You are on page 1of 5

การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย

ส่วนที่ 2
ข้อมูลสรุป (Executive Summary)

การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย (“กฟผ.”) จัดตัง้ ขึน้ ตามพระราชบัญญัตกิ ารไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศ


ไทย พ.ศ. 2511 ตัง้ แต่วนั ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2512 ซึง่ กฟผ. เป็ นรัฐวิสาหกิจด้านพลังงาน สังกัดกระทรวงพลังงาน โดยมี
กระทรวงการคลังเป็ นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ดําเนินกิจการหลักในด้านการผลิต จัดให้ได้มา และจัดส่งพลังงานไฟฟ้าให้แก่ การ
ไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) ผูใ้ ช้ไฟฟ้าตามทีก่ ฎหมายกําหนด รวมทัง้ ประเทศใกล้เคียง เช่น
มาเลเซีย เป็ นต้น รวมถึงดําเนินการต่างๆ ที่ เกี่ยวเนื่องกับพลังงานและบริการไฟฟ้า ผลิตและขายลิกไนต์หรือวัตถุเคมีจาก
ลิกไนต์ ภายใต้กรอบพระราชบัญญัติ กฟผ. พ.ศ. 2511 และปรับปรุงล่าสุด พ.ศ. 2535
ปจั จุบนั การดําเนินงานของ กฟผ. เป็ นไปตามโครงสร้างกิจการไฟฟ้าทีม่ ี กฟผ. เป็ นผูผ้ ลิต ส่งไฟฟ้า รวมทัง้
ควบคุ ม การผลิต และส่ง ไฟฟ้ าทัว่ ประเทศให้ม ีป ระสิท ธิภ าพ เพีย งพอต่ อ การใช้ พร้อ มให้ค วามสํา คัญ ต่ อ การจัด การ
สิง่ แวดล้อมทีด่ ขี องชุมชนและสังคม โดยมีคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) หรือเรคกูเรเตอร์ ทําหน้าทีก่ ํากับ
ดูแล กฟผ. มีสาํ นักงานใหญ่ตงั ้ อยูท่ ่ี 53 หมู่ 2 ถนนจรัญสนิทวงศ์ อําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุร ี 11130 และมีสาํ นักงาน
ของฝา่ ยปฏิบตั กิ ารระบบส่งอีก 5 แห่ง โดยตัง้ อยูท่ จ่ี งั หวัดนนทบุร ี 2 แห่ง จังหวัดพิษณุ โลก 1 แห่ง จังหวัดขอนแก่น 1 แห่ง
และ จังหวัดกระบี่ 1 แห่ง

การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สาํ คัญขององค์กร
การเปลีย่ นแปลงและพัฒนาการทีส่ าํ คัญในอดีต
 เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2512 รัฐบาลได้รวมกับรัฐวิสาหกิจทีร่ บั ผิดชอบในการจัดหาไฟฟ้า ซึ่งได้แก่ การลิกไนท์
(กลน.) การไฟฟ้ ายัน ฮี (กฟย.) และการไฟฟ้ าตะวัน ออกเฉี ย งเหนื อ (กฟ.อน.) รวมเป็ น งานเดี ย วกัน คื อ
“การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย”มีช่อื ย่อว่า “กฟผ.” มีนายเกษม จาติกวณิช เป็ นผูว้ ่าการคนแรก โดยมีอํานาจ
หน้าทีใ่ นการผลิตและส่งไฟฟ้าให้แก่ การไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค เพือ่ จัดจําหน่ายให้แก่ประชาชน
 ปี พ.ศ. 2512 กฟผ. ได้ก่อสร้างหน่วยผลิตไฟฟ้าพลังงานความร้อนขนาดใหญ่ถงึ 200 เมกะวัตต์ ทีโ่ รงไฟฟ้าพระนครใต้
จังหวัดสมุทรปราการ และต่อมาได้สร้างหน่วยผลิตขึน้ อีกเป็ น 5 เครือ่ ง
 ปี พ.ศ. 2513 ในเขตนครหลวง กฟผ. ได้ตดิ ตัง้ เครื่องผลิตไฟฟ้ากังหันแก๊สขนาด 15 เมกะวัตต์ ทีโ่ รงไฟฟ้าพระนครเหนือ
จังหวัดนนทบุร ี จํานวน 2 เครือ่ งและทีโ่ รงไฟฟ้าพระนครใต้จาํ นวน 2 เครือ่ ง
 มีการเชื่อมโยงสายส่งไฟฟ้าแรงสูงระหว่างภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สายอ่างทอง–สระบุร–ี ปากช่อง–
นครราชสีมา อีกทัง้ ยังเชื่อมโยงสายส่งระหว่างจังหวัดหนองคายกับเวียงจันทร์ เมืองหลวงของลาว และดําเนินการส่ง
ไฟฟ้าให้ลาวใน พ.ศ. 2514 เพื่อใช้ในการก่อสร้างเขือ่ นนํ้างึม ซึง่ เขือ่ นนํ้ างึมเสร็จแล้วจึงผลิตกระแสไฟฟ้าคืนไทยและ
จําหน่ายกระแสไฟฟ้าให้ไทยมาจนถึงปจั จุบนั
 ปี พ.ศ. 2514 ได้สร้างเขือ่ นสิรนิ ธร ทีจ่ งั หวัดอุบลราชธานีแล้วเสร็จและในปี พ.ศ.2515 ได้สร้างเขือ่ นจุฬาภรณ์ ทีจ่ งั หวัด
ชัยภูมแิ ล้วเสร็จ
 ส่วนทางภาคใต้ พ.ศ. 2514 ได้สร้างโรงไฟฟ้ากังหันแก๊สขนาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ในปี พ.ศ. 2516 สร้างโรงไฟฟ้า
พลังงานความร้อนจังหวัดสุราษฎร์ธานี และปี พ.ศ. 2516 เช่นกันได้มกี ารย้ายเครื่องกําเนิดไฟฟ้าดีเซลไปตัง้ ทีจ่ งั หวัด
นครศรีธรรมราชพร้อมทัง้ ขยายระบบส่งไฟฟ้าด้วย
 ปี พ.ศ. 2517 ในการสร้างเขือ่ นสิรกิ ติ ิ ์ ทีจ่ งั หวัดอุตรดิตถ์ แล้วเสร็จ และดําเนินการติดตัง้ หน่วยผลิตไฟฟ้าพลังนํ้าทีเ่ ขือ่ น
แก่งกระจาน ของชลประทานทีจ่ งั หวัดเพชรบุร ี รวมทัง้ ย้ายเครื่องกังหันแก๊สและเครื่องดีเซลจากภาคกลางไปภาคเหนือ
และใต้เพือ่ เสริมกําลังผลิต
 ปี 2514-2525 เป็ นช่วงทีร่ าคานํ้ามันเพิม่ ขึน้ ถึง 10 เท่าตัว จากลิตรละ 40 สตางค์ เป็ น 4 บาทกว่าส่งผลกระทบอย่าง
มากต่อกิจการไฟฟ้า เพราะมีสดั ส่วนในการใช้น้ํามันเตาถึงร้อยละ 70 วิกฤติการณ์น้ีเป็ นจุดเริม่ ต้นของการปรับตัวและ

ส่วนที่ 2 ข้อมูลสรุป (Executive Summary) หน้าที่ 1


การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย

วางแผนการใช้เชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟ้าเพื่อลดการใช้น้ํามันลงให้มากทีส่ ดุ นับเป็ นโชคดีของประเทศไทยทีไ่ ด้พบก๊าซ


ธรรมชาติในอ่าวไทย ที่ได้มกี ารเปิ ดการใช้ก๊าซธรรมชาติเป็ นครัง้ แรก ซึ่ง กฟผ.ได้เป็ นผูใ้ ช้ก๊าซธรรมชาติในการผลิต
ไฟฟ้าเป็ นรายแรก โดยรับซื้อก๊ า ซธรรมชาติทงั ้ หมดจาก ปตท.โดย กฟผ.ได้ก่อสร้างโรงไฟฟ้ าบางปะกง จังหวัด
ฉะเชิงเทรา ขึน้ เพื่อใช้ก๊าซธรรมชาติและปรับปรุงโรงไฟฟ้าพระนครใต้ จังหวัดสมุทรปราการ และก่อสร้างโรงไฟฟ้า
ระยอง หลังจากนัน้ ได้ค้นพบก๊าซธรรมชาติท่แี หล่งนํ้ าพอง จังหวัดขอนแก่น และที่ลานกระบือจังหวัดกําแพงเพชร
กฟผ.ได้ก่อสร้างโรงไฟฟ้าขึน้ ทีท่ งั ้ สองแหล่งดังกล่าวด้วย
 รัฐบาลได้มนี โยบายเพิม่ บทบาทของภาคเอกชนในการผลิตไฟฟ้า เพื่อเปิ ดโอกาสให้ กฟผ.สามารถร่วมลงทุนกับ
ภาคเอกชนดําเนินธุรกิจทีเ่ กี่ยวเนื่องกับ กฟผ.ได้ ซึ่งในปี 2535 ได้มกี ารจัดตัง้ บริษทั ผลิตไฟฟ้าจํากัด(มหาชน) และ
กระจายหุน้ ในตลาดหลักทรัพย์ รวมทัง้ ซื้อโรงไฟฟ้าระยองและขนอม ไปจาก กฟผ. และถือได้ว่าเป็ นโรงไฟฟ้าเอกชน
โรงแรกของประเทศไทย ในปี 2543 ได้มกี ารจัดตัง้ บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จํากัด(มหาชน) ซึง่ ได้ซอ้ื โรงไฟฟ้า
ราชบุรไี ปจาก กฟผ. บทบาท ของภาคเอกชนในการผลิตไฟฟ้าอีกด้านหนึ่ง คือ เป็ นการลงทุนสร้างโรงไฟฟ้าของ
เอกชนโดยตรง ทัง้ ในรูปแบบผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชนขนาดใหญ่ (Independent Power Producer) และผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชน
ขนาดเล็ก (Small Power Producer)

การเปลีย่ นแปลงและพัฒนาการทีส่ าํ คัญในปี 2560


 กฟผ. และ ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) หรือ SCB รับ รางวัล “SET Award 2016” รางวัลธุรกรรมทาง
การเงินยอดเยีย่ มในตลาดทุน และ รางวัลธุรกรรมทางการเงินดีเด่นในตลาดทุน จากความสําเร็จของการจัดตัง้ กองทุน
รวมโครงสร้างพืน้ ฐาน โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ ชุดที่ 1 (EGATIF) ซึง่ เป็ นกองทุนรวมโครงสร้างพืน้ ฐานกองแรกของ
ประเทศไทยทีส่ นับสนุ นโดยรัฐวิสาหกิจ โดยมีทป่ี รึกษาทางการเงิน คือ SCB ในเวที SET Award 2016 ซึง่ จัดโดย
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ร่วมกับวารสารการเงินธนาคาร ณ หอประชุมศาสตราจารย์สงั เวียน อินทรวิชยั ตลาด
หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กรุงเทพมหานคร เมือ่ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2560
 กฟผ. รับ 2 รางวัลการบริหารสูค่ วามเป็ นเลิศ หรือ Thailand Quality Class (TQC) จากระบบบริหารคุณภาพของ
โรงไฟฟ้าบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา และโรงไฟฟ้านํ้าพอง จังหวัดขอนแก่น ในงานมอบรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ครัง้
ที่ 15 ประจําปี 2559 ซึง่ จัดโดยสถาบันเพิม่ ผลผลิตแห่งชาติ สถาบันเครือข่ายของกระทรวงอุตสาหกรรม ณ หอประชุม
เล็กศูนย์วฒ ั นธรรมแห่งปรเทศไทย กรุงเทพมหานคร เมือ่ วันที่ 23 มีนาคม 2560
 กฟผ. เปิ ดโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทบั สะแก และศูนย์การเรียนรู้ กฟผ. ทับสะแก อําเภอทับสะแก จังหวัด
ประจวบคีรขี นั ธ์ เพื่อเป็ นแหล่งศึกษาวิจยั และพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ และเป็ นแหล่ง
ศึกษาเรียนรูด้ า้ นพลังงาน ภารกิจของ กฟผ. รวมทัง้ ประวัตคิ วามเป็ นมาและสิง่ ทีน่ ่าภูมใิ จของชุมชนทับสะแก เมื่อวันที่
15 พฤษภาคม 2560
 กฟผ. รับรางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่น ด้านการบริหารจัดการองค์กรดีเด่น ในงานประกาศผลรางวัลรัฐวิสาหกิจดีเด่น
ประจําปี 2560 ซึง่ จัดโดยสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอก คอน
เวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพมหานคร เมือ่ วันที่ 18 สิงหาคม 2560
 กฟผ. รับ 2 รางวัล ASEAN Coal Awards 2017 ได้แก่ รางวัลชนะเลิศ Best Practice for Surface Coal Mining
Category จากผลงาน “Mae Moh Lignite Mine” และรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 Corporate Social Responsibility
(CSR) Category จากผลงาน “The Community Collaboration for Sustainable Development in Mae Moh District”
ซึง่ จัดขึน้ ในการประชุม ASEAN Energy Business Forum 2017 ณ โรงแรมคอนราด กรุงมะนิลา ประเทศฟิลปิ ปิ นส์
เมือ่ วันที่ 27 กันยายน 2560
 กฟผ. รับรางวัลรายงานความยังยื ่ น ประจําปี 2560 ในระดับดีเด่น ซึ่งถือเป็ นปี ท่ี 4 ติดต่อกันนับตัง้ แต่ปี 2557
ในงาน CSR Club Conference 2017 จัดโดย CSR Club สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย ร่วมกับสํานักงาน

ส่วนที่ 2 ข้อมูลสรุป (Executive Summary) หน้าที่ 2


การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย

คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และสถาบันไทยพัฒน์ ณ หอประชุมศาสตราจารย์สงั เวียน อินทร


วิชยั ชัน้ 7 อาคารบี ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กรุงเทพมหานคร เมือ่ วันที่ 14 ธันวาคม 2560

ความเสี่ยงของผูอ้ อกพันธบัตร
1. ความเสี่ยงจากภัยทุกชนิ ด
การเกิดภัยธรรมชาติ เช่น นํ้าท่วม แผ่นดินไหว หรืออุบตั ภิ ยั แม้จะมีโอกาสเกิดขึน้ ไม่บ่อยนัก แต่หากเกิดขึน้
ในบริเวณทีต่ งั ้ ของทรัพย์สนิ ที่ใช้ในการประกอบธุรกิจหลักของ กฟผ. หรือทัง้ ของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม อาจก่อให้เกิด
ความเสียหายต่อทรัพย์สนิ ดังกล่าวได้ แต่อย่างไรก็ตาม กฟผ. ได้มกี ารจัดทํากรมธรรม์ประกันภัยความเสีย่ งภัยทุกชนิดและ
ความเสียหายของเครือ่ งจักร (Industrial all risks and machinery breakdown insurance Policy) โดยจะคุม้ ครองโรงไฟฟ้า
สถานีไฟฟ้าแรงสูง และศูนย์ควบคุมระบบกําลังไฟฟ้า ของ กฟผ. (ยกเว้นตัวเขื่อนและสายส่ง) รวมทัง้ กฟผ. ได้จดั ทํา
ประกันภัยความวุน่ วายทางการเมือง (Political Violence Insurance) และประกันภัยความรับผิดต่อบุคคลภายนอก (Public
Liability Insurance)

2. ความเสี่ยงจากการที่พนั ธบัตรไม่คาํ้ ประกันโดยกระทรวงคลัง


พันธบัตรทีอ่ อกในครัง้ นี้เป็ นพันธบัตรทีอ่ อกตามมติทป่ี ระชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2560 ซึ่ง
กระทรวงการคลังไม่ค้ําประกันการจ่ายเงินต้นและดอกเบี้ย กฟผ.เป็ นผู้รบั ภาระการจ่ายเงินต้นและดอกเบี้ยโดยใช้เงินที่
ได้รบั จากผลประกอบการปกติของ กฟผ. สําหรับจ่ายเงินต้นและดอกเบี้ยนอกจากนี้ตามมาตรา 12 ของพระราชบัญญัติ
กฟผ. พ.ศ. 2511 ทรัพย์สนิ ของ กฟผ. ไม่อยูใ่ นความรับผิดแห่งการบังคับคดี

3. ความเสี่ยงทางด้านการเงิ น (Financial Risk)


กฟผ. ดําเนินการบริหารความเสีย่ งด้านการเงินเพื่อรักษาความมันคงทางการเงิ
่ น ทัง้ นี้ เพื่อให้มนใจว่
ั ่ า กฟผ.
จะมีเงินลงทุนเพียงพอสําหรับโครงการระบบผลิตและส่งไฟฟ้าและธุรกิจเกี่ยวเนื่องในอนาคต โดยให้ความสําคัญต่อการ
บริห ารเงิน ให้ม ีส ภาพคล่อ งอย่า งมีป ระสิทธิภาพ โดยการจัด หาเงิน ทุ น ให้เพีย งพอกับความต้อ งการลงทุ น ของ กฟผ.
นอกจากนัน้ ยังมีการวางแผนการบริหารกระแสเงินสด (Cash flow Management) ล่วงหน้า เพื่อให้มกี ารใช้เงินสดอย่างมี
ประสิทธิภาพ ลดความเสีย่ งจากการขาดสภาพคล่อง
4. ด้านการดําเนิ นงาน (Operational Risk)
กฟผ. ได้เตรียมความพร้อมรองรับปจั จัยเสีย่ งต่างๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ครอบคลุมทัง้ ในด้านการผลิตและระบบส่ง
ไฟฟ้า การก่อสร้างโรงไฟฟ้าและระบบส่ง ตามแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟ้า (Power Development Plan: PDP) รวมถึงด้าน
การพัฒนาธุรกิจเกี่ยวเนื่อง ด้านบุคลากร สังคม ชุมชนและสิง่ แวดล้อม การสร้างความรู้และความเข้าใจกับประชาชน
เกีย่ วกับการดําเนินงานของ กฟผ.
กฟผ. ได้พจิ ารณาครอบคลุมถึงความเสีย่ งทีม่ ตี ่อการปรับปรุงประสิทธิภาพการดําเนินงานด้านการผลิตและ
ส่งไฟฟ้า และการพัฒนาธุรกิจเกีย่ วเนื่อง โดย กฟผ. ได้มแี ผนงานและมาตรการบริหารความเสีย่ งจนส่งผลให้โรงไฟฟ้าและ
ระบบส่งมีประสิทธิภาพใกล้เคียงระดับสากล และการเข้าสู่ธุรกิจต้นนํ้ า รวมถึงการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนได้
เป็ นต้น
กฟผ. ได้บ ริห ารความเสี่ย งด้า นดํา เนิ น การให้เ หมาะสมตามบริบ ทและนโยบายของกฟผ. โดยมีค ณะ
กรรมการบริหารความเสีย่ งวิเคราะห์ ประเมินตรวจสอบ และติดตาม เพื่อหามาตรการเชิงรุกในการป้องกันและจัดเตรียม
แผนงานในการลดความเสีย่ ง (Reduction) การหลีกเลีย่ งความเสีย่ ง (Avoidance) การกระจายความเสีย่ ง (Sharing) และ
การถ่ายโอนความเสีย่ ง (Transfer) โอกาสและผลกระทบทีก่ ่อให้เกิดความเสียหายทัง้ ในแง่รายได้และค่าใช้จ่ายของโครงการ
ที่อาจมีผลกระทบให้อยู่ในวงจํากัดและเป็ นที่ยอมรับได้ความเสีย่ งในการดําเนินการมีหลายปจั จัย เช่น Operation and
Management Risk, Financial Risk, Safety and Environmental Risk เป็ นต้น

ส่วนที่ 2 ข้อมูลสรุป (Executive Summary) หน้าที่ 3


การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย

5. ด้านการปฏิ บตั ิ ตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Compliance Risk)


การดํา เนิ น กิจ การของ กฟผ.ถูก ควบคุม ภายใต้ก ฎหมายและกฎระเบีย บต่า งๆ การฝ่า ฝื น กฎหมายและ
กฎระเบียบต่างๆ อาจะส่งผลกระทบต่อการดําเนินงานของ กฝผ. นอกจากนี้ การดําเนินกิจการของ กฟผ. ยังต้องเป็ นไป
ตามหลักจริยธรรมและธรรมาภิบาลทีด่ อี กี ด้วย ดังนัน้ กฟผ. จึงให้ความสําคัญกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมายและกฎระเบียบ
ต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ กฎหมายและกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องกับสิง่ แวดล้อมและความปลอดภัย ชีวอนามัยและสุขภาพ
ของพนักงาน รวมไปถึงหลักจริยธรรมและธรรมาภิบาลทีด่ ี มีการให้ความสําคัญต่อการปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องกับ
การดําเนินงานและการป้องปรามการทุจริตคอรัปชันอย่ ่ างครบถ้วน จากการดําเนินงานบริหารความเสีย่ ง กฟผ. ได้ม ี
แผนงาน/มาตรการในการปองกันและลดผลกระทบทีอ่ าจเกิดจากการไม่ปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบ และแผนงาน/มาตรการป้อง

ปรามการทุจริตคอรัปชันอย่
่ างเข้มงวดทัวทั่ ง้ องค์การ

ความเสี่ยงของตราสาร
1. ความเสี่ยงด้านเครดิ ต (Credit Risk)
ความเสีย่ งด้านเครดิตหมายถึง ความเสีย่ งทีผ่ อู้ อกตราสารหนี้อาจจะไม่สามารถจ่ายดอกเบีย้ หรือไม่สามารถ
คืนเงินต้นหรือเงินลงทุนไม่ว่าด้วยเหตุใด ๆ และเมื่อผูอ้ อกพันธบัตรหยุดจ่ายดอกเบีย้ หรือเงินต้น ก็เป็ นการผิดนัดชําระหนี้
พันธบัตร (Default) ซึ่งหากผูอ้ อกพันธบัตรผิดนัดชําระหนี้พนั ธบัตรต่อผูถ้ อื พันธบัตร เจ้าหนี้อ่นื ของผูอ้ อกพันธบัตรจะมี
บุรมิ สิทธิเหนือผูถ้ อื หุน้ ของผูอ้ อกพันธบัตร ก่อนการลงทุนผูล้ งทุนควรศึกษาข้อมูลผลการดําเนินงานของผูอ้ อกพันธบัตรโดย
ละเอียด และผูล้ งทุนควรติดตามข้อมูลข่าวสารของผูอ้ อกพันธบัตรอย่างใกล้ชดิ เพื่อรับทราบข้อมูลทีอ่ าจมีผลกระทบในทาง
ลบอย่างร้ายแรงต่อความสามารถในการจ่ายดอกเบีย้ หรือคืนเงินต้นหรือเงินลงทุนให้แก่ผลู้ งทุน
ในการประเมินความเสีย่ งด้านเครดิตของผูอ้ อกพันธบัตร ผูล้ งทุนอาจพิจารณาการจัดอันดับความน่ าเชื่อถือ
ของผูอ้ อกตราสารหนี้ (company rating) ทีจ่ ดั ทําโดยสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือเพื่อประกอบการตัดสินใจลงทุน ถ้าผู้
ออกพันธบัตรได้รบั การจัดอัน ดับความน่ า เชื่อถือของผู้ออกตราสารหนี้ ท่ตี ่ํา แสดงว่าความเสี่ยงด้านเครดิตของผู้ออก
พันธบัตรสูง ผลตอบแทนที่ผลู้ งทุนได้รบั ควรจะสูงด้วยเพื่อชดเชยความเสีย่ งที่สงู ของของผูอ้ อกพันธบัตรดังกล่าว ทัง้ นี้ ใน
ระหว่างการเสนอขายพันธบัตร ผูอ้ อกพันธบัตรได้จดั ให้มกี ารจัดอันดับความน่าเชื่อถือของผูอ้ อกตราสารหนี้โดยสถาบันจัด
อันดับความน่ าเชื่อถือทีไ่ ด้รบั ความเห็นชอบจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และผูอ้ อก
พันธบัตรจะจัดให้มกี ารจัดอันดับความน่าเชื่อถือของผูอ้ อกพันธบัตรจากสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือทีส่ าํ นักงาน ก.ล.ต.
ให้ความเห็นชอบตลอดอายุของพันธบัตร ซึ่งผลการทบทวนการจัดอันดับความน่ าเชื่อถืออาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอด
อายุของพันธบัตร
2. ความเสี่ยงด้านราคา (Price Risk)
เมื่อผูถ้ อื พันธบัตรต้องการขายพันธบัตรก่อนวันครบกําหนดไถ่ถอนพันธบัตร พันธบัตรอาจขายได้ต่ํากว่ามูล
ค่าทีต่ ราไว้หรือราคาทีซ่ อ้ื มา ซึง่ เป็ นผลมาจากการเปลีย่ นแปลงของอัตราดอกเบีย้ ในตลาด กล่าวคือ หากอัตราดอกเบีย้ ของ
ตลาดสูงขึน้ ราคาพันธบัตรจะลดลง ทัง้ นี้ โดยทัวไปราคาของพั
่ นธบัตรที่มอี ายุคงเหลือยาวกว่าจะได้รบั ผลกระทบจากการ
เปลีย่ นแปลงอัตราดอกเบีย้ ในตลาดมากกว่า
3. ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (Liquidity Risk)
เมื่อผูถ้ อื พันธบัตรประสงค์จะขายพันธบัตรในตลาดรองก่อนครบกําหนดไถ่ถอนพันธบัตร ผูถ้ อื พันธบัตรอาจ
ไม่สามารถขายพันธบัตรได้ทนั ทีในราคาทีต่ นเองต้องการ เนื่องจากการซื้อขายเปลีย่ นมือของตราสารในตลาดรองอาจมีไม่
มาก ทัง้ นี้ผอู้ อกพันธบัตรไม่ได้นําพันธบัตรไปซือ้ ขายในตลาดตราสารหนี้ (BEX) ผูถ้ อื พันธบัตรสามารถซือ้ ขายพันธบัตรใน
ตลาดรองได้กบั ผูค้ า้ ตราสารหนี้

ส่วนที่ 2 ข้อมูลสรุป (Executive Summary) หน้าที่ 4


การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย

สรุปรายละเอียดพันธบัตรที่จะออกและเสนอขาย

โดยอาศัยอํานาจตามความใน มาตรา 9(7) แห่งพระราชบัญญัตกิ ารไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2511


(รวมทัง้ ทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติม) และความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2560 ตาม
หนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีท่ี นร 0505/30173 ฉบับลงวันที่ 14 กันยายน 2561มีมติอนุ มตั ใิ ห้ การไฟฟ้าฝา่ ยผลิต
แห่งประเทศไทยออกพันธบัตร
ในครัง้ นี้ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยมีความประสงค์ท่เี สนอขายพันธบัตรชนิดระบุช่อื ผูถ้ อื ไม่มปี ระกัน
ดังนี้

1) “พันธบัตรการไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2561 ครัง้ ที่ 3” (“พันธบัตรครัง้ ที่ 3”) อัตราดอกเบีย้ คงที่
ร้อยละ [●] ต่อปี ชําระดอกเบีย้ ทุก ๆ 6 เดือนตลอดอายุพนั ธบัตร มูลค่าทีต่ ราไว้หน่ วยละ 1,000 บาท ราคาที่
เสนอขายหน่วยละ 1,000 บาท จํานวนเสนอขายไม่เกิน [●] หน่วย มูลค่ารวม [●] บาท และ

2) “พันธบัตรการไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2561 ครัง้ ที่ 4”(“พันธบัตรครัง้ ที่ 4”) อัตราดอกเบีย้ คงทีร่ อ้ ยละ
[●] ต่อปี ชําระดอกเบีย้ ทุก ๆ 6 เดือนตลอดอายุพนั ธบัตร มูลค่าทีต่ ราไว้หน่วยละ 1,000 บาท ราคาทีเ่ สนอขาย
หน่วยละ 1,000 บาท จํานวนเสนอขายไม่เกิน [●] หน่วย มูลค่ารวม [●] บาท

ทัง้ นี้ วัตถุประสงค์ในการออกพันธบัตรดังกล่าว เพือ่ เป็ นทุนหมุนเวียนในการประกอบธุรกิจของการไฟฟ้าฝา่ ยผลิต


แห่งประเทศไทย และเพื่อทดแทนพันธบัตรเดิมที่ครบกําหนดไถ่ถอน และผู้ออกพันธบัตรได้จดั ให้มกี ารจัดอันดับความ
น่าเชื่อถือของผูอ้ อกพันธบัตร (company rating) โดยสถาบันจัดอันดับความน่าเชื่อถือทีไ่ ด้รบั ความเห็นชอบจากสํานักงาน
คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ("สํานักงาน ก.ล.ต.") ตลอดอายุพนั ธบัตร โดยผู้ออกพันธบัตรได้
แต่งตัง้ ให้บริษัท ทริสเรทติ้ง จํา กัด เป็ น ผู้ทําการจัดอันดับความน่ า เชื่อถือของผู้ออกตราสารหนี้ เผยแพร่เมื่อวันที่ 30
มิถุนายน พ.ศ. 2560 โดยผลการจัดอันดับที่ "AAA (tha)" แนวโน้มอันดับเครดิต "คงที"่ ทัง้ นี้ ตลอดอายุพนั ธบัตร ผูอ้ อก
พันธบัตรจะจัดให้มสี ถาบันจัดอันดับความน่ าเชื่อถือทีส่ าํ นักงาน ก.ล.ต. ให้มคี วามเห็นชอบทําการทบทวนผลการจัดอันดับ
ความน่ าเชื่อถือของผูอ้ อกพันธบัตร ซึง่ ผลการทบทวนการจัดอันดับความน่าเชื่อถืออาจมีการเปลีย่ นแปลงได้ตลอดอายุของ
พันธบัตร

ส่วนที่ 2 ข้อมูลสรุป (Executive Summary) หน้าที่ 5

You might also like