You are on page 1of 40

คำนำ

โรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 6 ได้จัดการเรียนการสอน
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุ
ง 2563) โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนไว้ 8
ประการ คือ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย
4. ใฝ่ เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความ
เป็ นไทย 8. มีจิตสาธารณะ เพื่อปลูกฝั งและพัฒนาผู้เรียนให้เป็ นผู้ที่มี
ความรู้คู่คุณธรรม มีคุณลักษณะที่ดีสำหรับการดำรงชีวิตในสังคม
โรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 6 จึงได้กำหนดเกณฑ์และ
แนวทางในการประเมินเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของหลักสูตร
โรงเรียน เพื่อเป็ นส่วนหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนต่อไป

งานทะเบียนและวัดผล
ฝ่ ายวิชาการ
สารบัญ

เรื่อง
หน้า
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 1
นิยาม ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ และเกณฑ์การให้คะแนน
2
เกณฑ์การประเมิน ข้อที่ 1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2
เกณฑ์การประเมิน ข้อที่ 2 ซื่อสัตย์สุจริต
3
เกณฑ์การประเมิน ข้อที่ 3 มีวินัย
4
เกณฑ์การประเมิน ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้
5
เกณฑ์การประเมิน ข้อที่ 5 อยู่อย่างพอเพียง
6
เกณฑ์การประเมิน ข้อที่ 6 มุ่งมั่นในการทำงาน
7
เกณฑ์การประเมิน ข้อที่ 7 รักความเป็ นไทย
8
เกณฑ์การประเมิน ข้อที่ 8 มีจิตสาธารณะ
9
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ข้อที่ 1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
10
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ข้อที่ 2 ซื่อสัตย์สุจริต
11
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ข้อที่ 3 มีวินัย
12
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้
13
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ข้อที่ 5 อยู่อย่างพอเพียง
14
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ข้อที่ 6 มุ่งมั่นในการทำงาน
15
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ข้อที่ 7 รักความเป็ นไทย
16
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ข้อที่ 8 มีจิตสาธารณะ
17
แบบสรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
18
คู่มือการใช้แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนสำหรับ
ครูผู้สอน
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551(ปรับปรุง 2563)
โรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 6
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้
กำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนไว้ 8 ประการ คือ 1. รัก
ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่ เรียนรู้ 5. อยู่
อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็ นไทย 8. มีจิต
สาธารณะ เพื่อปลูกฝั งและพัฒนาผู้เรียนให้เป็ นผู้ที่มีความรู้คู่คุณธรรม
มีคุณลักษณะที่ดีสำหรับการดำรงชีวิตในสังคม ซึ่งการประเมิน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น ต้องใช้ข้อมูลจากการสังเกตพฤติกรรมตาม
สภาพจริงตามบริบทของโรงเรียน ฉะนั้นครูผู้สอนจะต้องใช้เวลาในการ
สังเกตพฤติกรรมนักเรียนแต่ละคนเพื่อนำมาประเมินและตัดสินผล
กลุ่มบริหารวิชาการ จึงได้จัดทำคู่มือการประเมินคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของนักเรียนขึ้น เพื่อให้ครูประจำชั้นได้ใช้เป็ นแนวทางในการ
ประเมินที่เป็ นไปในรูปแบบและแนวทางอันเดียวกัน และส่งผลให้การ
ประเมินที่ได้ตรงตามมาตรฐาน ตามตัวชี้วัดตามที่หลักสูตรฯ กำหนด ดัง
นั้นในคู่มือฉบับนี้คุณครูประจำชั้นต้องดำเนินการ ดังนี้
1. ศึกษาคู่มือการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน
ทั้ง 8 ข้อ
2. ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน ทั้ง 8 ข้อ
ตามสภาพจริง (รูปแบบการประเมินใช้ตามสภาพจริงตามบริบทงานของ
โรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 6 เป็ นหลัก) ตามตัวชี้วัดของ
แต่ละข้อในคู่มือฯ
3. การให้ และกรอกคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของแต่ละ
ข้อตามตัวชี้วัด ให้กรอกเป็ นตัวเลข ระดับ 0, 1, 2 และ 3 ซึ่งตัวเลขมี
ความหมาย ดังนี้
ระดับคุณภาพ 3 หมายถึง ระดับดีเยี่ยม
ระดับคุณภาพ 2 หมายถึง ระดับดี
ระดับคุณภาพ 1 หมายถึง ระดับผ่าน
ระดับคุณภาพ 0 หมายถึง ระดับไม่ผ่าน
หมายเหตุ นักเรียนต้องได้รับการประเมินคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ ในระดับ 1 ขึ้นไปทุกข้อจึงจะอนุมัติให้ผ่านเกณฑ์การประเมิน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
4. คุณครูประจำชั้นตัดสินผลการประเมินคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของนักเรียน โดยใช้ตัวอักษร ผ หมายถึง ผ่านการประเมิน
ด้วยปากกาหมึกสีน้ำเงินหรือหมึกสีดำ และ มผ หมายถึง ไม่ผ่านการ
ประเมิน ด้วยปากกาหมึกสีแดง
5. คุณครูประจำชั้น ส่งแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของนักเรียน ที่ประธานคณะกรรมการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของโรงเรียนเพื่อลงลายมือชื่อ
6. ประธานคณะกรรมการการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของโรงเรียน ส่งแบบประเมินฯที่ หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ และผู้
อำนวยการโรงเรียนลงลายมือชื่ออนุมัติผลการประเมินเป็ นลำดับต่อไป

นิยาม ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ และเกณฑ์การให้คะแนน


ข้อที่ 1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
นิยาม
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการ
เป็ นพลเมืองดีของชาติ ธำรงไว้ซึ่งความเป็ นชาติไทย ศรัทธา ยึดมั่นใน
ศาสนา และเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์
ผู้ที่รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ คือ ผู้ที่มีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงการ
เป็ นพลเมืองดีของชาติ มีความสามัคคีปรองดอง ภูมิใจ เชิดชูความเป็ น
ชาติไทย ปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ และแสดงความจงรักภักดี
ต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้

ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้
1.1 เป็ นพลเมืองดีของ 1.1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ ร้องเพลงชาติ และ
ชาติ อธิบายความหมายของเพลงชาติได้ถูกต้อง
1.1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่พลเมืองดี
ของชาติ
1.1.3 มีความสามัคคี ปรองดอง
1.2 ธำรงไว้ซึ่งความเป็ น 1.2.1 เข้าร่วม ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมที่
ชาติไทย สร้างความสามัคคี ปรองดอง ที่เป็ นประโยชน์
ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม
1.2.2 หวงแหน ปกป้ อง ยกย่องความเป็ นชาติ
ไทย
1.3 ศรัทธา ยึดมั่น และ 1.3.1 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ
ปฏิบัติตนตามหลักของ 1.3.2 ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนาที่ตน
ศาสนา นับถือ
1.3.3 เป็ นแบบอย่างที่ดีของศาสนิกชน
1.4 เคารพเทิดทูน 1.4.1 เข้าร่วมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม
สถาบันพระมหากษัตริย์ ที่เกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์
1.4.2 แสดงความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ
ของพระมหากษัตริย์
1.4.3 แสดงออกซึ่งความจงรักภักดีต่อสถาบัน
พระมหากษัตริย์
เกณฑ์การให้คะแนน (ใช้ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมหน้าเสาธงของ
นักเรียนเป็ นเกณฑ์พิจารณา)

พฤติกรรมบ่ง ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)


ชี้
ตาม ข้อ 1.1 ไม่เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม
– 1.4 กิจกรรมหน้า กิจกรรม กิจกรรม กิจกรรม
เสาธง หรือ หน้าเสาธง หน้าเสาธง หน้าเสาธง
เข้าร่วม ร้อยละ 50 - ร้อยละ 60 - ร้อยละ 80
กิจกรรม 59 79 ขึ้นไป
ต่ำกว่าร้อยละ
50

ข้อที่
1 2 ซื่อสัตย์สุจริต
นิยาม
ซื่อสัตย์สุจริต หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นใน
ความถูกต้อง ประพฤติตรงตามความเป็ นจริงต่อตนเองและผู้อื่น ทั้งทาง
กาย วาจา ใจ
ผู้ที่มีความซื่อสัตย์สุจริต คือ ผู้ที่ประพฤติตรงตามความเป็ นจริง
ทั้งทางกาย วาจา ใจ และยึดหลักความจริง ความถูกต้องในการดำเนิน
ชีวิต มีความละอายและเกรงกลัวต่อการกระทำผิด

ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้

ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้
2.1 ประพฤติตรงตาม 2.1.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็ นจริง
ความเป็ นจริงต่อตนเอง 2.1.2 ปฏิบัติตนโดยคำนึงถึงความถูกต้อง
ทั้งทางกาย วาจา ใจ ละอาย และเกรงกลัวต่อการกระทำผิด
2.1.3 ปฏิบัติตามคำมั่นสัญญา
2.2 ประพฤติตรงตาม 2.2.1 ไม่ถือเอาสิ่งของหรือผลงานของผู้อื่นมา
ความเป็ นจริงต่อผู้อื่น เป็ นของตนเอง
ทั้งทางกาย วาจา ใจ 2.2.2 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง
2.2.3 ไม่หาประโยชน์ในทางที่ไม่ถูกต้อง

เกณฑ์การให้คะแนน (ใช้ข้อมูลจากการสังเกตตามสภาพจริงของครูผู้
สอน)

พฤติกรรมบ่ง ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)


ชี้
ตามข้อ 2.1 ไม่ให้ข้อมูลที่ ให้ข้อมูลที่ ให้ข้อมูลที่ ให้ข้อมูลที่
– 2.2 ถูกต้องและ ถูกต้องและ ถูกต้องและ ถูกต้องและ
เป็ นจริง เป็ นจริง เป็ นจริง เป็ นจริง
มีพฤติกรรม ไม่นำสิ่งของ ไม่นำสิ่งของ ไม่นำสิ่งของ
นำสิ่งของและ และผลงาน และผลงาน และผลงาน
ผลงานของผู้ ของผู้อื่นมา ของผู้อื่นมา ของผู้อื่นมา
อื่นมาเป็ นของ เป็ นของ เป็ นของ เป็ นของ
ตนเอง ตนเอง ตนเอง ตนเอง
ปฏิบัติตนต่อ ปฏิบัติตนต่อ
ผู้อื่นด้วย ผู้อื่นด้วย
ความซื่อตรง ความซื่อตรง
เป็ นแบบ
อย่างที่ดี
ด้านความ
ซื่อสัตย์

ข้อที่ 3 มีวินัย

นิยาม
มีวินัย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในข้อตกลง
กฎเกณฑ์ และระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคม
ผู้มีวินัย คือ ผู้ที่ปฏิบัติตนตามข้อตกลงกฎเกณฑ์ และระเบียบ ข้อ
บังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคมเป็ นปกติวิสัย ไม่ละเมิดสิทธิของ
ผู้อื่น

ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้

ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้
3.1 ปฏิบัติตามข้อ 3.1.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง ข้อตกลง กฎเกณฑ์
ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และ
ระเบียบ ข้อบังคับของ สังคม ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
ครอบครัว โรงเรียน 3.1.2 ตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ
และสังคม ในชีวิตประจำวัน และรับผิดชอบในการทำงาน
เกณฑ์การให้คะแนน (ใช้ข้อมูลจากการสังเกตตามสภาพจริงของครูผู้
สอน)

พฤติกรรมบ่ง ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)


ชี้
ตามข้อ 3.1 ไม่ปฏิบัติตน ปฏิบัติตน ปฏิบัติตน -ปฏิบัติตน
ตามข้อตกลง ตามข้อ ตามข้อ ตามข้อ
กฎเกณฑ์ ตกลง กฎ ตกลง กฎ ตกลง กฎ
ระเบียบ ข้อ เกณฑ์ เกณฑ์ เกณฑ์
บังคับของ ระเบียบ ข้อ ระเบียบ ข้อ ระเบียบ ข้อ
โรงเรียน และ บังคับของ บังคับของ บังคับของ
โรงเรียน ตรงต่อเวลา โรงเรียน
ตรงต่อเวลา ในการ และ ไม่
ในการ ปฏิบัติ ละเมิดสิทธิ
ปฏิบัติ กิจกรรม ของผู้อื่น
กิจกรรม และรับผิด -ตรงต่อเวลา
ชอบในการ ในการ
ทำงาน ปฏิบัติ
กิจกรรม
และรับผิด
ชอบในการ
ทำงาน
ข้อที่ 4 ใฝ่ เรียนรู้
นิยาม
ใฝ่ เรียนรู้ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียร
พยายามในการเรียน แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและ
ภายนอกโรงเรียน
ผู้ที่ใฝ่ เรียนรู้ คือ ผู้ที่มีลักษณะแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียร
พยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ แสวงหาความรู้จาก
แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอ ด้วยการเลือก
ใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็ นองค์ความรู้ แลก
เปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้
4.1 ตั้งใจ เพียร 4.1.1 ตั้งใจเรียน
พยายามในการเรียน 4.1.2 เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการ
และเข้าร่วมกิจกรรม เรียนรู้
การเรียนรู้ 4.1.3 สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ
4.2 แสวงหาความรู้ 4.2.1 ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ
จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่างๆ แหล่งเรียน
ทั้งภายในและภายนอก รู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน และเลือกใช้
โรงเรียน ด้วยการเลือก สื่อได้อย่างเหมาะสม
ใช้สื่ออย่างเหมาะสม 4.2.2 บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบจาก
บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็ นองค์ความรู้
สรุปเป็ นองค์ความรู้ 4.2.3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยวิธีการต่างๆ และ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
นำไปใช้ในชีวิตประจำ
วันได้
เกณฑ์การให้คะแนน (ใช้ข้อมูลจากการสังเกตตามสภาพจริงของครูผู้
สอน)
พฤติกรรมบ่ง ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
ชี้
ตามข้อ 4.1 – ไม่ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรง เข้าเรียนตรง เข้าเรียนตรง
4.2 ไม่ศึกษา เวลา ตั้งใจ เวลา ตั้งใจ เวลา ตั้งใจ
ค้นคว้า เรียน เอาใจ เรียน เอาใจ เรียน เอาใจ
หาความรู้ ใส่ในการ ใส่ในการ ใส่ในการ
เรียน และมี เรียน และมี เรียน และมี
ส่วนร่วมใน ส่วนร่วมใน ส่วนร่วมใน
การเรียนรู้ การเรียนรู้ การเรียนรู้
และเข้าร่วม และเข้าร่วม และเข้าร่วม
กิจกรรมการ กิจกรรมการ กิจกรรมการ
เรียนรู้ต่างๆ เรียนรู้ต่างๆ เรียนรู้ต่างๆ
เป็ นบางครั้ง บ่อยครั้ง ทั้งภายใน
และ
ภายนอก
โรงเรียนเป็ น
ประจำ

ข้อที่ 5 อยู่อย่างพอเพียง

นิยาม
อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการดำเนิน
ชีวิตอย่างพอประมาณ
มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี และปรับตัวเพื่ออยู่ใน
สังคมได้อย่างมีความสุข
ผู้ที่อยู่อย่างพอเพียง คือ ผู้ที่ดำเนินชีวิตอย่างประมาณตน มี
เหตุผล รอบคอบ ระมัดระวัง อยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยความรับผิดชอบ ไม่
เบียดเบียนผู้อื่น เห็นคุณค่าของทรัพยากรต่างๆ มีการวางแผนป้ องกัน
ความเสี่ยง และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้
5.1 ดำเนินชีวิตอย่าง 5.1.1 ใช้ทรัพย์สินของตนเอง เช่น เงิน สิ่งของ
พอประมาณ มีเหตุผล เครื่องใช้ ฯลฯ อย่างประหยัดคุ้มค่า และเก็บ
รอบคอบ มีคุณธรรม รักษาดูแลอย่างดี รวมทั้งการใช้เวลาอย่าง
เหมาะสม
5.1.2 ใช้ทรัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยัด
คุ้มค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี
5.1.3 ปฏิบัติตนและตัดสินใจด้วยความ
รอบคอบ มีเหตุผล
5.1.4 ไม่เอาเปรียบผู้อื่น และไม่ทำให้ผู้อื่น
เดือดร้อน พร้อมให้อภัยเมื่อผู้อื่นกระทำผิด
พลาด
5.2 มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ 5.2.1 วางแผนการเรียน การทำงาน และการ
ดี ปรับตัวเพื่ออยู่ใน ใช้ชีวิตประจำวันบนพื้นฐานของความรู้ ข้อมูล
สังคมได้อย่างมีความสุข ข่าวสาร
5.2.2 รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ
สภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตัวเพื่ออยู่ร่วม
กับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
เกณฑ์การให้คะแนน (ใช้ข้อมูลจากการสังเกตตามสภาพจริงของครูผู้
สอน)
พฤติกรรมบ่ง ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
ชี้
ตามข้อ 5.1 – ใช้เงินและ ใช้ทรัพย์สิน ใช้ทรัพย์สิน ใช้ทรัพย์สิน
5.2 ของใช้ส่วนตัว ของตนเอง ของตนเอง ของตนเอง
และส่วนรวม และทรัพยากร และทรัพยากร และทรัพยากร
อย่างไม่ ของส่วนรวม ของส่วนรวม ของส่วนรวม
ประหยัด อย่างประหยัด อย่างประหยัด อย่างประหยัด
ไม่มีการ คุ้มค่า เก็บ คุ้มค่า เก็บ คุ้มค่า เก็บ
วางแผนการ รักษาดูแล รักษาดูแล รักษาดูแล
เรียนและการ อย่างดี อย่างดี ไม่เอา อย่างดี ไม่เอา
ใช้ชีวิตประจำ เปรียบผู้อื่น เปรียบผู้อื่น
วัน ใช้ความรู้ และไม่ทำให้ผู้
ข้อมูลข่าวสาร อื่นเดือดร้อน
ในการ ใช้ความรู้
วางแผนการ ข้อมูลข่าวสาร
เรียน และการ ในการ
ทำงาน วางแผนการ
เรียน การ
ทำงาน และใช้
ในชีวิตประจำ
วัน

ข้อที่ 6 มุ่งมั่นในการทำงาน
นิยาม
มุ่งมั่นในการทำงาน หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความ
ตั้งใจ และรับผิดชอบในการทำหน้าที่การงานด้วยความเพียรพยายาม
อดทน เพื่อให้งานสำเร็จตามเป้ าหมาย
ผู้ที่มุ่งมั่นในการทำงาน คือ ผู้ที่มีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงความ
ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายด้วยความเพียรพยายาม ทุ่มเทกำลัง
กาย กำลังใจ ในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ให้สำเร็จลุล่วงตามเป้ าหมายที่
กำหนดด้วยความรับผิดชอบ และมีความภาคภูมิใจในผลงาน

ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้
6.1 ตั้งใจและรับผิด 6.1.1 เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบ
ชอบในการปฏิบัติ หมาย
หน้าที่การงาน 6.1.2 ตั้งใจและรับผิดชอบในการทำงานให้แล้ว
เสร็จ
6.2 ทำงานด้วยความ 6.1.3 ปรับปรุงและพัฒนาการทำงานด้วย
เพียรพยายาม และ ตนเอง
อดทนเพื่อให้งานสำเร็จ 6.2.1 ทุ่มเททำงาน อดทน ไม่ย่อท้อต่อปั ญหา
ตามเป้ าหมาย และอุปสรรคในการทำงาน
6.2.2 พยายามแก้ปั ญหาและอุปสรรคในการ
ทำงานให้แล้วเสร็จ
6.2.3 ชื่นชมผลงานด้วยความภาคภูมิใจ

เกณฑ์การให้คะแนน (ใช้ข้อมูลจากการสังเกตตามสภาพจริงของครูผู้
สอน)
พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
(0)
ตามข้อ 6.1 – ไม่ตั้งใจ ตั้งใจและรับ ตั้งใจและรับ ตั้งใจและรับ
6.2 ปฏิบัติ ผิดชอบใน ผิดชอบใน ผิดชอบใน
หน้าที่การ การปฏิบัติ การปฏิบัติ การปฏิบัติ
งาน หน้าที่ที่ได้ หน้าที่ที่ได้ หน้าที่ที่ได้
รับมอบ รับมอบ รับมอบ
หมายให้ หมายให้ หมายให้
สำเร็จ สำเร็จ มีการ สำเร็จ มีการ
ปรับปรุง ปรับปรุง
และ และ
พัฒนาการ พัฒนาการ
ทำงานให้ดี ทำงานให้ดี
ขึ้น ขึ้นภายใน
เวลาที่
กำหนด

ข้อที่ 7 รักความเป็ นไทย


นิยาม
รักความเป็ นไทย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความภาค
ภูมิใจ เห็นคุณค่า ร่วมอนุรักษ์สืบทอดภูมิปั ญญาไทย ขนบธรรมเนียม
ประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง
และเหมาะสม
ผู้ที่รักความเป็ นไทย คือ ผู้ที่มีความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ชื่นชม
มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ สืบทอด เผยแพร่ภูมิปั ญญาไทย ขนบธรรมเนียม
ประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรมไทย มีความกตัญญูกตเวที ใช้ภาษาไทยใน
การสื่อสารอย่างถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้
7.1 ภาคภูมิใจใน 7.1.1 แต่งกายและมีมารยาทงดงามแบบไทย
ขนบธรรมเนียม มีสัมมาคารวะ กตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ
ประเพณี ศิลปะ 7.1.2 ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับประเพณี
วัฒนธรรมไทย และมี ศิลปะ และวัฒนธรรมไทย
ความกตัญญูกตเวที 7.1.3 ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นปฏิบัติตาม
ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม
ไทย
7.2 เห็นคุณค่าและใช้ 7.2.1.ใช้ภาษาไทยและเลขไทยในการสื่อสารได้
ภาษาไทยในการสื่อสาร อย่างถูกต้องเหมาะสม
ได้อย่างถูกต้องเหมาะ 7.2.2 ชักชวน แนะนำให้ผู้อื่นเห็นคุณค่าของการ
สม ใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง
7.3 อนุรักษ์และ 7.3.1 นำภูมิปั ญญาไทยมาใช้ให้เหมาะสมในวิถี
สืบทอดภูมิปั ญญาไทย ชีวิต
7.3.2 ร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปั ญญาไทย
7.3.3 แนะนำ มีส่วนร่วมในการสืบทอด
ภูมิปั ญญาไทย

เกณฑ์การให้คะแนน (ใช้ข้อมูลจากการสังเกตตามสภาพจริงของครูผู้
สอน)
พฤติกรรมบ่ง ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
ชี้
ตามข้อ 7.1 – ไม่มีสัมมา มีสัมมาคารวะ มีสัมมาคารวะ มีสัมมาคารวะ
7.3 คารวะต่อครู ต่อครูอาจารย์ ต่อครูอาจารย์ ต่อครูอาจารย์
อาจารย์ ใช้ภาษาไทย ปฏิบัติตนเป็ น ปฏิบัติตนเป็ น
เลขไทยในการ ผู้มีมารยาท ผู้มีมารยาท
สื่อสารได้ถูก แบบไทย แบบไทย
ต้อง ใช้ภาษาไทย ใช้ภาษาไทย
เลขไทยในการ เลขไทยในการ
สื่อสารได้ถูก สื่อสารได้ถูก
ต้อง ต้อง
เข้าร่วม เข้าร่วม
กิจกรรมที่ กิจกรรมที่
เกี่ยวข้องกับ เกี่ยวข้องกับ
ภูมิปั ญญาไทย ภูมิปั ญญาไทย
และมีส่วนร่วม
ในการสืบทอด
ภูมิปั ญญาไทย

ข้อที่ 8 มีจิตสาธารณะ
นิยาม
มีจิตสาธารณะ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการมีส่วน
ร่วมในกิจกรรมหรือสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อื่น ชุมชน และ
สังคม ด้วยความเต็มใจ กระตือรือร้น โดยไม่หวังผลตอบแทน
ผู้ที่มีจิตสาธารณะ คือ ผู้ที่มีลักษณะเป็ นผู้ให้และช่วยเหลือผู้อื่น
แบ่งปั นความสุขส่วนตนเพื่อทำประโยชน์แก่ส่วนรวม เข้าใจ เห็นใจผู้ที่มี
ความเดือดร้อน อาสาช่วยเหลือสังคม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมด้วยแรงกาย
สติปั ญญา ลงมือปฏิบัติเพื่อแก้ปั ญหา หรือร่วมสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงามให้เกิด
ในชุมชน โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน

ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้
8.1 ช่วยเหลือผู้อื่นด้วย 8.1.1 ช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูทำงานด้วย
ความเต็มใจ ความเต็มใจ
และพึงพอใจโดยไม่หวัง 8.1.2 อาสาทำงานให้ผู้อื่นด้วยกำลังกาย กำลัง
ผลตอบแทน ใจ และกำลังสติปั ญญาโดยไม่หวังผลตอบแทน
8.1.3 แบ่งปั นสิ่งของ ทรัพย์สิน และอื่นๆ และ
ช่วยแก้ปั ญหาหรือสร้างความสุขให้กับผู้อื่น
8.2 เข้าร่วมกิจกรรมที่ 8.2.1 ดูแล รักษาสาธารณสมบัติและสิ่ง
เป็ นประโยชน์ต่อ แวดล้อมด้วยความเต็มใจ
โรงเรียน ชุมชน และ 8.2.2 เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อ
สังคม โรงเรียน ชุมชน และสังคม
8.2.3 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อแก้ปั ญหาหรือร่วม
สร้างสิ่งที่ดีงามของส่วนรวมตามสถานการณ์ที่
เกิดขึ้นด้วยความกระตือรือร้น

เกณฑ์การให้คะแนน (ใช้ข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมการดูแลเขตพื้นที่
ของนักเรียนเป็ นเกณฑ์พิจารณา)
พฤติกรรมบ่ง ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม (3)
ชี้
ตามข้อ 8.1 เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม เข้าร่วม
– 8.2 กิจกรรม กิจกรรมการ กิจกรรมการ กิจกรรมการ
การดูแลรักษา ดูแลรักษา ดูแลรักษา ดูแลรักษา
เขตพื้นที่ ที่ เขตพื้นที่ที่ เขตพื้นที่ที่ เขตพื้นที่ที่
ตนรับผิดชอบ ตนรับผิด ตนรับผิด ตนรับผิด
ต่ำกว่า ร้อย ชอบ ร้อยละ ชอบ ร้อยละ ชอบ ร้อยละ
ละ 50 50 - 59 60 - 79 80 ขึ้นไป
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

ข้อที่ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์


ตัวชี้วัดที่ 1.1 เป็ นพลเมืองดีของชาติ ตัวชี้วัดที่ 1.3 ศรัทธา ยึด
มั่น และปฏิบัติตนตามหลักของศาสนา
ตัวชี้วัดที่ 1.2 ธำรงไว้ซึ่งความเป็ นชาติไทย ตัวชี้วัดที่ 1.4 เคารพ
เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์

ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่ ตัวชี้วัดที่


ตัวชี้วัดที่ 1.4 ผล
1.1 1.2 1.3
เลข ประเมิ
ชื่อ – สกุล คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
ที่ น
3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0

เด็กชายธนกร
1
พิศภาค
เด็กชายชญานนท์
2
สิทธิพรม
เด็กชายธีรภัทร
3
พรมมาบุตร
เด็กชายนันทกร
4
สิทธิปั ญญา
เด็กชายพงศ์ธิวัฒน์
5
งบสุวรรณ
เด็กชายภัทรพล
6
จันทร์มณี
เด็กชายสุวิทวัส
7
บัวเลิศ
เด็กชายอภิรุจ
8
สุฤทธิ์
9 เด็กหญิงกันยา
แซ่จิ่ว
เด็กหญิงธันยา อมร
10
วัฒนชัยกุล
เด็กหญิงธันย์ชนก
11
บุญมี
เด็กหญิงสุภัสสร
12
อินทวงษ์
เด็กชายนัทพงษ์
13
บัวนาค
เด็กชายวรกันต์
14
ย่อภูเขาสูง
เด็กชายวรวิช กาญ
15
จนประภาส
เด็กหญิงสุนิสา ไทร
16
ใหญ่
เด็กหญิงอาทิตยา
17
โพธิ์แก้ว
เด็กชายวรรณถกล
18
สีดาวัน
เด็กชายวรวุฒิ สุขสุ
19
วานนท์
20
21
22
23
24
25
ลงชื่อ...................................................
...ผู้ประเมิน
(.....................................................
.)

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
2. ซื่อสัตย์สุจริต
ตัวชี้วัดที่ 2.1 ประพฤติตรงตามความเป็ นจริงต่อตนเองทั้งทางกาย วาจาใจ
ตัวชี้วัดที่ 2.2 ประพฤติตรงตามความเป็ นจริงต่อผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ

ตัวชี้วัดที่ 2.1 ตัวชี้วัดที่ 2.2 ผล


เลข ประเมิ
ชื่อ – สกุล คะแนน คะแนน
ที่ น
3 2 1 0 3 2 1 0
1 เด็กชายธนกร
พิศภาค
2 เด็กชายชญานนท์
สิทธิพรม
3 เด็กชายธีรภัทร พรม
มาบุตร
4 เด็กชายนันทกร สิทธิ
ปั ญญา
5 เด็กชายพงศ์ธิวัฒน์ งบ
สุวรรณ
6 เด็กชายภัทรพล
จันทร์มณี
7 เด็กชายสุวิทวัส บัว
เลิศ
8 เด็กชายอภิรุจ สุ
ฤทธิ์
9 เด็กหญิงกันยา แซ่
จิ่ว
10 เด็กหญิงธันยา อมร
วัฒนชัยกุล
11 เด็กหญิงธันย์ชนก บุญ
มี
12 เด็กหญิงสุภัสสร อิน
ทวงษ์
13 เด็กชายนัทพงษ์ บัว
นาค
14 เด็กชายวรกันต์ ย่อ
ภูเขาสูง
15 เด็กชายวรวิช กาญจน
ประภาส
16 เด็กหญิงสุนิสา ไทร
ใหญ่
17 เด็กหญิงอาทิตยา
โพธิ์แก้ว
18 เด็กชายวรรณถกล สี
ดาวัน
19 เด็กชายวรวุฒิ สุขสุวา
นนท์
20
21
22
23
24
25

ลงชื่อ...................................................
...ผู้ประเมิน
(.....................................................
.)
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

3. มีวินัย
ตัวชี้วัดที่ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว
โรงเรียนและสังคม

ตัวชี้วัดที่ 3.1 ผล
เลข
ชื่อ – สกุล คะแนน ประเมิน
ที่
3 2 1 0
1 เด็กชายธนกร พิศ
ภาค
2 เด็กชายชญานนท์ สิทธิ
พรม
3 เด็กชายธีรภัทร พรมมา
บุตร
4 เด็กชายนันทกร สิทธิ
ปั ญญา
5 เด็กชายพงศ์ธิวัฒน์ งบ
สุวรรณ
6 เด็กชายภัทรพล จันทร์
มณี
7 เด็กชายสุวิทวัส บัว
เลิศ
8 เด็กชายอภิรุจ สุฤทธิ์
9 เด็กหญิงกันยา แซ่จิ่ว
10 เด็กหญิงธันยา อมรวัฒน
ชัยกุล
11 เด็กหญิงธันย์ชนก บุญมี
12 เด็กหญิงสุภัสสร อิน
ทวงษ์
13 เด็กชายนัทพงษ์ บัว
นาค
14 เด็กชายวรกันต์ ย่อ
ภูเขาสูง
15 เด็กชายวรวิช กาญจน
ประภาส
16 เด็กหญิงสุนิสา ไทรใหญ่
17 เด็กหญิงอาทิตยา
โพธิ์แก้ว
18 เด็กชายวรรณถกล สีดา
วัน
19 เด็กชายวรวุฒิ สุขสุวา
นนท์
20
21
22
23
24
25
ลงชื่อ...................................................
...ผู้ประเมิน
(.....................................................
.)

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
4. ใฝ่ เรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตั้งใจ เพียงพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 4.2 แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็ นองค์ความรู้
สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัดที่ 4.1 ตัวชี้วัดที่ 4.2 ผล
เลข ประเมิ
ชื่อ – สกุล คะแนน คะแนน
ที่ น
3 2 1 0 3 2 1 0
1 เด็กชายธนกร
พิศภาค
2 เด็กชายชญานนท์
สิทธิพรม
3 เด็กชายธีรภัทร พรม
มาบุตร
4 เด็กชายนันทกร สิทธิ
ปั ญญา
5 เด็กชายพงศ์ธิวัฒน์ งบ
สุวรรณ
6 เด็กชายภัทรพล
จันทร์มณี
7 เด็กชายสุวิทวัส บัว
เลิศ
8 เด็กชายอภิรุจ สุ
ฤทธิ์
9 เด็กหญิงกันยา แซ่
จิ่ว
10 เด็กหญิงธันยา อมร
วัฒนชัยกุล
11 เด็กหญิงธันย์ชนก บุญ
มี
12 เด็กหญิงสุภัสสร อิน
ทวงษ์
13 เด็กชายนัทพงษ์ บัว
นาค
14 เด็กชายวรกันต์ ย่อ
ภูเขาสูง
15 เด็กชายวรวิช กาญจน
ประภาส
16 เด็กหญิงสุนิสา ไทร
ใหญ่
17 เด็กหญิงอาทิตยา
โพธิ์แก้ว
18 เด็กชายวรรณถกล สี
ดาวัน
19 เด็กชายวรวุฒิ สุขสุวา
นนท์
20
21
22
23
24
25

ลงชื่อ...................................................
...ผู้ประเมิน
(.....................................................
.)

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
5. อยู่อย่างพอเพียง
ตัวชี้วัดที่ 5.1 ดำเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม
ตัวชี้วัดที่ 5.2 มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

ตัวชี้วัดที่ 5.1 ตัวชี้วัดที่ 5.2 ผล


เลข ประเมิ
ชื่อ – สกุล คะแนน คะแนน
ที่ น
3 2 1 0 3 2 1 0
1 เด็กชายธนกร
พิศภาค
2 เด็กชายชญานนท์
สิทธิพรม
3 เด็กชายธีรภัทร พรม
มาบุตร
4 เด็กชายนันทกร สิทธิ
ปั ญญา
5 เด็กชายพงศ์ธิวัฒน์ งบ
สุวรรณ
6 เด็กชายภัทรพล
จันทร์มณี
7 เด็กชายสุวิทวัส บัว
เลิศ
8 เด็กชายอภิรุจ สุ
ฤทธิ์
9 เด็กหญิงกันยา แซ่
จิ่ว
10 เด็กหญิงธันยา อมร
วัฒนชัยกุล
11 เด็กหญิงธันย์ชนก บุญ
มี
12 เด็กหญิงสุภัสสร อิน
ทวงษ์
13 เด็กชายนัทพงษ์ บัว
นาค
14 เด็กชายวรกันต์ ย่อ
ภูเขาสูง
15 เด็กชายวรวิช กาญจน
ประภาส
16 เด็กหญิงสุนิสา ไทร
ใหญ่
17 เด็กหญิงอาทิตยา
โพธิ์แก้ว
18 เด็กชายวรรณถกล สี
ดาวัน
19 เด็กชายวรวุฒิ สุขสุวา
นนท์
20
21
22
23
24
25

ลงชื่อ...................................................
...ผู้ประเมิน
(.....................................................
.)

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
6. มุ่งมั่นในการทำงาน
ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน
ตัวชี้วัดที่ 6.2 ทำงานด้วยความเพียงพยายามและอดทนเพื่อให้งานสำเร็จตามเป้ า
หมาย

ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตัวชี้วัดที่ 6.2 ผล


เลข ประเมิ
ชื่อ – สกุล คะแนน คะแนน
ที่ น
3 2 1 0 3 2 1 0
1 เด็กชายธนกร
พิศภาค
2 เด็กชายชญานนท์
สิทธิพรม
3 เด็กชายธีรภัทร พรม
มาบุตร
4 เด็กชายนันทกร สิทธิ
ปั ญญา
5 เด็กชายพงศ์ธิวัฒน์ งบ
สุวรรณ
6 เด็กชายภัทรพล
จันทร์มณี
7 เด็กชายสุวิทวัส บัว
เลิศ
8 เด็กชายอภิรุจ สุ
ฤทธิ์
9 เด็กหญิงกันยา แซ่
จิ่ว
10 เด็กหญิงธันยา อมร
วัฒนชัยกุล
11 เด็กหญิงธันย์ชนก บุญ
มี
12 เด็กหญิงสุภัสสร อิน
ทวงษ์
13 เด็กชายนัทพงษ์ บัว
นาค
14 เด็กชายวรกันต์ ย่อ
ภูเขาสูง
15 เด็กชายวรวิช กาญจน
ประภาส
16 เด็กหญิงสุนิสา ไทร
ใหญ่
17 เด็กหญิงอาทิตยา
โพธิ์แก้ว
18 เด็กชายวรรณถกล สี
ดาวัน
19 เด็กชายวรวุฒิ สุขสุวา
นนท์
20
21
22
23
24
25

ลงชื่อ...................................................
...ผู้ประเมิน
(.....................................................
.)

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
7. รักความเป็ นไทย
ตัวชี้วัดที่ 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทยและมี
ความกตัญญูกตเวที
ตัวชี้วัดที่ 7.2 เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัดที่ 7.3 อนุรักษ์และสืบทอดภูมิปั ญญาไทย

ตัวชี้วัดที่ 7.1 ตัวชี้วัดที่ 7.2 ตัวชี้วัดที่ 7.3 ผล


เล คะแนน คะแนน คะแนน ประเมิ
ชื่อ – สกุล
ขที่ 3 2 1 0 3 2 1 0 3 2 1 0 น

เด็กชายธนกร
1
พิศภาค
เด็กชายชญานนท์
2
สิทธิพรม
เด็กชายธีรภัทร
3
พรมมาบุตร
เด็กชายนันทกร
4
สิทธิปั ญญา
เด็กชายพงศ์ธิวัฒน์
5
งบสุวรรณ
เด็กชายภัทรพล
6
จันทร์มณี
เด็กชายสุวิทวัส
7
บัวเลิศ
เด็กชายอภิรุจ
8
สุฤทธิ์
เด็กหญิงกันยา
9
แซ่จิ่ว
1 เด็กหญิงธันยา อมร
0 วัฒนชัยกุล
1 เด็กหญิงธันย์ชนก
1 บุญมี
1 เด็กหญิงสุภัสสร
2 อินทวงษ์
1 เด็กชายนัทพงษ์
3 บัวนาค
1 เด็กชายวรกันต์
4 ย่อภูเขาสูง
1 เด็กชายวรวิช กาญ
5 จนประภาส
1 เด็กหญิงสุนิสา ไทร
6 ใหญ่
1 เด็กหญิงอาทิตยา
7 โพธิ์แก้ว
1 เด็กชายวรรณถกล
8 สีดาวัน
1 เด็กชายวรวุฒิ สุขสุ
9 วานนท์
2
0
2
1
2
2
2
3
2
4
2
5

ลงชื่อ...................................................
...ผู้ประเมิน
(.....................................................
.)

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
8. มีจิตสาธารณะ
ตัวชี้วัดที่ 8.1 ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความเต็มใจและพึงพอใจ โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน
ตัวชี้วัดที่ 8.2 เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม
ตัวชี้วัดที่ 6.1 ตัวชี้วัดที่ 6.2 ผล
เลข ประเมิ
ชื่อ – สกุล คะแนน คะแนน
ที่ น
3 2 1 0 3 2 1 0
1 เด็กชายธนกร
พิศภาค
2 เด็กชายชญานนท์
สิทธิพรม
3 เด็กชายธีรภัทร พรม
มาบุตร
4 เด็กชายนันทกร สิทธิ
ปั ญญา
5 เด็กชายพงศ์ธิวัฒน์ งบ
สุวรรณ
6 เด็กชายภัทรพล
จันทร์มณี
7 เด็กชายสุวิทวัส บัว
เลิศ
8 เด็กชายอภิรุจ สุ
ฤทธิ์
9 เด็กหญิงกันยา แซ่
จิ่ว
10 เด็กหญิงธันยา อมร
วัฒนชัยกุล
11 เด็กหญิงธันย์ชนก บุญ
มี
12 เด็กหญิงสุภัสสร อิน
ทวงษ์
13 เด็กชายนัทพงษ์ บัว
นาค
14 เด็กชายวรกันต์ ย่อ
ภูเขาสูง
15 เด็กชายวรวิช กาญจน
ประภาส
16 เด็กหญิงสุนิสา ไทร
ใหญ่
17 เด็กหญิงอาทิตยา
โพธิ์แก้ว
18 เด็กชายวรรณถกล สี
ดาวัน
19 เด็กชายวรวุฒิ สุขสุวา
นนท์
20
21
22
23
24
25

ลงชื่อ...................................................
...ผู้ประเมิน
(.....................................................
.)
แบบสรุปผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์

ที่ ชื่อ สกุล การประเมินการอ่าน รวม ผล


คิด วิเคราะห์ ข้อที่ ประเมิน
1 2 3 4 5
1 เด็กชายธนกร
พิศภาค
2 เด็กชายชญานนท์
สิทธิพรม
3 เด็กชายธีรภัทร พรม
มาบุตร
4 เด็กชายนันทกร สิทธิ
ปั ญญา
5 เด็กชายพงศ์ธิวัฒน์ งบ
สุวรรณ
6 เด็กชายภัทรพล
จันทร์มณี
7 เด็กชายสุวิทวัส บัว
เลิศ
8 เด็กชายอภิรุจ สุ
ฤทธิ์
9 เด็กหญิงกันยา แซ่
จิ่ว
10 เด็กหญิงธันยา อมร
วัฒนชัยกุล
11 เด็กหญิงธันย์ชนก
บุญมี
12 เด็กหญิงสุภัสสร
อินทวงษ์
13 เด็กชายนัทพงษ์ บัว
นาค
14 เด็กชายวรกันต์ ย่อ
ภูเขาสูง
15 เด็กชายวรวิช กาญจน
ประภาส
16 เด็กหญิงสุนิสา ไทร
ใหญ่
17 เด็กหญิงอาทิตยา
โพธิ์แก้ว
18 เด็กชายวรรณถกล สี
ดาวัน
19 เด็กชายวรวุฒิ สุขสุ
วานนท์
20
21
22
23
24
ดีเยี่ยม ร้อย
จำนวน...................
สรุปผล
ละ........................
การ .......................คน
...................
ประเมิน
ดี ร้อย
จำนวน...................
ละ........................
.......................คน
...................
ผ่าน ร้อย
จำนวน...................
.......................คน ละ........................

...................
ไม่ผ่าน ร้อย
จำนวน...................
ละ........................
.......................คน
...................

ลงชื่อ...................................................
...ผู้ประเมิน
(นางสาวชรินรัตน์ สุขสาคร)

…………/……………/…………….

You might also like