You are on page 1of 30

โรงเรียน วัดสระเกศ

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรูที่ 20 เรื่อง แรงและการหาแรงลัพธ
รหัสวิชา ว30201 ชื่อวิชา ฟสิกส 1 ผูสอน นายปราณนต พิมพพันธุ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 จำนวนนักเรียน 8 คน วันทีส่ อน 30 สิงหาคม 2564 เวลา 08.20—10.00 (100 นาที)
อาจารยนิเทศกสถานศึกษา ครูนจุ นารถ รุงอเนกทรัพย อาจารยนิเทศคณะครุศาสตร อาจารย ดร.อัศวนนทปกรณ ธเนศวีรภัทร

สาระ ฟสิกส
ผลการเรียนรู
1. ทดลอง และอธิบายการหาแรงลัพธของแรงสองแรงที่ทำมุมตอกัน
ผลการเรียนรูในสาระที่เชื่อมโยงกัน
1. เขาใจธรรมชาติทางฟสิกส ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรง แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโนมถวงสากล แรงเสียดทานสมดุลกล ของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษพลังงาน
กล โมเมนตัมและกฎการอนุรักษ โมเมนตัม การเคลื่อนที่แนวโคง รวมทั้งนำความรูไปใชประโยชน
สาระการเรียนรูแกนกลาง
- แรงเปนปริมาณเวกเตอรจึงมีทั้งขนาดและทิศทาง กรณีที่มีแรงหลาย ๆ แรง กระทำตอวัตถุสามารถหาแรงลัพธที่กระทำตอวัตถุโดยใชวิธีเขียนเวกเตอรของแรงแบบหางตอหัว วิธีสรางรูปสีเ่ หลีย่ มดาน
ขนานของแรงและวิธคี ำนวณ
สาระสำคัญ
แรง (force) คือ สิ่งที่กระทำตอวัตถุแลวทำใหวัตถุเปลี่ยนสภาพไป ซึ่งการกระทำนั้นอาจทำใหวัตถุเกิดการเคลื่อนที่หรือเปลี่ยนรูปราง แตการเคลื่อนที่ของวัตถุหนึ่ง ๆ นั้นอาจเปนผลมาจากแรงหลายแรง
ซึ่งในกรณีที่มีแรงหลายแรงกระทำตอวัตถุจะตองรวมแรงทั้งหมดที่มากระทำเพื่อหาแรงลัพธ ดวยวิธีทางเวกเตอรทางวิธีการหาแรงลัพธสามารถทำไดดวยการวาดรูป โดยนำหัวลูกศร ของเวกเตอรแรงหนึ่งไปตอกับหาง
ลูกศร ของเวกเตอรอีกแรงหนึ่ง และตอในลักษณะนีไ้ ปเรื่อย ๆ จนครบทุกเวกเตอร จากนั้นลากเวกเตอรจากหางลูกศรของเวกเตอรแรงตัวแรกไปยังหัวลูกศรของเวกเตอรแรงตัวสุดทาย และการคำนวณ แบงเปน 3
กรณีคือ กรณีแรงอยูในแนวเดียวกันแบบ 1 มิต,ิ กรณีแรงอยูในระนาบเดียวกันแบบ 2 มิติ และทำมุมตัง้ ฉากกันและกรณีแรงอยูในระนาบเดียวกันแบบ 2 มิติ และทำมุมใดตอ ๆ กัน
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
เมื่อเรียนคาบนี้
1. เนื้อหา 1. ขั้นนำ (15 นาที) - ใบบันทึกขอมูลประกอบการ - นักเรียนสามารถ
จบแลวนักเรียน 1.1 ความหมายของแรง 1.1 ครูใหนักเรียนสังเกต การเคลื่อนที่ของกลอง บรรยาย เรื่อง “แรงและการหา อธิบายความหมายของ
สามารถ แรง (force) คือ สิ่งที่กระทำตอวัตถุ ทั้งสองกลอง ในวีดิโอ จากลิงค ตอไปนี้ แรงลัพธ” แรง จากคำถาม ใน
ดานพุทธิพิสัย แลวทำใหวัตถุเปลี่ยนสภาพไป ซึ่งการ https://www.youtube.com/watch?v=B แบบฝกหัดไดคะแนน
1. อธิบาย กระทำนั้นอาจทำใหวัตถุเกิดการเคลื่อนที่ 6mi1-YoRT4 (เวลา 0:20-0:35) - แบบฝกหัด เรื่อง “แรงและ คิดเปนรอยละ 50 ของ
ความหมายของแรง หรือเปลี่ยนรูปราง โดยการเปลี่ยนแปลงนี้ 1.2 ครูใชคำถามเพื่อเชื่อมโยงไปสูเนื้อหาถัดไป การหาแรงลัพธ” คะแนนรวมขึ้นไป
ได จะขึ้นอยูกับขนาดและทิศทางของแรงที่มา ดังนี้
2. อธิบายผลของแรง กระทำ (และขึ้นอยูกับชนิดของวัตถุดวย ใน 1.2.1 ในวีดิโอที่ไดสังเกตไป กลองทางซาย - สื่ออิเล็กทรอนิกส จาก - นักเรียนสามารถ
ที่มีตอการเคลื่อนที่
กรณีที่วัตถุเปลี่ยนรูปราง) ซึ่งอาจจะมีการ เคลื่อนที่ไปในทิศทางใด (ไปทางขวา) โปรแกรมพาวเวอรพอยท เรื่อง อธิบายผลของแรงที่มี
ได เปลี่ยนแปลงเฉพาะขนาดของความเร็ว 1.2.2 ในวีดิโอที่ไดสังเกตไป กลองทางขวา “แรงและการหาแรงลัพธ” ตอการเคลื่อนที่ จาก
หรือเฉพาะทิศทางของความเร็ว หรือ เคลื่อนที่ไปในทิศทางใด (ไปทางซาย) คำถาม ในแบบฝกหัด
ดานทักษะพิสัย เปลี่ยนแปลงทั้งขนาดและทิศทางของ 1.2.3 นักเรียนคิดวาเพราะเหตุใด กลองทั้ง - หนังสือเรียนอักษรเจริญทัศน ไดคะแนนคิดเปนรอย
1. คำนวณเพื่อหา ความเร็วไปพรอมกันก็ได ดังนั้น แรงจึงเปน สองถึงเคลื่อนที่ (คำถามชวนคิด ตอบ รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ละ 50 ของคะแนนรวม
แรงลัพธโดยใช ปริมาณเวกเตอร เขียนแทนดวยสัญลักษณ อยางไรก็ได) ฟสิกส ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ขึ้นไป
วิธีการวาดรูปและ 𝐹𝐹⃑ มีหนวยใน ระบบเอสไอเปน นิวตัน (N) 2. ขั้นสอน (65 นาที) เลม 1
คำนวณได จากที่กลาวมาแลววา แรงทำใหวัตถุ 2.1 ครูเชื่อมโยงเหตุผลในการเคลื่อนที่ของกลอง
เกิดการเคลื่อนที่ แตการเคลื่อนที่ของวัตถุ ทั้งสอง กับเนื้อหาถัดไป ดวยการอภิปราย - วิดิทัศนเรื่อง “What is
ดานจิตพิสัย หนึ่ง ๆ นั้นอาจเปนผลมาจากแรงหลายแรง โดยใชคำถามตอไปนี้ “กลองทั้งสองเคลื่อนที่ Force? - Part 1| Forces
1. มีความรับผิดชอบ มากระทำตอวัตถุ ซึ่งในกรณีที่มีแรงหลาย ไดเพราะมีการออกแรงจากคนทั้งสองคน ที่ and Motion | Physics |
โดยการเขาเรียนและ แรงมากระทำตอวัตถุจะตองรวมแรง ออกแรงผลักหรือดึงทำใหกลองเคลื่อนที่ Don't Memorise” จาก
สงงานไดตรงเวลา ทั้งหมดที่มากระทำเพื่อหาแรงลัพธ นักเรียนคิดวาแรงมีความหมายวาอะไร” https://www.youtube.com
(resultant force) ดวยวิธีทางเวกเตอร ถา (คำถามชวนคิด ตอบอยางไรก็ได) /watch?v=B6mi1-YoRT4
มีแรง จำนวณ n แรงมากระทำตอวัตถุ เรา
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
จะเขียนแรงลัพธที่กระทำตอวัตถุไดเปน 2.2 ครูอธิบายความหมายของแรง เพื่อสรุป - นักเรียนสามารถ
∑𝑛𝑛𝑖𝑖=1 𝐹𝐹⃑𝑖𝑖 แตเพื่อความ งายเราจะเขียนแรง ความรูที่ไดจากการอภิปรายขางตน คำนวณเพื่อหาแรงลัพธ
ลัพธที่กระทำตอวัตถุนั้นเปน ∑ 𝐹𝐹⃑ เทานั้น 2.3 ครูใหนักเรียนสังเกต การเคลื่อนที่ของกลอง โดยใชวิธีการวาดรูป
เนื่องจากแรงเปนปริ่มาณเวกเตอรจึง ทั้งสองกลอง ในวีดิโอ จากลิงค ตอไปนี้ และคำนวณ จากโจทย
สามารถเขียนแทนไดดวยลูกศร โดยให https://www.youtube.com/watch?v=B ปญหาใน แบบฝกหัดได
ความยาวของลูกศรแทนขนาดของแรงและ 6mi1-YoRT4 (เวลา 0:20-0:35) คะแนนคิดเปนรอยละ
หัวลูกศรแทนทิศทางของแรง ซึ่งวิธีการหา 2.4 ครูใชคำถามเพื่อเชื่อมโยงไปสูเนื้อหาถัดไป 50 ของคะแนนรวมขึ้น
แรงลัพธสามารถทำไดดังตอไปนี้ ดังนี้ ไป
2.4.1 หากกลองทั้งสองเคลื่อนที่เพราะแรง
1.2 การหาแรงลัพธโดยการวาดรูป แรงที่ทำใหกลองทางซายเคลื่อนที่มี - นักเรียนมีความ
การหาแรงลัพธวิธีนี้ทำไดโดยนำหัว ทิศทางไปในทางใด (ทางขวา) รับผิดชอบโดยการเขา
ลูกศร (head) ของเวกเตอรแรงหนึ่งไปตอ 2.4.2 หากกลองทั้งสองเคลื่อนที่เพราะแรง เรียนและสงงานไดตรง
กับหางลูกศร (Tail) ของเวกเตอรอีกแรง แรงที่ทำใหกลองทางขวาเคลื่อนที่มี เวลา
หนึ่ง และตอในลักษณะนี้ไปเรื่อย ๆ จนครบ ทิศทางไปในทางใด (ทางซาย)
ทุกเวกเตอร จากนั้นลากเวกเตอรจากหาง 2.4.3 หากผูออกแรงทั้งสองคน ออกแรงผลัก
ลูกศรของเวกเตอรแรงตัวแรกไปยังหัวลูกศร กลอง กลองหนึ่งไปทางขวาพรอมกัน
ของเวกเตอรแรงตัวสุดทาย ซึ่งจะเรียก กลองนั้นจะเคลื่อนที่ไปในทิศทางใด
เวกเตอรที่ลากขึ้นมาใหมวา เวกเตอรแรง (ทางขวา)
ลัพธ หรือแรงลัพธ โดยความยาวของ 2.4.4 การเปลี่ยนแปลงความเร็วของกลองใน
เวกเตอรที่ไดนั้นจะแทนขนาดของแรงลัพธ คำถามขางตน จะเหมือนหรือแตกตาง
และทิศทางของหัวลูกศรของเวกเตอรจะ กับกลองในวีดิโอหรือไม (คำถามชวน
แทนทิศทางของแรงลัพธ คิดตอบอยางไรก็ได)
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
1.2 การหาแรงลัพธโดยการคำนวณ 2.4.5 หากผูออกแรงทั้งสองคน ออกแรงผลัก
แรงลัพธจะมีคาเทากับผลบวกของแรง กลอง กลองหนึ่ง โดยทั้งสองคนออก
ยอยทั้งหมด โดยใชหลักการรวมเวกเตอร แรงในทิศทางตรงขามกัน กลองนั้นจะ
ในทางคณิตศาสตรมาคำนวณ กลาวคือ ถา เคลื่อนที่ไปในทิศทางใด (คำถามชวนคิด
𝐹𝐹⃑1 , 𝐹𝐹⃑2 และ 𝐹𝐹⃑3 เปนแรงยอย จะไดแรงลัพธ ตอบอยางไรก็ได)
(∑ 𝐹𝐹⃑) เปน ∑ 𝐹𝐹⃑ = 𝐹𝐹⃑1 + 𝐹𝐹⃑2 + 𝐹𝐹⃑3 ซึ่งการ 2.5 ครูใหนักเรียนสังเกตลักษณะและทิศทางของ
หาแรงลัพธโดยวิธีการคำนวณสามารถแบง การเคลื่อนที่ของรถในรูปตอไปนี้
ออกได 2 กรณี ดังนี้
1.2.1 กรณีแรงยอยทั้งหมดมีทิศทาง
เดียวกัน
สามารถหาขนาดของแรงลัพธไดจาก
ผลรวมของขนาดของแรงยอยทั้งหมด และ
ทิศทางของแรงลัพธจะมีทิศทางเดียวกับ
แรงยอย
2.6 ครูนำการอภิปราย เพื่อเชื่อมโยงการ
เคลื่อนที่ที่ไดสังเกตไป กับผลของแรงที่มีตอ
การเคลื่อนที่ โดยใชคำถามดังตอไปนี้
2.6.1 รถในภาพกำลังเคลื่อนที่ไปในทิศทางใด
(ทางขวา)
2.6.2 หากมีแรงเขามากระทำไปในทิศทางขวา
นักเรียนคิดวาขนาดของความเร็วของ
รถ จะเปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร
(คำถามชวนคิด ตอบอยางไรก็ได)
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
1.2.2 กรณีแรงยอยมีทิศทางตรงขามกัน 2.6.3 ครูทำการอธิบายเพื่อเฉลยวา ขนาด
สามารถหาแรงลัพธไดจากผลรวมของ ความเร็วของรถ จะมีคาเพิ่มขึ้น
แรงยอยทั้งหมดในระบบ โดยกำหนดใหแรง 2.6.4 หากมีแรงเขามากระทำไปในทิศ
ทิศใดทิศหนึ่งเปนบวก และแรงอื่นที่มีทิศ ทางซาย นักเรียนคิดวาขนาดของ
ตรงกันขามเปนลบซึ่งทิศทางของแรงลัพธ ความเร็วของรถ จะเปลี่ยนแปลงหรือไม
จะพิจารณาจากผลการคำนวณ หากแรง อยางไร (คำถามชวนคิด ตอบอยางไรก็
ลัพธมีคาเปนบวก แรงลัพธนั้นจะมีทิศทาง ได)
เดียวกับแรงที่กำหนดไว แตหากแรงลัพธมี 2.6.5 ครูทำการอธิบายเพื่อเฉลยวา ขนาด
คาเปนลบ แรงลัพธนั้นจะมีทิศตรงขามกับ ความเร็วของรถ จะมีคาลดลง
แรงที่กำหนดไว 2.7 ครูใหนักเรียนสังเกตลักษณะและทิศทางของ
1.2.3 กรณีแรงยอยมีทิศทางตั้งฉากกัน การเคลื่อนที่ของรถในรูปตอไปนี้
สามารถหาแรงลัพธไดโดยใชวิธีการ
วาดรูปแบบหัวลูกศรตอกับหางลูกศร แลว
ลากเสนแรงลัพธ ซึ่งจะไดรูปสามเหลี่ยมมุม
ฉาก จากนั้นใชทฤษฎีบทพีทาโกรัส
(Pythagoras' theorem) ในการหาขนาด
ของแรงลัพธ

2.8 ครูนำการอภิปราย เพื่อเชื่อมโยงการ


เคลื่อนที่ที่ไดสังเกตไป กับผลของแรงที่มีตอ
การเคลื่อนที่ โดยใชคำถามดังตอไปนี้
2.8.1 รถในภาพกำลังเคลื่อนที่ไปในทิศทางใด
(ทางซาย)
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
จากภาพจะเห็นไดวาแรง 𝐹𝐹⃑1 และ 𝐹𝐹⃑2 2.8.2 หากมีแรงเขามากระทำไปในทิศทางขวา
ตั้งฉากกันเมื่อนำมาวาดรูปแบบหัวลูกศร นักเรียนคิดวาขนาดของความเร็วของ
ตอกับหางลูกศรจะไดวา ขนาดของแรงลัพธ รถ จะเปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร
หาไดโดยการใชทฤษฎีบทพีทาโกรัส ดัง (คำถามชวนคิด ตอบอยางไรก็ได)
สมการ 2.8.3 ครูทำการอธิบายเพื่อเฉลยวา ขนาด
(∑𝐹𝐹⃑ )2 = (�⃑
𝐹𝐹1 )2 + (�⃑
𝐹𝐹2 )2 ความเร็วของรถ จะมีคาลดลง
สวนทิศทางของแรงลัพธ ∑𝐹𝐹⃑ สามารถ 2.8.4 หากมีแรงเขามากระทำไปในทิศ
หาไดจากสมการดานลาง ซึ่งมุม 𝜃𝜃 เปนมุม ทางซาย นักเรียนคิดวาขนาดของ
ที่แรงลัพธ ∑𝐹𝐹⃑ กระทำกับทิศตะวันออก ความเร็วของรถ จะเปลี่ยนแปลงหรือไม
𝐹𝐹2 อยางไร (คำถามชวนคิด ตอบอยางไรก็
tan 𝜃𝜃 =
𝐹𝐹1 ได)
2.8.5 ครูทำการอธิบายเพื่อเฉลยวา ขนาด
1.3 โจทยตัวอยาง
ความเร็วของรถ จะมีคาเพิ่มขึ้น
1.3.1 จงหาแรงลัพธของแรง a ขนาด 20
2.9 ครูนำการอภิปรายเพื่อวิเคราะหและ
นิวตัน และแรง b ขนาด 15 นิวตัน ใน
เปรียบเทียบผลของแรงตอการเคลื่อนที่ โดย
รูปภาพตอไปนี้ ดวยวิธีการวาดรูป
ใชคำถามตอไปนี้
2.9.1 จากทั้งสองกรณีหากขนาดของความเร็ว
มีทิศทางเพิ่มขึ้น แรงตองกระทำไปใน
ทิศทางใด (ทิศทางเดียวกับการ
เคลื่อนที่)
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
ปริมาณที่โจทยที่กำหนดให : 2.9.2 จากทั้งสองกรณีหากขนาดของความเร็ว
- แรง a มีขนาด 20 นิวตัน มีทิศทางไป มีทิศทางลดลง แรงตองกระทำไปใน
ทางขวา ทิศทางใด (ทิศทางตรงขามกับการ
- แรง b มีขนาด 15 นิวตัน มีทิศทางขึ้น เคลื่อนที่)
ขางบน 2.10 ครูใหนักเรียนสังเกตลักษณะและ
วิธีทำ ทิศทางของการเคลื่อนที่ของรถในรูปตอไปนี้
วาดรูปแบบหางตอหัว ไดดังนี้

ดังนั้น แรงลัพธมีขนาด เทากับ 25 นิวตัน


และมีทิศทางทำมุม 37 องศากับแนวแกน 2.11 ครูนำการอภิปราย เพื่อเชื่อมโยงการ
นอน ไปทางบนขวา เคลื่อนที่ที่ไดสังเกตไป กับผลของแรงที่มีตอ
การเคลื่อนที่ โดยใชคำถามดังตอไปนี้
2.11.1 หลังจากทีค่ นในภาพโยนลูกบอล บอล
เคลื่อนที่ไปทางใด (เขาหากำแพง)
2.11.2 เมื่อบอลกระแทกกำแพงแลว บอลมี
ทิศทางไปทางใด (ออกจากกำแพง หรือ
เขาหาคนโยน)
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
1.3.2 จงหาแรงลัพธของแรง a ขนาด 20 2.11.3 จากเกตุการณดังกลาง ถือวาการ
นิวตัน และแรง b ขนาด 5 นิวตัน ใน เคลื่อนที่ของบอลมีการเปลี่ยนทิศทาง
รูปภาพตอไปนี้ ดวยวิธีการคำนวณ หรือไม (มี)
กำหนดใหทิศทางขวาเปนบวก และทิศ 2.11.4 นักเรียนคิดวา ทำไมบอลถึงเปลี่ยน
ทางซายเปนลบ ทิศทาง (คำถามชวนคิด ตอบอยางไรก็
ได)
2.11.5 ครูทำการอธิบายเพื่อสรุปวา บอล
เปลี่ยนทิศทางเพราะ แรงที่กำแพงออก
แรงกระทำกับลูกบอล
2.12 ครูใหนักเรียนสังเกตลักษณะและ
ทิศทางของการเคลื่อนที่ของรถในรูปตอไปนี้
ปริมาณที่โจทยที่กำหนดให :
𝐹𝐹⃑𝑎𝑎 = +20 𝑁𝑁 ทิศทางขวา
𝐹𝐹⃑𝑏𝑏 = +5 𝑁𝑁 ทิศทางขวา
วิธีทำ
จากสมการ ∑ 𝐹𝐹⃑ = 𝐹𝐹⃑1 + 𝐹𝐹⃑2 + 𝐹𝐹⃑3
แทนคา ∑ 𝐹𝐹⃑ = 𝐹𝐹⃑𝑎𝑎 + 𝐹𝐹⃑𝑏𝑏

� 𝐹𝐹⃑ = 20 + 5 = +25 𝑁𝑁 2.13 ครูนำการอภิปราย เพื่อเชื่อมโยงการ


เคลื่อนที่ที่ไดสังเกตไป กับผลของแรงที่มีตอ
ดังนั้น แรงลัพธมีขนาดเทากับ 25 นิวตัน การเคลื่อนที่ โดยใชคำถามดังตอไปนี้
และมีทิศทางไปทางขวา 2.13.1 หากรถเคลื่อนที่โดยใหลอทับแตงโม
นักเรียนคิดวาแตงโมจะเปนอยางไร
(คำถามชวนคิดตอบอยางไรก็ได)
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
1.3.3 จงหาแรงลัพธของแรง a ขนาด 10 2.13.2 ลักษณะของแตงโมที่นักเรียนตอบในขอ
นิวตัน และแรง b ขนาด 25 นิวตัน ใน กอนหนา แตกตางจากลักษณะของ
รูปภาพตอไปนี้ ดวยวิธีการคำนวณ แตงโมกอนถูกรถเหยียบหรือไม
กำหนดใหทิศทางขวาเปนบวก และทิศ (แตกตาง)
ทางซายเปนลบ 2.13.3 นักเรียนคิดวา ทำไมแตงโมถึงเปลี่ยน
รูปราง (คำถามชวนคิด ตอบอยางไรก็
ได)
2.13.4 ครูทำการอธิบายเพื่อสรุปวา แตงโม
เปลี่ยนรูปรางเพราะ แรงที่รถออกแรง
ทับแตงโม

2.14 ครูอธิบายเพื่อสรุปความรูที่ไดจาก
ปริมาณที่โจทยที่กำหนดให : การอภิปราย โดยทำการแนะนำเกี่ยวกับ
𝐹𝐹⃑𝑎𝑎 = −10 𝑁𝑁 ทิศทางขวา วิธีการหาแรงลัพธโดยการวาดรูป
𝐹𝐹⃑𝑏𝑏 = +25 𝑁𝑁 ทิศทางขวา 2.15 ครูสาธิตการทำโจทยตอไปนี้ “จงหา
วิธีทำ แรงลัพธของแรง a ขนาด 20 นิวตัน และ
จากสมการ ∑ 𝐹𝐹⃑ = 𝐹𝐹⃑1 + 𝐹𝐹⃑2 + 𝐹𝐹⃑3 แรง b ขนาด 15 นิวตัน ในรูปภาพตอไปนี้
แทนคา ∑ 𝐹𝐹⃑ = 𝐹𝐹⃑𝑎𝑎 + 𝐹𝐹⃑𝑏𝑏 ดวยวิธีการวาดรูป” โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้
� 𝐹𝐹⃑ = (−10) + (+25) = +15 𝑁𝑁

ดังนั้น แรงลัพธมีขนาดเทากับ 15 นิวตัน


และมีทิศทางไปทางขวา
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
1.3.4 จงหาแรงลัพธของแรง a ขนาด 20 2.15.1 โจทยตองการหาปริมาณอะไร (แรงลัพธ
นิวตัน และแรง b ขนาด 15 นิวตัน ใน ของแรง a และแรง b)
รูปภาพตอไปนี้ ดวยวิธีการคำนวณ 2.15.2 โจทยกำหนดขอมูลอะไรมาใหบาง
(แรง a มีขนาด 20 นิวตัน มีทิศทางไป
ทางขวา และ แรง b มีขนาด 15 นิวตัน
มีทิศทางขึ้นขางบน)
2.15.3 ควรใชวิธีการในการหาแรงลัพธดังกลาว
(การวาดรูป)
2.15.4 ครูทำการสาธิตการวาดรูป ดังนี้
ปริมาณที่โจทยที่กำหนดให :
𝐹𝐹⃑𝑎𝑎 = 20 𝑁𝑁 ขึ้นขางบน
𝐹𝐹⃑𝑏𝑏 = 15 𝑁𝑁 ทิศทางขวา
วิธีทำ
จากสมการ (∑𝐹𝐹⃑)2 = (𝐹𝐹⃑1)2 + (𝐹𝐹⃑2)2
แทนคา (∑𝐹𝐹⃑ )2 = (𝐹𝐹⃑𝑏𝑏 )2 + (𝐹𝐹⃑𝑎𝑎 )2
(∑𝐹𝐹⃑ )2 = (15)2 + (20)2
(∑𝐹𝐹⃑ )2 = (225) + (400) = +625 2.15.5 ครูทำการสรุปคำตอบ ดังนี้
- ทำการวัดขนาด ดวยไมบรรทัด ไดเทากับ
ดังนั้น ∑ 𝐹𝐹⃑ = √625 = 25 𝑁𝑁
25 นิวตัน
- ทำการวัดมุมที่ทำกับแนวแกนนอน ดวย
ไมแทรกเตอร ไดเทากับ 37 องศา ไป
ทางดานขวาบน
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
𝐹𝐹2 2.16 ครูใชคำถามเพื่อเชื่อมโยงสูเนื้อหา
จากสมการ tan 𝜃𝜃 =
𝐹𝐹1
𝐹𝐹𝑎𝑎 ถัดไป ดังนี้
แทนคา tan 𝜃𝜃 =
𝐹𝐹𝑏𝑏 2.16.1 ในกรณีที่ผูออกแรงทั้งสองคน ออกแรง
20 4
tan 𝜃𝜃 = = ผลักกลอง กลองหนึ่งไปทางขวาพรอม
15 3
4 กัน แรงลัพธจะมีทิศไปทางใด (ไป
จาก tan 53° =
3
ดังนั้น 𝜃𝜃 = 53° ทางขวา)
2.16.2 วิธีการหาแรงลัพธดวยวิธีการวาดรูปนั้น
ดังนั้น แรงลัพธมีขนาดเทากับ 25 นิวตัน สามารถหาทิศทางของแรงลัพธได
และมีทิศทางทำมุม 53 องศากับแกนนอน หรือไม (ได)
ไปทางบนขวา 2.16.3 วิธีการหาแรงลัพธดวยวิธีการวาดรูปนั้น
เพียงพอหรือไมตอการหาขนาดของแรง
ลัพธ (เพียงพอ แตอาจคลาดเคลื่อนได)
2.16.4 หากตองการหาขนาดของแรงลัพธอยาง
ชัดเจน สามารถทำไดอยางไร (คำถาม
ชวนคิด ตอบอยางไรก็ได)
2.17 ครูทำการอธิบายเพื่อสรุปความรูที่ได
จากการอภิปรายขางตน โดยการแนะนำให
นักเรียนรูจักการหาแรงลัพธโดยการคำนวณ
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
2. กระบวนการ 2.18 ครูใหนักเรียนสังเกต สถานการณ
สมรรถนะสำคัญ 5 ดาน จำลองในโจทยปญหากรณีแรงยอยมีทิศ
- ความสามารถในการสื่อสาร: ในการตอบ ทางตรงขามกัน ดังนี้ “จงหาแรงลัพธของแรง
คำถามที่ครูทำการถามไดอยางตรงประเด็น a ขนาด 20 นิวตัน และแรง b ขนาด 5 นิว
- ความสามารถในการคิด: ในการคิดหา ตัน ในรูปภาพตอไปนี้ ดวยวิธีการคำนวณ
คำตอบที่จะตองตอบและคำนวณปริมาณได กำหนดใหทิศทางขวาเปนบวก และทิศ
อยางถูกตอง ทางซายเปนลบ”
- ความสามารถในการแกปญหา: ในการแก
โจทยปญหา
- ความสามารถในการใชทักษะชีวิต (-)
- ความสามารถในการใชเทคโนโลยี (-)

3. คุณลักษณะอันพึงประสงค
- มีความรับผิดชอบ จากการเขาเรียนและ
สงงานตรงเวลา 2.19 ครูทำการอภิปรายเกี่ยวกับการหา
- มุงมั่นในการทำงาน จากการตอบคำถาม แรงลัพธดวยการคำนวณ โดยใชคำถาม
ในชั้นเรียน และทำโจทยที่กำหนดใหให ดังตอไปนี้
เสร็จทันเวลา 2.19.1 จากสถานการณในโจทย แรง a มี
ทิศทางพุงไปทางใด (ไปทางขวา)
2.19.2 จากสถานการณในโจทย แรง b มี
ทิศทางพุงไปทางใด (ไปทางขวา)
2.19.3 แรงทั้งสองมีทิศทางไปทางเดียวกัน
หรือไม (ทิศทางเดียวกัน)
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
2.19.4 หากใชวิธีการวาดรูปเพื่อหาแรงลัพธ
นักเรียนคิดวาขนาดของแรงลัพธ จะ
มากกวาแรง a และ แรง b หรือไม
เพราะเหตุใด (คำถามชวนคิดตอบ
อยางไรก็ได)
2.20 ครูอธิบายเพื่อแนะนำสมการที่ใชใน
การคำนวณหาขนาดของแรงลัพธ ดังนี้
� 𝐹𝐹⃑ = 𝐹𝐹⃑1 + 𝐹𝐹⃑2 + 𝐹𝐹⃑3
2.21 ครูสาธิตวิธีการแกปญหา ในโจทยขอ
ดังกลาว โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้
2.21.1 โจทยตองการหาปริมาณอะไร (แรงลัพธ
ของแรง a และแรง b)
2.21.2 โจทยกำหนดปริมาณอะไรมาใหบาง
(𝐹𝐹⃑𝑎𝑎 = +20 𝑁𝑁 ทิศทางขวา
𝐹𝐹⃑𝑏𝑏 = +5 𝑁𝑁 ทิศทางขวา)
2.21.3 ควรใชสมการใดในการหาขนาดของแรง
ลัพธดังกลาว
(∑ 𝐹𝐹⃑ = 𝐹𝐹⃑1 + 𝐹𝐹⃑2 + 𝐹𝐹⃑3)
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
2.21.4 ครูทำการสาธิตการคำนวณ ดังนี้
จากสมการ ∑ 𝐹𝐹⃑ = 𝐹𝐹⃑1 + 𝐹𝐹⃑2 + 𝐹𝐹⃑3
แทนคา ∑ 𝐹𝐹⃑ = 𝐹𝐹⃑𝑎𝑎 + 𝐹𝐹⃑𝑏𝑏

� 𝐹𝐹⃑ = 20 + 5 = +25 𝑁𝑁

ดังนั้น แรงลัพธมีขนาดเทากับ 25 นิวตัน และมี


ทิศทางไปทางขวา

2.22 ครูใหนักเรียนสังเกต สถานการณ


จำลองในโจทยปญหากรณีแรงยอยทั้งหมดมี
ทิศทางเดียวกัน ดังนี้ “จงหาแรงลัพธของ
แรง a ขนาด 10 นิวตัน และแรง b ขนาด
25 นิวตัน ในรูปภาพตอไปนี้ ดวยวิธีการ
คำนวณ กำหนดใหทิศทางขวาเปนบวก และ
ทิศทางซายเปนลบ”
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
2.23 ครูทำการอภิปรายเกี่ยวกับการหา
แรงลัพธดวยการคำนวณ โดยใชคำถาม
ดังตอไปนี้
2.23.1 จากสถานการณในโจทย แรง a มี
ทิศทางพุงไปทางใด (ไปทางซาย)
2.23.2 จากสถานการณในโจทย แรง b มี
ทิศทางพุงไปทางใด (ไปทางขวา)
2.23.3 แรงทั้งสองมีทิศทางไปทางเดียวกันหรือ
ตรงขามกัน (ทิศตรงขามกัน)
2.23.4 นักเรียนคิดวา สามารถใชสมการ
� 𝐹𝐹⃑ = 𝐹𝐹⃑1 + 𝐹𝐹⃑2 + 𝐹𝐹⃑3
ในการคำนวณหาขนาดของแรงลัพธได
หรือไม (คำถามชวนคิดตอบอยางไรก็ได)

2.24 ครูสาธิตวิธีการแกปญหา ในโจทยขอ


ดังกลาว โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้
2.24.1 โจทยตองการหาปริมาณอะไร (แรงลัพธ
ของแรง a และแรง b)
2.24.2 โจทยกำหนดปริมาณอะไรมาใหบาง
(𝐹𝐹⃑𝑎𝑎 = −10 𝑁𝑁 ทิศทางขวา
𝐹𝐹⃑𝑏𝑏 = +25 𝑁𝑁 ทิศทางขวา)
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
2.24.3 ควรใชสมการใดในการหาขนาดของแรง
ลัพธดังกลาว
(∑ 𝐹𝐹⃑ = 𝐹𝐹⃑1 + 𝐹𝐹⃑2 + 𝐹𝐹⃑3)
2.24.4 ครูทำการสาธิตการคำนวณ ดังนี้
จากสมการ ∑ 𝐹𝐹⃑ = 𝐹𝐹⃑1 + 𝐹𝐹⃑2 + 𝐹𝐹⃑3
แทนคา ∑ 𝐹𝐹⃑ = 𝐹𝐹⃑𝑎𝑎 + 𝐹𝐹⃑𝑏𝑏

� 𝐹𝐹⃑ = (−10) + (+25) = +15 𝑁𝑁

ดังนั้น แรงลัพธมีขนาดเทากับ 15 นิวตัน และมี


ทิศทางไปทางขวา

2.25 ครูใหนักเรียนสังเกต สถานการณ


จำลองในโจทยปญหากรณีแรงยอยมีทิศทาง
ตั้งฉากกัน ดังนี้ “จงหาแรงลัพธของแรง a
ขนาด 20 นิวตัน และแรง b ขนาด 15 นิว
ตัน ในรูปภาพตอไปนี้ ดวยวิธีการคำนวณ”
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
2.26 ครูทำการอภิปรายเกี่ยวกับการหา
แรงลัพธดวยการคำนวณ โดยใชคำถาม
ดังตอไปนี้
2.26.1 จากสถานการณในโจทย แรง a มี
ทิศทางพุงไปทางใด (ขึ้นขางบน)
2.26.2 จากสถานการณในโจทย แรง b มี
ทิศทางพุงไปทางใด (ไปทางขวา)
2.26.3 ขนาดของแรงทั้งสองมีทิศทางไปทาง
เดียวกันหรือไม (ไมใชทิศทางเดียวกัน)
2.26.4 นักเรียนคิดวาทิศทางที่แรงทั้งสองทำตอ
กัน เปนมุมตั้งฉากหรือไม (เปนมุมตั้ง
ฉากกัน)
2.26.5 นักเรียนคิดวา สามารถใชสมการ
� 𝐹𝐹⃑ = 𝐹𝐹⃑1 + 𝐹𝐹⃑2 + 𝐹𝐹⃑3
ในการคำนวณหาขนาดของแรงลัพธได
หรือไม (คำถามชวนคิดตอบอยางไรก็ได)
2.27 ครูอธิบายเพื่อแนะนำสมการที่ใชใน
การคำนวณหาขนาดของแรงลัพธของกรณี
ขางตน ดังนี้
(∑𝐹𝐹⃑ )2 = (𝐹𝐹
�⃑1 )2 + (𝐹𝐹
�⃑2 )2
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
2.28 ครูอธิบายเพื่อทบทวนเกี่ยวคาของ
ฟงกชัน Sine, Cosine และ Tangent จาก
ตรีโกณมิติ โดยเนนคาที่มุมสำคัญ ดังตอไปนี้
0 องศา, 30 องศา, 45 องศา, 60 องศา, 90
องศา, 37 องศา และ 53 องศา
2.29 ครูอธิบายเพื่อแนะนำสมการที่ใชใน
การคำนวณหาทิศทางของแรงลัพธของกรณี
ขางตน ดังนี้
𝐹𝐹2
tan 𝜃𝜃 =
𝐹𝐹1
2.30 ครูสาธิตวิธีการแกปญหา ในโจทยขอ
ดังกลาว โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้
2.30.1 โจทยตองการหาปริมาณอะไร (แรงลัพธ
ของแรง a และแรง b)
2.30.2 โจทยกำหนดปริมาณอะไรมาใหบาง
(𝐹𝐹⃑𝑎𝑎 = 20 𝑁𝑁 ขึ้นขางบน
𝐹𝐹⃑𝑏𝑏 = 15 𝑁𝑁 ทิศทางขวา)
2.30.3 ควรใชสมการใดในการหาขนาดของแรง
ลัพธดังกลาว
((∑𝐹𝐹⃑)2 = (𝐹𝐹⃑1)2 + (𝐹𝐹⃑2)2)
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
2.30.4 ครูทำการสาธิตการคำนวณ ดังนี้
จากสมการ (∑𝐹𝐹⃑)2 = (𝐹𝐹⃑1)2 + (𝐹𝐹⃑2)2
แทนคา (∑𝐹𝐹⃑ )2 = (𝐹𝐹⃑𝑏𝑏 )2 + (𝐹𝐹⃑𝑎𝑎 )2
(∑𝐹𝐹⃑ )2 = (15)2 + (20)2
(∑𝐹𝐹⃑)2 = (225) + (400) = +625

ดังนั้น ∑ 𝐹𝐹⃑ = √625 = 25 𝑁𝑁

2.30.5 ควรใชสมการใดในการหาทิศทางของ
แรงลัพธดังกลาว
𝐹𝐹
(tan 𝜃𝜃 = 𝐹𝐹2)
1
2.30.6 ครูทำการสาธิตการคำนวณ ดังนี้
𝐹𝐹2
จากสมการ tan 𝜃𝜃 =
𝐹𝐹1
𝐹𝐹𝑎𝑎
แทนคา tan 𝜃𝜃 =
𝐹𝐹𝑏𝑏
20 4
tan 𝜃𝜃 = =
15 3
4
จาก tan 53° =
3
ดังนั้น 𝜃𝜃 = 53°

ดังนั้น แรงลัพธมีขนาดเทากับ 25 นิวตัน และมี


ทิศทางทำมุม 53 องศากับแกนนอนไปทางดาน
ขวาบน
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
3. ขั้นสรุป (20 นาที)
3.1 ครูใชคำถามเพื่อตรวจสอบความเขาใจและ
สรุปบทเรียน ดังนี้
3.1.1 แรงคืออะไร (สิ่งที่กระทำตอวัตถุแลวทำ
ใหวัตถุเปลี่ยนสภาพไป ซึ่งการกระทำ
นั้นอาจทำใหวัตถุเกิดการเคลื่อนที่หรือ
เปลี่ยนรูปราง)
3.1.2 หากแรงกระทำไปในทิศทางเดียวกับ
การเคลื่อนที่ ขนาดของความเร็วจะ
เปลี่ยนแปลงอยางไร (ขนาดของ
ความเร็วจะเพิ่มขึ้น)
3.1.3 หากแรงกระทำไปในทิศทางตรงขามกับ
การเคลื่อนที่ ขนาดของความเร็วจะ
เปลี่ยนแปลงอยางไร (ขนาดของ
ความเร็วจะลดลง)
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
3.1.4 ในการหาแรงลัพธโดยการวาดรูป ตอง
วาดโดยนำหัวและทายของเวกเตอรแต
ละอัน ไวที่ตำแหนงใด แลวตองทำอะไร
ตอ (นำหัวลูกศร ของเวกเตอรแรงหนึ่ง
ไปตอกับหางลูกศร ของเวกเตอรแรงอีก
เวกเตอรหนึ่ง จากนั้นลากเวกเตอรจาก
หางลูกศรของเวกเตอรแรงตัวแรกไปยัง
หัวลูกศรของเวกเตอรแรงอีกตัวหนึ่ง)
3.1.5 ในการหาแรงลัพธดวยวิธีการคำนวณ
ในกรณีที่แรงอยูในแนวเดียวกัน
รูปแบบ 1 มิติ ใชสมการใดในการหา
ขนาดของแรงลัพธ
( ∑ 𝐹𝐹⃑ = 𝐹𝐹⃑1 + 𝐹𝐹⃑2 + 𝐹𝐹⃑3 )
3.1.6 ในการหาแรงลัพธดวยวิธีการคำนวณ
ในกรณีที่แรงอยูในแนวเดียวกัน
รูปแบบ 1 มิติ ดูทิศทางของแรงลัพธ
อยางไร (สังเกตที่เครื่องหมายของแรง
ลัพธ)
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
3.1.7 ในการหาแรงลัพธดวยวิธีการคำนวณ
ในกรณีที่แรงอยูในระนาบเดียวกัน
รูปแบบ 2 มิติ และแรงที่ตองนำมาหา
แรงลัพธนั้นมีทิศทางตั้งฉากกัน ใช
สมการใดในการหาขนาดของแรงลัพธ
((∑𝐹𝐹⃑)2 = (𝐹𝐹⃑1)2 + (𝐹𝐹⃑2)2)
3.1.8 ในการหาแรงลัพธดวยวิธีการคำนวณ
ในกรณีที่แรงอยูในระนาบเดียวกัน
รูปแบบ 2 มิติ และแรงที่ตองนำมาหา
แรงลัพธนั้นมีทิศทางตั้งฉากกัน ใช
สมการใดในการหาทิศทางของแรงลัพธ
𝐹𝐹
( tan 𝜃𝜃 = 𝐹𝐹2 )
1
ใบบันทึกขอมูลประกอบการบรรยาย เรื่อง แรงและการหาแรงลัพธ
ชื่อ....................................................................................................................................ชั้น.......................เลขที่................
คำสั่ง : จงบันทึกความรูที่ไดจากการอภิปรายในชั้นเรียน ดวยการตอบคำถามดังตอไปนี้
1. แรง
คือ ..............................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

2. ในการหาแรงลัพธโดยการวาดรูป ตองวาดโดยนำหัวและทายของเวกเตอรแตละอัน ไวที่ตำแหนงใด แลวตองทำ


อะไรตอหรือไม
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

3. หากแรงกระทำไปในทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ ขนาดของความเร็วจะ ..................................................................


หากแรงกระทำไปในทิศทางตรงขามกับการเคลื่อนที่ ขนาดของความเร็วจะ .............................................................
ดังนั้นสรุปไดวา แรงทำใหวัตถุเปลี่ยนแปลง ................................................................................................................

4. ในการหาแรงลัพธดวยวิธีการคำนวณ ในกรณีที่แรงอยูในแนวเดียวกัน รูปแบบ 1 มิติ


สมการใดใชในการหาขนาดของแรงลัพธ คือ ..............................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
โดยังเกตทิศทางของแรงลัพธจาก ...............................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

5. ในการหาแรงลัพธดวยวิธีการคำนวณ ในกรณีที่แรงอยูในระนาบเดียวกัน รูปแบบ 2 มิติ และแรงที่ตองนำมาหาแรง


ลัพธนั้นมีทิศทางตั้งฉากกัน
สมการใดใชในการหาขนาดของแรงลัพธ คือ ..............................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
โดยังเกตทิศทางของแรงลัพธจาก ...............................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
แบบฝกหัด เรื่อง แรงและการหาแรงลัพธ
ชื่อ.....................................................................................................................................ชั้น.....................เลขที่..................
คำสั่ง : จงตอบคำถามและแสดงวิธีการแกโจทยปญหาใหสมบูรณ
1. จงหาแรงลัพธของแรง a ขนาด 20 นิวตัน และแรง b ขนาด 15 นิวตัน ในรูปภาพตอไปนี้ ดวยวิธีการวาดรูป

2. จงหาแรงลัพธของแรง a ขนาด 20 นิวตัน และแรง b ขนาด 5 นิวตัน ในรูปภาพตอไปนี้ ดวยวิธีการคำนวณ กำหนดให


ทิศทางขวาเปนบวก และทิศทางซายเปนลบ

............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
3. จงหาแรงลัพธของแรง a ขนาด 10 นิวตัน และแรง b ขนาด 25 นิวตัน ในรูปภาพตอไปนี้ ดวยวิธีการคำนวณ
กำหนดใหทิศทางขวาเปนบวก และทิศทางซายเปนลบ

............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
4. จงหาแรงลัพธของแรง a ขนาด 20 นิวตัน และแรง b ขนาด 15 นิวตัน ในรูปภาพตอไปนี้ ดวยวิธีการคำนวณ

............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
ใบบันทึกขอมูลประกอบการบรรยาย เรื่อง แรงและการหาแรงลัพธ
ชื่อ....................................................................................................................................ชั้น.......................เลขที่................
คำสั่ง : จงบันทึกความรูที่ไดจากการอภิปรายในชั้นเรียน ดวยการตอบคำถามดังตอไปนี้
1. แรง
คือ สิ่งที่กระทำตอวัตถุแลวทำใหวัตถุเปลี่ยนสภาพไป ซึ่งการกระทำนั้นอาจทำใหวัตถุเกิดการเคลื่อนที่
หรือเปลี่ยนรูปราง

2. ในการหาแรงลัพธโดยการวาดรูป ตองวาดโดยนำหัวและทายของเวกเตอรแตละอัน ไวที่ตำแหนงใด แลวตองทำ


อะไรตอหรือไม
นำหัวลูกศร ของเวกเตอรแรงหนึ่งไปตอกับหางลูกศร ของเวกเตอรแรงอีกเวกเตอรหนึ่ง จากนั้นลากเวกเตอร
จากหางลูกศรของเวกเตอรแรงตัวแรกไปยังหัวลูกศรของเวกเตอรแรงอีกตัวหนึ่ง

3. หากแรงกระทำไปในทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ ขนาดของความเร็วจะ เพิ่มขึ้น


หากแรงกระทำไปในทิศทางตรงขามกับการเคลื่อนที่ ขนาดของความเร็วจะ ลดลง
ดังนั้นสรุปไดวา แรงทำใหวัตถุเปลี่ยนแปลง ทิศทางการเคลื่อนที่ และ รูปราง

4. ในการหาแรงลัพธดวยวิธีการคำนวณ ในกรณีที่แรงอยูในแนวเดียวกัน รูปแบบ 1 มิติ


สมการใดใชในการหาขนาดของแรงลัพธ คือ ∑ 𝐹𝐹⃑ = 𝐹𝐹⃑1 + 𝐹𝐹⃑2 + 𝐹𝐹⃑3
โดยังเกตทิศทางของแรงลัพธจาก สังเกตที่เครื่องหมายของแรงลัพธ

5. ในการหาแรงลัพธดวยวิธีการคำนวณ ในกรณีที่แรงอยูในระนาบเดียวกัน รูปแบบ 2 มิติ และแรงที่ตองนำมาหาแรง


ลัพธนั้นมีทิศทางตั้งฉากกัน
สมการใดใชในการหาขนาดของแรงลัพธ คือ (∑𝐹𝐹⃑ )2 = (𝐹𝐹⃑1 )2 + (𝐹𝐹⃑2 )2
𝐹𝐹2
โดยังเกตทิศทางของแรงลัพธจาก tan 𝜃𝜃 =
𝐹𝐹1
แบบฝกหัด เรื่อง แรงและการหาแรงลัพธ
ชื่อ.....................................................................................................................................ชั้น.....................เลขที่..................
คำสั่ง : จงตอบคำถามและแสดงวิธีการแกโจทยปญหาใหสมบูรณ
1. จงหาแรงลัพธของแรง a ขนาด 20 นิวตัน และแรง b ขนาด 15 นิวตัน ในรูปภาพตอไปนี้ ดวยวิธีการวาดรูป
ปริมาณที่โจทยที่กำหนดให :
- แรง a มีขนาด 20 นิวตัน มีทิศทางไปทางขวา
- แรง b มีขนาด 15 นิวตัน มีทิศทางขึ้นขางบน
วิธีทำ
วาดรูปแบบหางตอหัว ไดดังนี้

ดังนั้น แรงลัพธมีขนาด เทากับ 25 นิวตัน


และมีทิศทางทำมุม 37 องศากับแนวแกนนอน
ไปทางดานขวาบน
2. จงหาแรงลัพธของแรง a ขนาด 20 นิวตัน และแรง b ขนาด 5 นิวตัน ในรูปภาพตอไปนี้ ดวยวิธีการคำนวณ กำหนดให
ทิศทางขวาเปนบวก และทิศทางซายเปนลบ

ปริมาณที่โจทยที่กำหนดให :
𝐹𝐹⃑𝑎𝑎 = +20 𝑁𝑁 ทิศทางขวา
𝐹𝐹⃑𝑏𝑏 = +5 𝑁𝑁 ทิศทางขวา
วิธีทำ
จากสมการ ∑ 𝐹𝐹⃑ = 𝐹𝐹⃑1 + 𝐹𝐹⃑2 + 𝐹𝐹⃑3

แทนคา ∑ 𝐹𝐹⃑ = 𝐹𝐹⃑𝑎𝑎 + 𝐹𝐹⃑𝑏𝑏

� 𝐹𝐹⃑ = 20 + 5 = +25 𝑁𝑁

ดังนั้น แรงลัพธมีขนาดเทากับ 25 นิวตัน และมีทิศทางไปทางขวา


3. จงหาแรงลัพธของแรง a ขนาด 10 นิวตัน และแรง b ขนาด 25 นิวตัน ในรูปภาพตอไปนี้ ดวยวิธีการคำนวณ
กำหนดใหทิศทางขวาเปนบวก และทิศทางซายเปนลบ

ปริมาณที่โจทยที่กำหนดให :
𝐹𝐹⃑𝑎𝑎 = −10 𝑁𝑁 ทิศทางขวา
𝐹𝐹⃑𝑏𝑏 = +25 𝑁𝑁 ทิศทางขวา
วิธีทำ
จากสมการ ∑ 𝐹𝐹⃑ = 𝐹𝐹⃑1 + 𝐹𝐹⃑2 + 𝐹𝐹⃑3

แทนคา ∑ 𝐹𝐹⃑ = 𝐹𝐹⃑𝑎𝑎 + 𝐹𝐹⃑𝑏𝑏

� 𝐹𝐹⃑ = (−10) + (+25) = +15 𝑁𝑁

ดังนั้น แรงลัพธมีขนาดเทากับ 15 นิวตัน และมีทิศทางไปทางขวา


4. จงหาแรงลัพธของแรง a ขนาด 20 นิวตัน และแรง b ขนาด 15 นิวตัน ในรูปภาพตอไปนี้ ดวยวิธีการคำนวณ

ปริมาณที่โจทยที่กำหนดให : 𝐹𝐹⃑ 𝑎𝑎 = 20 𝑁𝑁 ขึ้นขางบน , 𝐹𝐹⃑𝑏𝑏 = 15 𝑁𝑁 ทิศทางขวา


วิธีทำ
จากสมการ (∑𝐹𝐹⃑ )2 = (𝐹𝐹⃑1 )2 + (𝐹𝐹⃑2 )2

แทนคา (∑𝐹𝐹⃑ )2 = (𝐹𝐹⃑𝑏𝑏 )2 + (𝐹𝐹⃑𝑎𝑎 )2

(∑𝐹𝐹⃑ )2 = (15)2 + (20)2


(∑𝐹𝐹⃑ )2 = (225) + (400) = +625

ดังนั้น ∑ 𝐹𝐹⃑ = √625 = 25 𝑁𝑁

𝐹𝐹2
จากสมการ tan 𝜃𝜃 =
𝐹𝐹1
𝐹𝐹𝑎𝑎
แทนคา tan 𝜃𝜃 =
𝐹𝐹𝑏𝑏

20 4
tan 𝜃𝜃 = =
15 3
4
จาก tan 53° =
3

ดังนั้น 𝜃𝜃 = 53°

ดังนั้น แรงลัพธมีขนาดเทากับ 25 นิวตัน และมีทิศทางทำมุม 53 องศากับแกนนอนไปทางดานขวาบน

You might also like