You are on page 1of 43

การพยาบาลผู ส้ ู งอายุ

อาจารย์ชลธิชา อมาตยคง
MNS (Gerontological Nursing)
Ph.D. (Nursing Science )
หัวข้อเช้าวันนี้

ทฤษฎีผูส้ ูงอายุ
การดูแลระยะยาว
การดูแลแบบประคับประคอง
BIOLOGICAL THEORY OF AGING

Stochastic theories Nonstocastic theories

 Free radical theory  Programmed theory


 Wear and tear theory  Genetic or Biological clock theory
 Connective tissue or Cross-link theory
 Accumulative theory
 Immunologic theory
FREE RADICAL THEORY

 ทฤษฏีอนุมลู อิสระ เชื่อว่า การเปลีย่ นแปลงตามกระบวนการชราภาพ เกิดจากการถูกทาลายโดยอนุมูลอิสระ


(free radical)
FREE RADICAL THEORY

เมือ่ ใดที่ สารต้านอนุมลู อิสระ น้อยกว่า อนุมลู อิสระ


เกิดการทาลายของกลุม่ โมเลกุลบางกลุม่ และเยือ่ หุม้ เซลล์ ทาให้เกิดผลเสียต่อเซลล์
เกิดการทาลายเซลล์ เป็ นสาเหตุของการแก่
รุนแรงไปถึงเกิดเป็ นโรคต่างๆเช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคหอบหืด ข้ออักเสบ โรคหัวใจ
มะเร็ง เป็ นต้น
การพยาบาล

 แนะนาให้หลีกเลีย่ งปัจจัยทีก่ ระตุน้ ให้เกิดอนุมลู อิสระเพิม่ ขึ้น


 รับประทานอาหารทีม่ สี ารต้านอนุมลู อิสระ เช่น วิตามินซี เบต้าแคโรทีน
 หลีกเลีย่ งแสงแดด หรือ มลพิษต่างๆ
WEAR AND TEAR THEORY
WEAR AND TEAR THEORY

 ความชราเป็ นผลมาจากการเสือ่ มของเซลล์ในร่างกายทีไ่ ม่สามารถจะถูกซ่อมแซม หรือทดแทนได้


 การเสือ่ มของระบบหัวใจและหลอดเลือด
 การเกิดหลอดเลือดแข็ง (arthrosclerosis)
 การเสือ่ มของข้อต่างๆ โดยเฉพาะข้อทีต่ อ้ งรับนา้ หนักมาก เช่นข้อเข่า
 อวัยวะบางอย่าง เช่น กระเพาะอาหาร ไต หรือผิวหนัง อาจถูกทาลายโดยสารพิษ อาหาร สิง่ แวดล้อม
 รับประทานอาหารหวานจัด ไขมันสูง
 ดืม่ กาแฟ หรือ แอลกอฮอล์
 การได้รบั แสงอัลตร้าไวโอเลตเป็ นเวลานาน ทาให้เซลล์เสือ่ มสภาพและไม่สามารถซ่อมแซมได้
การพยาบาล

เพือ่ ป้ องกันความเสือ่ มของเซลล์ในอวัยวะต่างๆ


การออกกาลังกายทีเ่ หมาะสม
การรับประทานอาหารทีถ่ กู ต้อง
การหลีกเลีย่ งสารพิษ หรือมลพิษต่างๆ
การป้ องกันแสงอัลตร้าไวโอเลต
การนอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ
CROSS LINKAGE THEORY
CONNECTIVE TISSUE OR CROSS-LINK THEORY
ADVANCED GLYCATION END PRODUCTS หรือ
AGES
 ผิวหนังของเรามีโปรตีนคอลลาเจนและอีลาสตินเป็ นองค์ประกอบหลักอยู่รวมกันเป็ นลักษณะโครงข่าย
ช่วยให้ผวิ ของเรามีความแข็งแรงและยืดหยุ่น
 ในกรณีทเ่ี ราบริโภคอาหารหรือเครื่องดืม่ ทีม่ นี า้ ตาลสูง นา้ ตาลเหล่านัน้ ถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดอย่าง
รวดเร็ว ซึง่ ทาให้ระดับนา้ ตาลทีบ่ ริเวณผิวหนังสูงขึ้นเช่นเดียวกัน นา้ ตาลบริเวณผิวหนังสามารถจับกับ
โปรตีนอีลาสตินและ คอลลาเจนเกิดเป็ นสารประกอบทีม่ ชี ่อื ว่า Advanced glycation
end products หรือ AGEs ซึง่ เป็ นสาเหตุสาคัญของการเกิดริ้วรอยและแก่ก่อนวัย
กระบวนการ GLYCATION คือ การเกิดการเชื่อมข้ามสายโมเลกุล
(CROSS-LINKING)

เมือ่ AGEs เกิดขึ้นในชัน้ ผิวหนัง จะส่งผลให้โปรตีนอีลาสตินและคอลลาเจนเสือ่ มสภาพ


และสะสมอยู่ทบ่ี ริเวณผิวหนัง ส่งผลให้ความยืดหยุ่นของผิวหนังลดลง เกิดการหย่อนคล ้อย โดยทัวไป

การสะสม ของ AGEs บริเวณผิวหนังจะเพิม่ มากขึ้นตามอายุอยู่แล ้ว แต่กระบวนการดังกล่าว
สามารถกระตุน้ ให้เกิดได้เร็วและมากขึ้นเมือ่ เราบริโภคอาหารทีม่ ปี ริมาณนา้ ตาลสู ง
เปรียบเทียบ
CROSS LINKAGE THEORY

การพยาบาล แนะนาให้ป้องกันไม่ให้มกี ารเร่งของกระบวนการ Glycation


ลดอาหารประเภทข้าวขาว แป้ ง นา้ ตาล
หลีกเลีย่ งการประกอบอาหารทีม่ โี ปรตีนและไขมันสูงโดยใช้ความร้อนแห้ง
ปิ้ ง ย่าง คัว่ ทอด
แนะนา ต้ม นึ่ง แกง ตุน๋
นอกจากนี้ บารุงผิว ทาครีม
ACCUMULATIVE THEORY
ACCUMULATIVE THEORY

 ทฤษฏีการสะสม เชื่อว่าความสูงอายุมผี ลจากการสะสมสารทีเ่ ป็ น


อันตรายต่อการทาหน้าทีข่ องเซลล์ คือ Lipofuscin
 พบได้ตามเซลล์ผวิ หนัง เซลล์ประสาท เซลล์กล้ามเนื้อลาย กลา้ มเนื้อ
หัวใจ ไต ตับ ปมประสาทเป็ นต้น
 จะสะสมเพิม่ ตามอายุ เรียก Age pigment ถ้าสะสมทีผ่ วิ หนัง
เรียก Aging spot
ACCUMULATIVE THEORY

 การพยาบาล แนะนาให้รบั ประทานอาหารที่มีวิตามิน อี สูง เพราะ


วิตามินอี ทาให้ลูกโซ่ของ Lipofuscin แตกตัวได้
 อัลมอนด์
 เมล็ดทานตะวัน
 เนยถัว่
 ซอสมะเขือเทศ
 อาหารทีม่ เี ส้นใยอาหารสูง
อาหารเหล่านี้จะช่วยลดการสะสมของไลโปฟัสซิน นอกจากนัน้
วิตามิน อี ยังเป็ นสารต้านอนุมลู อิสระทีด่ ี ช่วยป้ องกันให้เซลล์ใน
ร่างกายไม่ถกู ทาลาย
IMMUNOLOGIC THEORY

 ความสูงอายุเกิดจาก ระบบภูมคิ มุ ้ กันเสือ่ มสภาพทีละน้อยจนไม่สามารถป้ องกันตนเองจากอันตรายทีเ่ กิด จากโรค หรือ สิง่


แปลกปลอมได้เพียงพอ
 เมือ่ อายุมากขึ้น B-cell and T-cell จะสูญเสียความสามารถในการจับและทาลายเชื้อโรค เช่น แบคทีเรีย และไวรัส
 T- cell จะเสียความสามารถในการจับและทาลายเซลล์ทร่ี ่างกายรับรูว้ า่ เป็ นสิง่ แปลกปลอม เช่น เซลล์มะเร็ง
 เมือ่ B-cell and T-cell สูญเสียหน้าทีอ่ าจทาให้เกิดโรคทีม่ กี ารทาลายเซลล์ทผ่ี ดิ ปกติของร่างกาย
(autoimmune disease)
PROGRAMMED THEORY

 ทฤษฏีความสูงอายุทก่ี ล่าวถึงการกระทาหน้าทีข่ อง genes ซึง่ เป็ นตัวควบคุมรหัสพันธุกรรมและเกี่ยวข้องกับการ


คาดอายุเฉลีย่ เมือ่ แรกเกิด (Life expectancy)
 นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าความชราภาพเกิดจาก กรรมพันธุ ์ 25% ทีเ่ หลือคือสิง่ แวดล้อมและการดาเนินชีวติ ทีไ่ ม่
เหมาะสม (Eliopoulos, 2018)
 ปกติยนี ส์เป็ นตัวกาหนดลักษณะทางพันธุกรรมโดยจะเรียงตัวอยู่บนโครโมโซมส่วนประกอบทางเคมีของยีนส์คอื
DNA มีลกั ษณะเป็ นเกลียวคู่ ส่วนประกอบนี้จะทาหน้าทีเ่ ป็ นรหัสพันธุกรรม ฉะนัน้ ถ้าโมเลกุลของ DNA ถูก
ทาลายไป จะทาให้สารประกอบต่างๆอยู่ผดิ ตาแหน่ง ส่งผลให้ยนี ส์ผดิ ปกติ การทางานของเซลล์จะเสียไป
 อย่างไรก็ตามปัจจัยทีท่ าให้เกิดความชราภาพ คือ เทียโรเมีย (Telomeres)
GENETIC OR BIOLOGICAL CLOCK THEORY

 ทฤษฏีน้ เี ชื่อว่า พันธุกรรม (Gene) เป็ นตัวกาหนดอายุขยั ของมนุษย์ โดยมีโปรแกรมทางพันธุกรรมเป็ น


ตัวกาหนดอายุขยั ของบุคคลนัน้ ๆ
 Genetic clock เซลล์ในร่างกายจะถูกตัง้ โปรแกรมกาหนดจานวนครัง้ ของการแบ่งตัวไว้แลว้
 คนทีม่ มี เี ซลล์อายุยนื กว่าจะมีการแบ่งตัวมากกว่าคนทีม่ เี ซลล์ทอ่ี ายุสนั้ กว่า ในการสืบทอดทางสายเลือดทาให้
ความยืนยาวของอายุไม่เท่ากัน
 ยีนส์ของพันธุกรรมแต่ละคนเป็ นตัวกาหนดอายุขยั ของแต่ละคน
 เซลล์มนุษย์มี 2 กลุม่ ใหญ่ คือเซลล์ร่างกาย และเซลล์สบื พันธุ ์
GENETIC OR BIOLOGICAL CLOCK THEORY

เซลล์สบื พันธุ ์
เซลล์ร่างกาย
ถ่ายทอดต่อไปเรื่อยๆ จากการสืบพันธุ ์
ชรา
ตาย เวลาจะถูกตัง้ กลับไปที่ 0
GENETIC OR BIOLOGICAL CLOCK THEORY

นอกจากนี้เมือ่ อายุมากขึ้น อาจมีความผิดปกติของการแบ่งเซลล์ ทาให้เกิดโรค


เช่น แก่เร็วกว่าอายุจริง (Progeria) Wener’s syndrome
มีโอกาสเกิดการผ่าเหล่าของยีนส์ได้สูง (Gene mutation) เช่นการเกิด
โรค Down’s syndrome ในทารกทีม่ มี ารดาอายุมาก
ทฤษฏีความสูงอายุเชิงจิตสังคม

Disengagement theory
Activity theory
Continuity theory
Erikson’s theory
Peck’s theory
DISENGAGEMENT THEORY
 เป็ นกระบวนการทีค่ นเราถดถอย หรือ ถอนตัวออกจากสังคม
 การถอนตัวดังกล่าวเป็ นการยอมรับของ ตัวผูส้ ูงอายุ และสังคม โดยได้รบั ประโยชน์และพึงพอใจทัง้
สองฝ่ าย
 ประโยชน์
 ผูส้ ูงอายุ > สามารถเป็ นตัวของตัวเองได้อย่างเต็มที่ เป็ นอิสระจากบทบาทสังคม
 สังคม > ช่วยให้งา่ ยต่อการเปลีย่ นผ่าน หรือ ถ่ายทอดอานาจให้กบั คนรุ่นหลังต่อไป ทาให้สงั คมทา
หน้าทีไ่ ปได้อย่างต่อเนื่อง
DISENGAGEMENT THEORY
ทัง้ นี้ !!!
การถดถอยจากสังคม เป็ นสิง่ ทีผ่ ูส้ ูงอายุเลือก มิใช่กระบวนการชราภาพ ดังนัน้
จะเห็นว่ามีผูส้ ูงอายุจานวนหนึ่งทีไ่ ม่ถอนตัวออกจากสังคมเดิม เช่น นักวิชาการ ผู ้
พิพากษา
ดังนัน้ จึงมีผูก้ ล่าวถึงการถอนตัวออกจากสังคมของผูส้ ูงอายุว่าอาจไม่จาเป็ นถ้า
สังคมมีการดูแลสุขภาพ และการดูแลเรื่องเศรษฐกิจของผูส้ ูงอายุให้ดขี ้นึ
(Eliopoulos, 2018)
ACTIVITY THEORY

 เชื่อว่า ผูส้ ูงอายุควรมีการดาเนินชีวติ หรือ มีกจิ กรรมเช่นเดียวกับวัยกลางคน และควรปฏิเสธความสูงอายุให้นานทีส่ ุด


เท่าทีจ่ ะทาได้
 ไม่ควรให้ผูส้ ูงอายุลดกิจกรรม ควรให้มสี ่วนเกี่ยวขอ้ งในฐานะสมาชิกคนหนึ่ง
 ทฤษฏีน้ ใี ห้ขอ้ เสนอแนะแนวทาง การคงกิจกรรมของผูส้ ูงอายุให้สอดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงตามกระบวนการชราภาพ
 อาจชดเชยการเปลีย่ นแปลง หรือ การสูญเสียเหล่านัน้ ด้วยบทบาทใหม่ ความสนใจใหม่ทแ่ี ตกต่างไปจากเดิม
 ทดแทนบทบาทการทางาน ด้วยบทบาทอืน่ แทนเมือ่ เกษียณอายุ
CONTINUITY THEORY

แบบแผนการพัฒนาการเข้าสู่วยั สูงอายุของแต่ละบุคคล ขึ้นอยู่กบั ความสามารถในการคงไว้ซ่งึ พฤติกรรม


หรือแบบแผนการดาเนินชีวติ เดิมทีเ่ คยทาในอดีต และสามารถทาต่อไปได้อย่างต่อเนื่อง
บุคลิกภาพ จะเป็ นตัวกาหนดว่าผูส้ ูงอายุจะปรับตัวต่อการเปลีย่ นแปลงอย่างไร ซึง่ แต่ละคนจะมีความ
แตกต่างกัน
เช่นคนไม่ชอบเข้าสังคม เมือ่ เข้าสู่วยั สูงอายุก็จะไม่ชอบเข้าสังคมเช่นเดิม
ดังนัน้ การดูแลผูส้ ูงอายุควรคานึงถึงความแตกต่างของแบบแผนการดาเนินชีวติ บุคลิกภาพของผูส้ ูงอายุแต่
ละราย
ERIKSON’S EPIGENETIC THEORY

 ขั้นที่ 8 ความพอใจในตนเอง – ความ


สิ้ นหวังและความไม่พอใจในตนเอง
(Ego Integrity vs Despair)
EGO INTEGRITY VS DESPAIR ระยะที่ 8 : 65 ปี ขึน้ ไป

 พัฒนาการขั้นสุ ดท้ายนี้มีพ้นื ฐานจากการปรับตัวในช่วงต้นของชีวิต บุคคลในช่วงวัยนี้มกั แสวงหาความ


มัน่ คงภายในจิตใจ
 Ego Integrity ซึ่งเกิดเมื่อบุคคลสามารถผ่านพัฒนาการในขั้นต่างๆ มาได้อย่างดี เป็ นวัยของการยอมรับความ
เป็ นจริ ง ใช้คุณค่าจากประสบการณ์ ที่สงั่ สมมา ให้เป็ นประโยชน์ต่อชนรุ่ นหลัง และเป็ นช่วงของการระลึก
ถึงความทรงจาในอดีต ถ้าในอดีตที่ผา่ นมาบุคคลมีความสุ ข ประสบความสาเร็ จในพัฒนาการ และสิ่ งต่างๆ
รอบตัว ก็จะมีทศั นคติที่ดีต่อตนเองและผูอ้ ื่น มีความมัน่ คงทางจิตใจ
 Despair แต่ในทางตรงข้ามถ้าบุคคลมีความทรงจาที่ผดิ หวังอยูต่ ลอด และพบปัญหาอุปสรรคในพัฒนาการ
ของช่วงที่ผา่ นมา จะมีความรู ้สึกท้อแท้ หมดหวัง เหนื่อยหน่ายกับชีวิต วิตกกังวลกับอดีตที่ไม่ดีงามของ
ตนเอง ขาดกาลังใจในการต่อสู ้ และไม่สามารถพัฒนาชีวิตในวัยชราได้อย่างมีความสุ ข
PECK’S THEORY

 เพค แบ่งผูส้ ูงอายุเป็ นสองกลุม่ คือ ตอนต้น 55-75 และตอนปลาย 75 ปี ข้นึ ไป


 ความรูส้ กึ ของผูส้ ูงอายุข้นึ อยู่กบั งานทีม่ อี ยู่ ผูส้ ูงอายุจะรูส้ กึ ภาคภูมใิ จและเห็นว่าตนเองมีคุณค่า แต่
เมือ่ เกษียณแล ้วความรูส้ กึ นี้จะลดลง ฉะนัน้ บางคนจะสร้างความพึงพอใจต่อไปด้วยการหางานอืน่ ทา
เช่น ปลูกต้นไม้ (ทางานอดิเรกต่างๆ)
 ผูส้ ูงอายุยอมรับว่าเมือ่ อายุมากขึ้น สมรรถภาพของร่างกายเปลีย่ นแปลงไปตามธรรมชาติ ร่างกายมี
ความแข็งแรงลดลง ชีวติ จะมีความสุขถ้าสามารถยอมรับและปรับความรูส้ กึ นี้ได้ (ยอมรับสมรรถนะ
ของตน)
 ผูส้ ูงอายุยอมรับว่าร่างกายต้องเปลีย่ นแปลงไปตามธรรมชาติ ยอมรับเรื่องความตายโดยไม่รูส้ กึ กลัว
ฝึ กความคิด

คาแนะนาในการป้องกันการเกิดเลนส์ตาเสื่ อม สาหรับผูส้ ู งอายุที่มีอาชีพตัดผ้า เป็ นเบาหวาน


ตามหลักทฤษฏีเชื่อมตามขวาง (Cross-linkage theory) คือข้อใด
1. พักสายตาทุก 1 ชัว่ โมง
2. วัดความดันลูกตา ทุก 6 เดือน
3. ทางานในที่มีแสงสว่างเพียงพอ
4. รับประทานผักและผลไม้ที่มีรสหวานน้อย

Chonticha_BCNC 32
การแนะนาให้ผสู ้ ู งอายุเดินในน้ า ตรงกับทฤษฏีความสู งอายุขอ้ ใด
1. ทฤษฎีพนั ธุกรรมทัว่ ไป (Genetic theory)
2. ทฤษฎีอนุมูลอิสระ (Free radical theory)
3. ทฤษฏีการสะสม (Accumulative theory)
4. ทฤษฎีความเสื่ อมโทรม (Wear and tear theory)

Chonticha_BCNC 33
 ผูส้ ู งอายุชอบช่วยเหลือผูอ้ ื่น หลังเกษียณอายุราชการครู คาแนะนาที่สอดคล้องกับทฤษฎี
กิจกรรม (Activity theory) คือข้อใด
1. เป็ นจิตอาสา เพื่อเพิม่ ความภาคภูมิใจให้กบั ตนเอง
2. ให้เขียนหนังสื อชีวประวัติ เพื่อเล่าประสบการณ์ตนเอง
3. ให้พกั ผ่อนอยูบ่ า้ น เพื่อป้องกันความเสื่ อมโทรมของร่ างกาย
4. เปิ ดบริ ษทั ทัวร์สุขภาพ เพื่อให้มีส่วนร่ วมในการทากิจกรรมกับผูอ้ ื่น

Chonticha_BCNC 34
ผูส้ ู งอายุชายอาศัยอยูก่ บั บุตรสาวซึ่งต้องออกไปทางานนอกบ้าน บ่นเบื่อ รูส้ ึ กว่าร่ างกาย
ตนเองเสื่ อมโทรมกลัวว่าตนเองจะอายุส้ นั ตามทฤษฏีของเพค (Peck’s theory) คาแนะนาที่ไม่
เหมาะสม คือข้อใด
1. ปฏิบตั ิธรรมที่วดั เพื่อเข้าใจถึงธรรมชาติของความตาย
2. วิง่ ออกกาลังกายทุกวัน เพื่อลดความเสื่ อมของร่ างกาย
3. เข้ากลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อให้เกิดการยอมรับต่อสิ่ งที่เป็ น
4. ทากิจกรรมที่ตนเองชอบ เพื่อสร้างความรู ้สึกมีคุณค่าในตนเอง

Chonticha_BCNC 35
โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดที่เกิดจากภาวะ Atherosclerosis อธิบายได้ดว้ ยทฤษฎี
ใด

1. ทฤษฎีผิดพลาด (Error Theory)


2. ทฤษฎีอนุมูลอิสระ (Free radical Theory)
3. ทฤษฎีการสะสม (Accumulative Theory)
4. ทฤษฎีการเชื่อมขวาง (Cross-linkage Theory)

Chonticha_BCNC 36
กิจกรรมของผูส้ ู งอายุที่สอดคล้องกับทฤษฏีความต่อเนื่อง (Continuity Theory) คือข้อใด

1. อดีตเป็ นครู สอนภาษาอังกฤษ ปัจจุบนั เพาะชาต้นไม้ขาย


2. รับสอนแบดมินตันให้เด็กนักเรี ยนหลังเกษียณอายุราชการครู พละ
3. หยุดการรับเหมาก่อสร้างเมื่ออายุ 70 ปี แต่มอบให้ลูกชายทางานแทน
4. ไปร่ วมงานเลี้ยงสังสรรค์เพื่อนร่ วมรุ่ นเป็ นประจาทุกปี ตลอดระยะเวลา 20 ปี

Chonticha_BCNC 37
การปฏิบตั ิตวั เพื่อชะลอความสู งอายุตามทฤษฎีสะสม (Accumulative Theory) คือ
ข้อใด

1. หลีกเลี่ยงมลพิษ
2. หลีกเลี่ยงการโดนรังสี
3. รับประทานวิตามินอีและซีลีเนี่ยม
4. รับประทานอาหารที่มีไขมันและโปรตีนสู ง

Chonticha_BCNC 38
หญิงอายุ 80 ปี เป็ นเจ้าของโรงงานผลิตน้ าดื่ม บอกกับบุตร 2 คน ว่า “อายุเยอะ
มากแล้ว อยากพักผ่อน แต่กย็ งั ห่วงกิจการ” คาแนะนาตามแนวคิดทฤษฎีถดถอย
(Disengagement Theory) ที่เหมาะสม คือข้อใด
1. ยกกิจการให้ลูกๆ ดูแลแทน
2. เปิ ดรับหุน้ ส่ วนเพื่อร่ วมลงทุน
3. ขายกิจการให้คนอื่นมาทาแทน
4. จ้างผูจ้ ดั การมืออาชีพมาช่วยงาน

Chonticha_BCNC 39
การดูแลระยะยาว LONG TERM CARE สาหรับผูส้ ูงอายุภาวะพึง่ พิง

เป็ นบริการสาธารณสุขและบริการสังคมทีจ่ ดั สาหรับผูท้ ม่ี ภี าวะพึง่ พิง ไม่สามารถ


ช่วยเหลือตนเองได้ในการปฏิบตั กิ จิ วัตรประจาวัน เป็ นผูป้ ่ วยหรือผูส้ ูงอายุทน่ี อน
ติดเตียง หรือติดบ้าน
โดยบริการด้านสาธารณสุขมักเป็ นเรื่องการฟื้ นฟูสมรรถภาพ
การช่วยเหลือในชีวติ ประจาวัน เช่น อาหารการกิน การดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล การ
ขับถ่าย งานบ้าน รวมไปถึงการปรับปรุงสภาพแวดล ้อมความเป็ นอยู่ เป็ นต้น
LONG TERM CARE

ระบบการดูแลทีจ่ ดั ครอบคลุมบริการด้านสาธารณสุข โดยในกลุม่ ทีม่ ภี าวะพึ่งพิงมากหรือ


เคลือ่ นไหวเองไม่ได้ (ติดเตียง) มุง่ เน้นการฟื้ นฟูป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะ ตามมาและการ
ดูแลช่วยเหลือด้านการกินอยู่ในชีวติ ประจาวัน
ส่วนกลุม่ ทีเ่ คลือ่ นไหวได้บา้ ง (ติดบ้าน) มุง่ เน้นการฟื้ นฟูป้องกันการเข้าสู่ภาวะพึง่ พิง เพือ่ ให้
ผูส้ ูงอายุดารงชีพได้อย่าง อิสระได้นานทีส่ ุดและลดภาระในการดูแลในระยะยาว
การดูแลแบบประคับประคอง/ ลดปวด / เพิม่ คุณภาพชีวติ / มีความสุขสบาย
ขอบคุณค่ะ
“เราไม่ควรเติบโตเพราะกินข้าว แก่เฒ่าเพราะอยู่นาน แต่ควรใช้ชีวติ อย่างรอบคอบและแก่เฒ่าอย่างมีศกั ดิ์ศรี”

You might also like