You are on page 1of 76

95

ระบบ
หน่วยการเรียนรู้ที่
แบบตรวจสอบความเข้าใจที่
3
3.1
สมการเชิงเส้นตัวแปร
(หน้า 143)
1. ก�ำหนดกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวแปรในแต่ละข้อ จงพิจารณาว่าระบบสมการในแต่ละข้อ
มีค�ำตอบหรือไม่ ถ้ามีค�ำตอบ มี 1 ค�ำตอบ หรือมีคำ� ตอบมากมายไม่จำ� กัด
1) 2) Y Y

0 X 0 X

3) 4) Y
Y

0 X 0 X

5) 6)
Y Y

0 X 0 X

7) 8)
Y Y

0 X 0 X
96

ตอบ ลักษณะค�ำตอบของระบบสมการ
ข้อ
มี ไม่มี 1 ค�ำตอบ ค�ำตอบมากมายไม่จ�ำกัด
1) ✓ - ✓ -
2) ✓ - - ✓
3) - ✓ - -
4) ✓ - ✓ -
5) - ✓ - -
6) ✓ - ✓ -
7) - ✓ - -
8) ✓ - ✓ -

2. จงหาค�ำตอบของระบบสมการต่อไปนี้โดยใช้กราฟ
1) x + y = 8 และ x - y = 2
2) 3x + 4y = -5 และ 2x - 3y = 8
3) 2x + 3y = 8 และ 4x + 5y = 12
4) x - 2y = 6 และ 2x - 4y = 8
5) 4x + 3y = 12 และ 8x + 6y = 24
6) x = 2 และ 2x - y = 7
7) x + 2y = 3 และ y =4
8) 2x + y = 4 และ 4x + 2y = 12
9) x - 3y = 6 และ x - 3y = 9
10) x - y = -6 และ x - y = 6
97

ตอบ 1) x + y = 8 และ x - y = 2
ให้ x + y = 8 ..........➀

y = -x + 8
ให้ x - y = 2 ..........➁

-y = -x + 2
y = x-2
ตารางแสดงค่า x และ y บางค่าที่เป็นค�าตอบของสมการทั้งสอง
x -2 0 2
y = -x + 8 10 8 6
y = x -2 -4 -2 0
เขียนกราฟของสมการที่ ➀ และ ➁ ได้ดังนี้
Y
x- y= 2
10

5
(5, 3)
X
-10 -5 0 5 10
-5 x+ y= 8
-10

กราฟทั้งสองตัดกันที่จุด (5, 3)
ดังนั้น ค�าตอบของระบบสมการคือ (5, 3)
2) 3x + 4y = -5 และ 2x - 3y = 8
ให้ 3x + 4y = -5 ..........➀

4y = -3x - 5
y = - 34 x - 54
98

ตารางแสดงค่า x และ y บางค่าที่เป็นค�าตอบของสมการ ดังนี้


x -3 1 5
y 1 -2 -5

ให้ 2x - 3y = 8 .......... ➁

-3y = -2x + 8
y = 23 x - 83
ตารางแสดงค่า x และ y บางค่าที่เป็นค�าตอบของสมการ ดังนี้
x -2 1 4
y -4 -2 0

เขียนกราฟของสมการที่ ➀ และ ➁ ได้ดังนี้


Y
10

5 2x - 3y = 8

X
-10 -5 0 5 10
(1, -2)
-5

-10 3x + 4y = -5

กราฟทั้งสองตัดกันที่จุด (1, -2)


ดังนั้น ค�าตอบของระบบสมการ คือ (1, -2)
99

3) 2x + 3y = 8 และ 4x + 5y = 12
ให้ 2x + 3y = 8 .......... ➀

3y = -2x + 8
y = - 23 x + 83
ตารางแสดงค่า x และ y บางค่าที่เป็นค�าตอบของสมการ ดังนี้
x -2 1 4
y 4 2 0
ให้ 4x + 5y = 12 .......... ➁

5y = -4x + 12
y = - 45 x + 125
ตารางแสดงค่า x และ y บางค่าที่เป็นค�าตอบของสมการ ดังนี้
x -2 3 8
y 4 0 -4
เขียนกราฟของสมการที่ ➀ และ ➁ ได้ดังนี้
Y

2x + 3y = 8 10

5
(-2, 4)
X
-10 -5 0 5 10

-5
4x + 5y = 12
-10

กราฟทั้งสองตัดกันที่จุด (-2, 4)
ดังนั้น ค�าตอบของระบบสมการ คือ (-2, 4)
100

4) x - 2y = 6 และ 2x - 4y = 8
ให้ x - 2y = 6 .......... ➀

-2y = -x + 6
y = 12 x - 3
ตารางแสดงค่า x และ y บางค่าที่เป็นค�าตอบของสมการ ดังนี้
x -2 0 2
y -4 -3 -2
ให้ 2x - 4y = 8 .......... ➁

-4y = -2x + 8
y = 12 x - 2
ตารางแสดงค่า x และ y บางค่าที่เป็นค�าตอบของสมการ ดังนี้
x -2 0 2
y -3 -2 -1
เขียนกราฟของสมการที่ ➀ และ ➁ ได้ดังนี้
Y

10

5 2x - 4y = 8

X
-10 -5 0 5 10

-5
x - 2y = 6
-10

กราฟทั้งสองเป็นเส้นตรงสองเส้นขนานกัน
ดังนั้น ระบบสมการนี้ไม่มีค�าตอบ
101

5) 4x + 3y = 12 และ 8x + 6y = 24
ให้ 4x + 3y = 12 .......... ➀

3y = -4x + 12
y = - 43 x + 4
ให้ 8x + 6y = 24 .......... ➁

6y = -8x + 24
y = - 43 x + 4
สมการที่ ➀ และ ➁ เป็นสมการที่สมมูลกัน
ตารางแสดงค่า x และ y บางค่าที่เป็นค�าตอบของสมการ ดังนี้
x -3 0 3
y 8 4 0
เขียนกราฟของสมการที่ ➀ และ ➁ เป็นเส้นตรงเดียวกัน
Y

4x + 3y = 12 10

X
-10 -5 0 5 10

-5

-10 8x + 6y = 24

ดังนั้น ค�าตอบของระบบสมการได้แก่ ค่าของ x และ y หลายค่าที่สอดคล้องกับ


(
สมการในรูป x, -4x3+12 )
102

6) x = 2 และ 2x - y = 7
ให้ x =2 .......... ➀

ตารางแสดงค่า x และ y บางค่าที่เป็นค�าตอบของสมการ ดังนี้


x 2 2 2
y -3 0 3
ให้ 2x - y = 7 .......... ➁

-y = -2x + 7
y = 2x - 7
ตารางแสดงค่า x และ y บางค่าที่เป็นค�าตอบของสมการ ดังนี้
x -3 0 2
y -13 -7 -3
เขียนกราฟของสมการที่ ➀ และ ➁ ได้ดังนี้
Y
x= 2
10
2x - y = 7

X
-10 -5 0 5 10
(2, -3)
-5

-10

กราฟทั้งสองตัดกันที่จุด (2, - 3)
ดังนั้น ค�าตอบของระบบสมการ คือ (2, - 3)
103

7) x + 2y = 3 และ y = 4
ให้ x + 2y = 3 .......... ➀

2y = -x + 3
y = - 12 x + 32
ตารางแสดงค่า x และ y บางค่าที่เป็นค�าตอบของสมการ ดังนี้
x -5 1 5
y 4 1 -1
ให้ y = 4 .......... ➁

x -5 0 2
y 4 4 4

เขียนกราฟของสมการที่ ➀ และ ➁ ได้ดังนี้


Y

10

(-5, 4) 5
y= 4

X
-10 -5 0 5 10

-5
x + 2y = 3
-10

กราฟทั้งสองตัดกันที่จุด (-5, 4)
ดังนั้น ค�าตอบของระบบสมการ คือ (-5, 4)
104

8) 2x + y = 4 และ 4x + 2y = 12
ให้ 2x + y = 4 .......... ➀

y = -2x + 4
ตารางแสดงค่า x และ y บางค่าที่เป็นค�าตอบของสมการ ดังนี้
x -2 0 2
y 8 4 0
ให้ 4x + 2y = 12 .......... ➁

2y = -4x + 12
y = -2x + 6
ตารางแสดงค่า x และ y บางค่าที่เป็นค�าตอบของสมการ ดังนี้
x -2 0 2
y 10 6 2
เขียนกราฟของสมการที่ ➀ และ ➁ ได้ดังนี้
Y
2x + y = 4
10

X
-10 -5 0 5 10

-5 4x + 2y = 12

-10

กราฟของสมการเป็นเส้นตรงสองเส้นขนานกัน
ดังนั้น ระบบสมการนี้ไม่มีค�าตอบ
105

9) x - 3y = 6 และ x - 3y = 9
ให้ x - 3y = 6 .......... ➀

y = x 3- 6
y = 13 x - 2
ตารางแสดงค่า x และ y บางค่าที่เป็นค�าตอบของสมการ ดังนี้
x -3 0 3
y -3 -2 -1
ให้ x - 3y = 9 .......... ➁

y = x 3- 9
y = 13 x - 3
ตารางแสดงค่า x และ y บางค่าที่เป็นค�าตอบของสมการ ดังนี้
x -3 0 3
y -4 -3 -2
เขียนกราฟของสมการที่ ➀ และ ➁ ได้ดังนี้
Y

10

5
x - 3y = 6
X
-10 -5 0 5 10

-5
x - 3y = 9
-10

กราฟของสมการเป็นเส้นตรงสองเส้นขนานกัน
ดังนั้น ระบบสมการนี้ไม่มีค�าตอบ
106

10) x - y = -6 และ x - y = 6
ให้ x - y = -6 .......... ➀

y = x+6
ตารางแสดงค่า x และ y บางค่าที่เป็นค�าตอบของสมการ ดังนี้
x -1 0 1
y 5 6 7
ให้ x- y = 6 .......... ➁

y = x-6
ตารางแสดงค่า x และ y บางค่าที่เป็นค�าตอบของสมการ ดังนี้
x -1 0 1
y -7 -6 -5
เขียนกราฟของสมการที่ ➀ และ ➁ ได้ดังนี้
Y
x - y = -6
10

5 x- y= 6

X
-10 -5 0 5 10

-5

-10

กราฟของสมการเป็นเส้นตรงสองเส้นขนานกัน
ดังนั้น ระบบสมการนี้ไม่มีค�าตอบ
107

แบบตรวจสอบความเข้าใจที่ 3.2 (หน้า 148)


1. ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์หนังสือครั้งหนึ่งประกอบด้วยค่าเขียนต้นฉบับ 26,000 บาท และ
ค่าใช้จา่ ยต่อเล่ม เล่มละ 24 บาท เมือ่ พิมพ์เสร็จแล้วส�านักพิมพ์วางแผนทีจ่ ะขายหนังสือเล่มละ
50 บาท ถ้าให้ y แทนจ�านวนเงินเป็นบาท และ x แทนจ�านวนเล่ม จะได้ว่า สมการแสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างค่าใช้จ่ายและจ�านวนเล่มเป็น y = 26,000 + 24x และสมการแสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้และจ�านวนเล่ม เป็น y = 50x โดยใช้กราฟของระบบสมการเชิงเส้น
สองตัวแปร จงหาว่า
1) ส�านักพิมพ์ต้องพิมพ์หนังสือกี่เล่มจึงจะพอดีทุน
2) ถ้าพิมพ์หนังสือ 500 เล่ม ส�านักพิมพ์จะก�าไรหรือขาดทุนกี่บาท
3) ถ้าพิมพ์หนังสือ 1,500 เล่ม ส�านักพิมพ์จะก�าไรหรือขาดทุนกี่บาท
ตอบ 1) ส�านักพิมพ์ต้องพิมพ์หนังสือ 1,000 เล่ม จึงจะพอดีทุน
2) ถ้าพิมพ์หนังสือ 500 เล่ม ส�านักพิมพ์จะขาดทุน 13,000 บาท
3) ถ้าพิมพ์หนังสือ 1,500 เล่ม ส�านักพิมพ์จะได้ก�าไร 13,000 บาท
แนวคิด จากสมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างค่าใช้จ่ายและจ�านวนเล่มเป็น
y = 26,000 + 24x
และสมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างรายได้และจ�านวนเล่มเป็น y = 50x
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรคือ y = 26,000 + 24x .......... ➀
y = 50x .......... ➁

จุดที่กราฟของสมการ ➀ ผ่าน ได้แก่


(0, 26000), (500, 38000), (1500, 62000)
จุดที่กราฟของสมการ ➁ ผ่าน ได้แก่ จ�านวนเงิน (หมื่นบาท) รายได้
ค่าใช้จ่าย
(0, 0), (500, 25000), (1500, 75000) 7

เขียนกราฟของสมการทั้งสอง 6

สมการ ได้ดังนี้ 5

0 จ�านวนหนังสือ
500 1,000 1,500 2,000 (เล่ม)
108

2. คุณรักษ์ต้องการเดินสายไฟฟาในโรงรถใหม่ เขาจึงโทรศัพท์ ไปสอบถามราคาค่าบริการจาก


ช่างไฟฟาสองคน ช่างไฟฟาคนทีห่ นึง่ คิดค่ารถ 200 บาท และคิดค่าเดินสายไฟฟาชัว่ โมงละ
200 บาท ช่างไฟฟาคนทีส่ อง คิดค่ารถ 300 บาท และคิดค่าเดินสายไฟฟาชัว่ โมงละ 150 บาท
โดยใช้กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร จงหาว่าคุณรักษ์ตอ้ งเดินสายไฟฟาให้เสร็จ
ภายในเวลากี่ชั่วโมงพอดี จึงจะเสียค่าใช้จ่ายเท่ากันในการจ้างช่างไฟฟาคนที่หนึ่ง หรือใน
การจ้างช่างไฟฟาคนที่สอง
ตอบ คุณรักษ์ต้องเดินสายไฟฟาให้เสร็จภายในเวลา 2 ชั่วโมงพอดี
แนวคิด ให้คุณรักษ์ต้องเดินสายไฟให้เสร็จในเวลา x ชั่วโมง
และให้คุณรักษ์ต้องเสียค่าใช้จ่ายทั้งหมด y บาท
ช่างไฟฟาคนที่หนึ่งคิดค่าใช้จ่ายทั้งหมด 200 + 200x บาท
ช่างไฟฟาคนที่สองคิดค่าใช้จ่ายทั้งหมด 300 + 150x บาท
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรคือ y = 200 + 200x .......... ➀
y = 300 + 150x .......... ➁
จุดที่กราฟของสมการ ➀ ผ่าน ได้แก่ (0, 200), (1, 400), (2, 600)
จุดที่กราฟของสมการ ➁ ผ่าน ได้แก่ (0, 300), (1, 450), (2, 600)
เขียนกราฟของสมการทั้งสองสมการได้ดังนี้

จ�านวนเงิน (บาท)

1,000 ค่าใช้จ่ายคนที่หนึ่ง
ค่าใช้จ่ายคนที่สอง
800

600

400

200

0 จ�านวนชั่วโมง
1 2 3 4

ดังนั้น คุณรักษ์ต้องเดินสายไฟฟาให้เสร็จภายในเวลา 2 ชั่วโมงพอดี จึงจะเสีย


ค่าใช้จ่ายในการจ้างช่างไฟฟาทั้งสองคนเท่ากัน
109

3. ศูนย์บริการโทรศัพท์แห่งหนึ่งคิดค่าบริการโทรศัพท์แยกเป็นค่ารักษาหมายเลขโทรศัพท์
เดือนละ 100 บาท และคิดค่าโทรนาทีละ 2 บาท ศูนย์บริการอีกแห่งหนึ่ง คิดค่าบริการ
โทรศัพท์แยกเป็นค่ารักษาหมายเลขโทรศัพท์ เดือนละ 150 บาท และคิดค่าโทรนาทีละ
1.50 บาท โดยใช้กราฟของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร จงหาว่าระยะเวลาของการโทรศัพท์
นานกี่นาทีต่อเดือน ผู้ใช้โทรศัพท์จึงจะเสียค่าบริการโทรศัพท์จากศูนย์บริการโทรศัพท์
ทั้งสองแห่งเป็นจ�านวนเงินเท่ากัน
ตอบ จะต้องโทรศัพท์จ�านวน 100 นาที หรือ 1 ชั่วโมง 40 นาที
แนวคิด ให้ระยะเวลาของการโทรศัพท์นาน x นาที ใน 1 เดือน
และให้เสียค่าบริการโทรศัพท์ทั้งหมด y บาท
ถ้าใช้ศูนย์บริการแห่งที่หนึ่งจะต้องเสียค่าใช้จ่ายทั้งเดือน 100 + 2x บาท
ถ้าใช้ศูนย์บริการแห่งที่สองจะต้องเสียค่าใช้จ่ายทั้งเดือน 150 + 1.50x บาท
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรคือ y = 100 + 2x .......... ➀
y = 150 + 1.50x .......... ➁
จุดที่กราฟของสมการ ➀ ผ่านได้แก่ (0, 100), (100, 300), (200, 500)
จุดที่กราฟของสมการ ➁ ผ่านได้แก่ (0, 150), (100, 300), (200, 450)
เขียนกราฟของสมการทั้งสองสมการได้ดังนี้

จ�านวนเงิน (บาท) ศูนย์ที่ 1


ศูนย์ที่ 2
500

400

300

200

100

0 เวลา (นาที)
100 200 300 400

ถ้าเสียค่าใช้จ่ายค่าโทรศัพท์ทั้งสองศูนย์บริการเท่ากันใน 1 เดือน จะต้องโทรศัพท์


นาน 100 นาที หรือ 1 ชั่วโมง 40 นาที
110

แบบตรวจสอบความเข้าใจที่ 3.3 (หน้า 158)


1.
จงแก้ระบบสมการในแต่ละข้อต่อไปนี้โดยการแทนค่า
1) x + 2y = 7 2) x - 2y =0
2x - y = 4 2x - y =3
3) x + 3y = 1 4) 3y + 5x =-3
2x + 3y = 5 2x - 3y =-30
5) 3y - x = 17 6) 3y + 5x =-3
6y - 2x = 10 9y + 15x = -9
ตอบ 1) (3, 2) 2) (2, 1) 3) (4, -1)
(
4) - 337 , 487 )
5) ระบบสมการนี้ไม่มีคำ� ตอบ (
6) x, -5x3- 3 )
แนวคิด 1) ให้ x + 2y = 7 .......... ➀

2x - y = 4 .......... ➁

จาก ➀ จะได้ x = 7 - 2y .......... ➂

น�ำค่า x ที่ได้จาก ➂ แทนค่าใน ➁


2x - y = 4
2(7 - 2y) - y = 4
14 - 4y - y = 4
-5y = -10
y = -10
-5
y =2
น�ำค่า y = 2 แทนค่าใน ➂
x = 7 - 2y
x = 7 - 2(2)
x = 7-4
x =3
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (3, 2)
111

2) ให้ x - 2y = 0 .......... ➀

2x - y = 3 .......... ➁

จาก ➀ จะได้ x = 2y .......... ➂

น�ำค่า x ที่ได้จาก ➂ แทนค่าใน ➁


2x - y = 3
2(2y) - y = 3
4y - y = 3
3y = 3
y = 33
y =1
น�ำค่า y = 1 แทนค่าใน ➂
x = 2y
x = 2(1)
x =2
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (2, 1)
3) ให้ x + 3y = 1 .......... ➀

2x + 3y = 5 .......... ➁

จาก ➀ จะได้ x = 1 - 3y .......... ➂

น�ำค่า x ที่ได้จาก ➂ แทนค่าใน ➁


2x + 3y = 5
2(1 - 3y) + 3y = 5
2 - 6y + 3y = 5
-3y = 5 - 2
-3y = 3
y = -33
y = -1
112

น�ำค่า y = -1 แทนค่าใน ➂
x = 1 - 3y
x = 1 - 3(-1)
x = 1+3
x =4
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (4, -1)
4) ให้ 3y + 5x = -3 .......... ➀

2x - 3y = -30 .......... ➁

จาก ➁ จะได้ 2x = 3y - 30
x = 32 y - 15 .......... ➂

น�ำค่า x ที่ได้จาก ➂ แทนค่าใน ➀


3y + 5x = -3
(
3y + 5 32 y - 15 = -3 )
3y + 152 y - 75 = -3
6 + 15 y = -3 + 75
2
21 y = 72
2
y = 72 × 212
y = 487 หรือ 6 67
น�ำค่า y = 487 แทนค่าใน ➀
3y + 5x = -3
( )
3 487 + 5x = -3
5x = -3 - 144
7
5x = - 165
7
x = - 165 1
7 ×5
x = -33
7 หรือ -4 57
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ - 337 , 487 ( )
113

5) ให้ 3y - x = 17 .......... ➀

6y - 2x = 10 .......... ➁

จาก ➀ จะได้ 3y - 17 = x
หรือ x = 3y - 17 .......... ➂

น�ำค่า x ที่ได้จาก ➂ แทนค่าใน ➁


6y - 2x = 10
6y - 2 (3y - 17) = 10
6y - 6y + 34 = 10
34 = 10
เป็นสมการที่ไม่เป็นจริง เพราะ 34 ≠ 10
ดังนั้น ระบบสมการนี้ไม่มีค�ำตอบ
6) ให้ 3y + 5x = -3 .......... ➀

9y + 15x = -9 .......... ➁

จาก ➀ จะได้ 3y = -3 - 5x
y = -1 - 53 x .......... ➂

น�ำค่า y ที่ได้จาก ➂ แทนค่าใน ➁


9y + 15x = -9
( )
9 -1 - 53 x + 15x = -9
-9 - 15x + 15x = -9
-9 = -9
สมการเป็นจริงและไม่มีตัวแปร
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมการมีจำ� นวนไม่จำ� กัด
จาก 3y + 5x = -3 หรือ y = -5x3- 3
(
กล่าวได้ว่า ระบบสมการนี้มีค�ำตอบมากมายไม่จำ� กัดในรูป x, -5x3- 3 )
114

2. จงแก้ระบบสมการในแต่ละข้อต่อไปนี้โดยการก�ำจัดตัวแปร
1) 4x + 6y = 5 2) 2x + 3y = 5
x - 3y = 2 7x + 4y = -3
3) 9x + 8y = 9 4) y = -3x + 1
3x + 4y = 2 5x - 2 = -y
5) 6x + 37 y = 193 6) 32 x + 54 y = 18 13
3 4
3x + 7 y = 3 - 2 x + 4 y = 18 3 3
13
7) -2x5+ y = 4x 3- 2y 8) 3x 4- 2y = -5x + y
x + 2 = 1 - y 2y - 23x = 5
3 9
9) 7x - 3y = -9 10) 3x - 8y = 4
14x - 6y = 10 15x - 40y = 20
( )
ตอบ 1) 32 , - 16 2) - 29 ( 41
13 , 13 )
( )
3) 53 , - 34 (
4) 12 , - 12 )
( )
5) 53 , - 779 (
6) - 133 , 1813 )
7) (-1, -2) (
8) 665 , 445
132 )
9) ระบบสมการนี้ไม่มีคำ� ตอบ 10) x , 3x8- 4 ( )
แนวคิด 1) ให้ 4x + 6y = 5 .......... ➀

x - 3y = 2 .......... ➁

➁ × 2 จะได้ 2x - 6y = 4 .......... ➂

➀ + ➂ จะได้ 6x = 9

x = 96
x = 32 หรือ 1 12
115

น�ำค่า x ที่ได้ไปแทนค่าใน ➀
4x + 6y = 5
()
4 32 + 6y = 5
6y = 5-6
y = - 16
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ 32 ( , - 16 )
2) ให้ 2x + 3y = 5 .......... ➀

7x + 4y = -3 .......... ➁

➀ × (-4) จะได้ -8x - 12y = -20 .......... ➂

➁ × 3 จะได้ 21x + 12y = -9 .......... ➃

➂ + ➃ จะได้ 13x = -29


x = - 29 3
13 หรือ -2 13
น�ำค่า x ที่ได้ไปแทนค่าใน ➀
2x + 3y = 5
( )
2 - 29
13 + 3y = 5
- 58
13 + 3y = 5
5 + 58
3y = 13
3y = 123 13
y = 13123× 3
y = 41 2
13 หรือ 3 13
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ - 29(,
13 13
41 )
116

3) ให้ 9x + 8y = 9 .......... ➀

3x + 4y = 2 .......... ➁

➁ × (-2) จะได้ -6x - 8y = -4 .......... ➂

➀ + ➂ จะได้ 3x = 5 .......... ➃

x = 5 หรือ 1 2
3 3
น�ำค่า x ที่ได้ไปแทนค่าใน ➁
3x + 4y = 2
()
3 53 + 4y = 2
5 + 4y = 2
4y = -3
y = - 34
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ 53 ( , - 34 )
4) ให้ y = -3x + 1 .......... ➀

5x - 2 = -y .......... ➁

จาก ➀ จะได้ 3x + y = 1 .......... ➂

จาก ➁ จะได้ 5x + y = 2 .......... ➃

➂ × (-1) จะได้ -3x - y = -1 .......... ➄

➃ + ➄ จะได้ 2x = 1
x = 1
2
น�ำค่า x ที่ได้ไปแทนค่าใน ➀
y = -3x + 1
y = ()
-3 12 + 1
y = - 32 + 1
y = - 12
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ 12 ( , - 12 )
117

5) ให้ 6x + 37 y = 193 .......... ➀

3x + 37 y = 43 .......... ➁

➁ × (-1) จะได้ -3x - 37 y = - 43 .......... ➂

➀ + ➂ จะได้ 3x = 15
3
x = 315× 3
x = 53 หรือ 1 23
น�ำค่า x ที่ได้ไปแทนค่าใน ➁
3x + 37 y = 43
()
3 53 + 37 y = 43
3 y = 4 -5
7 3
3 y = - 11
7 3
y = - 113 × 73
y = - 779 หรือ -8 59
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ 53 , - 779 ( )
6) ให้ 3 x + 5 y = 18 .......... ➀
2 4 13
- 32 x + 34 y = 18
13 .......... ➁

➀ + ➁ จะได้ 8 y = 36
4 13
y = 36
13 8 × 4
y = 18
13 หรื อ 1 5
13
น�ำค่า y ที่ได้ไปแทนแค่ใน ➀
3 x + 5 y = 18
2 4 13
3 x
2 4 13+ 5 18 =()
18
13
118

3 x + 45c
= 18
2 26 13
3x
= 18 45
2 13 - 26
3x
= - 269
2
= - 269 × 23
x
x = - 133
(
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ - 133 , 18
13 )
7) ให้ -2x + y = 4x - 2y .......... ➀
5 3
x + 2 = 1- y .......... ➁
3 9
( ) ( )
➀ × 15 จะได้ 15 -2x5+ y = 15 4x 3- 2y
3(-2x + y) = 5(4x - 2y)
-6x + 3y = 20x - 10y
13y = 26x
26x - 13y = 0
หารด้วย 13 จะได้ 2x - y = 0 .......... ➂

( )
➁ × 9 จะได้ 9 x +3 2 = 9 1 9- y ( )
3x + 6 = 1 - y
3x + y = -5 .......... ➃

➂ + ➃ จะได้ 5x = -5
x = -1
น�ำค่า x ที่ได้ไปแทนค่าใน ➃
3x + y = -5
3(-1) + y = -5
y = -5 + 3
y = -2
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (-1, -2)
119

8) ให้ 3x - 2y -5x + y .......... ➀


=
4
2y - 23x 5 = .......... ➁

➀ × 4 จะได้ 4 3x - 2y
4 ( ) 4(-5x + y)
=
3x - 2y =
-20 + 4y
3x - 6y -20 = .......... ➂

➁ × 3 จะได้ 6y - 69x 15 =
หรือ -69x + 6y 15 = .......... ➃

➂ + ➃ จะได้ -66x -5 =
x -5 =
-66
x = 665
น�ำค่า x ที่ได้ไปแทนค่าใน ➁
2y - 23x = 5
()
2y - 23 665 = 5
2y = 5 + 115
66
y = 33066+ 115
y = 66445× 2
445 อ 3 49
y = หรื
132 132
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ 665 , 445 (
132 )
9) ให้ 7x - 3y = -9 .......... ➀

14x - 6y = 10 .......... ➁

➀ × (-2) จะได้ -14x + 6y = 18 .......... ➂

➁ + ➂ จะได้ 0 = 28
เป็นสมการที่ไม่มีตัวแปรและเป็นสมการที่ไม่เป็นจริงเพราะ 0 ≠ 28
ดังนั้น ระบบสมการนี้ไม่มีค�ำตอบ
120

10) ให้ 3x - 8y = 4 .......... ➀

15x - 40y = 20 .......... ➁

➀ × (-5) จะได้ -15x + 40y = -20 .......... ➂

➁ + ➂ จะได้ 0 = 0
ซึ่งเป็นสมการที่ไม่มีตัวแปรและเป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมการมีจำ� นวนไม่จำ� กัด
จาก 3x - 8y = 4 จะได้ 8y = 3x - 4 หรือ y = 3x8- 4
(
กล่าวได้ว่าระบบสมการนี้มีค�ำตอบมากมายไม่จำ� กัดในรูป x, 3x8- 4 )
3. จงแก้ระบบสมการในแต่ละข้อต่อไปนี้ ที่มี a, b, m, n, p, q, x, y เป็นตัวแปร
1) 3x - 2y = 7 2) m 2+ n = 3n2- 2
x - 3y = 2 3n2+ 8 = - m 2+ n ( )
3) x - 3y = -7 4) 3x + 2y = -4
21x - 14y = 49 9x + 8y = -11
5) 2x - 9y = 9 6) p +3 2 = q + 3
6x + 3y = 7 4q = p +3 2
7) -2a5+ b = 4a 3- 2b 8) 4(x + 3) = 3y + 7
a + 2 = 1 - b 2(y - 5) = x + 5
3 9
9) 2(p + 3) = 3 - q 10) 1x = -1 y+4
3 3
3(p - 1) = q - 4 8 1
3 = x+ 3y
11) 0.2x + 0.3y = 0.1 12) 0.3x + 0.2y = -0.6
0.8x + 1.2y = 0.4 0.2x + 0.5y = 0.7
(
ตอบ 1) 177 , 17 ) 2) (-4, -1)
3) (5, 4) 4) - 53 , 12 ( )
5) 32 , - 23( ) 6) (10, 1)
121

7) (-1, -2) 8) (7, 11)


(
9) - 45 , - 75 ) 10) (-2, 14)
(
11) x , 1 -32x ) 12) (-4, 3)
แนวคิด 1) ให้ 3x - 2y = 7 .......... ➀

x - 3y = 2 .......... ➁

➁ × (-3) จะได้ -3x + 9y = -6 .......... ➂

➀ + ➂ จะได้ 7y = 1
y = 17
น�ำค่า y ที่ได้ไปแทนใน ➁
x - 3y = 2
()
จะได้ x - 3 17 = 2
x = 2 + 37
x = 177 หรือ 2 37
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ 177 , 17 ( )
2) ให้ m + n = 3n - 2 .......... ➀
2 2
2 ( )
3n + 8 = - m + n .......... ➁
2
➀ × 2 จะได้ m + n = 3n - 2
m - 2n = -2 .......... ➂

➁ × 2 จะได้ 3n + 8 = -m - n
m + 4n = -8 .......... ➃

➂ × (-1) จะได้ -m + 2n = 2 .......... ➄

➃ + ➄ จะได้ 6n = -6
n = -1
122

น�ำค่า n ที่ได้ไปแทนค่าใน ➃
m + 4n = -8
จะได้ m + 4(-1) = -8
m - 4 = -8
m = -4
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (-4, -1)
3) ให้ x - 3y = -7 .......... ➀

21x - 14y = 49 .......... ➁

จาก ➀ จะได้ x = 3y - 7 .......... ➂

น�ำค่า x ที่ได้จาก ➂ ไปแทนค่าใน ➁


21x - 14y = 49
21(3y - 7) - 14y = 49
63y - 147 - 14y = 49
49y = 196
y = 196
49
y =4
น�ำค่า y ที่ได้ไปแทนค่าใน ➂
x = 3y - 7
จะได้ x = 3(4) - 7
x = 12 - 7
x =5
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (5, 4)
4) ให้ 3x + 2y = -4 .......... ➀

9x + 8y = -11 .......... ➁

➀ × (-4) จะได้ -12x - 8y = 16 .......... ➂

➁ + ➂ จะได้ -3x = 5
x = -35
x = - 53 หรือ -1 23
123

น�ำค่า x ที่ได้ไปแทนค่าใน ➀
3x + 2y = -4
จะได้ ( )
3 - 53 + 2y = -4
-5 + 2y = -4
2y = 1
y = 12
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ - 53 , 12 ( )
5) ให้ 2x - 9y = 9 .......... ➀

6x + 3y = 7 .......... ➁

➁ × 3 จะได้ 18x + 9y = 21 .......... ➂

➀ + ➂ จะได้ 20x = 30
x = 30
20
x = 32 หรือ 1 12
น�ำค่า x ที่ได้ไปแทนค่าใน ➁
6x + 3y = 7
()
จะได้ 6 32 + 3y = 7
9 + 3y = 7
3y = -2
y = - 23
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ 32 , - 23 ( )
6) ให้ p+2 = q+3 .......... ➀
3
4q = p +3 2 .......... ➁

จาก ➁ จะได้ q = p12+ 2 .......... ➂


124

น�ำค่า q ที่ได้จาก ➂ ไปแทนใน ➀


p+2 = q+3
3
3 ( )
p+2 = p+2 +3
12
( ) ( )
น�ำ 12 คูณตลอด 12 p +3 2 = 12 p12+ 2 + 12(3)
4p + 8 = p + 2 + 36
3p = 38 - 8
p = 303
p = 10
น�ำค่า p ที่ได้ไปแทนค่าใน ➂
q = p12+ 2
q = 1012+ 2
q =1
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (10, 1)
7) ให้ -2a + b = 4a - 2b .......... ➀
5 3
a+2 = 1- b .......... ➁
3 9
3( )
➁ × 9 จะได้ 9 a + 2 = 9 1 - b
9 ( )
3a + 6 = 1 - b
b = -5 - 3a .......... ➂
น�ำค่า b ที่ได้จาก ➂ ไปแทนค่าใน ➀
-2a + b = 4a - 2b
5 3
-2a + (-5 - 3a) = 4a - 2 (-5 - 3a)
5 3
-2a - 5 - 3a = 4a + 10 + 6a
5 3
-5a - 5 = 10a + 10
5 3
125

คูณไขว้จะได้ -15a - 15 = 50a + 50


-65a = 65
a = -1
น�ำค่า a ที่ได้ไปแทนค่าใน ➂
b = -5 - 3a
b = -5 - 3(-1)
b = -5 + 3
b = -2
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (-1, -2)
8) ให้ 4(x + 3) = 3y + 7 .......... ➀

2(y - 5) = x + 5 .......... ➁

จาก ➁ จะได้ 2y - 10 = x + 5
2y - 15 = x
หรือ x = 2y - 15 .......... ➂

น�ำค่า x ที่ได้จาก ➂ ไปแทนค่าใน ➀


4(x + 3) = 3y + 7
จะได้ 4[(2y - 15) + 3] = 3y + 7
4(2y - 12) = 3y + 7
8y - 48 = 3y + 7
5y = 55
y = 11
น�ำค่า y ที่ได้ไปแทนค่าใน ➂
x = 2y - 15
จะได้ x = 2(11) - 15
x = 22 - 15
x =7
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (7, 11)
126

9) ให้ 2(p + 3) = 3 - q .......... ➀

3(p - 1) = q - 4 .......... ➁

จาก ➁ จะได้ 3p - 3 = q - 4
3p + 1 = q
หรือ q = 3p + 1 .......... ➂
น�ำค่า q ที่ได้จาก ➂ ไปแทนค่าใน ➀
2(p + 3) = 3 - q
จะได้ 2p + 6 = 3 - (3p + 1)
2p + 6 = 3 - 3p - 1
5p = -6 + 2
p = - 45
น�ำค่า p ที่ได้ไปแทนค่าใน ➂
q = 3p + 1
( )
q = 3 - 45 + 1
q = -125+ 5
q = - 75 หรือ -1 25
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ - 45 , - 75( )
10) ให้ 1 x = - 1 y + 4 .......... ➀
3 3
8 = x + 1 y .......... ➁
3 3
จาก ➁ จะได้ 83 - 13 y = x
หรือ x = 83 - 13 y .......... ➂
127

น�ำค่า x ที่ได้จาก ➂ ไปแทนค่าใน ➀


1 x = - 1 y+4
3 3
1 8 ( 1 )
3 3 - 3y = - 3 y+4
1
8 - 1 y = - 1 y+4
9 9 3
1 y- 1 y = 4- 8
3 9 9
3 y - 1 y = 36 - 8
9 9 9
2 y = 28
9 9
28
y = 9 × 92
y = 14
น�ำค่า y ที่ได้ไปแทนค่าใน ➂
x = 83 - 13 y
จะได้ x = 83 - 13 14 ()
x = 83 - 143
x = - 63
x = -2
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (-2, 14)
11) ให้ 0.2x + 0.3y = 0.1 .......... ➀

0.8x + 1.2y = 0.4 .......... ➁

➀ × 10 จะได้ 2x + 3y = 1 .......... ➂

➁ × 104 จะได้ 2x + 3y = 1 .......... ➃

➂ = ➃ จะได้ 1 = 1
ซึ่งเป็นสมการที่ไม่มีตัวแปร และเป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมการมีจ�ำนวนไม่จำ� กัด
จาก 2x + 3y = 1 จะได้ y = 1 -32x
(
กล่าวได้ว่าระบบสมการนี้มีค�ำตอบมากมายไม่จำ� กัดในรูป x, 1 -32x )
128

12) ให้ 0.3x + 0.2y = -0.6 .......... ➀

0.2x + 0.5y = 0.7 .......... ➁

➀ × 10 จะได้ 3x + 2y = -6 .......... ➂

➁ × 10 จะได้ 2x + 5y = 7 .......... ➃

➂ × 2 จะได้ 6x + 4y = -12 .......... ➄

➃ × 3 จะได้ 6x + 15y = 21 .......... ➅

➅ - ➄ จะได้ 11y = 33
y = 33
11 = 3
น�ำค่า y ที่ได้ไปแทนค่าใน ➂
3x + 2y = -6
3x + 2(3) = -6
3x = -6 - 6
x = -12
3 = -4
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (-4, 3)

แบบตรวจสอบความเข้าใจที่ 3.4 (หน้า 181)


1. จ�ำนวนจ�ำนวนหนึง่ เป็นสามเท่าของจ�ำนวนอีกจ�ำนวนหนึง่ ผลต่างของจ�ำนวนทัง้ สองนีเ้ ท่ากับ
10 จงหาจ�ำนวนสองจ�ำนวนนี้
ตอบ จ�ำนวนสองจ�ำนวนนี้ คือ 15 และ 5
แนวคิด ให้จ�ำนวนหนึ่งเป็น x
อีกจ�ำนวนหนึ่งเป็น y
จากจ�ำนวนจ�ำนวนที่หนึ่งเป็นสามเท่าของอีกจ�ำนวนหนึ่ง จะได้ x = 3y
และผลต่างของจ�ำนวนทั้งสองนี้เท่ากับ 10 จะได้ x - y = 10
ดังนั้น ระบบสมการเชิงเส้น คือ x = 3y .......... ➀

x - y = 10 .......... ➁
129

น�ำค่า x ที่ได้จาก ➀ ไปแทนใน ➁


x - y = 10
จะได้ 3y - y = 10
2y = 10
y =5
น�ำค่า y ที่ได้ไปแทนค่าใน ➀
x = 3y
จะได้ x = 3(5)
x = 15
ดังนั้น จ�ำนวนสองจ�ำนวนนี้ คือ 15 และ 5
2. จ�ำนวนจ�ำนวนหนึ่งมากกว่าครึ่งหนึ่งของจ�ำนวนอีกจ�ำนวนหนึ่งอยู่ 4 ผลต่างของจ�ำนวน
ทั้งสองนี้เท่ากับ 2 จงหาจ�ำนวนสองจ�ำนวนนี้
ตอบ จ�ำนวนสองจ�ำนวนนี้ คือ 6 และ 4
แนวคิด ให้จ�ำนวนหนึ่งเป็น x และอีกจ�ำนวนหนึ่งเป็น y
จากจ�ำนวนจ�ำนวนหนึ่งมากกว่าครึ่งหนึ่งของจ�ำนวนอีกจ�ำนวนหนึ่งอยู่ 4
จะได้ x - 12 y = 4
และผลต่างของจ�ำนวนทั้งสองนี้เท่ากับ 2 จะได้ x - y = 2
ดังนั้น ระบบสมการเชิงเส้น คือ x - 12 y = 4 .......... ➀

x- y = 2 .......... ➁

➁ × (-1) จะได้ -x + y = -2 .......... ➂

➀ + ➂ จะได้ 1y = 2
2
y = 4
น�ำค่า y ที่ได้ไปแทนค่าใน ➁
x- y = 2
จะได้ x-4 = 2
x =6
ดังนั้น จ�ำนวนสองจ�ำนวนนี้ คือ 6 และ 4
130

3. ในการท�ำโครงงานคณิตศาสตร์ครั้งหนึ่ง ครูแบ่งนักเรียน 27 คน เป็น 2 กลุ่ม โดยกลุ่มหนึ่ง


มีจำ� นวนนักเรียนมากกว่าสองเท่าของอีกกลุม่ หนึง่ อยู่ 3 คน จงหาจ�ำนวนนักเรียนในแต่ละกลุม่
ตอบ กลุ่มแรกมี 19 คน กลุ่มสองมี 8 คน
แนวคิด ให้นักเรียนกลุ่มหนึ่งมี x คน
และนักเรียนกลุ่มสองมี y คน
มีนักเรียนอยู่ 27 คน จะได้ x + y = 27
และกลุ่มหนึ่งมีจ�ำนวนนักเรียนมากกว่าสองเท่าของอีกกลุ่มหนึ่งอยู่ 3 คน
จะได้ x - 2y = 3
ดังนั้น ระบบสมการเชิงเส้น คือ x + y = 27 .......... ➀

x - 2y = 3 .......... ➁

➀ × 2 จะได้ 2x + 2y = 54 .......... ➂

➁ + ➂ จะได้ 3x = 57
x = 19
น�ำค่า x ที่ได้ไปแทนค่าใน ➀
x + y = 27
จะได้ 19 + y = 27
y =8
ดังนั้น จ�ำนวนนักเรียนในกลุ่มหนึ่งมี 19 คน และกลุ่มสองมี 8 คน
4. ความยาวเส้นรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วเท่ากับ 32 นิ้ว ถ้าความยาวของด้านฐาน
มากกว่าครึ่งหนึ่งของความยาวด้านคู่ที่ยาวเท่ากันอยู่ 2 นิ้ว จงหาความยาวแต่ละด้านของ
รูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วนี้
ตอบ ความยาวแต่ละด้านของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วนี้เท่ากับ 8 นิ้ว, 12 นิ้ว และ 12 นิ้ว
แนวคิด ให้ความยาวของด้านฐานของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วรูปนี้เท่ากับ x นิ้ว
และความยาวของด้านที่เท่ากันของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วรูปนี้เท่ากับ y นิ้ว
ความยาวเส้นรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วเท่ากับ 32 นิ้ว
จะได้ x + y + y = 32
หรือ x + 2y = 32
131

จากความยาวของด้านฐานมากกว่าครึ่งหนึ่งของความยาวด้านคู่ที่ยาวเท่ากัน
อยู่ 2 นิ้ว
จะได้ x - 12 y = 2
ดังนั้น ระบบสมการเชิงเส้น คือ x + 2y = 32 .......... ➀

x - 12 y = 2 .......... ➁

➁ × 4 จะได้ 4x - 2y = 8 .......... ➂

➀ + ➂ จะได้ 5x = 40
x =8
น�ำค่า x ที่ได้ไปแทนค่าใน ➀
x + 2y = 32
จะได้ 8 + 2y = 32
2y = 24
y = 12
ดังนั้น ความยาวของด้านทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วนี้เท่ากับ 8 นิ้ว,
12 นิ้ว และ 12 นิ้ว
5. เส้นรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปหนึ่งเท่ากับ 10 ฟุต ถ้าสองเท่าของความยาวด้านกว้าง
เท่ากับครึ่งหนึ่งของความยาวด้านยาว จงหาขนาดของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปนี้
ตอบ ความยาวด้านยาว 4 ฟุต และความยาวด้านกว้างยาว 1 ฟุต
แนวคิด ให้ความยาวด้านยาวของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้านี้เท่ากับ x ฟุต
และความยาวด้านกว้างของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้านี้เท่ากับ y ฟุต
จากเส้นรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปนี้เท่ากับ 10 ฟุต
จะได้ 2x + 2y = 10
หรือ x+ y = 5
และจากสองเท่าของความยาวด้านกว้างเท่ากับครึ่งหนึ่งของความยาวด้านยาว
จะได้ 2y = 12 x
132

ดังนั้น ระบบสมการเชิงเส้น คือ x + y = 5 .......... ➀

2y = 12 x .......... ➁

➁×2 จะได้ 4y = x
หรือ x = 4y .......... ➂

น�ำค่า x ที่ได้จาก ➂ ไปแทนค่าใน ➀


x+ y = 5
จะได้ 4y + y = 5
5y = 5
y = 1
น�ำค่า y ที่ได้ไปแทนค่าใน ➂
x = 4y
จะได้ x = 4(1)
x =4
ดังนั้น ขนาดของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปนี้ คือ ความยาวด้านยาว 4 ฟุต
และความยาวด้านกว้าง 1 ฟุต
6. จ� ำ นวนที่มีสองหลัก จ�ำนวนหนึ่งมีเ ลขโดดในหลั ก หน่ วยมี ค ่ า เป็ น สามเท่ า ของเลขโดด
ในหลักสิบ และจ�ำนวนที่มีเลขโดดสลับหลักกันจะมากกว่าจ�ำนวนเดิมอยู่ 54 จงหาจ�ำนวน
จ�ำนวนนี้
ตอบ จ�ำนวนจ�ำนวนนี้ คือ 39
แนวคิด ให้เลขโดดในหลักสิบของจ�ำนวนนี้เท่ากับ x
และให้เลขโดดในหลักหน่วยของจ�ำนวนนี้เท่ากับ y
ดังนั้น จ�ำนวนจ�ำนวนนี้คือ 10x + y
จากเลขโดดในหลักหน่วยมีค่าเป็นสามเท่าของเลขโดดในหลักสิบ จะได้ y = 3x
จ�ำนวนที่มีตัวเลขสลับหลักกัน คือ 10y + x
ดังนั้น จ�ำนวนที่มีตัวเลขสลับหลักกัน จะมีค่ามากกว่าจ�ำนวนเดิมอยู่ 54
จะได้ (10y + x) - (10x + y) = 54
10y + x - 10x - y = 54
-9x + 9y = 54
133

หารด้วย (-9) ตลอด จะได้ x - y = -6


ดังนั้น ระบบสมการเชิงเส้น คือ y = 3x .......... ➀

x - y = -6 .......... ➁

น�ำค่า y ที่ได้จาก ➀ ไปแทนค่าใน ➁


x - y = -6
จะได้ x - 3x = -6
-2x = -6
x =3
น�ำค่า x ที่ได้ไปแทนค่าใน ➀
y = 3x
จะได้ y = 3(3)
y =9
ดังนั้น จ�ำนวนจ�ำนวนนี้ คือ 39
7. จ�ำนวนที่มีสองหลักจ�ำนวนหนึ่ง มีค่ามากกว่าผลบวกของเลขโดดในแต่ละหลักอยู่ 9 และ
จ�ำนวนทีม่ เี ลขโดดสลับหลักกันจะมีคา่ น้อยกว่าสีเ่ ท่าของจ�ำนวนเดิมอยู่ 3 จงหาจ�ำนวนจ�ำนวนนี้
ตอบ จ�ำนวนจ�ำนวนนี้ คือ 16
แนวคิด ให้เลขโดดในหลักสิบของจ�ำนวนนี้เท่ากับ x
และให้เลขโดดในหลักหน่วยของจ�ำนวนนี้เท่ากับ y
ผลบวกของเลขโดดในแต่ละหลัก คือ x + y
ดังนั้น จ�ำนวนจ�ำนวนนี้ คือ 10x + y
ดังนั้น จ�ำนวนนี้มีค่ามากกว่าผลบวกของเลขโดดในแต่ละหลักอยู่ 9
จะได้ (10x + y) - (x + y) = 9
10x + y - x - y = 9
9x = 9
x = 1 .......... ➀
134

และจ�ำนวนที่มีตัวเลขสลับหลักกันจะมีค่าน้อยกว่าสี่เท่าของจ�ำนวนเดิมอยู่ 3
จะได้ 4(10x + y) - (10y + x) = 3
40x + 4y - 10y - x = 3
39x - 6y = 3 .......... ➁

แทนค่า x จาก ➀ ใน ➁
39x - 6y = 3
จะได้ 39(1) - 6y = 3
-6y = -36
y = -36 -6
y =6
ดังนั้น จ�ำนวนจ�ำนวนนี้ คือ 16
8. ผลรวมของอายุพหี่ น่อยและน้องน้อยเท่ากับ 26 ปี ผลต่างระหว่างสีเ่ ท่าของอายุของพีห่ น่อย
และสองเท่าของอายุของน้องน้อยเท่ากับ 28 ปี จงหาอายุของพี่หน่อยและน้องน้อย
ตอบ พี่หน่อยอายุ 13 ปี 4 เดือน และน้องน้อยอายุ 12 ปี 8 เดือน
แนวคิด ให้พี่หน่อยอายุ x ปี
และน้องน้อยอายุ y ปี
จากผลรวมของอายุพี่หน่อย และน้องน้อยเท่ากับ 26 ปี จะได้ x + y = 26
และผลต่างระหว่างสี่เท่าของอายุพี่หน่อย และสองเท่าของอายุน้องน้อย
เท่ากับ 28 ปี
จะได้ 4x - 2y = 28
ดังนั้น ระบบสมการเชิงเส้น คือ x + y = 26 .......... ➀

4x - 2y = 28 .......... ➁

➁ ÷ 2 จะได้ 2x - y = 14 .......... ➂

➀ + ➂ จะได้ 3x = 40
x = 403 หรือ 13 13
135

แทนค่า x ที่หาได้ใน ➀
x + y = 26
40 + y = 26
3
y = 26 - 403
y = 78 3- 40
y = 383 หรือ 12 23
ดังนั้น พี่หน่อยอายุ 13 ปี 4 เดือน และน้องน้อยอายุ 12 ปี 8 เดือน
9. เมือ่ สิบปีทแี่ ล้ว พูก่ นั มีอายุนอ้ ยกว่าน�ำ้ หวาน 18 ปี ปัจจุบนั อายุของทัง้ สองคนรวมกันได้ 100 ปี
จงหาอายุในปัจจุบันของคนทั้งสอง
ตอบ ปัจจุบันพู่กันอายุ 41 ปี และน�ำ้ หวานอายุ 59 ปี
แนวคิด ให้ปัจจุบันพู่กันมีอายุ x ปี
และปัจจุบันน�ำ้ หวานมีอายุ y ปี
จากปัจจุบันอายุของทั้งสองคนรวมกันได้ 100 ปี จะได้ x + y = 100
เมื่อสิบปีที่แล้วพู่กันมีอายุ x - 10 ปี
เมื่อสิบปีที่แล้วน�ำ้ หวานมีอายุ y - 10 ปี
และเมื่อสิบปีที่แล้วพู่กันมีอายุน้อยกว่าน�้ำหวาน 18 ปี จะได้
(y - 10) - (x - 10) = 18
y - 10 - x + 10 = 18
-x + y = 18
ดังนั้น ระบบสมการเชิงเส้น คือ x + y = 100 .......... ➀

-x + y = 18 .......... ➁

➀ + ➁ จะได้ 2y = 118
y = 59
แทนค่า y ที่หาได้ใน ➀
x + y = 100
จะได้ x + 59 = 100
x = 41
ดังนั้น ปัจจุบันพู่กันอายุ 41 ปี และน�้ำหวานอายุ 59 ปี
136

10. กัณฐ์ฝากเงิน 10,000 บาทไว้กับกองทุน 3 แห่ง เขาฝากเงินจ�ำนวนเท่ากันไว้กับกองทุน


สองแห่งแรกซึง่ ให้ดอกเบีย้ 6% ต่อปี ในขณะทีก่ องทุนทีส่ ามให้ดอกเบีย้ 7% เมือ่ สิน้ ปีเขาได้รบั
ดอกเบี้ย 640 บาท จงหาว่ากัณฐ์ฝากเงินไว้กับกองทุนแต่ละแห่งกี่บาท
ตอบ สองแห่งแรก แห่งละ 3,000 บาท แห่งที่สาม 4,000 บาท
แนวคิด ให้กัณฐ์ฝากเงินไว้กับกองทุนแห่งที่หนึ่ง และแห่งที่สองเท่ากันเท่ากับ x บาท
และกัณฐ์ฝากเงินไว้กับกองทุนแห่งที่สามเท่ากับ y บาท
จากกัณฐ์ฝากเงิน 10,000 บาท ไว้กับกองทุน 3 แห่ง
จะได้ x + x + y = 10,000
หรือ 2x + y = 10,000
และกองทุนสองแห่งแรกให้ดอกเบี้ย 6% ต่อปี
จะได้ดอกเบี้ยทั้งปี 2x × 6 = 12x บาท
100 100
และกองทุนแห่งที่สามได้ดอกเบี้ย 7% ต่อปี
จะได้ดอกเบี้ยทั้งปี y × 7 = 7y บาท
100 100
เมื่อสิ้นปีเขาได้รับดอกเบี้ย 640 บาท
จะได้ 12x 7y
100 + 100+ = 640
หรือ 12x + 7y = 64,000
ดังนั้น ระบบสมการเชิงเส้น คือ 2x + y = 10,000 .......... ➀

12x + 7y = 64,000 .......... ➁

➀ × (-7) จะได้ -14x - 7y = -70,000 .......... ➂

➁ + ➂ จะได้ -2x = -6,000


x = 3,000
แทนค่า x ที่หาได้ใน ➀
2x + y = 10,000
จะได้ 2(3,000) + y = 10,000
6,000 + y = 10,000
y = 4,000
ดังนั้น กัณฐ์ฝากเงินไว้กับกองทุนสองแห่งแรก แห่งละ 3,000 บาท
และแห่งที่สาม 4,000 บาท
137

11. น�ำ้ หนึง่ เจ้าของร้านคิดค้นสูตรส่วนผสมของซอสทีเ่ ข้มข้นขึน้ โดยการผสมซอสทีม่ มี ะเขือเทศ


70% เข้ากับซอสทีเ่ คยใช้ ซึง่ มีมะเขือเทศ 40% น�ำ้ หนึง่ จะต้องใช้ซอสแต่ละชนิดจ�ำนวนกีล่ ติ ร
จึงจะได้ซอสสูตรมะเขือเทศ 60% จ�ำนวน 5 ลิตร
ตอบ ซอสสูตรมะเขือเทศชนิด 70% จ�ำนวน 3 13 ลิตร
ซอสสูตรมะเขือเทศชนิด 40% จ�ำนวน 1 23 ลิตร
แนวคิด ให้การผสมซอสมะเขือเทศชนิด 70% จ�ำนวน x ลิตร
และการผสมซอสมะเขือเทศชนิด 40% จ�ำนวน y ลิตร
จะได้ซอสสูตรใหม่จ�ำนวน 5 ลิตร จะได้ x + y = 5
จากซอสชนิดแรกมีมะเขือเทศ 70% แสดงว่า
ซอสมะเขือเทศ 100 ลิตร มีมะเขือเทศ 70 ลิตร
ซอสมะเขือเทศ x ลิตร มีมะเขือเทศ 100 70x = 7x ลิตร
10
จากซอสชนิดที่สองมีมะเขือเทศ 40% แสดงว่า
ซอสมะเขือเทศ 100 ลิตร มีมะเขือเทศ 40 ลิตร
ซอสมะเขือเทศ y ลิตร มีมะเขือเทศ 100 40y = 4y ลิตร
10
ซอสสูตรใหม่มีมะเขือเทศ 60% แสดงว่า
ซอสมะเขือเทศสูตรใหม่ 100 ลิตร มีมะเขือเทศ 60 ลิตร
ซอสมะเขือเทศสูตรใหม่ 5 ลิตร มีมะเขือเทศ 60100× 5 = 3 ลิตร
ดังนั้น ส่วนผสมมีมะเขือเทศอยู่ 10 7x + 4y ลิตร
10
จะได้ 7x 4y
10 + 10+ = 3
ดังนั้น ระบบสมการเชิงเส้น คือ x + y = 5 .......... ➀

7x + 4y+ = 3 .......... ➁
10 10
➀ × - 104 จะได้ ( ) 4x + 4y+ = -2
- 10 10 .......... ➂

➁ + ➂ จะได้ 3x
10 = 1
x = 103 หรือ 3 13
138

แทนค่า x ที่หาได้ใน ➀
x+ y = 5
3 13 + y = 5
y = 5 - 3 13
y = 1 23
ดังนั้น เขาต้องผสมซอสมะเขือเทศชนิด 70% จ�ำนวน 3 13 ลิตร
และชนิด 40% จ�ำนวน 1 23 ลิตร
12. ซือ้ น�ำ้ ตาลทรายสองชนิดราคากิโลกรัมละ 18 บาท และ 25 บาท น�ำมาผสมกันแล้วขายกิโลกรัมละ
24 บาท ได้ก�ำไร 20% จงหาอัตราส่วนของการผสม
ตอบ อัตราส่วนของการผสมน�้ำตาลทรายชนิดราคากิโลกรัมละ 18 บาท และ 25 บาท
เท่ากับ 5 : 2
แนวคิด ให้น�้ำตาลทรายชนิดราคาทุนกิโลกรัมละ 18 บาท จ�ำนวน x กิโลกรัม
และน�้ำตาลทรายชนิดราคาทุนกิโลกรัมละ 25 บาท จ�ำนวน y กิโลกรัม
จะได้เงินลงทุนน�้ำตาลทราย 2 ชนิด เท่ากับ 18x + 25y บาท
และขายน�้ำตาลทรายผสมได้เงิน 24(x + y) บาท
น�ำ้ ตาลทรายผสมขายได้ก�ำไร 20% แสดงว่า
ทุนน�ำ้ ตาลทรายผสม 100 บาท (ขายได้กำ� ไร 20 บาท)
จะขายได้เงิน 120 บาท
ทุนน�ำ้ ตาลทรายผสม 18x + 25y บาท
จะขายได้เงิน 120 (18x + 25y) บาท
100
ซึ่งราคาขายน�ำ้ ตาลทรายผสมเท่ากัน
จะได้ 24(x + y) = 120100 (18x + 25y)
น�ำ 100 คูณตลอด จะได้ 2400(x + y) = 120(18x + 25y)
2400x + 2400y = 2160x + 3000y
240x = 600y
x = 600 = 5
y 240 2
หรือ x : y = 5 : 2
ดังนั้น อัตราส่วนของการผสมน�้ำตาลทรายชนิดราคากิโลกรัมละ 18 บาท และ
25 บาท เท่ากับ 5 : 2
139

13. ชาย 2 คนกับหญิง 5 คน ช่วยกันปูกระเบื้องพื้นโรงงานแห่งหนึ่งเสร็จในเวลา 4 วัน แต่ถ้าให้


ชาย 3 คนกับหญิง 4 คน ปูกระเบื้อง โดยใช้กระเบื้องขนาดเดียวกันและปริมาณงานเท่ากัน
กับคนกลุ่มแรก จะเสร็จในเวลา 3 วัน จงหาว่าถ้าให้ผู้ชายคนเดียวปูกระเบื้องจะเสร็จในเวลา
กี่วัน
ตอบ ผู้ชายคนเดียวปูกระเบื้องจะเสร็จในเวลา 10 12 วัน
แนวคิด ให้ชาย 1 คน ท�ำงาน 1 วัน ได้งาน x ของงาน
ให้ชาย 2 คน ท�ำงาน 4 วัน ได้งาน 8x ของงาน
ให้หญิง 1 คน ท�ำงาน 1 วัน ได้งาน y ของงาน
ให้หญิง 5 คน ท�ำงาน 4 วัน ได้งาน 20y ของงาน
ดังนั้น ชาย 2 คน กับหญิง 5 คน ท�ำงาน 4 วัน ได้งานทั้งหมด 8x + 20y ของ
งานซึ่งท�ำงานเสร็จ
และชาย 3 คน กับหญิง 4 คน ท�ำงาน 3 วัน ได้งานทั้งหมด 9x + 12y
ของงานซึ่งท�ำงานเสร็จ
ดังนั้น ระบบสมการเชิงเส้น คือ 8x + 20y = 1 .......... ➀

9x + 12y = 1 .......... ➁

➀ × 9 จะได้ 72x + 180y = 9 .......... ➂

➁ × (-8) จะได้ -72x - 96y = -8 .......... ➃

➂ + ➃ จะได้ 84y = 1
y = 841
น�ำค่า y ที่ได้ไปแทนค่าใน ➀
8x + 20y = 1
จะได้ ()
8x + 20 841 = 1
8x = 1 - 215
8x = 16 21
x = 2116× 8
x = 212
140

ชาย 1 คน ท�ำงาน 1 วันได้งาน 212 หน่วยของงาน


ชาย 1 คน ท�ำงาน 212 หน่วยของงานใช้เวลา 1 วัน
ชาย 1 คน ท�ำงาน 1 หน่วยของงานใช้เวลา 1 ×221 = 212 = 10 12 วัน
ดังนั้น ผู้ชายคนเดียวปูกระเบื้องพื้นโรงงานแห่งนี้เสร็จในเวลา 10 12 วัน
14. ในเวลา 5 ชัว่ โมง เครือ่ งบินเล็กล�ำหนึง่ บินตามลมได้ระยะทาง 4,000 กิโลเมตรในเวลา 5 ชัว่ โมง
แต่บนิ ทวนลมได้ระยะทาง 3,000 กิโลเมตร จงหาอัตราเร็วของเครือ่ งบินเล็กล�ำนีเ้ มือ่ ลมสงบ
และอัตราเร็วของกระแสลม
ตอบ อัตราเร็วของเครื่องบินเล็กเมื่อลมสงบเท่ากับ 700 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
อัตราเร็วของกระแสลมเท่ากับ 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
แนวคิด ให้อัตราเร็วของเครื่องบินเล็กล�ำนี้เมื่อลมสงบเท่ากับ x กม./ชม.
และอัตราเร็วของกระแสลมเท่ากับ y กม./ชม.
จะได้อัตราเร็วของเครื่องบินเล็กล�ำนี้บินตามลมเท่ากับ x + y กม./ชม.
และได้อัตราเร็วของเครื่องบินเล็กล�ำนี้บินทวนลมเท่ากับ x - y กม./ชม.
ในเวลา 5 ชม. เครื่องบินเล็กล�ำนี้บินตามลมได้ทาง 5(x + y) กม.
ซึ่งในเวลา 5 ชม. เครื่องบินเล็กล�ำนี้บินตามลมได้ทาง 4,000 กม.
จะได้ 5(x + y) = 4,000 หรือ x + y = 800
ในเวลา 5 ชม. เครื่องบินเล็กล�ำนี้บินทวนลมได้ทาง 5(x - y) กม.
ซึ่งในเวลา 5 ชม. เครื่องบินเล็กล�ำนี้บินทวนลมได้ทาง 3,000 กม.
จะได้ 5(x - y) = 3,000 หรือ x - y = 600
ดังนั้น ระบบสมการเชิงเส้น คือ x + y = 800 .......... ➀

x - y = 600 .......... ➁

➀ + ➁ จะได้ 2x = 1,400
x = 700
น�ำค่า x ที่ได้ไปแทนค่าใน ➀
x + y = 800
700 + y = 800
y = 100
ดังนั้น อัตราเร็วของเครื่องบินเล็กล�ำนี้ เมื่อลมสงบเท่ากับ 700 กิโลเมตร
ต่อชั่วโมงและอัตราเร็วของกระแสลมเท่ากับ 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
141

แบบฝึกหัด
ประจำ�หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 (หน้า 184)
1. จงหาค�ำตอบของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรต่อไปนี้โดยใช้กราฟ
1) y = 2 2) x + y = 0
x - y = 2 x - 2y = 3
3) x - 2y = 2 4) x + y = 4
2x + y = 4 4x - y = 1
5) x+ y = 2 6) 2x + 3y = 4
2x + 3y = 3 6x - y = 2
7) x + 2y = 5 8) 3x - 4y = 6
3x + 6y = 20 3x - 4y = 12
ตอบ 1) ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (4, 2)
2) ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (1, -1)
3) ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (2, 0)
4) ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (1, 3)
5) ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (3, -1)
6) ค�ำตอบของระบบสมการ คือ 12 , 1 ( )
7) ระบบสมการนี้ไม่มีค�ำตอบ
8) ระบบสมการนี้ไม่มีค�ำตอบ
แนวคิด 1) ให้ y = 2 .......... ➀

มีจุดที่กราฟผ่านบางจุด คือ (-3, 2), (0,2), (3, 2), (4, 2)


ให้ x - y = 2 .......... ➁

มีจุดที่กราฟผ่านบางจุด คือ (-3, -5), (0, - 2), (4, 2)


142
เขียนกราฟของสมการทั้งสองสมการได้ดังนี้
Y
10 x- y= 2
5
(4, 2)
y= 2
-10 -5 0 5 10
X
-5

-10

กราฟตัดกันที่จุด (4, 2)
ดังนั้น ค�าตอบของระบบสมการ คือ (4, 2)
2) ให้ x+ y = 0 .......... ➀

หรือ y = -x
มีจุดที่กราฟผ่านบางจุด คือ (-3, 3), (0, 0), (1, -1)
ให้ x - 2y = 3 .......... ➁

หรือ 2y = x - 3
y = x 2- 3
มีจุดที่กราฟผ่านบางจุด คือ (-3, -3), (1, -1), (3, 0)
เขียนกราฟของสมการทั้งสองสมการได้ดังนี้
Y

10

x+ y=0
5
x - 2y = 3

X
-10 -5 0 5 10
(1, -1)
-5
กราฟตัดกันที่จุด (1, -1)
-10 ดังนั้น ค�าตอบของระบบสมการ คือ (1, -1)
143

3) ให้ x - 2y = 2 .......... ➀

2x + y = 4 .......... ➁

จาก ➀ จะได้ 2y = x - 2
y = x 2- 2
มีจุดที่กราฟผ่านบางจุด คือ (-4, -3), (0, -1), (2, 0)
จาก ➁ จะได้ y = 4 - 2x
มีจุดที่กราฟผ่านบางจุดคือ (-2, 8), (0, 4), (2, 0)
เขียนกราฟของสมการทั้งสองสมการได้ดังนี้
Y

2x + y = 4 10

5 x - 2y = 2
(2, 0)
0 X
-10 -5 5 10

-5
y = 4 - 2x
-10

กราฟตัดกันที่จุด (2, 0)
ดังนั้น ค�าตอบของระบบสมการ คือ (2, 0)
144

4) ให้ x+ y = 4 .......... ➀

หรือ y = 4- x
มีบางจุดที่กราฟผ่าน คือ (-4, 8), (0, 4), (1, 3)
ให้ 4x - y = 1 .......... ➁

หรือ y = 4x - 1
มีบางจุดที่กราฟผ่าน คือ (-2, -9), (0 , -1), (1, 3), (2, 7)
เขียนกราฟของสมการทั้งสองได้ดังนี้
Y 4x - y = 1
x+ y= 4
10

5
(1, 3)
X
-10 -5 0 5 10
-5

-10

กราฟตัดกันที่จุด (1, 3)
ดังนั้น ค�าตอบของระบบสมการ คือ (1, 3)
145

5) ให้ x+ y = 2 .......... ➀

หรือ y = 2- x
มีบางจุดที่กราฟผ่าน คือ (-4, 6), (0, 2), (3, -1)
ให้ 2x + 3y = 3 .......... ➁

y = 3 -32x
มีบางจุดที่กราฟผ่าน คือ (-3, 3), (0, 1), (3, -1)
เขียนกราฟของสมการทั้งสองได้ดังนี้
Y
x+ y= 2 10

2x + 3y = 3 5

X
-10 -5 0 5 10
(3, -1)
-5

-10

กราฟตัดกันที่จุด (3, -1)


ดังนั้น ค�าตอบของระบบสมการ คือ (3, -1)
146

6) ให้ 2x + 3y = 4 .......... ➀

y = 4 -32x
มีบางจุดที่กราฟผ่าน คือ (-4, 4), (-1, 2), (5, -2), 12 , 1 ( )
ให้ 6x - y = 2 .......... ➁

หรือ y = 6x - 2
มีบางจุดที่กราฟผ่าน คือ (-1, -8), (0, -2), 12 , 1 , (1, 4) ( )
เขียนกราฟของสมการทั้งสองได้ดังนี้
Y
6x - y = 2
10

5
( 12 , 1)
X
-10 -5 0 5 10
2x + 3y = 4
-5

-10

( )
กราฟตัดกันที่จุด 12 , 1
ดังนั้น ค�าตอบของระบบสมการ คือ 12 , 1 ( )
7) ให้ x + 2y = 5 .......... ➀

y = 5 2- x
มีบางจุดที่กราฟผ่าน คือ (-3, 4), (-1, 3), (3, 1)
ให้ 3x + 6y = 20 .......... ➁

หรือ y = 20 6- 3x
( )( )( )
มีบางจุดที่กราฟผ่าน คือ -2, 4 13 , 0, 3 13 , 4, 1 13
147

เขียนกราฟของสมการทั้งสองได้ดังนี้
Y

3x + 6y = 20
x + 2y = 5 5
4
3
2
1
-4 -3 -2 -1 -10 1 2 3 4 X
-2
-3
-4
-5

ได้กราฟเส้นตรง 2 เส้นขนานกัน
เนื่องจาก ➀ × 3 จะได้ 3x + 6y = 15
ซึ่งทราบว่า ถ้ามีระบบสมการเชิงเส้น ax + by = c
และ ax + by = d
จะเขียนกราฟได้เส้นตรง 2 เส้นขนานกัน
เมื่อ a, b, c, d เป็นค่าคงที่
ดังนั้น ระบบสมการนี้ไม่มีค�าตอบ
8) ให้ 3x - 4y = 6 .......... ➀

หรือ y = 3x4- 6
มีบางจุดที่กราฟผ่าน คือ (-6, -6), (-2, -3), (2, 0)
ให้ 3x - 4y = 12 .......... ➁

หรือ y = 3x 4- 12
มีบางจุดที่กราฟผ่าน คือ (-4, -6), (0, -3), (4, 0)
148

เขียนกราฟของสมการทั้งสองได้ดังนี้
Y
6

4 3x - 4y = 6

2
3x - 4y = 12
X
-6 -4 -2 0 2 4 6
-2

-4

-6

ได้กราฟเส้นตรง 2 เส้นขนานกัน
สังเกตได้ว่าระบบสมการเชิงเส้นที่ให้อยู่ในรูปเช่น ข้อ 7)
ดังนั้น ระบบสมการนี้ไม่มีค�าตอบ
2. จงหาค�าตอบของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรต่อไปนี้โดยใช้วิธีแทนค่า
1) x+ y = 3 2) x + y = 5
2x - y = 3 3x - y = 3
3) 2x - y = 6 4) x + 3y = 1
3x + y = 4 x + y = -1
5) x - 4y = 1 6) x + 3y = 7
x - 2y = -1 x - y = -5
7) x- y = 5 8) 2x + y = 3
2x + y = 4 x + 3y = 4
ตอบ 1) ค�าตอบของระบบสมการ คือ (2, 1)
2) ค�าตอบของระบบสมการ คือ (2, 3)
3) ค�าตอบของระบบสมการ คือ (2, -2)
4) ค�าตอบของระบบสมการ คือ (-2, 1)
5) ค�าตอบของระบบสมการ คือ (-3, -1)
149

6) ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (-2, 3)


7) ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (3, -2)
8) ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (1, 1)
แนวคิด 1) ให้ x+ y = 3 .......... ➀

2x - y = 3 .......... ➁

จาก ➀ จะได้ y = 3- x .......... ➂

น�ำค่า y ที่ได้จาก ➂ ไปแทนค่าใน ➁


2x - y = 3
จะได้ 2x - (3 - x) = 3
2x - 3 + x = 3
3x = 6
x =2
น�ำค่า x ที่ได้ไปแทนค่าใน ➂
y = 3- x
จะได้ y = 3-2
y =1
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (2, 1)
2) ให้ x+ y = 5 .......... ➀

3x - y = 3 .......... ➁

จาก ➀ จะได้ y = 5- x .......... ➂

น�ำค่า y ที่ได้จาก ➂ ไปแทนค่าใน ➁


3x - y = 3
จะได้ 3x - (5 - x) = 3
3x - 5 + x = 3
4x = 8
x =2
150

น�ำค่า x ที่ได้ไปแทนค่าใน ➂
y = 5- x
จะได้ y = 5-2
y =3
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (2, 3)
3) ให้ 2x - y = 6 .......... ➀

3x + y = 4 .......... ➁

จาก ➁ จะได้ y = 4 - 3x .......... ➂

น�ำค่า y ที่ได้จาก ➂ ไปแทนค่าใน ➀


2x - y = 6
จะได้ 2x - (4 - 3x) = 6
2x - 4 + 3x = 6
5x = 10
x =2
น�ำค่า x ที่ได้ไปแทนค่าใน ➂
y = 4 - 3x
จะได้ y = 4 - 3(2)
y = 4-6
y = -2
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (2, -2)
4) ให้ x + 3y = 1 .......... ➀

x + y = -1 .......... ➁

จาก ➁ จะได้ y = -1 - x .......... ➂

น�ำค่า y ที่ได้จาก ➂ ไปแทนค่าใน ➀


x + 3y = 1
151

จะได้ x + 3(-1 - x) = 1
x - 3 - 3x = 1
-2x = 4
x = -2
น�ำค่า x ที่ได้ไปแทนค่าใน ➂
y = -1 - 3x
จะได้ y = -1 - (-2)
y =1
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (-2, 1)
5) ให้ x - 4y = 1 .......... ➀

x - 2y = -1 .......... ➁

จาก ➀ จะได้ x = 4y + 1 .......... ➂

น�ำค่า x ที่ได้จาก ➂ ไปแทนค่าใน ➁


x - 2y = -1
(4y + 1) - 2y = -1
2y + 1 = -1
2y = -2
y = -1
น�ำค่า y ที่ได้ไปแทนค่าใน ➂
x = 4y + 1
x = 4(-1) + 1
x = -3
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (-3, -1)
152

6) ให้ x + 3y = 7 .......... ➀

x - y = -5 .......... ➁

จาก ➁ จะได้ x = y-5 .......... ➂

น�ำค่า x ที่ได้จาก ➂ ไปแทนค่าใน ➀


x + 3y = 7
จะได้ (y - 5) + 3y = 7
4y = 12
y =3
น�ำค่า y ที่ได้ไปแทนค่าใน ➂
x = y-5
จะได้ x = 3-5
x = -2
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (-2, 3)
7) ให้ x- y = 5 .......... ➀

2x + y = 4 .......... ➁

จาก ➀ จะได้ x = y+5 .......... ➂

น�ำค่า x ที่ได้จาก ➂ ไปแทนค่าใน ➁


2x + y = 4
จะได้ 2(y + 5) + y = 4
2y + 10 + y = 4
3y = -6
y = -2
น�ำค่า y ที่ได้ไปแทนค่าใน ➂
x = y+5
จะได้ x = -2 + 5
x =3
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (3, -2)
153

8) ให้ 2x + y = 3 .......... ➀

x + 3y = 4 .......... ➁

จาก ➁ จะได้ x = 4 - 3y .......... ➂

น�ำค่า x ที่ได้จาก ➂ ไปแทนค่าใน ➀


2x + y = 3
จะได้ 2(4 - 3y) + y = 3
8 - 6y + y = 3
-5y = -5
y =1
น�ำค่า y ที่ได้ไปแทนค่าใน ➂
x = 4 - 3y
จะได้ x = 4 - 3(1)
x = 4-3
x =1
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (1, 1)
3. จงหาค�ำตอบของระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรต่อไปนี้โดยวิธีก�ำจัดตัวแปร
1) x + 4y = 1 2) x + 5y = 2
4x + 16y = 4 2x + 10y = 4
3) 3x - 4y = 12 4) 9x + 16y = 1
9x + 16y = 1 3x + y = -5
5) 3x + y = 5 6) 3x - 4y = 1
6x + 2y = 11 4x - 3y = -1
7) 3x - 2y = 7 8) 3x - y = -1
21x - 14y = 49 6x - 2y = -2
(
ตอบ 1) ค�ำตอบของระบบสมการ คือ x, 1 4- x )
2) ค�ำตอบของระบบสมการ คือ x, 2 5- x( )
154

3) ค�ำตอบของระบบสมการ คือ 73 , - 54 ( )
4) ค�ำตอบของระบบสมการ คือ 16 ( 27
13 , - 13 )
5) ระบบสมการนี้ไม่มีค�ำตอบ
6) ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (-1, -1)
7) ค�ำตอบของระบบสมการ คือ x , 3x2-7 ( )
8) ค�ำตอบของระบบสมการ คือ (x , 3x + 1)
แนวคิด 1) ให้ x + 4y = 1 .......... ➀

4x + 16y = 4 .......... ➁

➀ × (-4) จะได้ -4x - 16y = -4 .......... ➂

➁ + ➂ จะได้ 0 = 0
สมการนี้ไม่มีตัวแปรและเป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมการนี้มีจ�ำนวนไม่จ�ำกัด
จาก x + 4y = 1 จะได้ 4y = 1 - x หรือ y = 1 4- x
กล่าวได้ว่า ระบบสมการนี้มีค�ำตอบมากมายไม่จ�ำกัดในรูป x, 1 4- x ( )
2) ให้ x + 5y = 2 .......... ➀

2x + 10y = 4 .......... ➁

➀ × (-2) จะได้ -2x - 10y = -4 .......... ➂

➁ + ➂ จะได้ 0 = 0
สมการนี้ไม่มีตัวแปรและเป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมการนี้มีจ�ำนวนไม่จ�ำกัด
จาก x + 5y = 2 จะได้ 5y = 2 - x หรือ y = 2 5- x
กล่าวได้ว่า ระบบสมการนี้มีค�ำตอบมากมายไม่จ�ำกัดในรูป x, 2 5- x ( )
3) ให้ 3x - 4y = 12 .......... ➀

9x + 16y = 1 .......... ➁

➀ × 4 จะได้ 12x - 16y = 48 .......... ➂


155

➁ + ➂ จะได้ 21x = 49
x = 49 =
21 3
7
x = 3 หรือ 2 13
7
น�ำค่า x ที่ได้ไปแทนใน ➀
3x - 4y = 12
()
3 73 - 4y = 12
-4y =5
y = - 54 หรือ -1 14
ค�ำตอบของระบบสมการ คือ ( )
7,-5
3 4
4) ให้ 9x + 16y = 1 .......... ➀

3x + y = -5 .......... ➁

➁ × (-3) จะได้ -9x - 3y = 15 .......... ➂

➀ + ➂ จะได้ 13y = 16
y = 16 3
13 หรือ 113
น�ำค่า y ที่ได้ไปแทนใน ➁
3x + y = -5
3x + 16
13 = -5
3x = -5 - 1613
3x = -6513- 16
x = 13-81× 3
x = -27 1
13 หรือ -2 13
ค�ำตอบของระบบสมการคือ 16 ( 27
13 , - 13 )
156

5) ให้ 3x + y = 5 .......... ➀

6x + 2y = 11 .......... ➁

➀ × (-2) จะได้ -6x - 2y = -10 .......... ➂

➁ + ➂ จะได้ 0 = 1
เป็นสมการที่ไม่มีตัวแปรและสมการที่ไม่เป็นจริงเพราะ 0 ≠ 1
ดังนั้น ระบบสมการนี้ไม่มีค�ำตอบ
6) ให้ 3x - 4y = 1 .......... ➀

4x - 3y = -1 .......... ➁

➀ × (-3) จะได้ -9x + 12y = -3 .......... ➂

➁ × 4 จะได้ 16x - 12y = -4 .......... ➃

➂ + ➃ จะได้ 7x = -7
x = -1
น�ำค่า x ที่ได้ไปแทนใน ➀
3x - 4y = 1
จะได้ 3(-1) - 4y = 1
-3 - 4y = 1
-4y = 4
y = -1
ค�ำตอบของระบบสมการคือ (-1 , -1)
7) ให้ 3x - 2y = 7 .......... ➀

21x - 14y = 49 .......... ➁

➀ × (-7) จะได้ -21x + 14y = -49 .......... ➂

➁ + ➂ จะได้ 0 = 0
เป็นสมการที่ไม่มีตัวแปรและสมการเป็นจริง
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมการมีจ�ำนวนไม่จำ� กัด
จาก 3x - 2y = 7 จะได้ 2y = 3x - 7 หรือ y = 3x2- 7
(
กล่าวได้ว่า ระบบสมการนี้มีค�ำตอบมากมายไม่จำ� กัดในรูป x, 3x2- 7 )
157

8) ให้ 3x - y = -1 .......... ➀

6x - 2y = -2 .......... ➁

➀ × (-2) จะได้ -6x + 2y = 2 .......... ➂

➁ + ➂ จะได้ 0 = 0
เป็นสมการที่ไม่มีตัวแปรและสมการเป็นจริง
ดังนั้น ค�ำตอบของระบบสมการมีจ�ำนวนไม่จำ� กัด
จาก 3x - y = -1 จะได้ y = 3x + 1
กล่าวได้ว่า ระบบสมการนี้มีค�ำตอบมากมายไม่จำ� กัดในรูป (x, 3x + 1)
4. เศษหนึ่งส่วนสี่ของจ�ำนวนที่หนึ่งรวมกับเศษหนึ่งส่วนห้าของจ� ำนวนที่สองจะได้ผลลัพธ์
เท่ากับ 8 และเมื่อน�ำเศษหนึ่งส่วนสี่ของจ�ำนวนที่สองลบออกจากเศษหนึ่งส่วนสองของ
จ�ำนวนที่หนึ่ง จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 3 จงหาจ�ำนวนทั้งสองจ�ำนวนนี้
ตอบ จ�ำนวนทั้งสองนี้ คือ 16 และ 20
แนวคิด ให้จ�ำนวนที่หนึ่งมีค่าเท่ากับ x
และให้จำ� นวนที่สองมีค่าเท่ากับ y
จากเศษหนึง่ ส่วนสีข่ องจ�ำนวนทีห่ นึง่ รวมกับเศษหนึง่ ส่วนห้าของจ�ำนวนทีส่ องจะได้
ผลลัพธ์เท่ากับ 8
ดังนั้น 1x+ 1 y = 8
4 5
และเมื่อหักเศษหนึ่งส่วนสี่ของจ�ำนวนที่สองออกจากเศษหนึ่งส่วนสองของจ�ำนวน
ที่หนึ่งจะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 3
ดังนั้น 1x- 1 y = 3
2 4
จะได้ ระบบสมการเชิงเส้น คือ 14 x + 15 y = 8 .......... ➀

1 x- 1y = 3 .......... ➁
2 4
➀ × 20 จะได้ ( ) ( )
20 14 x + 20 15 y = 20(8)
5x + 4y = 160 .......... ➂

➁ × 4 จะได้ ( ) ()
4 12 x - 4 14 y = 4(3)
2x - y = 12 .......... ➃
158

➃ × 4 จะได้ 8x - 4y = 48 .......... ➄

➂ + ➄ จะได้ 13x = 208


x = 208
13
x = 16
น�ำค่า x ที่ได้ไปแทนค่าใน ➃
2x - y = 12
จะได้ 2(16) - y = 12
32 - y = 12
20 = y
ดังนั้น จ�ำนวนทั้งสอง คือ 16 และ 20
5.
ก�ำหนดรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากรูปหนึง่ ถ้าด้านยาวของรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากรูปนีเ้ พิม่ ขึน้ 2 นิว้ และ

ด้านกว้างของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปนี้ลดลง 1 นิ้ว พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากจะเพิ่มขึ้น

จากเดิม 3 ตารางนิ้ว แต่ถ้าด้านยาวลดลง 4 นิ้ว และด้านกว้างเพิ่มขึ้น 3 นิ้ว พื้นที่จะลดลง

11 ตารางนิ้ว จงหาพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่ก�ำหนด
ตอบ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 88 ตารางนิ้ว
แนวคิด ให้ความยาวด้านยาวของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปนี้เดิมเท่ากับ x นิ้ว
และให้ความยาวด้านกว้างของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปนี้เดิมเท่ากับ y นิ้ว
จะได้พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปนี้เท่ากับ xy ตารางนิ้ว
จากโจทย์ ถ้าด้านยาวของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปนี้เพิ่มขึ้น 2 นิ้ว
ด้านยาวจะยาวเป็น x + 2 นิ้ว
และด้านกว้างของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปนี้ลดลง 1 นิ้ว
ด้านกว้างจะยาวเป็น y - 1 นิ้ว
และพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปใหม่ = (x + 2) (y - 1)
(ใช้กฎการกระจาย) = (x + 2) y + (x + 2)(-1)
= xy + 2y - x - 2 ตารางนิ้ว
159

จากโจทย์พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากจะเพิ่มขึ้นจากเดิม 3 ตารางนิ้ว
นั่นคือ xy - x + 2y - 2 = xy + 3
หรือ -x + 2y = 5
จากโจทย์
ถ้าด้านยาวลดลง 4 นิ้ว และด้านกว้างเพิ่มขึ้น 3 นิ้ว พื้นที่จะลดลง 11 ตารางนิ้ว
จะได้ด้านยาวของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปใหม่เท่ากับ x-4 นิ้ว
และด้านกว้างของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปใหม่เท่ากับ y+3 นิ้ว
และพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากรูปใหม่เท่ากับ (x - 4)(y + 3) นิ้ว
= (x - 4)y + (x - 4)(3)
= xy - 4y + 3x - 12 ตารางนิ้ว
และ xy - 4y + 3x - 12 = xy - 11
หรือ 3x - 4y = 1
ดังนั้น ระบบสมการเชิงเส้น ได้แก่ -x + 2y = 5 .......... ➀

3x - 4y = 1 .......... ➁

➀ × 2 จะได้ -2x + 4y = 10 .......... ➂

➁ + ➂ จะได้ x = 11
น�ำค่า x ที่ได้ไปแทนค่าใน ➀
-x + 2y = 5
จะได้ -11 + 2y = 5
2y = 16
y =8
ดังนั้น พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่กำ� หนดเท่ากับ 11 × 8 = 88 ตารางนิ้ว
6. เมือ่ 7 ปีทแี่ ล้ว จอมขวัญมีอายุเท่ากับ 15 ของอายุพอ่ ของเขา แต่อกี 17 ปีขา้ งหน้าจอมขวัญจะมี
อายุเป็นครึ่งหนึ่งของอายุพ่อของเขา จงหาอายุในปัจจุบันของจอมขวัญและพ่อ
ตอบ พ่ออายุ 47 ปี จอมขวัญ อายุ 15 ปี
160

แนวคิด
ให้ปัจจุบันพ่อของจอมขวัญอายุ x ปี
และปัจจุบันจอมขวัญอายุ y ปี
เมื่อ 7 ปีที่แล้วพ่อของจอมขวัญอายุ x - 7 และจอมขวัญอายุ y - 7 ปี
จากโจทย์ เมื่อ 7 ปีที่แล้วจอมขวัญอายุเท่ากับ 15 ของอายุพ่อของเขา
จะได้ y - 7 = 15 (x - 7)
5(y - 7) = x - 7
5y - 35 = x - 7
5y - x = 28
x - 5y = -28
อีก 17 ปีข้างหน้าพ่อของจอมขวัญอายุ x + 17 ปี และจอมขวัญอายุ y + 17 ปี
อีก 17 ปีข้างหน้า จอมขวัญจะมีอายุเป็นครึ่งหนึ่งของอายุพ่อของเขา
จะได้ y + 17 = 12 (x + 17)
2(y + 17) = x + 17
2y + 34 = x + 17
x - 2y = 17
จะได้ ระบบสมการเชิงเส้น คือ x - 5y = -28 .......... ➀

x - 2y = 17 .......... ➁

➀ × (-1) จะได้ -x + 5y = 28 .......... ➂

➁ + ➂ จะได้ 3y = 45
y = 15
น�ำค่า y ที่ได้ไปแทนค่าใน ➁
x - 2y = 17
จะได้ x - 2(15) = 17
x - 30 = 17
x = 47
ดังนั้น ปัจจุบันพ่อของจอมขวัญอายุ 47 ปี และจอมขวัญอายุ 15 ปี
161

7. เศษส่วนแท้จำ� นวนหนึง่ เมือ่ น�ำ 2 ลบออกจากตัวเศษ และน�ำ 7 บวกเข้ากับตัวส่วน จะได้เศษส่วน


เท่ากับ 12 แต่เมื่อน�ำ 1 ลบออกจากตัวเศษและน�ำ 13 บวกเข้ากับตัวส่วน จะได้เศษส่วน
เท่ากับ 49 จงหาเศษส่วนแท้จ�ำนวนนี้
ตอบ เศษส่วนแท้จำ� นวนนี้ คือ 17 23
แนวคิด ให้ตัวเศษของเศษส่วนแท้จ�ำนวนนี้เท่ากับ x
และตัวส่วนของเศษส่วนแท้จำ� นวนนี้เท่ากับ y
เมื่อน�ำ 2 ลบออกจากตัวเศษ และน�ำ 7 บวกเข้ากับตัวส่วน เศษส่วนใหม่จะเท่ากับ 12
จะได้ x-2 1
y+7 = 2
คูณไขว้ จะได้ 2(x - 2) = (1)(y + 7)
2x - 4 = y + 7
2x - y = 11
เมื่อน�ำ 1 ลบออกจากตัวเศษ และน�ำ 13 บวกเข้ากับตัวส่วน
เศษส่วนใหม่ จะเท่ากับ 49
จะได้ x-1 = 4
y + 13 9
คูณไขว้ จะได้ 9(x - 1) = 4(y + 13)
9x - 9 = 4y + 52
9x - 4y = 61
จะได้ ระบบสมการเชิงเส้น คือ 2x - y = 11 .......... ➀

9x - 4y = 61 .......... ➁

➀ × (-4) จะได้ -8x + 4y = -44 .......... ➂

➁ + ➂ จะได้ x = 17
น�ำค่า x ที่ได้ไปแทนค่าใน ➀
2x - y = 11
จะได้ 2(17) - y = 11
34 - y = 11
-y = -23
y = 23
ดังนั้น เศษส่วนแท้จำ� นวนนี้ คือ 17 23
162

8. จ�ำนวนที่มีสองหลักจ�ำนวนหนึ่งมีเลขโดดในหลักหน่วยมีค่าเป็นสามเท่าของเลขโดดใน
หลักสิบ จ�ำนวนนี้มีค่ามากกว่าเลขโดดในหลักสิบอยู่ 12 จงหาจ�ำนวนจ�ำนวนนี้
ตอบ จ�ำนวนจ�ำนวนนี้ คือ 13
แนวคิด ให้เลขโดดในหลักหน่วยของจ�ำนวนนี้เท่ากับ x
และเลขโดดในหลักสิบของจ�ำนวนนี้เท่ากับ y
ดังนั้น จ�ำนวนจ�ำนวนนี้ คือ 10y + x
จากโจทย์เลขโดดในหลักหน่วยมีค่าเป็นสามเท่าของเลขโดดในหลักสิบ
จะได้ x = 3y หรือ x - 3y = 0
และจ�ำนวนนี้มีค่ามากกว่าเลขโดดในหลักสิบอยู่ 12
จะได้ (10y + x) - y = 12 หรือ x + 9y = 12
ดังนั้น ระบบสมการเชิงเส้น ได้แก่ x - 3y = 0 .......... ➀

x + 9y = 12 .......... ➁

➀ × (-1) จะได้ -x + 3y = 0 .......... ➂

➁ + ➂ จะได้ 12y = 12
y =1
น�ำค่า y ที่ได้ไปแทนค่าใน ➀
x - 3y = 0
จะได้ x - 3(1) = 0
x-3 = 0
x =3
ดังนั้น จ�ำนวนจ�ำนวนนี้ คือ 13
9. ในห้องปฏิบัติการ นักวิทยาศาสตร์มีสารละลายซึ่งมีแอลกอฮอล์ 30% และ 80% ตามล�ำดับ
เขาต้องการน�ำสารละลายมาผสมกันเพือ่ ให้ได้สารละลายมีแอลกอฮอล์ 50% จ�ำนวน 100 ลิตร
เขาจะต้องใช้สารละลายแต่ละชนิดจ�ำนวนละกี่ลิตรมาผสมกัน
ตอบ จะต้องใช้สารละลายแต่ละชนิดจ�ำนวน 60 ลิตร และ 40 ลิตร
163

ให้ใช้สารละลายซึ่งมีแอลกอฮอล์ 30% จ�ำนวน x ลิตร


แนวคิด
และใช้สารละลายซึ่งมีแอลกอฮอล์ 80% จ�ำนวน y ลิตร
ซึ่งได้สารละลายทั้งหมด 100 ลิตร จะได้ x + y = 100
สารละลายซึ่งมีแอลกอฮอล์ 30% แสดงว่าสารละลาย 100 ลิตร
มีแอลกอฮอล์ 30 ลิตร
สารละลาย x ลิตร มีแอลกอฮอล์ 100 30x ลิตร
สารละลายซึ่งมีแอลกอฮอล์ 80% แสดงว่าสารละลาย 100 ลิตร
มีแอลกอฮอล์ 80 ลิตร
สารละลาย y ลิตร มีแอลกอฮอล์ 100 80y ลิตร
แสดงว่าสารละลาย x + y ลิตร หรือ 100 ลิตร
จะมีแอลกอฮอล์อยู่ 30x 80y
100 + 100 ลิตร
หรือสารละลายผสมนี้มีแอลกอฮอล์อยู่ 10 3x + 8y ลิตร
10
สารละลายผสมซึ่งมีแอลกอฮอล์ 50% แสดงว่าสารละลายผสม 100 ลิตร
มีแอลกอฮอล์ 50 ลิตร
ดังนั้น สารละลายผสมมีแอลกอฮอล์อยู่ 10 3x + 8y ลิตร
10
จะได้ 3x 8y
10 + 10+ = 50
หรือ 3x + 8y = 500
ดังนั้น ระบบสมการเชิงเส้น ได้แก่ x + y = 100 .......... ➀

3x + 8y = 500 .......... ➁

➀ × (-3) จะได้ -3x - 3y = -300 .......... ➂

➁ + ➂ จะได้ 5y = 200
y = 40
น�ำค่า y ที่ได้ไปแทนค่าใน ➀
x + y = 100
จะได้ x + 40 = 100
x = 60
ดังนั้น ต้องใช้สารละลายซึ่งมีแอลกอฮอล์ 30% และ 80% จ�ำนวน 60 ลิตร
และ 40 ลิตร ตามล�ำดับ
164

10. ธีรัชเป็นนักว่ายน�ำ้ ซึ่งว่ายทวนน�ำ้ ด้วยอัตราเร็ว 40 เมตร/นาที และว่ายตามน�ำ้ ด้วยอัตราเร็ว


เป็นสองเท่าของอัตราเร็วที่ว่ายทวนน�้ำ จงหาอัตราเร็วในน�้ำนิ่ง
ตอบ อัตราเร็วในน�ำ้ นิ่ง 60 เมตร/นาที
แนวคิด ให้อัตราเร็วในการว่ายน�้ำของนักว่ายน�้ำในน�้ำนิ่งเท่ากับ x เมตรต่อนาที
และอัตราเร็วของกระแสน�้ำเท่ากับ y เมตรต่อนาที
จะได้อัตราเร็วในการว่ายทวนน�้ำเท่ากับ x - y เมตรต่อนาที
และได้อัตราเร็วในการว่ายตามน�้ำเท่ากับ x + y เมตรต่อนาที
จากโจทย์ธีรัชว่ายทวนน�้ำด้วยอัตราเร็ว 40 เมตร/นาที จะได้ x - y = 40
และเขาว่ายตามน�้ำด้วยอัตราเร็วเป็นสองเท่าของอัตราเร็วที่ว่ายทวนน�ำ้
จะได้ x + y = 2 × 40
หรือ x + y = 80
ดังนั้น ระบบสมการเชิงเส้น ได้แก่ x - y = 40 .......... ➀

x + y = 80 .......... ➁

➀ + ➁ จะได้ 2x = 120
x = 60
ดังนั้น นักว่ายธีรัชว่ายน�้ำในน�้ำนิ่งด้วยอัตราเร็ว 60 เมตร/นาที
11. จงหาจุดตัดแกน X และแกน Y ของสมการ 2x - 3y = 12 พร้อมทัง้ เขียนกราฟของสมการนี้
ตอบ จุดตัดแกน X คือ (6, 0) และจุดตัดแกน Y คือ (0, -4)
แนวคิด จากสมการ 2x - 3y = 12 .......... ➀

หาจุดตัดแกน X ให้แทนค่า y = 0 ในสมการ ➀


จะได้ 2x - 3(0) = 12
2x = 12
x =6
ดังนั้น จุดตัดแกน X คือ (6, 0)
หาจุดตัดแกน Y ให้แทนค่า x = 0 ในสมการ ➀
จะได้ 2(0) - 3y = 12
-3y = 12
y = -4
ดังนั้น จุดตัดแกน Y คือ (0, -4)
165

เขียนกราฟของสมการได้ดังนี้
Y

5
4
3
2
1
X
-6 -5 -4 -3 -2 -1-10 1 2 3 4 5 6
-2
-3 2x - 3y = 12
-4
-5

12. ถ้า x = 1, y = -2 เป็นค�าตอบของระบบสมการ x + my = 3 และ nx - y = 4 จงหาค่าของ


m+ n
ตอบ ค่าของ m + n คือ 1
แนวคิด x = 1, y = -2 เป็นค�าตอบของระบบสมการ x + my = 3 และ nx - y = 4
แทนค่า x = 1, y = -2 ในสมการ x + my = 3
จะได้ 1 + m(-2) = 3
m = -1
แทนค่า x = 1, y = -2 ในสมการ nx - y = 4
จะได้ n(1) - (-2) = 4
n =2
ดังนั้น ค่าของ m + n = -1 + 2 = 1
166

13. กราฟของระบบสมการ x + by = 2 และ ax + y = 5 ตัดกันทีจ่ ดุ (4, 1) จงหาคูอ่ นั ดับ (a, b)


ตอบ คู่อันดับ (a, b) คือ (1, -2)
แนวคิด กราฟของระบบสมการ x + by = 2 และ ax + y = 5 ตัดกันที่จุด (4, 1)
นั่นคือ x = 4, y = 1 เป็นค�ำตอบของระบบสมการ x + by = 2 และ ax + y = 5
แทนค่า x = 4, y = 1 ในสมการ x + by = 2
จะได้ 4 + b(1) = 2
b = -2
แทนค่า x = 4, y = 1 ในสมการ ax + y = 5
จะได้ a(4) + 1 = 5
a =1
ดังนั้น คู่อันดับ (a, b) คือ (1, -2)
14. จ�ำนวนที่มีสองหลักจ�ำนวนหนึ่งมีเลขโดดในหลักสิบมากกว่าเลขโดดในหลักหน่วยอยู่ 2
ถ้าน�ำผลบวกของเลขโดดทั้งสองหลักไปหารจ�ำนวนนั้น จะได้ผลหารเป็น 6 เหลือเศษ 3
จงหาจ�ำนวนจ�ำนวนนี้
ตอบ จ�ำนวนจ�ำนวนนี้ คือ 75
แนวคิด ให้เลขโดดในหลักหน่วยของจ�ำนวนนี้เท่ากับ x
และเลขโดดในหลักสิบของจ�ำนวนนี้เท่ากับ y
ดังนั้น จ�ำนวนนี้ คือ 10y + x
จากโจทย์ เลขโดดในหลักสิบมากกว่าเลขโดดในหลักหน่วยอยู่ 2
จะได้ y - x = 2 หรือ -x + y = 2
และถ้าน�ำผลบวกของเลขโดดทั้งสองหลักไปหารจ�ำนวนนั้นจะได้ผลลัพธ์เป็น
6 เหลือเศษ 3
จะได้ 10y + x = 6(x + y) + 3
10y + x = 6x + 6y + 3
-5x + 4y = 3
167

ระบบสมการเชิงเส้น ได้แก่
-x + y = 2 .......... ➀

-5x + 4y = 3 .......... ➁

➀ × 5 จะได้ -5x + 5y = 10 .......... ➂

➂ - ➁ จะได้ y =7
แทนค่า y = 7 ในสมการ ➀
จะได้ -x + 7 = 2
x =5
ดังนั้น จ�ำนวนนี้ คือ 75
15. อัตราส่วนของอายุณิชากับสิงโตเท่ากับ 5 : 8 อีก 8 ปีข้างหน้าอัตราส่วนของอายุคนทั้งสอง
จะเท่ากับ 7 : 10 จงหาอายุปัจจุบันของคนทั้งสอง
ตอบ ปัจจุบันณิชา มีอายุ 20 ปี สิงโตมีอายุ 32 ปี
แนวคิด ให้อายุปัจจุบันของณิชาเท่ากับ x ปี
และอายุปัจจุบันของสิงโตเท่ากับ y ปี
จากโจทย์อัตราส่วนของอายุณิชากับสิงโต เท่ากับ 5 : 8
จะได้ x : y = 5 : 8 หรือ xy = 58 หรือ 8x - 5y = 0
และอีก 8 ปีข้างหน้า อัตราส่วนของอายุคนทั้งสองจะเท่ากับ 7 : 10
จะได้ xy ++ 88 = 107 หรือ 10(x + 8) = 7(y + 8) หรือ 10x - 7y = -24
ระบบสมการเชิงเส้น ได้แก่
8x - 5y = 0 .......... ➀
10x - 7y = -24 .......... ➁

➀ × 7 จะได้ 56x - 35y = 0 .......... ➂

➁ × 5 จะได้ 50x - 35y = -120 .......... ➃

➂ - ➃ จะได้ 6x = 120 .......... ➄

x = 20
แทนค่า x = 20 ในสมการ ➀
จะได้ 8(20) - 5y = 0
-5y = -160
y = 32
ดังนั้น ปัจจุบันณิชามีอายุ 20 ปี และสิงโตมีอายุ 32 ปี
168

16. ชาย 2 คน กับหญิง 5 คน ท�ำงานอย่างหนึง่ จะเสร็จในเวลา 8 วัน ถ้าชาย 3 คน กับหญิง 6 คน


ท�ำงานชนิดเดียวกันเสร็จในเวลา 6 วัน จงหาว่า
1) ชายคนเดียวท�ำงานนั้น จะเสร็จในกี่วัน
2) หญิงคนเดียวท�ำงานนั้น จะเสร็จในกี่วัน
ตอบ 1) ชายคนเดียวท�ำงานนั้นจะเสร็จใน 36 วัน
2) หญิงคนเดียวท�ำงานนั้นจะเสร็จใน 72 วัน
แนวคิด ให้ในเวลา 1 วัน ชาย 1 คนท�ำงานอย่างหนึ่งได้ x หน่วย
และในเวลา 1 วัน หญิง 1 คนท�ำงานอย่างหนึ่งได้ y หน่วย
ในเวลา 8 วัน ชาย 2 คน กับหญิง 5 คน ท�ำงานได้
(8 × 2 × x) + (8 × 5 × y) หน่วย
ดังนั้น ท�ำงานได้ 16x + 40y หน่วย
ในเวลา 6 วัน ชาย 3 คน กับหญิง 6 คน ท�ำงานได้
(6 × 3 × x) + (6 × 6 × y) หน่วย
ดังนั้น ท�ำงานได้ 18x + 36y หน่วย
เนื่องจาก คนทั้งสองกลุ่มต่างท�ำงานเสร็จ
ดังนั้น 16x + 40y = 18x + 36y
40y - 36y = 18x - 16x
4y = 2x
x = 2y .......... ➀

หรือ y = 2x .......... ➁

แทนค่า x = 2y ใน 16x + 40y


จะได้ว่างานที่ต้องท�ำทั้งหมด = 16(2y) + 40y หน่วย
= 32y + 40y หน่วย
= 72y หน่วย
แทนค่า y = 2x ใน 16x + 40y
จะได้ว่างานที่ต้องท�ำทั้งหมด ( )
= 16x + 40 2x หน่วย
= 16x + 20x หน่วย
= 36x หน่วย
169

1) ในเวลา 1 วัน ชาย 1 คน ท�ำงานได้ x หน่วย


จากสมการ ➀ x = 2y
ชาย 1 คน ท�ำงานได้ 2y หน่วยในเวลา 1 วัน
ดังนั้น ชาย 1 คน ท�ำงานได้ 72y หน่วยในเวลา 72y 2y = 36 วัน
2) ในเวลา 1 วัน หญิง 1 คน ท�ำงานได้ y หน่วย
จากสมการ ➁ y = 2x
หญิง 1 คน ท�ำงานได้ 2x หน่วยในเวลา 1 วัน
ดังนั้น หญิง 1 คน ท�ำงานได้ 36x หน่วยในเวลา 36x ÷ 2x = 72 วัน
17. ลุงเติมเป็นคนแจวเรือจ้าง แจวเรือทวนน�ำ้ 24 กิโลเมตร แล้วแจวกลับทีเ่ ดิม ใช้เวลา 14 ชัว่ โมง
ถ้าแจวเรือตามน�้ำ 3 ชั่วโมง ได้ระยะทางเท่ากับแจวเรือทวนน�้ำ 4 ชั่วโมง จงหาอัตราเร็ว
ของกระแสน�ำ้
ตอบ อัตราเร็วของกระแสน�้ำ 27 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
แนวคิด ให้อัตราเร็วในการแจวเรือในน�้ำนิ่งเท่ากับ x กม./ชม.
และอัตราเร็วของกระแสน�้ำเท่ากับ y กม./ชม.
จะได้อัตราเร็วในการแจวเรือทวนน�้ำเท่ากับ x - y กม./ชม.
และได้อัตราเร็วในการแจวเรือตามน�้ำเท่ากับ x + y กม./ชม.
จากโจทย์ อัตราเร็วในการแจวเรือทวนน�้ำเท่ากับ 24 กม./ชม.
14
จะได้ x - y = 14 24
จากโจทย์ ถ้าแจวเรือตามน�้ำ 3 ชัว่ โมง ได้ระยะทางเท่ากับแจวเรือทวนน�้ำ 4 ชัว่ โมง
เราทราบว่า แจวเรือทวนน�้ำ 1 ชั่วโมง ได้ทาง 24 14 กิโลเมตร
แจวเรือทวนน�้ำ 4 ชั่วโมง ได้ทาง 24 48
14 × 4 = 7 กิโลเมตร
ดังนั้น แจวเรือตามน�้ำ 3 ชั่วโมง ได้ทาง 487 กิโลเมตร
แจวเรือตามน�้ำ 1 ชั่วโมง ได้ทาง 487 ÷ 3 = 167 กิโลเมตร
170

จึงได้ว่า อัตราเร็วในการแจวเรือตามน�้ำเท่ากับ 167 กม./ชม


จะได้ x + y = 167
ดังนั้น ระบบสมการเชิงเส้น ได้แก่
x - y = 24 14 .......... ➀

x + y = 167 .......... ➁

➀ + ➁ จะได้ 2x = 4
x = 2
แทนค่า x = 2 ใน ➁
จะได้ 2 + y = 167
y = 27
ดังนั้น อัตราเร็วของกระแสน�ำ้ เท่ากับ 27 กิโลเมตรต่อชั่วโมง

You might also like