You are on page 1of 8

7

การปลูกสะระแหน่
วสันต์ ชุณห์วิจิตรา
ฝ่ายส่งเสริมและเผยแพร่ ส�ำนักส่งเสริมและฝึกอบรม
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
“สะระแหน่” ผักสามัญประจ�ำครัวที่ขาดไม่ได้ เนื่องจากมีกลิ่นหอมสีเขียวสดเหมาะแก่การน�ำมา
ปรุงอาหารและตกแต่งอาหารให้มี สีสนั น่ารับประทานมากยิง่ ขึน้ คุณสมบัตกิ ลิน่ หอมสดชืน่ มีสาร “อะโรมา
ทรลาฟี” ช่วยผ่อนคลายอีกด้วย สรรพคุณทางสมุนไพรของสะระแหน่ทางยาช่วยดับร้อน ถอนพิษไข้ ขับลม
ขับเหงื่อ รักษาอาการขับลมร้อน ใช้ผสมยาหรือยาอมเพื่อให้เย็นชุ่มคอ รักษาอาการปวดศีรษะ ปวดเป็น
เลือด แก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย ช่วยห้ามเลือดก�ำเดาได้ รักษาอาการปวดหู ตลอดจนรักษาอาการหน้ามืด
ตาลาย ส่วนคุณประโยชน์ด้านอุตสาหกรรมมากมายไม่แพ้กันเลยทีเดียว โดยนิยมน�ำสะระแหน่มาแปรรูป
ท�ำเป็นหมากฝรั่ง ลูกอมต่าง ๆ ที่เราเห็นเป็นรสชาติ Mint นั่นเอง
สะระแหน่ (Kitchen Mint) คือ พืชสมุนไพรในตระกูลมินต์ อยู่ในวงศ์กะเพรา ซึ่งมีแหล่งก�ำเนิด
มาจากฝั่งยุโรปตอนใต้ และในแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ต้นที่โตเต็มที่จะมีความสูงประมาณ 70-150
เซนติเมตร ใบจะมีลักษณะคล้ายกับพืชในตระกูลมินต์ กลิ่นหอมคล้ายใบมะนาว จะมีดอกในช่วงปลายฤดู
ร้อนของทุกปี ซึง่ ดอกนัน้ จะมีสขี าว เต็มไปด้วยน�ำ้ หวาน และน�ำ้ หอม ซึง่ จะเป็นทีด่ งึ ดูดให้ผงึ้ มาดูดน�ำ้ หวาน
ด้วยเหตุนี้จึงท�ำให้ สะระแหน่ อยู่ในสกุลเมลิสซา (Melissa) ที่ในภาษากรีก แปลว่า “น�้ำผึ้ง” นอกจากนี้
สะระแหน่ยังมีรสชาติคล้ายคลึงกับ มะนาว แอลกอฮอล์ และตะไคร้หอมอีกด้วย
สะระแหน่อยู่ในวงศ์เดียวกันกับกะเพรา โหระพา และแมงลัก อยู่ในสกุลเบซิล ( basils) แต่อยู่
กันคนละสกุล (Genas) สะระแหน่อยู่ในสกุลมินต์เพราะเป็นพืชที่มีน�้ำมันหอมระเหยอันประกอบด้วยสาร
เมนทอล (menthol) อยู่สูง ซึ่งสะระแหน่ คือ มินต์ส�ำหรับท�ำอาหารเป็นผักที่มีกลิ่นดีที่ถ้าขาดไปอาหาร
หลายอย่างคงหมดคนนิยมไปเลย นิยมใช้รับประทาน หรือจะใช้เป็นยารักษาโรคก็ได้ และใช้เป็นส่วน
ประกอบของอาหารจ�ำพวกลาบน�ำ้ ตกซุปซึง่ จะท�ำให้อาหารมีรสชาติดขี นึ้ และเพิม่ กลิน่ ให้ยงิ่ น่ารับประทาน
นอกจากนีส้ ะระแหน่ยงั เป็นสมุนไพรอีกชนิดหนึง่ ทีเ่ ป็นอาหารเพือ่ สุขภาพได้เป็นอย่างดีและได้มกี ารน�ำเอา
สะระแหน่มาปรุงยาทางการแพทย์แผนไทยหลากหลายชนิด เนื่องจากเป็นสมุนไพรที่มีสรรพคุณทางยา
รักษาโรคได้หลากหลายขนานที่นอกเหนือจากการใช้เพื่อปรุงอาหารในครัวเรือนทั่วไป
ชื่อวิทยาศาสตร์แต่เดิมของสะระแหน่แต่เดิมใช้ค�ำว่า Mentha aruensis Linn แต่ก็มีบางท่าน
แย้งว่า M.aruensis นั้นเป็นชื่อของมินต์ญี่ปุ่น ซึ่งแตกต่างจากสะระแหน่ของเรามาก Mentha มีอยู่หลาย
ชนิดด้วยกัน ชนิดที่ใช้ท�ำอาหาร เรียกว่า garden mint หรือ spearmint มินท์มีกลิ่นหอมเย็นเพราะมี

KASETSART EXTENSION JOURNAL


VOLUME 60 ISSUE 2 : October 2014 - January 2015
75
สารเมนทอลแต่ที่ใช้กินกันไม่มีเมนทอลมากนัก มินท์ที่น�ำไปสกัดเอาเมนทอลเป็นพันธุ์เฉพาะที่มีปลูกมาก
ในญี่ปุ่น พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถานจึงใช้ค�ำว่า Mentha cordifolia Opiz

ลักษณะทั่วไป
ชื่อสามัญ : Menthe kitchen mint
ชือ่ ท้องถิน่ /ชือ่ พืน้ เมือง : หอมด่วน หอมเดือน ( ภาคเหนือ ) มักเงาะ สะแน่ ( ภาคใต้ ) สะระแหน่
สวน ( ภาคกลาง ) ป้อห่อ สะระแหน่สวน ( ภาคกลาง ) มักเงาะ สะแน่ ( ภาคใต้ ) หอมด่วน หอมเตือน
( ภาคเหนือ )
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Metha cordifolia Opiz., Mentha aruensis Linn Metha cordifolia
Opiz.,M. viridis Linn. (Common spearmint),M. piperita (Peppermint Oil, Lamb Mint Oil
Brandy, Mint Oil, American
Family / วงศ์ : LABIATAE
ORDER : LAMIALES

ประวัติและที่มาของชื่อสะระแหน่
แม้จะดูคุ้นเคยกับชีวิตคนไทยเป็นอย่างดี แต่สะระแหน่ก็ไม่ใช่พืชที่มีถิ่นก�ำเนิดอยู่ในเขตร้อนบ้าน
เรา แต่กลายเป็นพืชทีม่ กี ารน�ำเข้ามาจากยุโรป ต่างประเทศเรียกสะระแหน่วา่ “มินท์ (mint)” และใช้มนิ ท์
เป็นสมุนไพรปรุงอาหารมาตั้งแต่สมัยกรีก สมัยโรมัน ต�ำนานโรมันเล่าว่า “มินทา“ หรือ “มินเท” เป็นชื่อ
นางฟ้าองค์หนึ่งอันเป็นที่รักใคร่สุดสวาทของเทพเจ้าพลูโต ต่อมาพลูโตเสกนางให้กลายเป็นพืช ซึ่งก็คือต้น
มินท์นั่นเอง
สะระแหน่เป็นพืชดั้งเดิมของทวีปยุโรปในตะวันออกกลาง และพบได้ในหลายภาคของโลกรวม
ทั้งประเทศไทย ใช้แพร่หลายในอารยธรรมอียิปต์ กรีก และโรมันโบราณมาก่อน ในคอลัมน์ต้นไม้ใบหญ้า
ของนิตยสารหมอชาวบ้านอ้างว่าสะระแหน่ถูกน�ำเข้ามาในเมืองไทย ในช่วงรัชสมัยสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้า
อยู่หัว รัชกาลที่ 3 โดยชาวอีตาเลียน ชื่อนายสะระนี่ คนไทยจึงตั้งชื่อผักน�ำเข้าชนิดนี้ตามชื่อของคนน�ำมา
และแปลงให้ถูกลิ้นคนไทย เป็น “สะระแหน่” ดังนั้นเองในหนังสืออักขราภิธานศัพท์ของหมอบรัดเล่ ซึ่งตี
พิมพ์เมื่อปี พ.ศ. 2416 ในช่วงรัชกาลที่ 4 จึงไม่ปรากฏการบันทึกเรื่องราวของสะระแหน่เอาไว้ซึ่งก็น่าจะ
ยังไม่มีในเมืองไทย และก็คงเป็นไปตามค�ำกล่าวของอาจารย์อินทรี จันทรสถิตนั่นเอง

76 ข่าวสารเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปีที่ 60 ฉบับที่ 2 เดือน ตุลาคม 2557 – มกราคม 2558
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
สะระแหน่เป็นพืชล้มลุกทีม่ อี ายุหลายปี ล�ำต้นสีเ่ หลีย่ ม สีเขียวแกมม่วงน�ำ้ ตาล มีกงิ่ ก้านแตกแขนง
ออกมากมาย เลื้อยคลานไปตามพื้นดิน
ใบ เป็นใบเดี่ยวออกเป็นคู่ตรงข้ามกันกว้าง 1.5-2.5 เซนติเมตร ยาว 2-3 เซนติเมตร รูปรีค่อนข้าง
กว้าง ผิวใบย่น ขอบใบหยักฟันเลื่อยตลอด ปลายใบปลายใบแหลม มีรูปร่างลักษณะป้อม ๆ สีเขียว
ดอก ช่อดอกสีชมพูอมม่วง ออกเป็นช่อที่ปลายดอก ออกเป็นกระจุกที่ซอกใบ
ผล เป็นผลแห้ง ไม่แตก
ราก เป็นระบบรากฝอย มีรากตื้น และรากสั้น

ภาพที่ 1 ใบสะระแหน่ ภาพที่ 2 ดอกสะระแหน่

ภาพที่ 3 ผลสะระแหน่ ภาพที่ 4 รากสะระแหน่


การเตรียมดิน
ขั้นตอนการเตรียมแปลง การเตรียมพื้นที่จะใช้ปุ๋ยคอก มูลวัว มูลควาย หว่านให้เต็มพื้นที่แล้ว
ท�ำการไถ่กลบ ตากดินทิ้งไว้ประมาณ 1 สัปดาห์ เพื่อให้แสงแดดฆ่าเชื้อโรคในดิน จากนั้นท�ำการยกร่อง
รดน�้ำเพื่อให้ดินชื้น
ถ้าจะปลูกสะระแหน่ในภาชนะ เช่น กระถาง ลังไม้ หรือจะปลูกเป็นสวนหย่อมประดับบ้าน ปลูก
ในแปลงประดับสวนเล็ก ๆ ที่ใช้เนื้อที่ปลูกไม่มากนัก ควรใช้ดินผสมที่มีส่วนผสมของดิน 2 ส่วน ปุ๋ยหมัก 1
ส่วน ทราย 1 ส่วน และปูนขาวเล็กน้อย ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากันดีแล้วน�ำไปใช้ปลูกได้

KASETSART EXTENSION JOURNAL


VOLUME 60 ISSUE 2 : October 2014 - January 2015
77
แต่ถ้ามีเนื้อที่พอสมควรที่จะปลูกเป็นแปลง ๆ ไว้ข้างบ้านได้ก็ควรเตรียมดิน โดยขุดดินขึ้นมาตากแดดไว้
ประมาณ 7 วัน จนดินร่วงแตก และเอาปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมักโรยทับลงไป โรยปูนขาวทับบาง ๆ อีกชั้นหนึ่ง ทิ้ง
ไว้ 3 วัน จึงกลับดิน พรวนดินและคลุกเคล้าดิน ให้ร่วนเข้ากันดี ถ้าดินเป็นดินเป็นดินเหนียวมาก ควรเติม
ทรายลงไปผสมด้วยซักเล็กน้อย พอให้ดินร่วงซุยขึ้น

การปลูก
ขั้นตอนการเพาะปลูก ใช้ต้นพันธุ์ในการปลูก โดยเลือกกิ่งสะระแหน่ที่ไม่แก่หรืออ่อนจนเกินไป
น�ำมาปลูกในหลุมระยะการปลูกระหว่างต้น 40-50 เซนติเมตร หลุมละประมาณ 4-5 ต้น แล้วรดน�้ำให้ชุ่ม
สะระแหน่นนั้ เพาะปลูกได้งา่ ย ต้องการเพียงแค่ดนิ ดี ๆ ยิง่ ถ้าเป็นดินร่วนปนทรายจะยิง่ ดี เนือ่ งจากท�ำให้นำ�้
ไหลซึมได้งา่ ยท�ำให้สะระแหน่ขนึ้ ได้งา่ ยและอาจใช้ฟางหรือหญ้ามาคลุมดินในช่วงอากาศหนาวเย็น สามารถ
เก็บเกีย่ วได้ในช่วงก่อนหมดเดือนพฤศจิกายน (หากปลูกใช้ในครัวเรือนสามารถเก็บเกีย่ วได้ทกุ ๆ วันขึน้ อยู่
กับการดูแลรักษา) สะระแหน่ ชอบแสงแดดพอประมาณเช่นเดียวกับพืชในตระกูลมินต์ เหมาะกับการปลูก
ในสภาพอากาศที่แห้งและมีความชื้นต�่ำ สามารถเติบโตได้ดีในร่มและสามารถปลูกในกระถางได้ นอกจาก
นี้การเพาะปลูกยังสามารถปลูกด้วยเมล็ดได้อีกด้วย
การปลูกสะระแหน่นั้นจะใช้วิธีปักลงไปในแปลงปลูกเลย หรือจะช�ำในแปลงเพาะก่อนแล้วจึงย้าย
มาปลูกก็ได้เช่นกัน แต่ข้อส�ำคัญคือต้องเตรียมดินให้ร่วงซุยเสียก่อน ในการปลูกเลือกกิ่งสะระแหน่ที่ไม่แก่
หรืออ่อนจนเกินไป ตัดยอดของล�ำต้นยาวประมาณ 4-5 นิ้ว ปักจิ้มลงในแปลงเพาะช�ำหรือแปลงปลูก ก่อน
ปักช�ำต้องรดน�้ำให้ชุ่ม ปักให้เอนทาบกับดิน รดน�้ำให้ชุ่มเพื่อรักษาความชื้นให้หน้าดินเพราะสะระแหน่
ชอบดินร่วนซุย ชอบขึ้นตามที่ลุ่มชื้นแฉะ และเมื่อแกลบผุก็จะกลายเป็นปุ๋ย ต้องการดินร่วนซุยแต่ไม่ต้อง
แสงแดดมากนัก ปลูกในที่ร่มร�ำไร สมัยโบราณชาวบ้านชอบปลูกสะระแหน่ในลังไม้หรือใส่กะละมังตั้งไว้
ใกล้กับบันไดบ้าน และมักใช้น�้ำคาวปลารดต้นสะระแหน่ เพราะเชื่อว่าจะท�ำให้แตกยอดและใบงาม
สะระแหน่ขยายพันธ์โดยใช้ไหลแยกไปปลูกบริเวณที่ต้องการและมีการน�ำมาปลูกในกระถางหรือ
ในกระเช้าเป็นไม้แขวน ใช้เป็นไม้ประดับดูสวยงามดีอกี ด้วย เก็บผลผลิตได้โดยใช้มดี คม ๆ ตัดส่วนยอด เมือ่
ตัดไปไม่นานก็จะแตกยอดใหม่

การปฏิบัติดูแลรักษา
เมือ่ สะระแหน่เจริญเติบโตจนเก็บยอดไปได้แล้ว ควรเติมปุย๋ คอกหรือปุย๋ หมักให้บา้ ง ไม่ควรใส่สาร
เคมี เพราะถ้าใส่มากเกินไปจะท�ำให้ตน้ สะระแหน่เหีย่ วตาย การพรวนดินให้ตน้ สะระแหน่ควรท�ำด้วยความ
ระมัดระวัง เพราะสะระแหน่เป็นพืชที่มีระบบรากตื้นที่แผ่กระจายอยู่ตามพื้นดิน

78 ข่าวสารเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปีที่ 60 ฉบับที่ 2 เดือน ตุลาคม 2557 – มกราคม 2558
การให้น�้ำ ใช้ระบบสปริงเกอร์ในการให้น�้ำนานครั้งละ 15 นาที วันละ 2 ครั้งช่วงเช้าและเย็น การ
รดน�ำ้ ต้องดูความชืน้ ของดินประกอบด้วย เพราะสะระแหน่เป็นพืชทีช่ อบความชืน้ แต่ไม่ชอบแฉะ ถ้าอากาศ
ร้อนมากๆ ควรให้น�้ำทุกวันแต่ฤดูฝนแทบไม่ต้องให้น�้ำเลย
การใส่ปุ๋ย จะใส่ปุ๋ยเดือนละ 2 ครั้ง ปุ๋ยสูตร 25-7-7 เน้นธาตุไนโตรเจน อาจจะเป็นปุ๋ยสูตรอื่นก็ได้
แต่ไม่ควรใช้ปุ๋ยยูเรียเพราะจะท�ำให้ผักอ่อนแอและ เน่าง่าย หรือใช้หรือปุ๋ยคอกก็ได้
การดูแลรักษาโรคและแมลง สะระแหน่มักพบปัญหารากเน่าโคนเน่า ส่วนแมลงส�ำคัญเป็นพวก
หนอน เพลี้ยอ่อน แมลงหวี่ขาว จะใช้น�้ำชีวภาพที่ท�ำขึ้นเองในการไล่แมลง โดยสารชีวภาพเป็นการน�ำเอา
ใบยาสูบ ขมิ้น กระเทียม ฉีดบ่อยประมาณครั้งละ 3 วัน หรือครั้งละ 5 วัน และครั้งละ 7 วัน ขึ้นอยู่กับ
ปริมาณศัตรูพชื น�ำ้ ชีวภาพนีจ้ ะเน้นการไล่ศตั รูพชื ไม่ใช่การฆ่าศัตรูของสะระแหน่ ส่วนในกรณีทไี่ ม่สามารถ
ควบคุมศัตรูพืชได้ถึงจะใช้สารเคมีเข้าช่วย
การเก็บเกีย่ วผลผลิตส่งขาย ภายหลังการปลูก 45 วัน สามารถเก็บเกีย่ วผลลิตได้ โดยใช้กรรไกรตัด
หลังจากตัดเสร็จท�ำการใส่ปยุ๋ รดน�ำ้ หลังจากนัน้ อีกประมาณ 20 วัน สามารถตัดใหม่ได้อกี ช่วงทีส่ ะระแหน่
มีราคาดีสดุ คือเดือนพฤษภาคม-พฤศจิกายน ราคาสูงสุดอยูท่ กี่ โิ ลกรัมละ 100 บาท และช่วงราคาต�ำ่ สุดเป็น
ช่วงหน้าหนาวกิโลกรัมละ 20 บาท
การลงทุนแรกเริ่ม สะระแหน่เป็นพืชที่ต้องการสารอาหารทีละน้อย ๆ แต่ต้องการบ่อย ๆ การ
ลงทุนครั้งแรกจะเน้นไปที่สแลนประมาณ 20,000 บาท ค่าพันธุ์สะระแหน่ซื้อเพียงครั้งเดียวแล้วสามารถ
ใช้เป็นพันธุ์ต่อไปได้ตลอด ส่วนที่ต้องลงทุนหมุนเวียนจะมีค่ายาประมาณเดือนละ 1,000 บาท และค่าปุ๋ย
อีกเดือนละ 1,000 บาทเช่นกัน
จากความนิยมสะระแหน่น�ำมาบริโภคสมุนไพรและทางอุตสาหกรรมนั้น การที่จะท�ำฟาร์มปลูก
สะระแหน่จึงเป็นเรื่องง่ายเพราะตลาดมีหลากหลาย และวิธีการปลูกค่อนข้างง่ายเมื่อเทียบกับผักอื่น ๆ
สามารถสร้างรายได้และเป็นเกษตรในครัวเรือนได้อีกด้วย

ประโยชน์ของสะระแหน่
สะระแหน่กลิ่นหอมเพราะมีน�้ำมันหอมระเหยหรือ “เอสเซนชั่น ออย์” ผสมอยู่ ซึ่งประกอบด้วย
สารเมนทอล (Menthol) ไลโมนีน (Limonene) นีโอเมนทอล (Neomenthol) เป็นต้น อยูใ่ นใบและล�ำต้น
จากผลการวิเคราะห์จากสถาบันวิจัยโภชนาการมหาวิทยาลัยมหิดลว่า สะระแหน่ 100 กรัม ให้เบต้า แคโร
ทีน สูงถึง 538.35 ไมโครกรัม เทียบหน่วยเรตินัล ให้วิตามินซี 88 มิลลิกรัม และให้แคลเซียม 40 มิลลิกรัม
ให้พลังงาน 47 กิโลแคลอรี

KASETSART EXTENSION JOURNAL


VOLUME 60 ISSUE 2 : October 2014 - January 2015
79
สารอาหารแร่ธาตุต่าง ๆ ของใบสะระแหน่แล้วปรากฏออกมาว่ามีเกลือแร่และวิตามินต่าง ๆ ที่
โดดเด่น ดังนี้
มีวิตามิน เอ มากถึง ร้อยละ 16,585 หน่วย
มีวิตามินซี ร้อยละ 88 มิลลิกรัม
พลังงาน ร้อยละ 47 แคลอรี่
มีแคลเซียม ร้อยละ 40 มิลลิกรัม
ฟอสฟอรัส ร้อยละ 7 มิลลิกรัม
คาร์โบไฮเดรต ร้อยละ 6.8 กรัม
มีธาตุเหล็ก ร้อยละ 4.8 มิลลิกรัม
โปรตีน ร้อยละ 3.7 กรัม
กาก ร้อยละ 1.2 กรัม
ไทอะมิน ร้อยละ 0.13 กรัม
ไรโปฟลาวิน ร้อยละ 0.29 กรัม
ไขมัน ร้อยละ 0.6 กรัม
ไนอะซิน ร้อยละ 0.7 กรัม

คุณประโยชน์ในครัวเรือน
สะระแหน่ในอาหารไทยมักใช้เป็นใบสดและใส่ในอาหารเย็นที่ปรุงสุกมาแล้ว ใบสะระแหน่ใช้ใน
อาหารประเภทลาบและย�ำเท่านัน้ ไม่นำ� ใบสะระแหน่ไปผัดเหมือนใบกะเพราหรือใส่ในแกงทีป่ รุงมาร้อน ๆ
กลิ่นหอมเย็นของใบสะระแหน่ประสานคล้องจองกับรสแซบจากพริกและรสเปรี้ยวจากมะนาวกลายเป็น
นาฏกรรมอาหารไทยที่รสกลมกล่อมไม่เหมือนใคร ลาบทุกชนิดและย�ำส่วนใหญ่ขาดใบสะระแหน่ไม่ได้
เลย หากขาดใบสะระแหน่ลาบก็เหมือนขาดใจไปด้วย เพราะกลิ่นของสะระแหน่ที่มีรสฉุนเผ็ดกว่าผักปรุง
รสทั่วไป คนไทยจึงนิยมใช้สะระแหน่ในฐานะเครื่องปรุงกลิ่นอาหารมากกว่าจะใช้กินเป็นผักโดยตรงใช้ดับ
กลิ่นคาวเนื้อหรือปลา อาหารจ�ำพวกย�ำต่าง ๆ และจ�ำพวกลาบต่าง ๆ
สะระแหน่ยงั เป็นส่วนประกอบของการปรุงอาหารหลากหลายชนิดเนือ่ งจากมีกลิน่ หอมและช่วยใน
การเพิม่ รสชาติอาหารให้อร่อยขึน้ ได้ นอกจากนีย้ งั สามารถใช้ทำ� เป็นเครือ่ งดืม่ หรือเป็นส่วนผสมในไอศกรีม
ชาสมุนไพร สแปร์มิ้นต์ และยังสามารถใช้เป็นเครื่องเคียงในอาหารจ�ำพวกผักผลไม้ รวมไปถึงอาหารคาว
หวานอีกหลายชนิด

80 ข่าวสารเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปีที่ 60 ฉบับที่ 2 เดือน ตุลาคม 2557 – มกราคม 2558
คุณสมบัติในการใช้รักษาโรคของใบสะระแหน่
1. แก้อาการอาหารไม่ย่อย โดยใช้ใบสะระแหน่ต้มกับน�้ำดื่ม
2. แก้หวัด ขับเหงื่อลดความร้อนในร่างกาย
3. อาการปวดศีรษะในฤดูร้อนอากาศอบอ้าว ท�ำให้มีอากาศร้อนในเป็นแผลในปากหรือบางราย
มีเลือดก�ำเดาไหล ก็ใช้ใบสะระแหน่ต้มใส่เกลือเล็กน้อยดื่ม
4. เด็กเล็ก ๆ เป็นหวัด น�ำ้ มูกไหล จามไอบ่อย ๆ หรือจะเป็นไข้หวัด ก็ใช้ใบสะระแหน่ตม้ กับเต้าหูด้ มื่
5. อาการเจ็บตาในช่วงฤดูร้อนก็ใช้ใบสะระแหน่ 2 ต�ำลึงต้มกับหมู เป็นน�้ำซุปรับประทาน
6. ขับลม ฆ่าเชื้อโรค ระงับอาการเกร็งของกระเพาะอาหารและล�ำไส้
สะระแหน่เข้ามาอยู่เมืองไทยได้ร้อยกว่าปีแล้วจนปรับตัวเข้ากับสภาพดินฟ้าอากาศของเมืองไทย
ได้เป็นอย่างดี สะระแหน่เป็นผักทีม่ กี ลิน่ หอมซึง่ สามารถน�ำความหอมมาใช้ในการบ�ำบัดรักษาโรคได้ทเี่ รียก
ว่า อะโรมาเทอราบี (aromatherapy) นั่นเอง แพทย์แผนไทยได้น�ำเอาสะระแหน่มาปรุงเป็นยารักษาโรค
หลายขนานโดยระบุสรรพคุณเอาไว้ว่า กลิ่นฉุน หอมร้อน สรรพคุณแก้ปวดท้อง แก้จุกเสียด ขับผายลม
ขับเหงื่อขับลม ถอนพิษไข้ แก้แน่น แก้ไอ ขับเสมหะ แก้ปวดศีรษะ ดมแก้ลม ทาแก้ฟกบวม ฯลฯ กลิ่น
หอมเย็นของใบสะระแหน่ช่วยให้สดชื่นปลอดโปร่ง สมองแจ่มใส แก้ปวดหัวและเป็นหวัดเป็นไข้ได้โดยน�ำ
ใบสะระแหน่มาขยีแ้ ล้วทาขมับกลิน่ ของสะระแหน่ซงึ่ จะช่วยให้เรารูส้ กึ ผ่อนคลายหายเครียดได้ นอกจากนี้
สะระแหน่น�ำมารับประทานหรือน�ำมาชงน�้ำดื่มเพื่อช่วยย่อยอาหาร นอกจากนี้ยังใช้เป็นกระสายแทรกแก้
โรคเด็ก เช่น ซางซัก และช่วยให้ผายลมได้ดี ลดอาการท้องขึ้นท้องเฟ้อ
น�ำ้ คัน้ จากต้นและใบดืม่ แก้ปวดมวนในท้อง แก้ทอ้ งอืด ท้องเฟ้อ ขับลม หรือกินสดเพือ่ ดับกลิน่ ปาก
ขับเหงื่อ นอกจากนี้ยังช่วยฆ่าเชื้อ ระงับอาการเกร็งของกระเพาะอาหารและล�ำไส้ ในสะระแหน่ประกอบ
ด้วย วิตามินเอ วิตามินบี 2 วิตามินซี แคลเซียม และ ธาตุเหล็ก
ใบและล�ำต้นของสะระแหน่สามารถน�ำมาบดแล้วทาบนผิวเพือ่ ช่วยให้ผวิ ชุม่ ชืน่ ขึน้ และยังสามารถ
ช่วยในการไล่ยงุ ได้ดว้ ย นอกจากนีส้ ามารถน�ำเอามาคัน้ น�ำ้ ผสมลงในเครือ่ งดืม่ ต่าง ๆ ช่วยในการดับกระหาย
คลายร้อนได้ สะระแหน่สามารถน�ำมาท�ำเป็นยาปฏิชีวนะเพื่อใช้เป็นตัวขับไล่อนุมูลอิสระออกจากร่างกาย
และยังใช้เป็นยาเย็น ยาคลายความเครียด ช่วยคลายความกดดันของกล้ามเนือ้ อันเนือ่ งมาจากความเหนือ่ ย
ล้าจากการท�ำงาน นอกจากนี้สะระแหน่ยังใช้ในการท�ำน�้ำมันหอมระเหย อีกทั้งยังสามารถใช้เป็นยารักษา
โรคเกีย่ วกับต่อมไทรอยด์ได้อกี ด้วย ด้วยเหตุนจี้ งึ ท�ำให้สะระแหน่กลายเป็นส่วนส�ำคัญของอาหารเพือ่ สุขภาพ
เพราะมีความสามารถหลากหลายในด้านของสมุนไพร

KASETSART EXTENSION JOURNAL


VOLUME 60 ISSUE 2 : October 2014 - January 2015
81
เอกสารอ้างอิง
กองบรรณาธิการ. 2545. ฐานเกษตรกรรม “รวมเรื่องผัก”. เทพพิทักษ์การพิมพ์ : กรุงเทพฯ .คณะ
เภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
คณะท�ำงานรวบรวมความรู้เกี่ยวกับผักในโครงการหนูรักผักสีเขียว. 2540. มหัศจรรย์ผัก 108. กรุงเทพฯ
: มหาวิทยาลัยมหิดล.
ชมรมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2546. สาระแหน่. สืบค้นจาก
http://158.108.70.5/kusbotanic/sara/vegetable1/05saranae.html. วันที่ 24 มิถนุ ายน 2558.
ซาสี่สีส้ม. 2557. ปักช�ำสะระแหน่ (มินท์) .
สืบค้นจาก http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=sasiseesom&month=02-
2014&date=21&group=12&gblog=45. วันที่ 24 มิถุนายน 2558.
เดอะแทรนดอทคอม. 2558. สะระแหน่. สืบค้นจาก http://www.the-than.com/samonpai/sa_2.html.
วันที่ 24 มิถุนายน 2558.
ทวีทอง หงษ์วิวัฒน์. 2545. สารานุกรมผัก. กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์แสงแดด.
นวลศรี รักอริยะธรรม. 2545. แอนติออกซิเดนท์, สารต้านมะเร็ง ในผัก สมุนไพร. เชียงใหม่ : นพบุรกี ารพิมพ์.
นัทสิมาดอทคอม. 2558. รายได้เสริมจากผักท�ำเงินอย่างสะระแหน่ประจ�ำครัวที่ขาดไม่ได้. สืบค้น
จากhttp://www.natsima.com/agriculture-environment/peppermint-vegetable. วัน
ที่ 22 มิถุนายน 2558
บริหารและจัดการโดยทีมงานชาวมัธยมศึกษา. 2546. สาระแหน่. สืบค้นจากhttp://www.thaigoodview.
com/library/studentshow/st2545/5-4/no40/saranea.html. วันที่ 24 มิถุนายน 2558.
พรพรรณ 2542. สมุนไพรในครัว. กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์วาดศิลป์.
ฟรินน์ดอทคอม. 2557. สะระแหน่ญี่ปุ่น สรรพคุณและประโยชน์ของต้นสะระแหน่ญี่ปุ่น 11 ข้อ !. สืบค้น
จาก http://frynn.com/สะระแหน่ญี่ปุ่น. วันที่ 24 มิถุนายน 2558.
เมฆ จันทน์ประยูร. 2541. ผักพื้นบ้าน.กรุงเทพ : ไททรรศน์.
ยุวดี จอมพิทักษ์. 2545. อาหารธรรมชาติผักพื้นเมืองโภชนาการสูงเหลือเชื่อ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ :
โอเดียนสโตร์.
รุ่งรัตน์ เหลืองนทีเทพ. 2540. พืชเครื่องเทศและสมุนไพร. พิมพ์ลักษณ์. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ส�ำนักพิมพ์กลั่นแก่น. 2541. ท�ำเนียบร้านผลิตภัณฑ์ปลอดสารพิษและสมุนไพรในประเทศไทย. พิมพ์ครั้ง
ที่ 1. กรุงเทพฯ: ส�ำนักพิมพ์กลั่นแก่น.
สีตีมารียัม เจ๊ะแน . 2547. (สะระแหน่) พืชสมุนไพรและเครื่องเทศ. โปรแกรมวิชาชีววิทยาประยุกต์ คณะ
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

82 ข่าวสารเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปีที่ 60 ฉบับที่ 2 เดือน ตุลาคม 2557 – มกราคม 2558

You might also like