราธิวาส และสตูล จำนวน 120 คน อวกาศ ณ ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ ค้นหาความหลากหลาย
50 >> นิตยสาร สสวท.
ทาง​ชีวภาพ​ของ​สิ่ง​มี​ชีวิตใ​น​ท้อง​ทะเล ณ สยาม ​โอ​เชี่ยน ​เวิร์ล
เป็นต้น
นอกจาก​นี้ สสวท. ยัง​ได้​เสริม​เติม​เต็ม​ความ​รู้​เกี่ยว​กับ​
การ​จัด​ทำ​แผนการ​จัดการ​เรียน​รู้​วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์​
ให้แ​ ก่ค​ รูผ​ ส​ู้ อน​เพือ่ ใ​ห้ส​ ามารถ​นำ​ไป​ปรับใ​ช้จ​ ดั ก​ จิ กรรม​ให้เ​ข้า​
กับ​บริบท​แหล่ง​เรียน​รู้​ใน​ท้อง​ถิ่น อีก​ทั้ง​ได้​จัด​เวที​ให้​นักเรียน​
ได้​แสดง​ความ​สามารถ​ใน​การนำ​เสนอ​ผล​งาน​ของ​การ​มา​ร่วม​
กิจกรรม​ค่าย​บูรณ​าก​ ารฯ ใน​รูป​แบบ​การ​ทำ​กิจกรรม​เป็นก​ลุ่ม
การ​ใช้​ความ​คิด​สร้างสรรค์ การ​ใช้​ทักษะ​กระบวนการทาง​
วิทยาศาสตร์ เพื่อใ​ห้​นักเรียน​สามารถ​คิดเ​ป็น ทำ​เป็น และ​แก้​
ปัญหา​เป็นใ​น​สถานการณ์ต​ า่ ง ๆ ทีอ​่ าจ​เกิดข​ นึ้ ใ​น​ชวี ติ ป​ ระจำ​วนั
อาจ​กล่าว​ได้ว​ า่ ค่าย​บรู ณ​าก​ ารฯ นีเ้ ป็นก​ จิ กรรม​ทเ​ี่ สริม​
การ​เรียน​รอ​ู้ กี ร​ ปู แ​ บบ​หนึง่ ท​ ม​ี่ ค​ี ณ
ุ ค่าอ​ ย่าง​ยงิ่ ทีจ​่ ดั ใ​ห้ผ​ เ​ู้ รียน​ได้​
เรียน​รู้​ขยาย​ขอบเขต​จาก​การ​ทำ​กิจกรรม​ใน​ห้องเรียน ซึ่งส​ ่วน​
ใหญ่​จะ​จัด​ค่าย​ใน​แหล่ง​เรียน​รู้​ต่าง ๆ ใน​ท้อง​ถิ่น แต่​โอกาส​นี้
สสวท. ได้​ริเริ่ม​จัด​ค่าย​ใน​แหล่ง​เรียน​รู้​ที่​แตก​ต่าง​อย่าง​สิ้น​เชิง
จึง​ทำให้​ทั้ง​ครู​และ​นักเรียนได้​มี​โอกาส​สัมผัส สังเกต สำรวจ
​สิ่ง​แวดล้อม​ที่​แตก​ต่าง​ไป​จาก​ชีวิต​ประจำ​วัน
เด็กช​ าย​นสั ร​ ี แวดือ​ เระ นักเรียน​ชนั้ ป​ ระถม​ศกึ ษา​ปท​ี ี่ 4
โรงเรียน​จงรักส​ ตั ย์ว​ ทิ ยา จังหวัดปัตตานี กล่าว​วา่ “ผม​ตนื่ เ​ต้น​ จริ ง ๆ มากผม​ช อบ​หุ่ น ​ขี้ ​ผึ้ ง ​ทุ ก ​ตั ว ​เ ลย ผม​ไ ด้ ​ไ ป​ดู ​ด าว​ที่ ​
มาก​ที่​ได้​นั่ง​รถไฟฟ้า​ครั้ง​แรก​ใน​ชีวิต กลัว​ว่า​จะ​เสียบ​บัตร​ ท้องฟ้า​จำลอง ถ้า​ไม่​ได้​มา​เข้า​ค่าย​ครั้ง​นี้ ก็​คงจะ​ไม่​ได้​เห็น
รถไฟฟ้าผ​ ดิ และ​โดน​ประตูห​ นีบ ได้ม​ า​กรุงเทพ​ฯ ครัง้ น​ ส​ี้ นุกม​ าก เพราะ​ทบ​ี่ า้ น​และ​โรงเรียน​ของ​ผม​ไม่มแ​ี บบ​นี้ ขอบคุณ สสวท.
ได้ ​ขึ้ น ​ร ถไฟฟ้ า ​ค น​แ น่ น ​ม าก ได้ ​ไ ป​ดู ​หุ่ น ​ขี้ ​ผึ้ ง ​ที่ ​เ หมื อ น​ค น และ​พี่ ๆ ที่​ดูแล​ผม​อย่าง​ดี ปีห​ น้า​อยาก​ให้จ​ ัด​อีก”
ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 51
ของ​พวก​เรา​ดว้ ย สิง่ ท​ พ​ี่ วก​เรา​ได้ร​ บั นัน้ เ​กินค​ วาม​คาด​หมายได้​
เห็นถ​ งึ ค​ วาม​ตงั้ ใจ​จริงข​ อง สสวท. และ​สำนักบริหารเครือข่าย​
และพัฒนาวิชาชีพครูที่​ต้องการ​พัฒนาการ​ศึกษา​โดย​เฉพาะ​
ด้าน​วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ผม​ใน​ฐานะ​ผู้​บริหาร​โรงเรียน​
นาง​สาว​รอฟี​อ๊ะ เจ๊​ะ​สัน ครู​โรง​เรียน​บุ​ส​ตา​นุด​ดีน รู้สึก​ยินดี และ​เต็มใจ​ให้​ความ​ร่วม​มือ​กับ สสวท. ใน​การ​จัด​
จังหวัดสงขลา กล่าว​วา่ “โครงการ​นเ​ี้ ป็นโ​ครงการ​ทด​ี่ ม​ี าก เป็น กิจกรรม​ที่​จะ​เป็น​ประโยชน์​ต่อ​ครู​และ​นักเรียน”
การ​เปิด​โลก​ทัศน์​ที่​กว้าง​ขึ้น​ให้​ครู​และ​นักเรียน​ได้​มีประสบ- นาง​สา​วอ​ดี​ละห์ สา​แมง ครู​โรงเรียน​ดา​รุ​ส​สา​ลาม
การณ์​เรียน​รู้​นอก​ห้อง​เรียน​ใหม่ ๆ ส่วน​ตัว​ดิฉันป​ ระทับ​ใจ​การ จังหวัดน​ ราธิวาส กล่าว​ว่า “เคย​ได้เ​ข้าอ​ บรม​กับ​สสวท. ตั้งแต่​
​ทำงาน​ของ​เจ้า​หน้าที่ สสวท. มาก  กิจกรรม​ที่ สสวท. จัด​ให้มี​ ปี 2550 รู้สึก​ชื่นชม​และ​ประทับ​ใจ สสวท. ที่​โรงเรียน​ก็​ใช้​
ความ​นา่ ส​ นใจ​มาก ตืน่ ต​ า รูส้ กึ ส​ นุกก​ บั ก​ าร​ไป​แหล่งเ​รียน​รต​ู้ า่ งๆ หนังสือ​เรียน​และ​คู่มือ​ครู​ทั้ง​วิทยาศาสตร์ และ​คณิตศาสตร์
อยาก​จะ​ให้จ​ ดั ก​ จิ กรรมหลาย ๆ วัน เพราะ​มส​ี งิ่ ท​ อ​ี่ ยาก​จะศึกษา​ เมือ่ ไ​ด้ท​ ราบ​วา่ สสวท. มีโ​ครงการ​สำหรับโรงเรียนเอกชน​สอน​
เรียน​รเ​ู้ พิม่ เ​ติมอ​ กี ม​ าก ตัวน​ กั เรียน​กม​็ ค​ี วาม​กระตือรือร้น อยาก ศาสนา​อิสลาม​ และ​โรงเรียน​ของ​ตน​ก็​เป็นศูนย์​การ​อบรมครู​
จะ​ให้ค​ รูพ​ า​ไป​ทำ​กจิ กรรม​ทโ​ี่ รงเรียน​ดว้ ย หาก​แหล่งเ​รียน​รใ​ู้ น​ ของ สสวท. ก็​รู้สึก​ดี​ใจ​มาก ๆ เพราะ​จะ​ได้​มีโอกาส​พัฒนา​
ท้อง​ถิ่น​มี​สถาน​ที่ สื่อ และ​กิจกรรม​การ​เรียน​รู้​วิทยาศาสตร์ ความ​รู้​ของ​ตนเอง ได้​เข้า​รับ​การ​อบรม​ที่ สสวท.จัด​ขึ้น​ทุก​ปี
คณิตศาสตร์ ทีท​่ นั ส​ มัยแ​ บบ​ใน​กรุงเทพฯ คงจะ​เป็นการ​กระตุน้ การ​มา​เข้าค​ ่าย​ใน​ครั้งน​ ี้ ดิฉันใ​น​ฐานะ​ตัวแทน​ครูแ​ ละ​นักเรียน​
ให้​นักเรียน​ใน​ท้อง​ถิ่น​ห่าง​ไกล โดย​เฉพาะ​จังหวัด​ชายแดน​ใต้ จังหวัด​นราธิวาส ขอ​ขอบคุณ สสวท. ที่​ให้​โอกาส​พวก​เรา​
รัก​ที่​จะ​เรียน​รู้​วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ มาก​ขึ้น” ได้​มา​เรียน​รู้​วิทยา​การ​ใหม่ ๆ ได้​พบ​ได้​เห็น​สิ่ง​ใหม่ ๆ ที่​ได้​ทั้ง​
นาย​นศั ร​ นุ หลำ​สะ ผูร้ บั ใ​บ​อนุญาตโรงเรียน​ดรุณศาสตร์​ สาระ​และ​ความ​บันเทิง กิจกรรม​วิชาการ​ที่ สสวท. จัด​ให้​โดย​
สห​วิทยา​มูลนิธิ จังหวัด​พัทลุง กล่าว​ว่า “โรงเรียน​ใน​พื้นที่​ เฉพาะ​การ​เขียน​แผนการ​จัดการ​เรียน​รู้ การ​เขียน​โครงการ​
จังหวัดภ​ าค​ใต้ต​ อน​ลา่ ง​ไม่ค​ อ่ ย​จะ​ได้ร​ บั ก​ าร​ดแู ล​มาก​นกั เพราะ​ ค่าย​บูรณาการ การ​จัด​กิจกรรม​สันทนาการ​สำหรับ​นักเรียน
ส่วน​ใหญ่​ทุก​ฝ่าย​จะ​มอง​ปัญหา​หลัก​ที่ 3 จังหวัด​ชายแดน​ภาค​ เมื่อ​กลับ​ถึง​โรงเรียน​ก็​จะ​นำ​ไป​ปรับ​ใช้​ที่​โรงเรียน​และ​ถ่ายทอด​
ใต้ ผม​ใน​ฐานะ​ผป​ู้ ระสาน​งาน​ของ​โรงเรียน​เอกชน​สอน​ศาสนา​ ให้​กับ​เพื่อน​ครู​ด้วย อยาก​ให้ สสวท. จัดโ​ครงการ​ดี ๆ อย่าง​นี้​
อิสลาม​ของ​จงั หวัดพ​ ทั ลุง ขอ​ขอบคุณ สสวท. เป็นอ​ ย่าง​สงู ทีไ​่ ด้​ บ่อย ๆ เพราะ​อยาก​ให้​เพื่อน​ครู​ใน​โรงเรียนและ​โรงเรียน​ใกล้​
หยิบย​ ื่น​โอกาส​ให้​เรา ใน​ปี 2555 โรงเรียน​เอกชน​สอน​ศาสนา​ เคียง​ได้​มา​ร่วม​กิจกรรม​ด้วย”
อิสลาม จังหวัดพัทลุง 10 โรงเรียน ได้ร​ บั เ​ป็นศ​ นู ย์ก​ าร​อบรม​ครู สสวท. คาด​หวังว​ า่ ค​ รูแ​ ละ​นกั เรียน​ทมี่ า​รว่ ม​กจิ กรรม​
ของ สสวท. และ​ได้​ส่ง​ครู​เข้า​อบรม​กับ สสวท. ใน​ช่วง​เดือน จะ​ได้​รับ​ความ​รู้​และ​ประสบการณ์​ใหม่ ๆ ไป​ปรับ​ใช้​ใน​ชีวิต​
​เมษายนที่​ผ่าน​มา นอกจาก​นี้ สสวท. ยัง​ให้การ​ดูแล​สนับสนุน ประจำ​วัน โดย​เฉพาะ​ครู​ผู้​สอน​จะ​ได้​มี​โอกาส​เลือก​และ​นำ​
​สื่อ อุปกรณ์ หนังสือ​เรียน คู่มือ​ครู ทำให้​โรงเรียน​ของ​เรา​มี​ กิจกรรม​ไป​ใช้​ใน​การ​จัดการ​เรียน​การ​สอน​วิทยาศาสตร์
ความ​พร้อม​และ​มั่นใจ​ว่า​จะ​สามารถ​จัดการ​เรียน​การ​สอน คณิตศาสตร์อย่าง​เหมาะ​สม​กบั ก​ ลุม่ น​ กั เรียน สภาพ​แวดล้อม
ว​ ทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ให้เ​ป็นไ​ป​ตาม​มาตรฐาน​ของ สสวท. และ​เป็นไ​ป​ตาม​วตั ถุประสงค์ข​ อง​การ​จดั การ​เรียน​รู้ เป็นการ​
ได้ และ สสวท. ยังไ​ด้ร​ ว่ ม​มอื ก​ บั ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัด วาง​พื้น​ฐาน​ให้​เยาวชน​มคี​ วาม​สนใจ​ใฝ่​รู้​ใน​การ​เรียน​วิทยา-
ชายแดนใต้ (ศอ.บต.) และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการ ศาสตร์ คณิตศาสตร์ อัน​จะ​นำ​ไป​สู่​การ​ยก​ระดับ​ผล​สัมฤทธิ์​
ศึกษาเอกชน (สช.) ลง​นาม MOU เพือ่ ร​ ว่ ม​กนั พ​ ฒ ั นา​โรงเรียน​ ทางการ​เรียน​ให้​สูง​ขึ้น​ใน​อนาคต
52 >> นิตยสาร สสวท.
นานาสาระ
บุคคลสำคัญ
​>> ศ. ดร.สุทัศน์ ยกส้าน/คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

เลอง ฟูโกล์
(León Foucault)
บุคคล​แรก​ที่​สาธิต​ให้เ​ห็น​ว่า
​โลก​หมุน​รอบ​ตัว​เอง
ใคร​คอื ค​ น​ทส​ี่ าธิตใ​ห้ช​ าวโลก​เห็นเ​ป็นค​ รัง้ แ​ รก​วา่ โ​ลก​หมุนร​ อบ​ตวั เ​อง อีกท​ งั้ ย​ งั ไ​ด้เ​สนอ​หลักฐ​ าน​ทแ​ี่ สดง​วา่
แสง​มิได้​มี​ลักษณะ​เป็น​อนุภาค นอกจาก​นี้​ยัง​ได้​ประดิษฐ์​ไจ​โร​สโกป (gyroscope) สร้าง​กล้องโทรทรรศน์​
ประเภทสะท้อน​แสง และ​วัด​ระยะ​ทาง​จาก​โลก​ถึง​ดวง​อาทิตย์​อีกด้วย
ค้นพบความลับของการแกว่ง มี​พรสวรรค์​ด้าน​การ​ประดิษฐ์
ใน​อดีตเ​มือ่ 160 ปีก​ อ่ นใคร ๆ ก็ร​ ว​ู้ า่ โลก​หมุนร​ อบ​ตวั เ​อง ชอง-แบร์นาร์-เลอง ฟูโกล์ (Jean – Bernard - León
แต่ไ​ม่มใ​ี คร​มห​ี ลักฐ​ าน​ทท​ี่ ำให้ท​ กุ ค​ น​มนั่ ใจ​ใน​เรือ่ ง​นี้ แม้วา่ นิวต​ นั Foucault) เกิดท​ ก​ี่ รุงป​ ารีส ประเทศ​ฝรัง่ เศส เมือ่ ป​ ี ค.ศ. 1819
กา​ลเ​ิ ลโอ และ​นกั ฟ​ สิ กิ ส์อ​ นื่ ๆ จะ​รว​ู้ า่ การ​หมุนข​ อง​โลก​มอ​ี ทิ ธิพล​ ใน​วัย​เด็กฟูโกล์ใช้​ชีวิต​อยู่​บ้าน​นอก แล้วไ​ด้​อพยพ​มา​ใช้​ชีวิตใ​น​
ต่อ​ลักษณะ​การ​เคลื่อนที่​ของ​วัตถุ​ที่​กำลัง​เคลื่อนที่ แต่​ไม่มี​ ปารีส​เมือง​หลวง​เมื่อ​เติบใ​หญ่ และ​อยู่​จน​กระทั่ง​เสีย​ชีวิตใ​น​ปี
ใคร​สามารถ​ออกแบบ​การ​ทดลอง​เพื่อ​พิสูจน์​ความ​จริง​นี้​ได้ ค.ศ. 1868 เมื่อ​อายุ 49 ปี
ทั้ง ๆ ที่​ได้​พยายาม​กัน​มาก เช่น ปล่อย​ตุ้ม​น้ำ​หนัก​จาก​ที่​สูง บิดา​ของ​ฟู​โกล์​มี​อาชีพ​ขาย​หนังสือ และ​เป็น​เจ้าของ​
ยิง​ปืน​ใหญ่​ดิ่ง​ขึ้น​ฟ้า แล้ว​ดู​ตำแหน่ง​ที่​ลูก​ตุ้ม​ตกหรือ​กระสุน​ โรง​พิมพ์ เนื่องจาก​ตระกูล​นี้​มี​ฐานะ​ดี ดัง​นั้น​บิดา​จึง​สามารถ
ปืนใ​หญ่ก​ ระทบ​พนื้ ว​ า่ การ​หมุนข​ อง​โลก​ทำให้ว​ ตั ถุต​ ก​หา่ ง​จาก​ ​ส่งเ​ขา​ไป​เรียน​ที่​โรงเรียน College Stanislas ซึ่ง​เป็น​โรงเรียน​
ตำแหน่งท​ ค​ี่ ำนวณ​เพียง​ใด แต่ไ​ม่เ​ห็นค​ า่ เ​บีย่ ง​เบน​เลย (ใน​ความ สำหรับ​คนมีฐานะและ​ชนชั้น​สูง​ได้ แต่​ฟู​โกล์​เรียน​หนังสือ
​เป็น​จริง​มี​ค่า​เบี่ยง​เบน​เกิด​ขึ้น​ทุก​ครั้ง แต่​นัก​ทดลอง​วัด​ไม่​ได้) ไ​ม่เ​ก่ง ดังน​ นั้ บ​ ดิ า​จงึ ต​ อ้ งหา​ครูม​ า​สอน​พเิ ศษ​ให้ แม้ส​ มอง​จะ​ไม่​
จน​กระทัง่ ป​ ี ค.ศ. 1851 (ตรง​กบั ร​ ชั ส​ มัยพ​ ระบาทสมเด็จ ปราด​เปรือ่ ง แต่เ​ขา​มพ​ี รสวรรค์ใ​น​การ​ประดิษฐ์ เช่น ออกแบบ​
พระจอมเกล้า​เจ้า​อยู่​หัว) นัก​ฟิสิกส์​หนุ่ม​ชาว​ฝรั่งเศส​คน​หนึ่ง สร้างเรือ​จำลอง​และ​เครื่อง​ส่ง​โทรเลข รวม​ถึง​อุปกรณ์​การ​
ชือ่ เลอ​ง ฟูโ​กล์ (León Foucault) ก็ได้ท​ ำให้ท​ กุ ค​ น​ประทับใ​จ แพทย์ต​ า่ ง ๆ จึงต​ ดั สินใ​จ​เข้าเ​รียน​แพทย์ แต่ก​ ลับท​ น​เห็นเ​ลือด​
เมือ่ เ​ขา​นำ​เพน​ดล​ู มั (pendulum-ระบบ​ทป​ี่ ระกอบ​ดว้ ย​ลกู ต​ มุ้ จาก​บาดแผล​ไม่​ได้ จึงล​ า​ออก​จาก​มหาวิทยาลัย
ต​ ดิ อ​ ยูท​่ ป​ี่ ลาย​ลวด หรือเ​ส้นเ​ชือก โ​ดย​ปลาย​อกี ข​ า้ ง​หนึง่ ข​ อง​ลวด​ จาก​นั้นไ​ด้​หันไ​ป​สนใจ​กล้อง​ถ่าย​รูป ซึ่ง​ใน​สมัย​นั้น การ​
หรือ​เชือก​ถูก​ตรึง​แน่น จาก​นั้น​ก็​ปล่อย​ลูก​ตุ้ม​ให้​แกว่ง​ไป​มา) ถ่าย​ภาพ​แต่ละ​ภาพ​ตอ้ ง​ใช้เ​วลา​นาน​เป็นช​ วั่ โมง​กว่าจ​ ะ​ลา้ ง​ภาพ​
ที่​ทำ​ด้วย​เส้น​ลวด​ยาว 67 เมตร และ​ลูก​ตุ้ม​หนัก 28 กิโลกรัม ได้​ 1 ภาพ ทั้งนี้​เพราะ​กระ​จก​ฟิ​ล์มใน​ยุค​นั้น​เคลือบ​ด้วย​เงิน
มา​แกว่ง​น้อย ๆ ใต้​โคม​สูง​ของปองเตอง (Panthéon) ใน​กรุง​ ไ​อ​โอ​ไดด์ และ​เวลา​ลา้ ง​ภาพต้อง​อบ​กระจก​ดว้ ย​ไอ​ปรอท จึงจ​ ะ​
ปารีส แล้ว​ทุก​คน​ก็ได้​เห็น​กับ​ตา​ว่า ระนาบ​การ​แกว่ง​ของ​ ได้​ภาพ​ที่​ต้องการ ใน​ปี ค.ศ. 1841 อีโปลีต ฟีโซ (Hippolyte
เพน​ดล​ู มั ค​ อ่ ย ๆ เบน​ไป​ใน​ทศิ ท​ วน​เข็มน​ าฬิกา เพราะ​ถกู อ​ ทิ ธิพล​ Fizeau) ซึง่ เ​คย​เรียน​หอ้ ง​เดียว​กบั ฟ​ โ​ู กล์ที่ College Stanislas
การ​หมุน​รอบ​ตัว​เอง​ของ​โลก​กระทำ ได้ม​ า​ทำงาน​รว่ ม​กบั ฟ​ โ​ู กล์ เพือ่ พ​ ฒ ั นา​เทคโนโลยีถ​ า่ ย​ภาพ​จน​ได้​
พบ​ว่า ไอ​โบรมีน​จะ​ลด​เวลา​ใน​การ​ล้าง​ภาพ​ลง​มาก ด้าน​ฟู​โกล์​
ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 53
ก็ได้​พัฒนา​เทคนิค​การ​ถ่าย​ภาพ​ต่อ โดย​พยายาม​หา​วิธี​ที่​จะ​
เคลือบ​กระจก​ให้ห​ นา​สม่ำเสมอ เพือ่ ถ​ า่ ย​ภาพ​ของ​ดวง​อาทิตย์​
ขณะ​เกิด​สุริยุปราคา​ใน​ปี ค.ศ. 1844 ตาม​คำขอ​ของฟรองซัว
อาราโก (François Arago) ซึ่ง​ขณะ​นั้น​ดำรง​ตำแหน่งเ​ลขา-
ธิการ​ของ French Academy of Sciences ที่​ถือ​กัน​ว่า​
มี​บารมี อีก​ทั้ง​เป็น​ผู้​อำนวย​การ​แห่ง​หอ​ดู​ดาว​ที่​ปารีส ดัง​นั้น
ฟีโซและฟูโกล์จึง​จัดการ​ให้ ภาพถ่าย​ที่​ได้​แสดง​ให้​เห็นส่วน​
ทีเ่​ป็นบ​ รรยากาศ​ชั้น​คอ​โร​นา (corona) ของ​ดวง​อาทิตย์ การ
พ​ สิ จู น์ด​ ว้ ย​ภาพถ่าย​นจ​ี้ งึ ล​ ม้ ล​ า้ งทฤษฎีข​ องไฮเกนส์ (Huygens)
ทีว่​ ่า ดวง​อาทิตย์​เป็น​ก้อน​ของเหลว​ที่​มี​อุณหภูมิ​สูง
พิชิต​รางวัล Legion of Honour
ใน​ปี ค.ศ.1850 ฟู​โกล์​ได้​รับ​การ​ขอร้อง​จากอาราโกอีก
ครั้งเพื่อให้​ทดลอง​ว่า แสง​มีพฤติกรรมแบบ​คลื่น​หรือ​แบบ​
อนุภาค ทั้งนี้เนื่องมาจากนับ​ตั้งแต่ ค.ศ.1800 เป็นต้น​มา
รอเบิรต์ ฮุก (Robert Hooke) และคริสเตียน ไฮเกนส์ Christian

profile/corbis
Huygens) ต่าง​เชื่อ​ว่าแสง​มี​พฤติกรรมเป็น​คลื่น เพราะ​แสง​
แสดง​ปรากฏการณ์โ​พ​ลา​ไร​เซ​ชนั แทรก​สอด และ​เลีย้ ว​เบน ทำ
ให้แ​ นวคิดน​ เ​ี้ ป็นท​ ย​ี่ อมรับย​ งิ่ ก​ ว่าแ​ นวคิดข​ องนิวตันกับเดการ์ต สำหรับ​นัก​วิทยาศาสตร์​ของ​ฝรั่งเศส และ​ทำให้ฟีโซกับฟู​โกล์​
(Descartes)ทีว่​ ่า แสง​เป็น​อนุภาค แต่ฝ​ ่าย​ที่​เชื่อว​ ่า แสง​เป็น​ ต้อง​แยก​ทำงาน​กัน เพราะ​ต่าง​ก็​มี​บุคลิกและ​รูปแบบ​การ​
อนุภาค​กย็​ ัง​ไม่​ยอมรับ​เรื่อง​แสง​เป็น​คลื่น​อย่าง​เต็ม​ที่ 100% ทำงาน​ที่​ไป​กันไ​ม่​ได้​นาน
อาราโกจึงค​ ดิ อ​ อกแบบ​การ​ทดลอง​ทจ​ี่ ะ​ตดั สินค​ วาม​ถกู ​
ต้อง​หรือ​ผิด​พลาด​ของ​ความ​คิด​เหล่า​นี้ โดย​จะ​วัด​ความเร็ว​ ทดลอง​เรื่อง​เพน​ดู​ลัม
ของ​แสง​ใน​อากาศ​กับ​ใน​น้ำ เพราะ​ทฤษฎี​ทั้ง​สอง​พยากรณ์​ ผล​งาน​ชิ้น​ต่อ​ไป​ที่​ทำให้​ชื่อ​เสียง​ของ​ฟู​โกล์​เป็น​อมตะ​
ความเร็ว​ของ​แสง​ใน​น้ำ​และ​ใน​อากาศ​แตก​ต่าง​กัน คือ ทฤษฎี​ คือ การ​ทดลอง​เรื่อง​เพน​ดู​ลัม เพื่อ​สาธิตก​ าร​หมุน​รอบ​ตัว​เอง​
ที่​ว่า​แสง​เป็น​คลื่น​ทำนาย​ว่า ความเร็ว​แสง​ใน​น้ำ​จะ​น้อย​กว่า ของ​โลกใน​การ​ทดลอง​เมื่อ​วันท​ ี่ 3 มกราคม ค.ศ.1851 ฟู​โกล์​
​ความเร็ว​แสง​ใน​อากาศ แต่​ทฤษฎี​ที่​ว่า​แสง​เป็น​อนุภาค​คิด​ว่า ใช้​ตุ้ม​ที่​หนัก 5 กิโลกรัม และ​ใช้​ลวด​ทองแดง​ยาว 2 เมตร ผล​
ความเร็ว​แสง​ใน​น้ำ​จะ​มากกว่า​ความเร็ว​แสง​ใน​อากาศ แต่ การ​ทดลอง​ปรากฏ​ว่าลวด​ขาด จน​อีก 5 วันต​ ่อ​มา จึง​ทดลอง​
อาราโกต้อง​หยุด​การ​ทดลอง​ก่อน​จะ​ได้​ผล​สรุป เพราะ​โรค ใช้​ลวด​ที่ยาว​ขึ้น และ​ฟู​โกล์​ได้​สังเกต​เห็น​ว่า ระนาบ​การ​แกว่ง​
​เบา​หวาน​ทำให้​สายตา​มัวม​ าก จน​มอง​เห็น​แสง​ยาก ดัง​นั้นจ​ ึง ของ​เพน​ดู​ลัม​เบน​ยิ่งข​ ึ้น จึงเ​ชิญอาราโกมา​เป็นพ​ ยานใน​การ​ดู
ให้ฟู​โกล์ดำเนิน​การ​ต่อและ​ให้​แสง​ผ่าน​ทั้ง​น้ำ​และ​อากาศ ใน เ​พน​ดล​ู มั ท​ ห​ี่ อ​ดด​ู าว​ใน​กรุงป​ ารีส ฟ​ โ​ู กล์ได้ช​ แี้ จง​ให้อาราโกฟังว​ า่
​ระยะ​ทางที่​เท่า​กัน และ​ประจักษ์​ว่า แสง​เดิน​ทางใน​น้ำ​ได้​ช้า​ ถ้าเ​ขา​ทดลอง​ทขี่ วั้ โ​ลก ระนาบ​การ​แกว่งข​ อง​เพน​ดล​ู มั จ​ ะ​เบน​ไป
กว่าใ​น​อากาศ ฟูโ​กล์​จึง​จัดการ​แถลง​ผล​การ​ทดลอง​นใี้​น​เดือน​ 360 องศา​ใน​หนึง่ ว​ นั แต่ถ​ า้ ท​ ดลอง​ทเ​ี่ ส้นศูนย์สตู ร ระนาบ​การ​
เมษายน ค.ศ.1850 ซึง่ เ​ป็นการ​ปดิ ฉาก​ความ​คดิ แ​ ละ​ความ​เชือ่ ​ แกว่ง​ของ​เพน​ดู​ลัม​จะ​ไม่​เบี่ยง​เบน​เลย ฟู​โกล์​เชื่อ​ว่าม​ ุม​เบน​ขึ้น​
ทีว่​ ่า แสง​เป็น​อนุภาค​อย่าง​สมบูรณ์ กับ sine ของ​มุม เมื่อ คือม​ ุม​ที่​บอก​ตำแหน่ง​เส้น​รุ้ง​ของ​
ความ​สำเร็จ​ของ​การ​ทดลอง​นี้​ทำให้​ฟู​โกล์​พิชิต​รางวัล บริเวณ​ที่​เพน​ดู​ลัม​แกว่ง อาราโกรู้สึก​ประทับ​ใจ​ใน​การสาธิต
Legion of Honour ของ​ฝรั่งเศส ซึ่ง​ถือ​เป็น​เกียรติ​สูงสุด ค​ รัง้ น​ นั้ ม​ าก จึงเ​ชิญจ​ กั รพรรดิแห่งฝรัง่ เศส หลุยส์ นาโปเลอง
54 >> นิตยสาร สสวท.
โบนาปาร์ต (Louis-Napoléon Bonaparte) มา​เป็น​พยาน (Fraunhofer) ก็ได้​พบ​ว่า​เส้น​สี​เหลือง​ใน​สเปกตรัม​ของ​ไฟ
เพื่อ​ดู​การ​ทดลอง​ของฟูโกล์ใน​ฤดู​ใบไม้​ผลิ​ปี ค.ศ. 1851 ที่ ​โซเดียม มี​ความยาวคลื่น​เท่ากับ​เส้น​สี​ดำ​ใน​สเปกตรัม​ของ
ปองเตอง ซึ่งฟู​โกล์ใช้​ลวด​ยาว 67 เมตร และ​ลูก​ตุ้ม​หนัก ​ดวง​อาทิตย์ ดังท​ ี่เฟราน์โฮเวอร์เห็น แต่​ไม่​ได้​อธิบาย​ว่า เหตุใ​ด​
28 กิโลกรัม แกว่ง​เป็นเ​พน​ดู​ลัม แล้วใ​ช้​เหล็ก​ปลาย​แหลม​ติด​ จึง​เป็น​เช่น​นั้น เขา​จึง​พลาด​การ​พบ​ว่าบน​ดวง​อาทิตย์​มี​ธาตุ​
ใต้ล​ กู ต​ มุ้ ซ​ งึ่ จ​ ะ​ขดี เ​ป็นร​ อย​บน​ทราย​ทก​ี่ ระจาย​อยูบ​่ น​พนื้ ทำให้​ โซเดียม
เห็น​ระนาบ​การ​แกว่ง​ของ​เพน​ดลู​ ัม​ชัด
วัดระยะห่างจากโลกถึงดวงอาทิตย์
ชาว​ปารีส​ที่มา​ดู​การ​ทดลอง​ได้​เห็น​ระนาบ​การ​แกว่ง​
ของ​เพน​ดู​ลัม​เบน​จริง แต่​แรง​ต้าน​ของ​อากาศ​ได้​ทำ​ให้​เพน​ดู​ ใน​เวลา​ตอ่ ม​ า เลอ เวรีเย (Le Verrier) ได้ข​ อร้อง​ให้ฟโ​ู กล์
ลัม​หยุด​แกว่ง​ใน​ที่สุด หลัง​จาก​เวลา​ผ่าน​ไป​ประมาณ 7 ชั่วโมง วัดร​ ะยะ​ทาง​จาก​โลก​ถึง​ดวง​อาทิตย์ และ​วัด​ความเร็ว​แสง​ด้วย
และ​ระนาบ​การ​แกว่งไ​ด้​เบน​ไป 65 องศา จาก​แนว​เดิม ฟู​โกล์​จึง​ใช้​อุปกรณ์​วัด​ความเร็ว​แสง​ที่​เขา​เคย​ใช้​ศึกษา​
ใน​การ​อธิบาย​เหตุการณ์น​ ี้ นักฟ​ สิ กิ ส์ไ​ด้พ​ บ​วา่ ใน​ระบบ​ ความเร็ว​แสง​ใน​น้ำ และ​ใน​อากาศ​มาท​ดล​อง​ที่ Academy of
ที่​กำลังห​ มุน (โลก) จะ​มี​แรง​ชนิดห​ นึ่ง​เกิด​ขึ้น (แรงคอริออลิส Sciences และ​พบ​ว่า​ความเร็ว​แสง​มี​ค่า​ประมาณ 298,000
หรือ coriolis force) ซึ่งก​ ระทำ​ต่อ​ระบบ และ​ผลัก​ให้​ระนาบ กิโลเมตร/วินาที (ค่า​นี้​แตก​ต่าง​จาก​ค่า​ปัจจุบัน​น้อย​กว่า 1%)
การ​แกว่ง​ของ​เพน​ดู​ลัมเบน​ไป​จาก​เดิม ส่วน​ระยะ​ทาง​จาก​โลก​ถึง​ดวง​อาทิตย์​ก็​มี​ค่า​น้อย​กว่า​ค่า​จริง​
ผล​การ​สาธิต​เพื่อแสดงให้เห็นผลการหมุนรอบตัวเอง ประมาณ 1% และ​นค​ี่ อื ผ​ ล​งาน​วทิ ยาศาสตร์ท​ ส​ี่ ำคัญช​ นิ้ ส​ ดุ ท้าย​
ของ​โลก​ ทำให้​ฟู​โกล์มีชื่อ​เสียง​โด่ง​ดัง​มาก แต่​ก็​เป็น​คน​ที่​ยัง​ ของ​ฟู​โกล์
ไม่มี​งาน​ประจำ​ทำ ทั้งนี้​อาจ​เป็นเพราะฟู​โกล์มี​บุคลิกภาพที่​ ใน​ปี ค.ศ.1855 ฟูโ​กล์ไ​ด้ร​ บั เ​หรียญ Copley Medal จาก
ไ​ม่เ​ป็นม​ ติ ร พูดจา​ขวาน​ผา่ ซ​ าก และ​เอาใจ​ใคร​ไม่เ​ป็น แต่ใ​น​ทสี่ ดุ The Royal Society ซึง่ น​ บั เ​ป็นร​ างวัลท​ ย​ี่ งิ่ ใ​หญ่ท​ สี่ ดุ จ​ าก​สมาคม
เมื่ออาราโกเสีย​ชีวิต ตำแหน่งผู้​อำนวย​การ​แห่ง​หอ​ดู​ดาว​ที่​ แต่ส​ ำหรับว​ งการ​วทิ ยาศาสตร์ข​ อง​ฝรัง่ เศส​เอง การ​ยอมรับค​ อ่ น​
ปารีส​จึง​ตก​เป็นข​ องอูร์แบง เลอ เวรีเย (Urbain Le Verrier) ข้าง​ช้า คง​เป็น​เพราะ​คน​ฝรั่งเศส​รู้​ว่า​ฟู​โกล์​ไม่​เคย​เรียน​ฟิสิกส์​
ผู้​พบ​ดาว​เนปจูน ซึ่งเ​ห็น​อก​เห็นใจฟู​โกล์วัย 36 ปี ว่า​ยัง​ไม่มี​ อย่าง​เป็น​กิจจะลักษณะ​ จะให้​สอน​วิชา​ฟิสิกส์ก็​คง​ไม่​เป็น
งาน​ทำ จึง​ขอ​ให้ฟูโกล์สร้าง​กล้องโทรทรรศน์​ชนิด​หักเห​แสง คณิตศาสตร์​ก็​ไม่​เก่ง ดังจ​ ะ​เห็น​ได้​จาก​กรณี​ที่ฟู​โกล์สอบ​วิทยา-
เพื่อ​ใช้​ที่​หอ​ดู​ดาว โดย​ให้​กล้อง​มี​เลนส์​ที่​มี​เส้น​ผ่า​นศูนย์กลาง นิพนธ์ป​ ริญญา​เอก แล้วอ​ ธิบาย​คณิตศาสตร์ง​ า่ ย ๆ ไม่เ​ป็น อีกท​ งั้ ​
​ยาว 74 เซนติเมตร แต่​ฟู​โกล์​บอก​ว่ากล้องโทรทรรศน์​แบบ​ ไม่​เคย​เรียน​ที่​โรงเรียน​ดี ๆ เช่น École Polytechnique และ
สะท้อน​แสง​จะ​ทำงาน​ได้ด​ ก​ี ว่า ฟูโ​กล์จ​ งึ ไ​ด้อ​ อกแบบ​กระจกเว้า​ École Normale Supérieure
ทีใ​่ ช้ส​ ะท้อน​แสง​ซงึ่ ใ​ช้ซลิ เวอร์ไนเตรตเคลือบ เพราะ​หน้าก​ ล้อง ดังน​ นั้ เ​ขา​จงึ ถ​ กู ป​ ฏิเ​สธไม​ใ่ ห้เ​ป็นส​ มาชิกข​ อง Academy
โทรทรรศน์​ที่​จะ​สร้าง​ค่อน​ข้าง​ใหญ่ ดัง​นั้น​การ​สร้าง​กระจก​ of Sciences ถึง 6 ครั้ง และ​ประสบ​ความ​สำเร็จ​ใน​ครั้ง​ที่ 7
โค้งเ​ว้าท​ ม​ี่ ป​ี ระสิทธิภาพ​สงู จ​ งึ เ​ป็นเ​รือ่ ง​ยาก ฟูโ​กล์ได้อ​ อกแบบ​ เมื่อถ​ งึ ​เดือน​กรกฎาคม ค.ศ.1867 ฟู​โกล์ ได้​ล้ม​ปว่ ย​เป็น​
การ​ทดสอบ​ความ​โค้งท​ ส​ี่ มบูรณ์ข​ อง​ผวิ ก​ ระจก โดย​ใช้ค​ ม​มดี ว​ าง อัมพฤกษ์ และ​ต้อง​นอน​พัก​ใน​ห้อง​แต่​เพียง​คน​เดียว ด้วยความ
ณ จุดศูนย์กลาง​ความ​โค้ง​ของ​กระจก​นั้น จึง​ทำให้​เห็น​ความ​ ทีเ่ ป็นโ​สดและไม่คอ่ ย​มเ​ี พือ่ น​มา​เยีย่ ม​​มากนัก อีก 4 เดือน​ตอ่ ม​ า
ไม่​สมบูรณ์ข​ อง​กระจก​ได้ง​ ่ายและ​เร็ว ฟู​โกล์ก็​เสีย​ชีวิต ใน​งาน​ศพเพื่อน ๆ ที่​รู้จัก​เขา​พา​กัน​หลั่ง​น้ำตา​
วิธี​ทดสอบ Foucault knife edge Test นี้ ได้​ช่วย​ให้ ด้วย​ความ​สงสาร และในทีส่ ดุ ชือ่ ข​ อง​ฟโ​ู กล์ถ​ กู น​ ำ​ไป​จารึกล​ ง​บน​
ฟู​โกล์สามารถ​สร้าง​กล้องโทรทรรศน์​ที่​มี​เส้น​ผ่า​นศูนย์กลาง​ เหล็ก​ที่​ใช้​ใน​การ​สร้าง​หอ​ไอ​เฟล
ของ​กระจก​โค้งย​ าว​ถงึ 80 เซนติเมตร​ได้ และ​กล้องโทรทรรศน์น​ ​ี้ (อ่าน​เพิ่ม​เติม​จาก Foucault, His Pendulum and the
Rotation of the Earth โดย W. Tobin and B. Pippard ใน In-
ได้​ถูก​นำ​ไป​ติด​ตั้ง​ที่​หอ​ดู​ดาว​แห่ง​เมืองมาร์เซย์ (Marsailles) terdisciplinary Science Reviews, Vol.19 No.4 page 326-337
เพื่ อ ​ศึ ก ษา​ด วง​อ าทิ ต ย์ และ​ด้ ว ย​ก ล้ อ ง​นี้ เฟราน์ โ ฮเวอร์ ปี ค.ศ.1994)
ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 55
นานาสาระ
NEWS
​>> ประชาสัมพันธ์ สสวท.
สสวท.-ศอ.บต.-สช. สาม​ประสาน
​ลง​นาม​ความ​ร่วม​มือ​พัฒนา​ครู​โรงเรียน​
เอกชน​สอน​ศาสนา​อิสลาม​ชายแดน​ใต้
นาง​พร​พรรณ ไว​ทยา​งกูร ผูอ​้ ำนวย​การ​สถาบันส​ ง่ เ​สริมก​ าร​
สอน​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี (สสวท.) ร่วม​ลง​นาม​ใน​บันทึก​
ข้อ​ตกลง​ความ​ร่วม​มือ​ทาง​วิชาการ​กับ​นาย​อดิ​นันท์ ปาก​บา​รา
รอง​เลขาธิการ (ฝ่าย​การ​ศึกษา) ศูนย์​อำนวย​การ​บริหาร​จังหวัด​
ชายแดน​ภาค​ใต้ (ศอ.บต.) และ​นาย​โรจ​นะ กฤษ​เจริญ รอง​เลขา-
ธิการ​คณะ​กรรมการ​สง่ เ​สริมก​ าร​ศกึ ษา​เอกชน (สช.) ใน​การ​ดำเนิน​
โครงการ​พัฒนา​ครู​ผู้​สอน​วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ โรงเรียน​เอกชน​สอน​ศาสนา​อิสลาม​ที่​เปิด​สอน​สาย​สามัญ สังกัด​สำนักงาน​คณะ
​กรรมการ​ส่ง​เสริม​การ​ศึกษา​เอกชน (สช.) ใน​เขต​เฉพาะ​กิจ​จังหวัด​ชายแดน​ภาค​ใต้ หลังจากนั้นได้ถ่าย​ภาพ​ร่วม​กับ​คณะ​ผู้​บริหาร​จาก​
โรงเรียน​เอกชน​สอน​ศาสนา​อิสลาม​ที่​เปิด​สอน​สาย​สามัญ 60 แห่ง
ใน​จังหวัด​ปัตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา สตูล​และ​พัทลุง ​ที่​จะ​ทำ​
หน้าที่​เป็น​ศูนย์​ให้การ​อบรม​ครู ตาม​บันทึก​ข้อ​ตกลง​ความ​ร่วม​มือ
​ทาง​วิชาการ​ใน​การ​ดำเนิน​โครงการ​พัฒนา​ครู​ผู้​สอน​วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ โรงเรียน​เอกชน​สอน​ศาสนา​อิสลาม​ที่​เปิด​สอน​สาย​
สามัญ สังกัด​สำนักงาน​คณะ​กรรมการ​ส่ง​เสริม​การ​ศึกษา​เอกชน
(สช.) ใน​เขต​เฉพาะ​กจิ จ​ งั หวัดช​ ายแดน​ภาค​ใต้ เมือ่ ว​ นั ท​ ี่ 23 มิถนุ ายน
พ.ศ. 2555 ณ โรงแรม​ธรรม​ริ​นทร์ ธนา จังหวัดต​ รัง

กิจกรรม​การ​เรียน​รู้​บูรณ​า​การ​ใน​โรงเรียน​ขนาด​เล็ก
เนือ่ ง​ดว้ ย สสวท. ได้ท​ ำการ​วจิ ยั ศ​ กึ ษา​สภาพ​การ​จดั การ​ศกึ ษา​
ใน​โรงเรียน​ขนาด​เล็ก​ และ​พฒ ั นาการ​จดั ก​ จิ กรรม​การ​เรียน​รบ​ู้ รู ณ​าก​ าร
ก​ลุ่ม​สาระ​การ​เรียน​รู้​วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ​ภาษา​ไทย
สำหรับ​โรงเรียน​ขนาด​เล็ก​อย่าง​มี​ประสิทธิภาพ ซึ่ง​รายการ​ข่าว​เช้า
สุด​สัปดาห์ สถานี​โทรทัศน์​ไทย​พี​บี​เอส ได้​สนใจ​ขยาย​ผล​นำ​ข้อมูล​
ไป​ทำ​สกู๊ป​โทรทัศน์ ความยาว 25 นาที โดย​ได้​เดินท​ าง​ไป​ถ่าย​ทำ​ที่​
โรงเรียน​วัด​ทำนบ อำเภอ​บางแพ จังหวัด​ราชบุรี เมื่อ​วัน​พุธ​ที่ 18
กรกฎาคม พ.ศ. 2555 และ​เผย​แพร่​ทาง​รายการ​ดังก​ ล่าว​ใน​วัน​เสาร์​
ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
ผู้​สนใจ​สามารถ​ชม​ย้อน​หลัง​ได้ที่​เว็บไซต์ http://www3.
thaipbs.or.th/

56 >> นิตยสาร สสวท.


อบรม​ครู​คณิต เก่ง​คิด​เก่ง​สอน​ สถาบัน​ส่ง​เสริม​การ​สอน​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี
(สสวท.) จัด​อบรม​เชิง​ปฏิบัติ​การ​เรื่อง High Order Thinking
ผู้​เชี่ยวชาญ​จาก​สิงคโปร์​ถ่ายทอด​เข้ม for Primary Mathematics (HOT) โดย​มี Dr. Yeap Ban Har
ผูเ​้ ชีย่ วชาญ​จาก National Institute of Education (NIE) ประเทศ​
สิงคโปร์ เป็นว​ ทิ ยากร​ให้การ​อบรม​แก่น​ กั ว​ ชิ าการ สสวท. ครูผ​ ส​ู้ อน​
ด้าน​คณิตศาสตร์​จาก​โรงเรียน​ศูนย์​พัฒนา​อัจฉ​ริย​ภาพ​ทาง​วิทยา-
ศาสตร์ คณิตศาสตร์​ของ สสวท. ครู สควค. ทีส่​ อน​คณิตศาสตร์​
ระดับ​ประถม​ศึกษา ใน​การ​อบรม​ได้​นำ​เสนอ​กิจกรรม​การ​เรียน
การ​สอน​ที่​เน้นก​ าร​แก้ป​ ัญหา การ​นึกภ​ าพ แบบ​รูป และ​ความ​รู้สึก​
เชิงจำนวน เทคนิคก​ าร​ใช้ค​ ำถาม​เพือ่ ก​ ระตุน้ ใ​ห้น​ กั เรียน​ได้ล​ งมือท​ ำ
และ​ค้น​พบ​คำ​ตอบ​ด้วย​ตนเอง กิจกรรม​เหล่า​นี้​มี​ส่วน​ส่ง​เสริม​ให้​
นักเรียน​เกิด​กระบวนการ​คิด โดย​มี​เนื้อหา​ครอบคลุม​หลักสูตร​
การ​เรียน​การ​สอน​คณิตศาสตร์ร​ ะดับป​ ระถม​ศกึ ษา​ของ​ไทย ณ ห้อง​
ประชุม​นิ​ดา สะ​เพียร​ชัย ชั้น 3 อาคาร 15 ปี สสวท. เมื่อวันที่ 29
มิถุนายน พ.ศ. 2555

สสวท. ชี้แจง​ผู้​ประสาน​งาน​โรงเรียน​
สอบประเมิน​ผล​นักเรียน​โครงการ PISA
สถาบัน​ส่ง​เสริม​การ​สอน​วิทยาศาสตร์​และ​เทคโนโลยี
(สสวท.) จัด​ประชุม​ชี้แจง​ผู้​ประสาน​งาน​โรงเรียน​และ​ผู้​คุม​สอบ​
โครงการ​ประเมินผ​ ล​นกั เรียน​นานาชาติ (PISA 2012) เพือ่ ร​ บั ท​ ราบ​
ขั้น​ตอน​การ​ดำเนิน​งาน​และ​ราย​ละเอียด​ที่​จะ​ต้อง​ปฏิบัติ​ในการ
จ​ ดั ส​ อบ​ของ PISA และ​ลกั ษณะ​ของ​ขอ้ สอบ​ทใ​ี่ ช้ใ​น​การ​ประเมินผ​ ล​
นักเรียน​ของ​โครงการ PISA ณ ห้อง​ประชุมน​ ด​ิ า สะ​เพียร​ชยั ชัน้ 3
อาคาร 15 ปี สสวท. เมื่อ​วัน​ที่ 9, 10, 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

รับ​มอบ​ไม้บรรทัด​โรงเรียน​กลุ่ม​ตัวอย่าง​โครงการ PISA
นาย​ปรีชา​ญ เดช​ศรี รอง​ผอ​ู้ ำนวย​การ​สถาบันส​ ง่ เ​สริมก​ าร​สอน​วทิ ยาศาสตร์แ​ ละ​
เทคโนโลยี (สสวท.) รับ​มอบ​ไม้บรรทัด​จาก​นาง​จัน​ทรัตน์ ณ นคร ผู้​จัดการ​ฝ่าย​ขาย
บริษัท แอดวานซ์ พริ้น​ติ้ง เซอร์วิส จำกัด เพื่อ​นำ​ไป​มอบ​ให้​นักเรียน​ที่​เข้า​สอบ​ของ​
โรงเรียน​กลุม่ ต​ วั อย่าง​โครงการ​ประเมินผ​ ล​นกั เรียน​นานาชาติ (PISA 2012) จำนวน 240
โรงเรียน ณ ห้อง​ประชุมน​ ด​ิ า สะ​เพียร​ชยั ชัน้ 3 อาคาร 15 ปี สสวท. เมือ่ วันที่ 10 กรกฎาคม
พ.ศ. 2555

ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 57


​>> กระต่ายแสนซน

สวัสดี​แฟน ๆ ของ​ต่าย วัน​หนึ่ง​ขณะ​ที่​ต่าย


กำลัง​มอง​ไป​ที่​ดวง​จันทร์ ก็​เกิด​คำถาม​ขึ้น​ใน​ใจ​ว่า
“ทำไม​มนุษย์​ต้อง​เดิน​ทาง​ไป​สำรวจ​ดวง​จันทร์”
“ทำไม​มนุษย์​ต้อง​พยายาม​หา​ทาง​ลง​ไป​สำรวจ​โลก
ใต้​ทะเล​อัน​มืด​มิด”...เมื่อ​อ่าน​เอกสาร​ต่าง ๆ ก็​มัก​จะ​ได้
คำ​ตอบ​ที่​สามารถ​โยง​ไป​ถึง​เรื่อง​ของ​พฤติกรรม​การ​เรียน​รู้
ของ​มนุษย์ ซึ่ง​เป็น​เพราะ “ความ​อยาก​รู้​อยาก​เห็น” ของ A Pacific barreleye fish มีชื่อ​วิทยาศาสตร์​ว่า
มนุษย์​นั่นเอง ที่​ทำให้​เกิด​การ​ค้นคว้า​หา​คำ​ตอบ แต่​ไม่ใช่ Macropinna microstoma ตาม​ประวัติ​เคย​ถูก​ค้นพ​ บ​
มนุษย์​ทุก​คน​จะ​สามารถ​ค้นคว้า​หา​คำ​ตอบ​จาก​สิ่ง​ที่​ตนเอง ครั้ง​แรก​ตั้งแต่ป​ ี ค.ศ.1939 โดย​พบ​เป็น​ซาก​ติดอ​ วน​
ขึ้น​มา จาก​ภาพ​ซึ่งถ​ ่ายจาก​เรือ​ดำ​น้ำ​สำรวจ​ใต้​ทะเล
สงสัย​ได้​จน​สำเร็จ เป็น​เพราะ​อะไร​ล่ะ คุณ ๆ สงสัย​บ้าง​ไหม จะ​เห็นไ​ด้​ว่า​ส่วน​หัว​จะ​มีลักษณะ​ใส เป็น​ปลา​ที่​อาศัย​ใน​
ต่ า ​ย ก​ล้ า ​ยื น ยั น ​ไ ด้ ​เ ลย​ว่ า ​ผ ล​ที่ ​ไ ด้ ​จ าก​ก าร​ค้ น คว้ า​ห า ทะเล​ลึก​บริเวณ​กลาง​อ่าว​รัฐแคลิฟอร์เนีย มี​ความ​ยาว​
คำ​ตอบ​นั้น​เกิด​ขึ้น​จาก “กระบวนการ​คิด​และ​การ​แก้​ปัญหา” กับ ประมาณ 6 นิ้ว หรือ 15 เซนติเมตร (Photograph cour-
tesy Monterey Bay Aquarium Research Institute)
“ความ​พยายาม​ที่​ใช้​ใน​การ​แก้​ปัญหา” ภาพ​จาก​เว็บไซต์ http://news.nationalgeographic.
คุณล​ อง​หลับตา​นกึ ถึงป​ ระสบการณ์ใ​น​อดีต นึกเ​ท่าท​ น​ี่ กึ ไ​ด้ com/news/2009/02/photogalleries/fish-transpar-
ต่าย​เชื่อ​ว่า​คุณ​นึกออก คุณจ​ ะ​ต้อง​เคย​ตั้ง​คำถาม​เพราะ​สงสัย​หรือ ent-head-barreleye-picture/#/fish-transparent-
อยาก​รเ​ู้ รือ่ ง​ใด​เรือ่ ง​หนึง่ จาก​นนั้ ข​ นั้ ต​ อน​ตอ่ ไ​ป​คอื “การ​หา​คำ​ตอบ” head-barreleye_10442_600x450.jpg
ซึง่ จ​ ะ​เริม่ แ​ ตก​ตา่ ง​กนั และ​วธิ ก​ี าร​ทง​ี่ า่ ย​ทสี่ ดุ ใ​น​วยั เ​ด็กค​ อื แหงน​หน้า
ไป​ถาม​พอ่ แ​ ม่ คำถาม​แรก ๆ มักจ​ ะ​ได้ค​ ำ​ตอบ แต่พ​ อ​คำถาม​ตอ่ ๆ มา
คราว​นี้​แหละ​ขึ้น​อยู่​กับ​ความ​รู้​เดิม​ของ​พ่อ​แม่ และ​ถ้า​พ่อ​แม่​มี
ความ​รมู้ าก​และ​มค​ี วาม​อดทน​มาก คุณจ​ ะ​ได้ค​้ ำ​ตอบ​เรือ่ ย ๆ จริงไ​หม! ทีพ่​ ูด​มา​ทั้งหมด​คือ ต่า​ยกำ​ลัง​จะ​โยง​เข้าไป​เรื่อง​การ​ค้นหา
แต่​ถ้า​คุณ​ถา​มมากๆ จน​พ่อแ​ ม่​รำคาญ หรือต​ อบ​ไม่ไ​ด้​แล้ว สิ่ง​มี​ชีวิต​ใต้​ทะเล ซึ่ง​นัก​วิทยาศาสตร์​พยายาม​ค้นหา​กัน​มา​นาน
คุณอ​ าจ​จะ​เคย​ได้ยนิ ค​ ำ​ตอบ​จาก​ปาก​พอ่ แ​ ม่ใ​น​ทำนอง​ทว​ี่ า่ “จะ​ถาม นับ​ศตวรรษ​เลย​ที​เดียว เริ่ม​ตั้งแต่​สมัย​โบราณ​ที่​ต้อง​ดำ​น้ำ​เอง
อะไร​กัน​นัก​กัน​หนา​เนี่ย ขอ​พ่อห​ รือ​แม่​ทำงาน​ก่อน​ได้​ไหม” อะไร จน​พัฒนา​มา​ใน​ปัจจุบัน​ที่​ใช้​เรือ​ดำ​น้ำ​ขนาด​เล็ก​ดำ​ลง​ไป​สำรวจ
ประมาณ​นั้น... ยิ่ง​เทคโนโลยี​ก้าวหน้า​เท่า​ไหร่ นัก​วิทยาศาสตร์​ก็​ยิ่ง​สามารถ
นอกจาก​การ​ถาม​คำถาม​ซึ่ง​เป็น​วิธี​การ​ที่​ง่าย​ที่สุด​แล้ว ดำ​ลง​ไป​ศึกษา​ได้ใ​น​ระดับค​ วาม​ลึก​ทมี่​ าก​ขึ้น และ​ใน​ปี ค.ศ. 2004
ใน​การ​ที่​จะ​หา​คำ​ตอบ​อะไร​สัก​อย่าง ก็​มี​ขั้น​ตอน​ของ​การ​ค้นคว้า ก็ได้พ​ บ​กับป​ ลา​ที่​มี​ลักษณะ​ดังภ​ าพ​ด้าน​บน
หา​คำ​ตอบ​อย่าง​เป็น​ระบบ ซึ่ง​สิ่ง​นี้​แหละ​ที่​ทำให้​คน​แต่ละ​คน​มี
“ความ​แตก​ตา่ ง​กนั ” ใน​เรือ่ ง​ของ​การ​แสดง​ความ​คดิ การ​ใช้เ​หตุผล
ต่อ​มา​คือ​ขั้น​การ​ตัดสิน​ว่า​จะ​ประสบ​ความ​สำเร็จ​หรือ​ไม่
ก็​คือ​ความ​พยายาม เพราะ​การ​ค้นคว้า​หา​คำ​ตอบ​ใน​เรื่อง​ต่าง ๆ
ไม่​ได้​มี​สูตร​สำเร็จ​และ​ง่าย​เหมือน​การ​ปอก​กล้วย​เพื่อ​นำ​มา​กิน
บาง​ครั้ง​คุณ​อาจ​จะ​ต้อง​ทำ​ขั้น​ตอน​ต่าง ๆ ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​การ
ค้นคว้าห​ า​คำ​ตอบ​นั้น ๆ วน​ไป วน​มา ซ้ำ​ไป ซ้ำ​มา จนถึง​ขั้น​ท้อแท้
และ​หมด​หวัง​ไป​เลย​ที​เดียว

โปสเตอร์ภาพยนตร์เรื่อง
Aliens of the Deep
58 >> นิตยสาร สสวท.
น่า​รู้​เรื่อง​เรือ​ดำ​น้ำ
ใน​ศตวรรษ​ที่ 15 เลโอ​นาร์โ​ด ดา วินช​ ี
ได้​เคย​ออกแบบ​พาหนะ​สำหรับ​เดิน​ทาง​ใต้
ทะเล​ไว้ แม้​ไม่​ประสบ​ความ​สำเร็จ แต่​ก็​ถือ
ว่า​เขา​เป็นค​ น​แรก​ที่​ออกแบบ​เรือด​ ำ​น้ำ
จน​กระทั่ง​ปี ค.ศ. 1755 นาย​ทหาร
ชาว​อเมริกัน​ได้​ประดิษฐ์​เรือ​ดำ​น้ำ​สำเร็จ​เป็น
ครั้ง​แรก ตั้งแต่​นั้น​มา เรือ​ดำ​น้ำ​ก็​ถูก​พัฒนา
ให้​ดขี​ ึ้น​เรื่อย ๆ
เรือ ​ดำ​น้ำ​ได้​ถูก​นำ​มา​ใช้​อย่ า ง​แ พร่
หลาย​ใน​สงครามโลก​ครัง้ ท​ ี่ 2 ดังน​ นั้ เ​รือด​ ำ​นำ้
ใน​ยุค​นั้น​จึง​บรรจุ​อาวุธ​สงคราม​อย่าง​มิส​ไซล์
หรือ​ตอร์ปิโด

นอก​จา​กนี้ต่าย​ยัง​อยาก​ให้​คุณ​ดู​ภาพยนตร์​ที่​น่า​สนใจ​เรื่อง คำถาม​ประจำ​ฉบับท​ ี่ 178 จาก​สงิ่ ท​ ต​ี่ า่ ย​เล่าไ​ป คุณค​ ดิ ว​ า่


หนึ่ง คือ​เรื่อง Aliens of the Deep ที่​สร้าง​ขึ้น​ใน​ปี ค.ศ. 2005 ที่​ปาก​ปล่อง​ภูเขาไฟ​ใต้​ทะเล​ลึก​มาก ๆ จน​ไม่มี​แสง​สว่าง​ส่อง​ลง
โดย​ผก​ู้ ำกับช​ อื่ ด​ งั James Cameron คุณจ​ ะ​ได้พ​ บ​กบั ก​ าร​เดินท​ าง ไป​ถึง​จะ​มี​สิ่ง​มี​ชีวิต​หรือ​ไม่ ไม่​ว่า​คุณ​จะ​ตอบ​ว่า​มี​หรือ​ไม่มี ต่าย
สำรวจ​ใต้​ทะเล​ของ​นักศึกษา​ปริญญา​เอก โดย​ยาน​สำรวจ​ใต้​ทะเล ขอ​เหตุผล​ประกอบ​ด้วย ต่า​ยอ​ยาก​เห็น​คุณๆ ค้นคว้า​หา​คำ​ตอบ
พบเห็น​สิ่ง​มี​ชีวิต​แปลก ๆ ไม่​ว่า​คุณ​จะ​เก่ง​ภาษา​อังกฤษ​หรือ​ไม่ โดย​ไม่​ละ​ความ​พยายาม เพื่อ​ให้​ได้​มา​ซึ่ง​ความ​รู้
สามารถ​เข้าไป​ดเ​ู รือ่ ง​เต็ม 1 ชัว่ โมง 35 นาที ได้ใ​น youtube.com เมื่อ​คุณ ๆ ช่วย​ต่าย​คิด ช่วย​ต่าย​ค้น​จน​ได้​คำ​ตอบ​แล้ว​ให้
โดย​พมิ พ์ค​ ำ​คน้ หา​วา่ Aliens of the Deep (2005) full คุณก​ จ​็ ะ​ได้ เขียน​คำ​ตอบ​สง่ ม​ า​ที่ e-mail ของ​ตา่ ย funny_rabbit@live.co.uk
ชม​ภาพยนตร์​เรื่อง​นี้​แบบ​ฟรี ๆ และ​ต้อง​ส่ง​ก่อน​วัน​ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 โดย​ต้อง​เขียน
เฉลย​คำถาม​ฉบับ​ที่ 176 ต่า​ยถา​ม​ไป​ว่า ทำไม​นัก​วิทยา- ที่​อยู่​สำหรับ​จัด​ส่ง​ของ​รางวัล​มา​ให้​เรียบร้อย ถ้า​คุณ​ไม่​เขียน​มา
ศาสตร์​ถึง​กังวล​เกี่ยว​กับ​สมดุลข​ อง​จำนวน​ผึ้ง โดย​พบ​ว่าการ​ลด​ลง ต่าย​ขอ​สงวน​สิทธิ์​ไม่​ส่ง​ของ​รางวัล​ให้​แล้ว​กัน และ​ถ้า​คุณ​บอก​ชื่อ
ของ​จำนวน​ผึ้ง​ทั่ว​โลก​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​ใช้​สาร​เคมี​กำจัด​แมลง​ศัตรู​ โรงเรียน​ของ​คณ ุ หรือโ​รงเรียน​ทค​ี่ ณ ุ อ​ ยาก​ให้ต​ า่ ย​สง่ CD การ​แสดง
พืชข​ อง​มนุษย์น​ นั่ เอง และ​จำนวน​ผงึ้ จ​ ะ​เกีย่ วข้อง​อย่างไร​กบั ม​ นุษย์ ละคร​วทิ ยาศาสตร์ และ​หรือ CD ทัศนศึกษา​ออนไลน์แ​ บบ​ทโ​ี่ รงเรียน
คำ​ตอบ​ง่าย ๆ ก็​คือ ผึ้ง​เกี่ยวข้อง​กับ​การ​ผสม​พันธุแ์​ ละ​การก​ระ​จาย สามารถ​นำ​ไป​ใช้​ใน​การ​เรียน​การ​สอน​ได้ แม้​โรงเรียน​นั้น​จะ​ไม่มี
พันธุข​์ อง​พชื ห​ ลาก​หลาย​ชนิด การ​ทผ​ี่ งึ้ ล​ ด​จำนวน​ลง​กต​็ อ้ ง​สง่ ผ​ ล​ตอ่ อินเทอร์เน็ต​ความเร็ว​สูง ต่า​ยก็​จะ​ส่ง CD ไป​ให้​โรงเรียน​ด้วย
การ​เจริญ​พันธุ์​ของ​พืช​ด้วย และ​จะ​ส่ง​ผลก​ระ​ทบ​ย้อน​กลับ​มา​ที่ เหมือน​เดิม​นอก​เหนือ​จาก​ของ​รางวัล​ที่​คุณ ๆ จะ​ได้​รับ ส่วน​เฉลย
มนุษย์ด​ ว้ ย โดย​จะ​เห็นไ​ด้ช​ ดั เจน​มาก​ขนึ้ หาก​พชื ช​ นิดน​ นั้ ๆ เป็นพ​ ชื ไว้​รอ​อ่าน​ได้ใ​น​ฉบับ​ที่ 181 เช่นเ​ดิม
อาหาร​หรือพ​ ชื เ​ศรษฐกิจท​ ส​ี่ ำคัญข​ อง​มนุษย์ นีค่​ อื ค​ วาม​มหัศจรรย์ เคล็ดล​ บั ข​ อง​ความ​สำเร็จ คือ ความ​สามารถ โอกาส และ​
ของ​ความ​สัมพันธ์​ของ​สิ่ง​มี​ชีวิต​ใน​ระบบ​นิเวศ​ของ​โลก​ใบ​นี้​เลย ความ​กล้า
ทีเ​ดียว
ต่าย แสน​ซน

ปีที่ 40 > ฉบับที่ 178 > กรกฎาคม-สิงหาคม 2555 >> 59

You might also like