You are on page 1of 12

1.

ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง และภาพด้านบนของรูปทรงเรขาคณิตสามมิติ


หลักการ
ในการวิเคราะห์ภาพที่เป็นรูปทรงเรขาคณิตสามมิติ จะมีหลักการ คือ ภาพด้านหน้าจะมองจากมุมมองใดก็ได้ แต่ภาพด้านข้าง
และภาพด้านบนจะต้องมองทำมุม 90 องศากับมุมมองด้านหน้าเสมอ
เนือ่ งจากการมองภาพในมุมมองแบบสองมิติอาจไม่เห็นสันหรือขอบของรูปที่อยู่ด้านหลัง ดังนั้นในการเขียนจะแสดงด้วย
เส้นประ เพื่อให้สามารถแยกส่วนทีม่ องเห็นและมองไม่เห็นได้อย่างชัดเจน
ดังตัวอย่างต่อไปนี้
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติ ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง ภาพด้านบน
ด้านบน

ด้านหน้า ด้านข้าง

ด้านบน

ด้านข้าง
ด้านหน้า
ด้านบน

ด้านหน้า ด้านข้าง

ด้านบน

ด้านหน้า ด้านข้าง

ด้านบน

ด้านหน้า ด้านข้าง
ตัวอย่างโจทย์
1. จากรูปที่กำหนดให้ อยากทราบว่าภาพด้านข้างของรูปนี้ตรงกับข้อใด

ด้านข้าง

1) 2) 3)

4) 5)
2. อยากทราบว่ารูปทรงเรขาคณิตสามมิตใิ ด ที่มีภาพทั้งสามด้านเป็นดังนี้

1) 2) 3)

4) 5)
2. ภาพคลี่ของรูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
หลักการ
เมื่อนำรูปทรงเรขาคณิตสามมิติมาคลี่ออกจะได้รูปทรงเรขาคณิตสองมิติที่แตกต่างกัน โดยภาพคลี่นี้มปี ระโยชน์อย่างมากใน
การคำนวณหาพื้นที่ผิวของรูปทรงเรขาคณิตสามมิติต่าง ๆ
ดังตัวอย่างต่อไปนี้
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติ ภาพคลี่
ลูกบาศก์

ปริซมึ สามเหลี่ยม

ทรงกระบอก

กรวย

พีระมิดฐานสี่เหลี่ยม
ตัวอย่างโจทย์
1. หากพับกระดาษตามรอยดังรูป อยากทราบว่าจะได้ผลลัพธ์ตรงกับข้อใด

1) 2) 3) 4) 5)

2. จากภาพคลี่ที่กำหนดให้ เมื่อนำมาพับเป็นกล่องแล้วอยากทราบว่าจะได้ตรงกับรูปใด

1) 2) 3)

4) 5)
3. ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง และภาพด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิตทิ ี่ประกอบขึน้ จากลูกบาศก์
หลักการ
หากเรานำลูกบาศก์มาวางซ้อนกัน จะกลายเป็นรูปเรขาคณิตรูปทรงต่าง ๆ ได้ และหากมองในมุมมองด้านหน้า ด้านข้าง และ
ด้านบน จะเป็นรูปทรงเรขาคณิตสองมิติ
โดยการแสดงจำนวนลูกบาศก์ที่ซ้อนกันอยู่ในมุมมองนั้น ๆ จะเขียนตัวเลขกำกับไว้ และจำนวนลูกบาศก์ในทุกมุมมองจะเท่ากัน
ดังตัวอย่างต่อไปนี้
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติ ภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง ภาพด้านบน
ด้านบน

2 1 1 2 1
1 1
1 2 3 1 1 2
1 2 4
1
ด้านหน้า ด้านข้าง

ด้านบน

1 1 1 3 3 3 3
2 1 2 2 3 2 2
3 1 3 2 2 3 1 1
ด้านหน้า ด้านข้าง

ด้านบน

3 1 1 1 1 3 3 3 3
3 2 1 1 2 3 3 2 1
3 3 3 3 3 3 3 1 1
ด้านหน้า ด้านข้าง

ด้านบน

2 1 1 1 3 3 3 3 2
3 2 2 1 1 3 4 3 2 2 1
3 2 2 3 2 4 4 2 1
ด้านหน้า ด้านข้าง
ตัวอย่างโจทย์
1. หากต้องการวางลูกบาศก์ซ้อนกันเพื่อให้ได้ภาพที่มองจากด้านบน ด้านหน้า และด้านข้าง เป็นดังภาพต่อไปนี้ อยากทราบว่า
จะต้องใช้ลูกบาศก์อย่างน้อยที่สุดกี่ลูก

ด้านบน ด้านหน้า ด้านข้าง


4. อนุกรมรูปภาพจากรูปทรงเรขาคณิต
หลักการ
แนวโจทย์รูปแบบนี้จะเป็นการมองความสัมพันธ์ของรูปทรงเรขาคณิตสองมิติ โดยควรแยกวิเคราะห์ทีละองค์ประกอบแล้วนำ
ความสัมพันธ์ที่วิเคราะห์ได้ไปสร้างรูปถัดไป

ตัวอย่างโจทย์
1. จากความสัมพันธ์ดังรูป อยากทราบว่ารูปถัดไปจะมีลักษณะเป็นอย่างไร

2. จากความสัมพันธ์ดังรูป อยากทราบว่ารูปถัดไปจะมีลักษณะเป็นอย่างไร

?
3. จากความสัมพันธ์ดังภาพ อยากทราบว่าภาพถัดไปที่มีความสัมพันธ์เดียวกันเป็นอย่างไร

4. จากความสัมพันธ์ดังภาพ อยากทราบว่าภาพถัดไปที่มีความสัมพันธ์เดียวกันเป็นอย่างไร

?
5. การอนุมานความสัมพันธ์ของรูปทรงเรขาคณิตสองมิติ
หลักการ
แนวโจทย์ประเภทนี้ จะเป็นการอนุมานความสัมพันธ์ของรูปทรงเรขาคณิตสองมิติทโี่ จทย์กำหนดให้ จากนั้นจึงนำไปสร้างเป็น
รูปทรงเรขาคณิตทีใ่ ช้ความสัมพันธ์เดียวกัน
ตัวอย่างโจทย์

1. กำหนดความสัมพันธ์ ดังนี้

จากความสัมพันธ์เดียวกันนี้ อยากทราบว่าภาพที่หายไปเป็นอย่างไร

: ?
2. กำหนดความสัมพันธ์ ดังนี้

จากความสัมพันธ์เดียวกันนี้ อยากทราบว่าภาพที่หายไปเป็นอย่างไร

: ?

You might also like