You are on page 1of 16

232 วารสารศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า ปีที่ 31 ฉบับที่ 4 ต.ค. - ธ.ค.

2557

นิพนธ์ต้นฉบับ
ผลของการพัฒนา Medication Reconciliation
ต่อความคลาดเคลื่อนทางยาในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
โรงพยาบาลพระปกเกล้า
จันทิมา ศิริคัณทวานนท์, ภ.บ.*
นันทยา ประคองสาย, ภ.ม.*

Effect of a Medication Reconciliation on Medication Error in Diabetic


Patients, Prapokklao Hospital
Chantima Sirikantavanon, B.Sc. in Pharm*
Nantaya Prakongsai, M.Sc. In Pharm*
* Pharmacy Department, Prapokklao Hospital, Chanthaburi Province, Thailand.
J Prapokklao Hosp Clin Med Educat Center 2014;31:232-247

Abstract
Background : Medication reconciliation is widely accepted as a tool to reduce medication
errors which may occur at time of patient’s transition during hospital
admission , transfers and discharges from the hospital.
Objective : To determine the effect of medication reconciliation on medication errors
at hospital discharge of diabetic patients in Prapokklao hospital.
Methods : A quasi-experimental study of diabetic patients being hospitalized to the
internal medicine department and included in the diabetes care map of
Prapokklao hospital, was done a medication could be continuously obtained
before hospital admission. Diabetic patients hospitalized from September
2008 to April 2010 were included in the pre-intervention period , and those
hospitalized from May 2010 to August 2011 were included in the post-in-
* กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลพระปกเกล้า จังหวัดจันทบุรี
Vol.31 No.4 Oct.- Dec. 2014 J Prapokklao Hosp Clin Med Educat Center 233
tervention period. The intervention was a computerized medication recon-
ciliation tool and process redesign involving a multidisciplinary team.
Medication reconciliation was conducted with an intervention provided by
pharmacists and physicians. The main outcome was unintentionally
discrepancies-related medication error between pre-admission medications
and discharge that was compared between two phases of interventions
made by pharmacists.
Results : A total of 217 patients were evaluated prior to the intervention, and 279
patients were assessed before the after interventions, respectively. The
medication reconciliation at discharge in the post-intervention period was
significantly higher than that in the pre-intervention period (54.5 percent
vs. 36.9 percent, p<0.05), and medication error detected by pharmacists
were significantly lower in the post-intervention period compared with the
pre-intervention period (7.9 percent vs. 20.7 percent, p<0.05). The
commonly medication errors at hospital discharge were the omission of
medications (54.2 percent), and different dosages (14.3 percent),
respectively. Medication error prevented by the pharmacists differed
between the two phases (14/24 [58.3 percent]) for post-intervention period
vs. (5/46 [10.9 percent]) for pre-intervention period.
Conclusions : Medication reconciliation made by a multidisciplinary team at transition
points of patient care was an effective strategy to reduce medication error
with potential harm for patients.
Keywords : Medication reconciliation, Medication error, Intervention

บทคัดย่อ
ที่มาของปัญหา
Medication reconciliation จัดเป็นมาตรการหนึ่งที่ช่วยลดความคลาดเคลื่อนทางยาซึ่งอาจเกิด
ขึ้นในขั้นตอนการรับผู้ป่วย การย้ายหอผู้ป่วย และการจ�ำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล

วัตถุประสงค์
เพือ่ ศึกษาผลของการพัฒนา Medication reconciliation ต่อความคลาดเคลือ่ นทางยาในขัน้ ตอน
การเตรียมจ�ำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล
234 วารสารศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า ปีที่ 31 ฉบับที่ 4 ต.ค. - ธ.ค. 2557
วิธีการศึกษา
การวิจัยกึ่งทดลองแบบมีกลุ่มเปรียบเทียบ (Quasi – experimental study) กลุ่มตัวอย่างเป็น
ผูป้ ว่ ยโรคเบาหวานแผนกอายุรกรรมทุกรายทีใ่ ช้ยาอยูอ่ ย่างต่อเนือ่ งก่อนเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
และผ่านเกณฑ์คัดกรอง Diabetes care map ของโรงพยาบาลพระปกเกล้า ศึกษาวิจัยการทวนสอบ
ความสอดคล้องต่อเนื่องทางยาตามกระบวนการ Medication reconciliation ของทีมสหวิชาชีพในขั้น
ตอนเตรียมจ�ำหน่ายผูป้ ว่ ย ความคลาดเคลือ่ นทางยาทีเ่ กิดจากความไม่ตงั้ ใจของแพทย์ และการปรึกษา
แพทย์โดยเภสัชกรเพื่อแก้ไขปัญหาความคลาดเคลื่อนทางยา เปรียบเทียบระหว่างช่วงก่อนและหลัง
พัฒนา Medication reconciliation (Pre and Post-intervention) ช่วง Pre-intervention เก็บข้อมูล
ตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2551 ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2553 ระยะเวลา 20 เดือน และช่วง Post-
intervention เก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553 ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2554 ระยะเวลา
16 เดือน

ผลการศึกษา
ผูป้ ว่ ยทีผ่ า่ นเกณฑ์การวิจยั แบ่งเป็นช่วง Pre-intervention 217 ราย และช่วง Post-intervention
279 ราย จากผลการวิจัยพบการทวนสอบความสอดคล้องต่อเนื่องทางยาตาม Medication recon-
ciliation ในขั้นตอนเตรียมจ�ำหน่าย ช่วง Post-intervention ร้อยละ 54.5 เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญทาง
สถิติเมื่อเปรียบเทียบกับช่วง Pre-intervention ร้อยละ 36.9 โดยพบความคลาดเคลื่อนทางยาช่วง
Post-intervention ร้อยละ 7.9 ลดลง ในช่วง Pre-intervention ร้อยละ 20.7 อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ
ความคลาดเคลื่อนทางยาที่พบบ่อยได้แก่ ผู้ป่วยไม่ได้รับยาที่ควรได้รับร้อยละ 54.2 ขนาดยาไม่เหมาะ
สมร้อยละ 14.3 พบว่าช่วง Post-intervention เภสัชกรสามารถลดความคลาดเคลื่อนทางยาลงได้
14/24 ครั้ง (ร้อยละ 58.3) และช่วง Pre-intervention ลดลงได้ 5/46 ครั้ง (ร้อยละ10.9)

สรุป
การพัฒนา Medication reconciliation ในรูปแบบทีมสหวิชาชีพ สามารถลดความคลาดเคลือ่ น
ทางยาที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ป่วย โดยเฉพาะในจุดที่มีการเปลี่ยนการรักษา

ค�ำส�ำคัญ : Medication reconciliation ความคลาดเคลื่อนทางยา Intervention

บทน�ำ
ความคลาดเคลื่อนทางยาเป็นสาเหตุของ ความคลาดเคลื่อนทางยาเป็นผลมาจากความผิด
เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ซึ่งอาจท�ำให้เพิ่มความ พลาดในการสื่อสารข้อมูลระหว่างบุคลากร ที่มัก
เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากการใช้ยา จากการ เกิดขึน้ ระหว่างรอยต่อของการให้บริการในขัน้ ตอน
ทบทวนวรรณกรรมพบว่ า ปั จ จั ย ส�ำคั ญ ของ การรับผูป้ ว่ ย การย้ายหอผูป้ ว่ ย และการจ�ำหน่าย
Vol.31 No.4 Oct.- Dec. 2014 J Prapokklao Hosp Clin Med Educat Center 235
ผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล 1 ของรายการยาที่แพทย์สั่งกับยาที่ผู้ป่วยเคยได้รับ
ข้อมูลจากการศึกษาที่ผ่านมาสนับสนุนว่า ท�ำให้ ค วามคลาดเคลื่ อ นทางยาที่ อ าจส่ ง ผลให้
Medication reconciliation มีประสิทธิภาพในการ ผูป้ ว่ ยได้รบั อันตรายไม่ได้รบั การแก้ไขด้วยเหตุผล
ลดความคลาดเคลื่อนทางยา และ Medication ดังกล่าวผู้วิจัยจึงมีความสนใจพัฒนา Medication
reconciliation ที่ด�ำเนินการอย่างเป็นระบบในรูป reconciliation โดยมี จุ ด มุ ่ ง หมายเพื่ อ ลด
แบบทีมสหวิชาชีพของโรงพยาบาล (Mutidiscipli- ความคลาดเคลื่อนทางยาในขั้นตอนดังกล่าว
nary medication reconciliation) จัดเป็นอีกหนึ่ง
มาตรการเพิ่ ม ความปลอดภั ย ในระบบยา ที่ วัตถุประสงค์ของการศึกษา
สามารถลดความคลาดเคลือ่ นทางยาทัง้ ในขัน้ ตอน 1. ศึกษาความแตกต่างของความคลาด
รับผู้ป่วยใหม่ การส่งต่อผู้ป่วย และการจ�ำหน่าย เคลือ่ นทางยาในขัน้ ตอนเตรียมจ�ำหน่ายผูป้ ว่ ยออก
ผูป้ ว่ ยดังกล่าวข้างต้นลงได้ 2-5 รวมทัง้ การน�ำระบบ จากโรงพยาบาล เปรียบเทียบก่อนและหลังการ
คอมพิวเตอร์มาใช้ในกระบวนการ Medication พัฒนา Medication reconciliation
reconciliation พบว่าช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการ 2. ศึกษาความแตกต่างของ Discharge
ท�ำงานได้อีกทางหนึ่ง6 medication reconciliation เปรียบเทียบก่อนและ
ปี ง บประมาณ 2550 โรงพยาบาล หลังการพัฒนา Medication reconciliation
พระปกเกล้ า ได้ เ ริ่ ม พั ฒ นา Medication 3. ศึกษาร้อยละของการ Intervention เพื่อ
reconciliation ในขั้นตอนรับผู้ป่วย และจ�ำหน่าย แก้ไขปัญหาความคลาดเคลื่อนทางยาในขั้นตอน
ผู ้ ป ่ ว ยออกจากโรงพยาบาลในกลุ ่ ม ผู ้ ป ่ ว ย เตรียมจ�ำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล
โรคเบาหวานที่ ผ ่ า นการคั ด กรองตามเกณฑ์
Diabetes care map เนื่องจากเป็นกลุ่มผู้ป่วย วัสดุและวิธีการ
โรคเรือ้ รังทีจ่ �ำเป็นต้องได้รบั การรักษาด้วยยาอย่าง การวิจัยกึ่งทดลองแบบมีกลุ่มเปรียบเทียบ
ต่อเนื่องและมีจ�ำนวนผู้ป่วยประมาณ 400 รายต่อ (Quasi – experimental study) กลุม่ ตัวอย่างเป็น
ปี จากการวิเคราะห์ข้อมูลในปีงบประมาณ 2552 ผูป้ ว่ ยโรคเบาหวานแผนกอายุรกรรมทีผ่ า่ นเกณฑ์
พบการปฏิบัติงานตามกระบวนการ Medication คัดกรองให้ได้รับการดูแลโดยทีมสหวิชาชีพของ
reconciliation ในขั้นตอนรับผู้ป่วย (Admission โรงพยาบาลพระปกเกล้า (Diabetes care map)
medication reconciliation) ร้อยละ 62.1 และใน การวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ช่วง ก่อนและหลังการ
ขั้ น ตอนจ�ำหน่ า ยผู ้ ป ่ ว ยออกจากโรงพยาบาล พัฒนา Medication reconciliation (Pre and Post-
(Discharge medication reconciliation) มีสดั ส่วน intervention) ช่วง Pre-intervention ด�ำเนินการ
ลดลงเหลือร้อยละ 11.8 ตามล�ำดับ แสดงให้เห็น เก็บข้อมูลการวิจยั ตัง้ แต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2551
ปัญหาขาดการสือ่ สารข้อมูลยาทีผ่ ปู้ ว่ ยใช้อยูอ่ ย่าง ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2553 รวมระยะเวลา 20
ต่อเนือ่ งก่อนเข้าโรงพยาบาลให้แพทย์ทบทวนและ เดือน และช่วง Post-intervention ด�ำเนินการเก็บ
เปรียบเทียบกับยาใหม่ที่จะสั่งให้ผู้ป่วย รวมทั้ง ข้อมูลการวิจยั ตัง้ แต่เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553
เภสัชกรไม่ได้ทวนสอบความสอดคล้องต่อเนื่อง ถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2554 รวมระยะเวลา 16
236 วารสารศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า ปีที่ 31 ฉบับที่ 4 ต.ค. - ธ.ค. 2557
เดือน การวิจัยครั้งนี้ผ่านการรับรองจากคณะ แพทย์
กรรมการจริยธรรมการวิจยั ในมนุษย์ โรงพยาบาล 1.1 สื่อสารแนวทางการปฏิบัติงาน
พระปกเกล้า Medication reconciliation และบทบาทของ
บุคลากรทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย
เกณฑ์การคัดผู้ป่วยเข้าร่วมการวิจัย แพทย์ เภสัชกร และพยาบาล ผ่านที่ประชุมคณะ
1. ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยยาอย่าง ท�ำงานดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานแผนกอายุรกรรม
ต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ก่อนเข้ารับการรักษาใน ของทีมสหวิชาชีพ โรงพยาบาลพระปกเกล้า
โรงพยาบาลพระปกเกล้า 1.2 สื่ อ สารแนวทางการปฏิ บัติ ง าน
2. ผู้ป่วยที่สามารถทวนสอบประวัติการใช้ Medication reconciliation แก่แพทย์ผา่ นทีป่ ระชุม
ยาทีไ่ ด้รบั อยูอ่ ย่างต่อเนือ่ งก่อนเข้ารับการรักษาใน ของแพทย์แผนกอายุรกรรม
โรงพยาบาลพระปกเกล้า 1.3 สื่ อ สารแนวทางการปฏิ บัติ ง าน
Medication reconciliation แก่เภสัชกรและเจ้า
เกณฑ์การคัดผู้ป่วยออกจากการวิจัย หน้าที่งานบริการจ่ายยาผู้ป่วยใน พร้อมจัดท�ำ
1. ผู้ป่วยที่เสียชีวิตระหว่างการรักษาใน เอกสารประกอบการปฏิบตั งิ านเพือ่ ให้ผเู้ กีย่ วข้อง
โรงพยาบาลพระปกเกล้า สามารถปฏิบัติงานตาม Medication reconcilia-
2. ผูป้ ว่ ยทีจ่ �ำหน่ายโดยไม่ได้รบั ยาใดไปใช้ tion ในแนวทางเดียวกัน
ต่อเนื่องที่บ้าน 1.4 สื่อสารข้อมูลผลการปฏิบัติ งาน
3. ผูป้ ว่ ยทีส่ ง่ ตัวไปรักษาต่อยังโรงพยาบาล หลังการพัฒนา Medication reconciliation ผ่านที่
อื่น ประชุมคณะท�ำงานดูแลผูป้ ว่ ยโรคเบาหวานแผนก
การพัฒนา Medication reconciliation ใน อายุ ร กรรมของที ม สหวิ ช าชี พ โรงพยาบาล
ขั้นตอนจ�ำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล พระปกเกล้า รวมทั้งสื่อสารข้อมูลย้อนกลับไปยัง
ผู้วิจัยทบทวนและวิเคราะห์ปัญหาจากการ พยาบาลหัวหน้าหอผูป้ ว่ ยอายุรกรรมทุกๆ 3 เดือน
ด�ำเนินงาน Medication reconciliation เดิมใน เพื่ อ ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน Medication
ขัน้ ตอนเตรียมจ�ำหน่ายผูป้ ว่ ยออกจากโรงพยาบาล reconciliation ร่วมกัน
ร่วมกับแพทย์ที่เป็นทีมน�ำของคณะท�ำงานดูแลผู้ 2. การน�ำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการ
ป่วยโรคเบาหวานแผนกอายุรกรรมของทีมสห ปฏิ บั ติ ง าน Medication reconciliation โดย
วิชาชีพ และเภสัชกรที่ปฏิบัติงานติดตามดูแลผู้ ผูป้ ฏิบตั งิ านสามารถทบทวนและเลือกพิมพ์ขอ้ มูล
ป่วยโรคเบาหวานที่ผ่านการคัดกรองตามเกณฑ์ รายการยาเดิ ม ของผู ้ ป ่ ว ยที่ รั บ ยาต่ อ เนื่ อ งจาก
Diabetes care map โรงพยาบาลพระปกเกล้า โรงพยาบาลพระปกเกล้าลงในแบบฟอร์ม Medica-
จากนั้นก�ำหนดแนวทางการพัฒนา Medication tion reconciliation แทนการบันทึกด้วยลายมือ
reconciliation ซึง่ ประกอบด้วย 2 ประเด็นหลักๆ การวิจัยนี้ Medication reconciliation
ดังนี้ เริ่ ม หลั ง จากเภสั ช กรได้ รั บ แจ้ ง รายชื่ อ ผู ้ ป ่ ว ย
1. การสื่ อ สารระหว่ า งบุ ค ลากรทางการ โรคเบาหวานแผนกอายุรกรรมทีผ่ า่ นการคัดกรอง
Vol.31 No.4 Oct.- Dec. 2014 J Prapokklao Hosp Clin Med Educat Center 237
ให้ ไ ด้ รั บ การดู แ ลโดยที ม สหวิ ช าชี พ ของ เหมาะสมของรายการยากลับบ้านทีแ่ พทย์สงั่ หาก
โรงพยาบาลพระปกเกล้า (Diabetes care map) พบปัญหาความคลาดเคลื่อนทางยา เภสัชกรจะ
Medication reconciliation ประกอบด้วย 4 ปรึกษาแพทย์เพือ่ แก้ไขปัญหาดังกล่าวก่อนจ่ายยา
ขั้นตอนหลักดังนี้ 7,8 และบั นทึ กผลการเปลี่ ยนแปลงค�ำสั่ ง ใช้ ยาของ
1. การทวนสอบ (Verification) รายการยา แพทย์หลังได้รับค�ำปรึกษาจากเภสัชกร
ที่ผู้ป่วยใช้อยู่ต่อเนื่องล่าสุดก่อนเข้ารับการรักษา ช่วง Post-intervention หลังจากทบทวน
ในโรงพยาบาล จากแหล่ ง ข้ อ มู ล ต่ า งๆ ได้ แ ก่ ความถูกต้องของรายการยาทีผ่ ปู้ ว่ ยใช้อยูอ่ ย่างต่อ
เวชระเบียนผู้ป่วย ฐานข้อมูลคอมพิวเตอร์ของ เนื่ อ งก่ อ นเข้ า รั บ การรั ก ษาในโรงพยาบาล
โรงพยาบาล ยาที่ผู้ป่วยน�ำมาจากบ้าน ซักถาม พระปกเกล้า เภสัชกรสามารถพิมพ์รายการยาเดิม
ประวั ติ ก ารใช้ ย าจากตั ว ผู ้ ป ่ ว ยหรื อ ญาติ ผู ้ ดู แ ล ของผู ้ ป ่ ว ยที่ รั บ ยาต่ อ เนื่ อ งจากโรงพยาบาล
ผู้ป่วย และบันทึกรายการยาที่ผู้ป่วยได้รับอยู่ต่อ พระปกเกล้ า ลงในแบบฟอร์ ม Medication
เนื่องลงในแบบฟอร์ม Medication reconciliation reconciliation ผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์แทน
2. การตรวจสอบ (Classification) ความ การบันทึกด้วยลายมือ โดยพยาบาลจะส่งต่อแบบ
ถูกต้องเหมาะสมของรายการยาที่ผู้ป่วยได้รับ ฟอร์มดังกล่าวมาพร้อมใบเบิกยากลับบ้าน เพือ่ ให้
3. การเปรี ย บเที ย บ (Reconciliation) เภสั ช กรตรวจสอบความถู กต้ อ งเหมาะสมของ
เปรียบเทียบยาที่ผู้ป่วยได้รับใหม่กับรายการยาที่ รายการยากลับบ้านที่แพทย์สั่ง หากพบปัญหา
ผู้ป่วยเคยได้รับ และบันทึกการเปลี่ยนแปลงใน ความคลาดเคลือ่ นทางยาเภสัชกรจะปรึกษาแพทย์
ค�ำสั่งใช้ยา เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวก่อนจ่ายยา และบันทึก
4. การสือ่ สารส่งต่อข้อมูล (Transfer) ส่งต่อ ผลการเปลี่ยนแปลงค�ำสั่งใช้ยาของแพทย์หลังได้
ข้อมูลรายการยาดังกล่าวไปยังทีมสหสาขาวิชาชีพ รับค�ำปรึกษาจากเภสัชกร
ที่เกี่ยวข้องในการดูแลด้านการใช้ยาของผู้ป่วย
ช่วง Pre-intervention เภสัชกรจะท�ำการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ทบทวนความถูกต้องของรายการยาทีผ่ ปู้ ว่ ยใช้อยู่ แบบฟอร์ม Medication reconciliation ที่
อย่างต่อเนือ่ งก่อนเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ใช้ในการวิจัย ส�ำหรับบันทึกข้อมูลต่อไปนี้ ชื่อ
พระปกเกล้ า และบั น ทึ ก รายการยาลงในแบบ นามสกุลผูป้ ว่ ย อายุ HN AN ประวัตกิ ารแพ้ยาและ
ฟอร์ม Medication reconciliation พร้อมสอดไว้ใน อาการแพ้ โรคประจ�ำตัว รายการยาที่เคยใช้อยู่
แฟ้มผู้ป่วย เมื่อเตรียมจ�ำหน่ายผู้ป่วยออกจาก อย่างต่อเนื่อง ประกอบด้วย ชื่อการค้า ชื่อสามัญ
โรงพยาบาลแพทย์จะท�ำการทบทวนและเปรียบ รูปแบบยา ขนาด ความถี่ ระยะเวลาที่ใช้ เหตุผล
เทียบรายการยากลับบ้าน (Home medication) ที่ การสั่งใช้ยาของแพทย์
ผู้ป่วยได้รับใหม่กับรายการยาที่บันทึกในแบบ
ฟอร์ม Medication reconciliation โดยพยาบาล นิยาม
จะส่งต่อแบบฟอร์มดังกล่าวมาพร้อมใบเบิกยา ความคลาดเคลื่ อ นทางยา หมายถึ ง
กลับบ้าน เพื่อให้เภสัชกรตรวจสอบความถูกต้อง เหตุการณ์ที่สามารถป้องกันได้ ซึ่งอาจจะเป็น
238 วารสารศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า ปีที่ 31 ฉบับที่ 4 ต.ค. - ธ.ค. 2557
สาเหตุความไม่สอดคล้องของรายการยาที่ผู้ป่วย 1. ทดสอบความแตกต่างของความคลาด
ใช้อยู่ ต่อเนื่องกับรายการยาที่แพทย์สั่ง โดยที่ เคลื่อนทางยาที่พบในขั้นตอนจ�ำหน่ายผู้ป่วยออก
แพทย์ไม่ตงั้ ใจ และไม่มกี ารบันทึกเหตุผลทีช่ ดั เจน จากโรงพยาบาล เปรียบเทียบก่อนและหลังการ
ในขณะทีย่ านัน้ อยูใ่ นความรับผิดชอบของบุคลากร พั ฒ นา Medication reconciliation ด้ ว ยการ
ทางการแพทย์ เหตุการณ์ดงั กล่าวอาจจะเกีย่ วข้อง วิเคราะห์ Control chart (U-chart)
กับการปฏิบัติของผู้ประกอบวิชาชีพ แนวทาง 2. ทดสอบความแตกต่างของ Discharge
ปฏิบัติและระบบ อันได้แก่ การสั่งยา การสื่อสาร medication reconciliation เปรียบเทียบก่อนและ
ค�ำสั่ง หลังการพัฒนา Medication reconciliation ด้วย
Medication reconciliation หมายถึง การวิเคราะห์ Control chart (U-chart)
กระบวนการเปรียบเทียบและประสานรายการยา 3. วิเคราะห์สัดส่วน Intervention เมื่อพบ
ระหว่างรายการยาที่ผู้ป่วยรับประทานอยู่อย่าง ความคลาดเคลื่ อ นทางยาในขั้ น ตอนจ�ำหน่ า ย
ต่อเนือ่ งก่อนเข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาลกับ ผู ้ ป ่ ว ยออกจากโรงพยาบาล ด้ ว ยโปรแกรม
รายการยาที่ผู้ป่วยได้รับเมื่อแรกรับ (Admission) ส�ำเร็จรูป SPSS 11.0 for Windows โดยใช้สถิติ
รวมทั้ ง เมื่ อ ผู ้ ป ่ ว ยย้ า ยแผนก ย้ า ยหอผู ้ ป ่ ว ย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าคะแนนเฉลี่ย ค่าความ
(Transfer) หรื อ เมื่ อ ถู ก จ�ำหน่ า ยกลั บ บ้ า น เบี่ยงเบนมาตรฐาน
(Discharge) 7 4. ทดสอบความแตกต่างข้อมูลทั่วไปของ
Intervention หมายถึง การพัฒนา Medi- ผู ้ ป ่ ว ย สั ด ส่ ว น Discharge medication
cation reconciliation ตามแนวทางในการวิจยั ครัง้ reconciliation เปรียบเทียบก่อนและหลังการ
นี้ รวมทั้งการปรึกษาแพทย์ผู้สั่งใช้ยาเพื่อแก้ไข พั ฒ นา Medication reconciliation ด้ ว ยการ
หรือป้องกันปัญหาความคลาดเคลือ่ นทางยาทีพ่ บ ทดสอบไคสแควร์ (Chi-square test) ก�ำหนด
ในขั้ น ตอนการเตรี ย มจ�ำหน่ า ยผู ้ ป ่ ว ยออกจาก นัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
โรงพยาบาล
การวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการศึกษา
ตารางที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยก่อนและหลังการพัฒนา Medication reconciliation
ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย Pre-intervention Post intervention p-value
(n = 217) (n = 279)
อายุเฉลี่ย (ปี) 62.93 ± 14.69 62.00 ± 14.96 0.184
เพศ (ราย) 0.613
ชาย 81 (37.3) 98 (35.1)
หญิง 136 (62.7) 181(64.9)
จ�ำนวนยาที่ใช้อยู่อย่างต่อเนื่องก่อนเข้า
รับการรักษาในโรงพยาบาล (เฉลี่ย)(รายการ) 6.65 ± 3.09 6.22 ± 3.06 0.826
หมายเหตุ ตัวเลขในวงเล็บหมายถึงร้อยละ
Vol.31 No.4 Oct.- Dec. 2014 J Prapokklao Hosp Clin Med Educat Center 239
ผู้ป่วยโรคเบาหวานในหอผู้ป่วยอายุรกรรม ± 14.96 ปี ตามล�ำดับ พบว่าค่าอายุเฉลี่ยของ
โรงพยาบาลพระปกเกล้า ที่ผ่านเกณฑ์การวิจัย ผู้ป่วย เพศ และจ�ำนวนรายการยาที่ผู้ป่วยใช้อยู่
ทัง้ หมด 496 ราย แยกเป็นกลุม่ Pre-intervention อย่างต่อเนือ่ งก่อนเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
จ�ำนวน 217 ราย และ Post-intervention จ�ำนวน ของผู้ป่วยทั้งสองกลุ่มแตกต่างกันอย่างไม่มีนัย
279 ราย แสดงดังแผนภูมิที่ 1 โดยผู้ป่วยทั้งสอง ส�ำคัญทางสถิติ (p > 0.05) แสดงดังตารางที่ 1
กลุ่มมีอายุเฉลี่ย 62.93 ± 14.69 ปี และ 62.00

Pre = Pre-intervention ; Post = Post -intervention


ผู้ป่วยโรคเบาหวานแผนกอายุรกรรม (Care Map)
Pre: n = 223
Post: n = 403

ไม่เคยรับการรักษามาก่อน เคยรับการรักษามาก่อน
Pre: n = 2 Pre: n = 221
Post: n = 51 Post: n = 352

รับยาต่อเนื่องจาก รั บ ยาต่ อ เนื่ อ งจาก


โรงพยาบาลพระปกเกล้า สถานพยาบาลอื่น
Pre: n = 218 Pre: n = 3
Post: n = 269 Post: n = 83

ไม่มียาที่ใช้อยู่อย่างต่อเนื่อง มียาที่ใช้อยู่อย่างต่อเนื่อง ไม่มยี าทีใ่ ช้อยูอ่ ย่างต่อเนือ่ ง


Pre: n = 2 Pre: n = 217 Pre: n = 2
Post: n = 13 Post: n = 279 Post: n = 60

แผนภูมิที่ 1 จ�ำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานแผนกอายุรกรรมที่ผ่านเกณฑ์การวิจัย ช่วงก่อนและหลังการ


พัฒนา Medication reconciliation
240 วารสารศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า ปีที่ 31 ฉบับที่ 4 ต.ค. - ธ.ค. 2557
U Chart แสดงจ◌ํ
U Chart แสดงจ�นวน
าำนวนDischarge
DischargeMedication
MedicationReconciliation
Reconciliation
Pre-intervention
Pre-intervention Post-intervention
Post-intervention
11
1.0

0.8
1
Sample Count Per Unit

1 1
1 1
1
0.6 1
1 UCL=0.513
0.4
_
0.2 U=0.22

0.0 LCL=0

.51 . 51 .52 .52 ิ .52 .52 .52 . 52 .53 .53 ิ .53 .53 .53 . 53 .54 .54 ิ .54 .54
.52

.53
.52

ก.พ 2

.53

4
เม. 2

เม. 3

.53

เม. 4

.54
.52

.53

.54
2

3
.51

ต.ค ธ.ค ก.พ เม.ย ม.◌ย ส.ค ต.ค ธ.ค ก.พ เม.ย ม.◌ย ส.ค ต.ค ธ.ค ก.พ เม.ย ม.◌ย ส.ค
.51

.5

ย.5
.5

.5

.5
ย.5

ย.5
ต.ค

ต.ค
ส.ค

ธ.ค

ธ.ค
ก.พ

ส.ค

ก.พ

ส.ค
มิ.ย

มิ.ย

มิ.ย
ต.ค
ธ.ค

เดื
เด◌ื
ออนน
แผนภูมิที่ 2 Control chart เปรียบเทียบ Discharge medication reconciliation ก่อนและหลังการ

แผนภู พัฒนาchart
มิที่ 2 Control Medication reconciliation
เปรียบเที ยบ Discharge medication reconciliation กอนและหลังการพัฒนา
Medicationการทวนสอบความสอดคล้
reconciliation องต่อเนื่องทาง Pre-intervention ซึ่งสูงกว่าเส้นค่าเฉลี่ยของช่วง
ยาตาม Discharge medication reconciliation Pre-intervention intervention ซึ่งสูอย่งกว
างต่าเสอนเนืค่อาเฉลี
งตั้ง่ยแต่ เดือวนที
ของช ง ่ 3Pre-
ในช่วการทวนสอบความสอดคล
ง Post-intervention มีอแงตนวโน้ อเนื่อมงทาง เพิ่มขึ้น ของการพัฒนา Medication reconciliation จนถึง
intervention อยางตอเนื่องตั้งแตเดือนที่ 3 ของการ
อย่างมีDischarge
ยาตาม นยั ส�ำคัญทางสถิ ตเิ มือ่ เปรียreconciliation
medication บเทียบกับช่วง สิ้นสุดการวิจัย แสดงดังแผนภูมิที่ 2
พัฒนา Medication reconciliation จนถึงสิ้นสุดการ
UUChart
Chart แสดงความคลาดเคลื
ในชวง Post-intervention มี แนวโน
แสดงความคลาดเคลื ม เพิ ม
่ ขึ น
้ อ
่ อย
่ อนทางยาในขั
า งมี
นทางยาในขั ้น้ ตอนเตรี ยมจ� ำาหน่ ายผู ้ป่ววย ย
U Chart แสดงความคลาดเคล◌ื วินตอนเตรี
อนทางยาในข◌ั
◌่ ัย แสดงดัยงยมจ◌ํ
จ◌้นตอนเตร◌ีมจํ
แผนภู หน่
มา ิทาายผ◌ู
หน◌่ ี่ ยผู
2 ป้ ◌้ป◌่
วย
นัยสําคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับชวง Pre-
1.0
1.0 Pre-intervention Post-intervention

0.8
0.8
Unit
Per Unit

0.6
0.6
Count Per
Sample Count

UCL=0.500
UCL=0.500
0.4
0.4
_
0.2
0.2 U=0.212
U=0.212

0.0
0.0 LCL=0
LCL=0

.51 .5 1 .5 2 .5 2 ิ .5 2 .52 .52 .5 2 .5 3 .5 3 ิ .5 3 .53 .53 .53 .5 4 .5 4 ิ .5 4 .54


ต.ค ธ.ค ก.พ เ ม.ย ม ◌.ย ส.ค ต.ค ธ.ค ก.พ เ ม.ย ม ◌.ย ส.ค ต.ค ธ.ค ก.พ เ ม.ย ม ◌.ย ส.ค
.52

.53
.52

ก.พ 2

.53

4
เม. 2

เม. 3

.53

เม. 4

.54
.52

.53

.54
2

3
.51
.51

.5

ย.5
.5

.5

.5
ย.5

ย.5
ต.ค

ต.ค
ส.ค

ธ.ค

ธ.ค
ก.พ

ส.ค

ก.พ

ส.ค
มิ.ย

มิ.ย

มิ.ย
ต.ค
ธ.ค

เดื
เด◌ืออนน
แผนภูมิที่ 3 Control chart เปรียบเทียบความคลาดเคลื่อนทางยาในขั้นตอนเตรียมจ�ำหน่ายผู้ป่วย
แผนภู
มิที่ 3 Control
ก่อchart เปรีงยการพั
นและหลั บเทียฒบความคลาดเคลื
นา Medication่อนทางยาในขั ้นตอนเตรียมจําหนายผูปวย
reconciliation
กอนและหลังการพัฒนา Medication reconciliation
ชวง Post intervention ความคลาด กวาเสนคาเฉลี่ยของชวง Pre-intervention อยาง
9
Vol.31 No.4 Oct.- Dec. 2014 J Prapokklao Hosp Clin Med Educat Center 241
ช่วง Post intervention ความคลาดเคลื่อน ยาต�่ำกว่าเส้นค่าเฉลี่ยของช่วง Pre-intervention
ทางยาในขั้นตอนเตรียมจ�ำหน่ายผู้ป่วยออกจาก อย่างต่อเนื่องตั้งแต่เดือนที่ 1 ของการพัฒนา
โรงพยาบาล มี แ นวโน้ ม ลดลงต่ อ เนื่ อ งอย่ า งมี Medication reconciliation จนถึงสิ้นสุดการวิจัย
นั ย ส�ำคั ญ ทางสถิ ติ เ มื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ช่ ว ง แสดงดังแผนภูมิที่ 3
Pre-intervention โดยพบความคลาดเคลื่อนทาง
ตารางที่ 2 เปรียบเทียบสัดส่วน Discharge medication reconciliation ความคลาดเคลื่อนทางยาใน
ขั้นตอนเตรียมจ�ำหน่ายผู้ป่วย ช่วงก่อนและหลังการพัฒนา Medication reconciliation
Pre-intervention Post intervention p-value
(n = 217) (n = 279)
Discharge medication reconciliation (ร้อยละ) 80 (36.9) 152 (54.5) < 0.001
อายุรกรรมหญิง 1 30 (39.0) 43 (56.6)
อายุรกรรมหญิง 2 22 (34.4) 66 (61.1)
อายุรกรรมชาย 3 15 (35.7) 27 (45.8)
อายุรกรรมชาย 4 13 (38.2) 16 (44.4)
ความคลาดเคลื่อนทางยา (ร้อยละ) 45 (20.7) 22 (7.9) < 0.001
ช่วง Post-intervention พบว่าสัดส่วนการ (ร้อยละ 6.2) ตามล�ำดับ
ทวนสอบความสอดคล้ อ งต่ อ เนื่ อ งทางยาตาม ช่ ว ง Pre-intervention พบความคลาด
Discharge medication reconciliation ของทีม เคลื่อนทางยาในผู้ป่วย 45 ราย (ร้อยละ20.7)
สหวิชาชีพในภาพรวมเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 36.9 จ�ำนวนความคลาดเคลื่อนที่พบทั้งหมด 46 ครั้ง
เป็นร้อยละ 54.5 ซึ่งแตกต่างจากช่วง Pre-inter- และช่วง Pre-intervention พบความคลาดเคลื่อน
vention อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ โดยสัดส่วน ทางยาในผู้ป่วย 22 ราย (ร้อยละ7.9) จ�ำนวน
Discharge medication reconciliation เพิ่มขึ้นใน ความคลาดเคลื่อนที่พบทั้งหมด 24 ครั้ง โดย
ทุกหอผู้ป่วยที่ท�ำการวิจัย ได้แก่ หอผู้ป่วยอายุร ความคลาดเคลื่อนทางยาช่วง Post-intervention
กรรมหญิง 2 (ร้อยละ 26.7) หอผู้ป่วยอายุรกรรม ลดลงแตกต่างจากช่วง Pre-intervention อย่างมี
หญิง 1 (ร้อยละ 17.6) หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย นัยส�ำคัญทางสถิติ แสดงดังตารางที่ 2 และแผนภูมิ
3 (ร้อยละ 10.1) และหอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 4 ที่ 3
242 วารสารศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า ปีที่ 31 ฉบับที่ 4 ต.ค. - ธ.ค. 2557
50 46
pre-intervention
40 post-intervention

30 24 23
20 14
10 6 5
0
จํานวนความคลาดเคลือ� น จํานวนIntervention (ครัง� ) การเปลี�ยนแปลงหลัง
ทางยาทีพ� บ(ครัง� ) Intervention(ครัง� )
แผนภูมิที่ 4 ข้อมูลความคลาดเคลื่อนทางยา สัดส่วน intervention และการเปลี่ยนแปลงค�ำสั่งใช้ยา
แผนภูมิที่ 4 ขช่อวมูงก่
ลความคลาดเคลื ่อนทางยา
อนและหลังการพั สัดสวน intervention
ฒนา Medication และการเปลี่ยนแปลงคําสั่งใชยา
reconciliation
ตารางที่ 3 ข้อชมูวงก
ลลัอกนและหลังการพัฒนา Medication
ษณะความคลาดเคลื ่อนทางยาreconciliation
และการเปลี่ยนแปลงค�ำสั่งใช้ยาหลังการ
Intervention ช่วงก่อนและหลังการพัฒนา Medication reconciliation
ตารางที่ 3 ขอมูลลักษณะความคลาดเคลื่อนทางยา และการเปลี่ยนแปลงคําสั่งใชยาหลังการ
ช่วง Pre - Intervention
Intervention ชวงกอนและหลังการพัฒนา Medication reconciliation
จ�ำนวน การเปลี่ยนแปลง
ชวง Pre - Intervention จ�ำนวนที่พบ Intervention ค�ำสั่งใช้ยา หลัง
ลักษณะความคลาดเคลื่อนทางยา
(ครั ง
้ )
จํานวนที่พบ จํานวน Intervention ครั้ง (ร้อยละ)การเปลีintervention:ครั
่ยนแปลงคําสั่งใชย้งา
ลักษณะความคลาดเคลื่อนทางยา
แพทย์ไม่ได้สั่ง refill ยาเดิมให้ผู้ป่วย (ครั้ง) 26 ครั้ง (รอยละ)3 (8.3) หลัง intervention 2 : ครั้ง
แพทย (ยาเบาหวาน*
ไมไดสั่ง refill4 ยาเดิ ครั้ง ม, ให
ยาอื ผูป่นวๆ**
ย 22 ครั้ง) 26 3 (8.3) 2
ขนาดยาไม่
(ยาเบาหวาน* เหมาะสม 4 ครั้ง , ยาอืน่ ๆ** 22 ครั้ง) 8 2 (25.0) 2
5 1 (20.0)
คัขนาดยาไม
ดลอกค�ำสัเหมาะสม ่งใช้ยาคลาดเคลื่อน 8 2 (25.0) 21
ไม่
คัดมลอกคํีค�ำสัา่งสัหยุ ่งใชดยใช้าคลาดเคลื
ยา ่อน 4 0 0
5 1 (20.0) 1
ช่ไมวมงเวลาการใช้ 2 0 0
ีคําสั่งหยุดใชยยาไม่ า เหมาะสม 4 0 0
ความถี ่ของการบริ 1 0 0
ชวงเวลาการใช ยาไมหเหมาะสม
ารยาไม่เหมาะสม
2 0 0
สั่งใช้ยาซ�้ำซ้อน 0 0 0
ความถี่ของการบริหารยาไมเหมาะสม 1 0 0 0 0 0
สั่งยาไม่เพียงพอถึงวันนัด
สั่งใชยาซ้ําซอน 0 0 0 0 00
วิธีบริหารยาไม่เหมาะสม
สั่งยาไมเพียงพอถึงวันนัด
รวม 0 46 0 6 (13.0) 05
*แพทย์วิธีบริหไม่ารยาไม
ได้สั่ง refill เหมาะสมยาเดิมให้ผู้ป่วย (ยาเบาหวาน)0หมายถึง ยาที่ได้รับ0การรักษาต่อเนื่องก่อนเข้ารับ0 การรักษาใน
ครั้งนี้ แต่ไม่ได้รับขณะรักษาในโรงพยาบาล เนื่องจากเข้ารักษาในโรงพยาบาลด้วยภาวะน�้ำตาลต�่ำ และไม่ได้สั่งใช้
เป็นยากลั รวม บบ้าน 46 6 (13.0) 5
** แพทย์
*แพทย ไมไไดม่สไั่งด้refill
สั่ง refill
ยาเดิยาเดิ
มใหผมูปวให้ย ผ(ยาเบาหวาน)
ู้ป่วย (ยาอื่นๆ)หมายถึ
หมายถึ
ง ยาทีง่ไดยาที ่ได้รับกษาต
รับการรั การรัอเนื
กษาต่
่องกออนเข
เนื่อารังก่บการรั
อนเข้กาษาในครั
รับการรั้งนีก้ ษาในครั
แตไมได ้ง
นีรับ้ และได้ ร บ
ั ต่ อ เนื อ
่ งขณะรั ก ษาในโรงพยาบาล แต่ ไ ม่ ไ ด้ ส ง
่ ั ใช้
ขณะรักษาในโรงพยาบาล เนื่องจากเขารักษาในโรงพยาบาลดวยภาวะน้ําตาลต่ํา และไมไดสั่งใชเปนยากลับบาน เ ป็ น ยากลั บ บ้ า น

12
Vol.31 No.4 Oct.- Dec. 2014 J Prapokklao Hosp Clin Med Educat Center 243
ช่วง Post - Intervention
จ�ำนวน การเปลี่ยนแปลง
ลักษณะความคลาดเคลื่อนทางยา จ�ำนวนที่พบ Intervention ค�ำสั่งใช้ยาหลัง
(ครั้ง) ครั้ง (ร้อยละ) intervention :ครั้ง
แพทย์ไม่ได้สั่ง refill ยาเดิมให้ผู้ป่วย 12 11(91.7) 3
(ยาเบาหวาน* 7 ครั้ง , ยาอื่นๆ** 5 ครั้ง)
ขนาดยาไม่เหมาะสม 2 2 (100.0) 1
คัดลอกค�ำสั่งใช้ยาคลาดเคลื่อน 1 1 (100.0) 1
ไม่มีค�ำสั่งหยุดใช้ยา 1 1 (100.0) 1
ช่วงเวลาการใช้ยาไม่เหมาะสม 1 1 (100.0) 1
ความถี่ของการบริหารยาไม่เหมาะสม 2 2 (100.0) 2
สั่งใช้ยาซ�้ำซ้อน 2 2 (100.0) 2
สั่งยาไม่เพียงพอถึงวันนัด 2 2 (100.0) 2
วิธีบริหารยาไม่เหมาะสม 1 1 (100.0) 1
รวม 24 23 (95.8) 14
* แพทย์ไม่ได้สั่ง refill ยาเดิมให้ผู้ป่วย (ยาเบาหวาน) หมายถึง ยาที่ได้รับการรักษาต่อเนื่องก่อนเข้ารับการรักษา
ในครั้งนี้ แต่ไม่ได้รับขณะรักษาในโรงพยาบาล เนื่องจากเข้ารักษาในโรงพยาบาลด้วยภาวะน�้ำตาลต�่ำ และไม่ได้สั่ง
ใช้เป็นยากลับบ้าน
** แพทย์ไม่ได้สั่ง refill ยาเดิมให้ผู้ป่วย (ยาอื่นๆ) หมายถึง ยาที่ได้รับการรักษาต่อเนื่องก่อนเข้ารับการรักษาในครั้ง
นี้ และได้รับต่อเนื่องขณะรักษาในโรงพยาบาล แต่ไม่ได้สั่งใช้เป็นยากลับบ้าน
งานวิ จั ย นี้ ช่ ว ง Pre-intervention พบ
การดู แ ลโดยที ม สหวิ ช าชี พ ของโรงพยาบาล
ความคลาดเคลื่อนทางยา 46 ครั้ง โดยเภสัชกร พระปกเกล้า (Diabetes care map) โดยผู้ป่วยมี
ปรึกษาแพทย์เพื่อแก้ไขหรือป้องกันปัญหาจาก ประวัตใิ ช้ยาอยูอ่ ย่างต่อเนือ่ งก่อนเข้ารับการรักษา
ความคลาดเคลื่อนทางยา 6 ครั้ง และแพทย์มีการ ในโรงพยาบาลพระปกเกล้าจ�ำนวน 496 ราย พบ
เปลี่ยนแปลงค�ำสั่งใช้ยาหลังจากได้รับค�ำปรึกษา ว่าหลังการพัฒนา Medication reconciliation ใน
จากเภสัชกร 5 ครั้ง ช่วง Post-intervention พบ ขัน้ ตอนเตรียมจ�ำหน่ายผูป้ ว่ ยออกจากโรงพยาบาล
ความคลาดเคลื่อนทางยาลดลงเหลือ 24 ครั้ง โดย การทวนสอบความสอดคล้องต่อเนือ่ งทางยา และ
เภสัชกรปรึกษาแพทย์ 23 ครั้ง และแพทย์มีการ ตรวจสอบความถูกต้องของยาที่ผู้ป่วยได้รับตาม
เปลี่ยนแปลงค�ำสั่งใช้ยาหลังจากได้รับค�ำปรึกษา กระบวนการ Medication reconciliation ของทีม
จากเภสัชกร 14 ครั้ง แสดงดังแผนภูมิที่ 4 สหสาขาวิชาชีพในขัน้ ตอนดังกล่าวมีแนวโน้มเพิม่
ขึ้ น อย่ า งมี นั ย ส�ำคั ญ ทางสถิ ติ และความ
วิจารณ์ คลาดเคลื่อนทางยาในขั้นตอนเตรียมจ�ำหน่าย
จากการวิ จั ย ในผู ้ ป ่ ว ยรายโรคเบาหวาน ผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาลมีแนวโน้มลดลงอย่าง
แผนกอายุรกรรมที่ผ่านเกณฑ์คัดกรองให้ได้รับ ต่ อ เนื่ อ งเมื่ อ เที ย บกั บ ค่ า เฉลี่ ย ของความ
244 วารสารศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า ปีที่ 31 ฉบับที่ 4 ต.ค. - ธ.ค. 2557
คลาดเคลื่อนทางยาช่วงก่อนการพัฒนา Medica- กระบวนการ Medication reconciliation มีส่วน
tion reconciliation คาดว่าเนื่องมาจากแพทย์ ช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการปฏิ บั ติ ง านและ
สามารถทบทวนและเปรียบเทียบรายการยาเดิมที่ สามารถลดความคลาดเคลื่อนทางยาลงได้ การ
ผูป้ ว่ ยได้รบั อยูอ่ ย่างต่อเนือ่ งก่อนเข้ารับการรักษา พัฒนาเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยลด
ในโรงพยาบาลกับรายการยากลับบ้านทีจ่ ะสัง่ ให้ผู้ ความยุง่ ยากในการปฏิบตั ิงานและการสร้างระบบ
ป่วยได้เพิม่ ขึน้ ผลการวิจยั ครัง้ นีส้ อดคล้องกับการ Medication reconciliation ที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน
ศึกษาอื่นๆ ที่ท�ำการศึกษามาก่อนรวมทั้งการ คาดว่าจะมีส่วนช่วยให้ได้รับความร่วมมือในการ
ศึกษาในประเทศไทยที่โรงพยาบาลเลิดสิน ซึ่ง ปฏิ บั ติ ง านจากที ม สหวิ ช าชี พ เพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งไร
สนับสนุนว่า Medication reconciliation เป็น ก็ตาม ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่าผู้ป่วยร้อยละ 45.5
กระบวนการปฏิ บั ติ ง านระหว่ า งที ม สหสาขา ไม่ได้รับการทวนสอบความสอดคล้องทางยาตาม
วิชาชีพที่ช่วยลดความคลาดเคลื่อนทางยาลงได้ กระบวนการ Medication reconciliation ในขั้น
อย่างมีนัยส�ำคัญ9-11 การประสานความร่วมมือ ตอนเตรียมจ�ำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาล
อย่างต่อเนือ่ งระหว่างทีมสหวิชาชีพทีป่ ระกอบด้วย สาเหตุ อ าจเนื่ อ งมาจากภาระงานมากท�ำให้ ไ ม่
แพทย์ เภสัชกร และพยาบาล จึงมีความส�ำคัญ สามารถปฏิบัติได้ทุกราย ปัญหาด้านการสื่อสาร
อย่างยิ่งต่อความส�ำเร็จและความยั่งยืนของการ และส่งต่อข้อมูลระหว่างบุคลากรทางการแพทย์
ปฏิ บั ติ ง าน Medication reconciliation ใน ซึ่งจากการทบทวนวรรณกรรมพบว่าประมาณ
โรงพยาบาล ร้อยละ 20 ของการไม่ปฏิบัติตามระบบ เกิดจาก
การวิจัยครั้งนี้ การน�ำระบบคอมพิวเตอร์ ปั ญ หาการสื่ อ สารข้ อ มู ล ระหว่ า งบุ ค ลากร
มาเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงาน Medication สาธารณสุ ข และควรได้ รั บ การแก้ ไ ขให้ มี ก าร
reconciliation มีส่วนช่วยลดความยุ่งยากในการ สือ่ สารทีช่ ดั เจนและเป็นระบบมากขึน้ 13 ดังนัน้ การ
ทวนสอบความถูกต้องของรายการยาที่ผู้ป่วยได้ พัฒนา Medication reconciliation นอกจากการ
รับอยู่อย่างต่อเนื่องจากโรงพยาบาลพระปกเกล้า ประสานความร่วมมือระหว่างทีมผูป้ ฏิบตั งิ านอย่าง
ท�ำให้แพทย์ เภสัชกร และพยาบาลสามารถตรวจ ต่อเนื่อง ควรท�ำควบคู่ไปกับการสร้างระบบการ
สอบความถูกต้องของประวัติการใช้ยาในผู้ป่วยที่ สื่ อ สารที่ ชั ด เจนในการส่ ง ต่ อ ข้ อ มู ลระหว่ า งที ม
รับการรักษาต่อเนือ่ งจากโรงพยาบาลพระปกเกล้า บุคลากรทางการแพทย์ ซึง่ จะช่วยให้ผลลัพธ์จาก
ได้สะดวก รวดเร็วขึน้ รวมทัง้ การพิมพ์ประวัตกิ าร การปฏิ บั ติ ง านตามกระบวนการ Medication
ใช้ยาของผู้ป่วยแทนการบันทึกด้วยลายมือลงใน reconciliation สามารถป้องกันเหตุการณ์ไม่พึง
แบบฟอร์ม Medication reconciliation ช่วยให้ ประสงค์จากความคลาดเคลื่อนทางยาในผู้ป่วยมี
สามารถสือ่ สารข้อมูลยาเดิมทีผ่ ปู้ ว่ ยใช้อยูอ่ ย่างต่อ ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
เนื่องก่อนเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลระหว่าง Bond และคณะ14 พบว่าเภสัชกรมีบทบาท
ทีมสหวิชาชีพได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ในการลดความคลาดเคลือ่ นทางยาลงได้รอ้ ยละ 51
Schnipper JL และคณะ12 พบว่าการน�ำ จากการรวบรวมประวัติการใช้ยาของผู้ป่วย การ
คอมพิ ว เตอร์ ม าใช้ ใ นการปฏิ บั ติ ง านตาม วิจยั ครัง้ นี้ ผลจากการทวนสอบความสอดคล้องต่อ
Vol.31 No.4 Oct.- Dec. 2014 J Prapokklao Hosp Clin Med Educat Center 245
เนื่องทางยาตาม Discharge medication recon- สหสาขาวิ ช าชี พ ตระหนั ก ถึ ง ความส�ำคั ญ ของ
ciliation ของทีมสหวิชาชีพที่เพิ่มขึ้นจากร้อยละ Medication reconciliation และสามารถสกัด
36.9 เป็นร้อยละ 54.5 หลังการพัฒนา Medication ความคลาดเคลื่อนทางยาให้ได้เพิ่มขึ้นในจุดที่มี
reconciliation ช่วยให้เภสัชกรลดความคลาด การเปลี่ ย นการรั ก ษา ซึ่ ง ผลที่ ไ ด้ จ ากการวิ จั ย
เคลือ่ นทางยาลงได้ 14 ครัง้ จากความคลาดเคลือ่ น สามารถน�ำมาเป็ น ข้ อ มู ล พื้ น ฐานในการพั ฒ นา
ทางยาที่พบทั้งหมด 24 ครั้ง (ร้อยละ 58.3) แตก Medication reconciliation ให้บรรลุเป้าหมาย
ต่างจากช่วงก่อนการพัฒนา Medication recon- ต่อไป
ciliation ทีเ่ ภสัชกรสามารถลดความคลาดเคลือ่ น การวิ จั ย ครั้ ง นี้ สนั บ สนุ น ว่ า การพั ฒ นา
ทางยาลงได้ 5 ครั้งจากความคลาดเคลื่อนที่พบ Medication reconciliation ในขั้นตอนเตรียม
ทั้งหมด 46 ครั้ง (ร้อยละ 10.9) อย่างไรก็ดี ช่วง จ�ำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาลหรือส่งต่อ
Post-intervention แพทย์ได้รับการปรึกษาจาก ผู้ป่วยไปรักษาต่อที่สถานพยาบาลอื่น เป็นระบบ
เภสัชกรเรือ่ งการสัง่ refill ยาเบาหวานให้แก่ผปู้ ว่ ย งานที่สร้างความปลอดภัยด้านการใช้ยาในผู้ป่วย
จ�ำนวน 11 ครัง้ และแพทย์มคี �ำสัง่ เปลีย่ นแปลงการ เนือ่ งจากช่วยให้สามารถลดความคลาดเคลือ่ นทาง
ใช้ยาเพียง 3 ครัง้ ส่วนทีเ่ หลืออีก 8 ครัง้ เป็นผูป้ ว่ ย ยาลงได้ อ ย่ า งมี นั ย ส�ำคั ญ ทางสถิ ติ โดยที ม สห
ที่เข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยสาเหตุ วิชาชีพสามารถตรวจพบความไม่สอดคล้องทางยา
จากภาวะน�ำ้ ตาลในเลือดตำ�่ และแพทย์ไม่สงั่ ใช้ยา และแก้ไขความคลาดเคลื่อนดังกล่าวได้ก่อนที่จะ
เบาหวานเป็นยากลับบ้านเมือ่ มีการจ�ำหน่ายผูป้ ว่ ย ส่งผลกระทบต่อตัวผูป้ ว่ ย สอดคล้องกับการศึกษา
ออกจากโรงพยาบาล 6 ราย เนือ่ งจากแพทย์ไม่ได้ อืน่ ๆ ทีแ่ สดงให้เห็นว่า Medication reconciliation
มีการระบุหรือบันทึกเหตุผลทีช่ ดั เจนของการไม่สงั่ เป็นมาตรการเพิ่มความปลอดภัยในระบบยาที่
ใช้ยาเบาหวานให้แก่ผปู้ ว่ ยดังกล่าว ท�ำให้เภสัชกร ควรด�ำเนิ น การในรู ป แบบที ม สหวิ ช าชี พ ของ
ไม่ ส ามารถยื น ยั น ได้ อ ย่ า งแน่ น อนว่ า ไม่ ใ ช่ โรงพยาบาลที่ประกอบด้วย แพทย์ เภสัชกร และ
ความคลาดเคลื่อนทางยา พยาบาล เนื่องจาก Medication reconciliation
การวิ จั ย ครั้ ง นี้ พบการทวนสอบความ จะบรรลุเป้าหมายได้ต้องอาศัยความร่วมมือและ
สอดคล้ อ งต่ อ เนื่ อ งทางยาตามกระบวนการ ความรับผิดชอบจากหลายฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการ
Medication reconciliation ในผู้ป่วยร้อยละ 54.5 ดูแลผู้ป่วยด้านการใช้ยา ดังนั้นสหสาขาวิชาชีพ
ซึง่ การทวนสอบความสอดคล้องต่อเนือ่ งทางยาใน จึงควรมีบทบาทร่วมกันในการเพิม่ ความปลอดภัย
ผู้ป่วยร้อยละ 1.72 เภสัชกรไม่สามารถยืนยันว่า ในระบบยาโดยเฉพาะในจุดที่มีการเปลี่ยนการ
เกิดความคลาดเคลือ่ นทางยาหรือไม่ รวมทัง้ ไม่ได้ รักษา รวมทัง้ ควรน�ำระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยใน
ประสานงานกับแพทย์ผู้ท�ำการรักษาในการแก้ไข การพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน Medication
ปัญหาดังกล่าว ท�ำให้ปัญหาที่มีอยู่ไม่ได้รับการ reconciliation ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นด้วย การ
แก้ ไ ขและอาจส่ ง ผลกระทบต่ อ ผู ้ ป ่ ว ย ดั ง นั้ น วิจัยครั้งนี้ ท�ำการศึกษาเฉพาะผู้ป่วยที่สามารถ
Medication reconciliation ในโรงพยาบาล เก็บรวบรวมข้อมูลรายการยาที่ผู้ป่วยใช้อยู่อย่าง
พระปกเกล้าควรได้รบั การพัฒนาต่อไป เพือ่ ให้ทมี ต่อเนื่องก่อนเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลได้
246 วารสารศูนย์การศึกษาแพทยศาสตร์คลินิก โรงพยาบาลพระปกเกล้า ปีที่ 31 ฉบับที่ 4 ต.ค. - ธ.ค. 2557
อย่างสมบูรณ์เท่านั้น ท�ำให้กลุ่มตัวอย่างที่เข้า among patients discharged from the
เกณฑ์การศึกษามีจ�ำนวนน้อย ผู้วิจัยมีข้อเสนอ hospital. Ann Pharmacother 2009;
แนะส�ำหรับผู้อ่านดังต่อไปนี้ 43:1001-10.
1. Medication reconciliation ควรได้รับ 4. Wong JD, Bajcar JM, Wong GG, Alibhai
การพัฒนาให้เป็นมาตรฐานการปฏิบัติงาน ในทุก SM, Huh JH, Cesta A, et.al. Medication
ขัน้ ตอน ตัง้ แต่ขนั้ ตอนการรับผูป้ ว่ ย การส่งต่อหรือ reconciliation at hospital discharge:
ย้ายหอผู้ป่วย และการจ�ำหน่ายผู้ป่วยออกจาก evaluating discrepancies. Ann Pharmaco-
โรงพยาบาล โดยด�ำเนินการในทุกหอผู้ป่วย ther 2008; 42:1373-9.
2. Medication reconciliation ควรเกิด 5. Whittington J, Cohen H. OSF helathcare’s
จากการประสานความร่ ว มมื อ ระหว่ า งที ม สห journey in patient safety. QualManag
วิชาชีพในโรงพยาบาล และมีแนวทางการปฏิบัติ Health Care 2004;13: 53–9.
งานที่สอดคล้องกับบทบาทของบุคลากรในแต่ละ 6. Agrawal A, Wu WY. Reducing medication
วิชาชีพ errors and improving systems reliability
3. ควรน�ำเทคโนโลยีดา้ นคอมพิวเตอร์มา using an electronic medication recon-
ใช้สนับสนุนการปฏิบัติงาน Medication recon- ciliation system. Jt Comm J Qual Patient
ciliation Saf 2009;35:106-14.
7. ธิดา นิงสานนท์. Medication Reconcilia-
เอกสารอ้างอิง tion. ใน : ธิดา นิงสานนท์, ปรีชา มนทกาน
1. The Joint Commission on Accreditation ติกุล, สุวัฒนา จุฬาวัฒนทล, บรรณาธิการ.
of Health care Organizations. National Medication Reconciliation. พิมพ์ครั้งที่ 2.
Patients Safety Goals. Available at :http:// กรุงเทพฯ: บริษทั ประชาชน; 2551: หน้า 12.
www/jointcommission.org Accessed 8. Schwarz M, Wyskiel R. Medication Rec-
March 31, 2012. onciliation: Developing and Implementing
2. Rozich JD, Howard RJ, Justeson JM, a Program. Crit Care Nurs Clin North Am
Macken PD, Lindsay ME, Resar RK. 2006;18: 503-7.
Standardization as a mechanism to 9. ฉันทิกา ซื่อตรง. การพัฒนากระบวนการ
improve safety in health care. Jt Comm ประสานรายการยาและน�ำไปปฏิบัติในการ
J Qual Saf 2004; 30:5-14. ติ ด ตามจุ ด เปลี่ ย นในระบบยาผู ้ ป ่ ว ยใน.
3. Karapinar-Carkit F, Borgsteede SD, Zoer [ วิ ท ย า นิ พ น ธ ์ ป ริ ญ ญ า ม ห า บั ณ ฑิ ต ] .
J, Smit HJ, Egberts AC, van den Bemt กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548.
PM. Effect of medication reconciliation 10. Vira T, Colquhoun M, Etchells E. Recon-
with and without counseling on the num- cilable differences: correcting medication
ber of pharmaceutical interventions errors at hospital admission and dis-
Vol.31 No.4 Oct.- Dec. 2014 J Prapokklao Hosp Clin Med Educat Center 247
charge. Qual Saf Health Care 2006; 13. สุวรรณี เจริญพิชิตนันท์, กมลศักดิ์ เรือง
15:122-6. เจริญรุ่ง, ธิดา นิงสานนท์. “องค์กรมีชีวีต” .
11. Varkey P, Cunningham J, O’Meara J, การประชุม 9 HA National Forum ; 13
Bonacci R, Desai N, Sheeler R. Multidis- มีนาคม 2551 ศูนย์การประชุมอิมแพ็ค
ciplinary approach to inpatient medication เมืองทองธานี. กรุงเทพฯ; 2551.
reconciliation in an academic setting. Am 14. Bond CA, Raehl CL, Franke T. Clinical-
J Health Syst Pharm 2007; 64:850-4. pharmacy services, hospital pharmacy
12. Schnipper JL, Hamann C, Ndumele CD, staffing, and medication errors in United
Liang CL, Carty MG, Karson AS, et al. States hospitals. Pharmacotherapy 2002;
Effect of an electronic medication recon- 22:134-47.
ciliation application and process redesign
on potential adverse drug events: a
cluster-randomized trial. Arch Intern Med
2009; 169:771-80.

You might also like