You are on page 1of 8

การจําลองการยุบของขวด PET ที่มีรูปทรงผนังไม่ สมํ่าเสมอ

ภายใต้ การทดสอบภาระด้ านบนแบบสถิตย์ และพลวัต


Deflection Simulation of PET Bottles with Irregular Wall Shape
under Static and Dynamic Top Loadings

คณิต อรวรรณหโณทัย1 และ สัจจาทิพย์ ทัศนียพันธุ์1


Kanit Oravanhanothai1 and SatjarthipThusneyapan1

บทคัดย่ อ
การทดสอบภาระด้ านบนเป็ นสิง่ ที่ต้องพิจารณาในกระบวนการออกแบบและทดสอบขวด งานวิจยั นี ้ได้
ศึกษาและเปรี ยบเทียบการสร้ างแบบจําลองไฟไนต์เอลิเมนต์ที่เหมาะสมสําหรับใช้ ทดสอบแบบสถิตย์ และพลวัต
กับขวดที่มีรูปทรงผนังที่ไม่สมํ่าเสมอ สมบัตขิ องวัสดุ PET ได้ จากการทดสอบแรงดึง ขวดขนาดหนึง่ ลิตรได้
นํามาใช้ เพื่อเปรี ยบเทียบการเสียรูปทรงระหว่างผลการทดสอบจริ ง และผล FEA ผลจากการวิจยั พบว่า
แบบจําลองในไฟไนต์เอลิเมนต์มีการเสียรูปใกล้ เคียงกับการทดสอบจริ ง ผู้วจิ ยั แนะให้ ใช้ โมเดลแบบสมมาตรครึ่ง
ซีกสําหรับการศึกษาในเบื ้องต้ นเนื่องจากง่ายและรวดเร็ วในการวิเคราะห์ และใช้ โมเดลแบบเต็มใบเพื่อศึกษา
รายละเอียดในการออกแบบขั้นสุดท้ าย

ABSTRACT
Top load test is one of the most concerned in bottle products design and testing. This
research compared finite element model (FEM) for properly used in static and dynamic test of PET
bottles with irregular wall shape. The material property of PET obtained by using tensile test. One-
liter bottles were used for comparing the deformation of the actual test with the FEA. The results
shown the deformation by FEM is very well compared with the actual tests. We recommend to use
half-type model for primary study the design because of ease and fast processing time, and the full-
type model for detailed overall study of the final design.

Key words: finite element, deflection, top load, blow molding, plastic bottle, PET.
e-mail address: zigid@hotmail.com
1
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่ องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 10900
1
Department of Mechanical Engineering, Faculty of Engineering, Kasetsart University, Bangkok 10900.
คํานํา
ภาชนะบรรจุของเหลว (liquid containers) ในปั จจุบนั เป็ นบรรจุภณ ั ฑ์ที่ผลิตจากพลาสติก โดยพลาสติก
ได้ ถกู นํามาใช้ ทดแทนวัสดุที่เป็ นโลหะและแก้ วซึง่ ใช้ กนั อย่างแพร่หลายในอดีต เนื่องจากพลาสติกมีสมบัตเิ ด่นที่
มีนํ ้าหนักเบา มีกระบวนการผลิตขึ ้นรูปที่งา่ ย สะดวก รวดเร็ ว มีคา่ ใช้ จา่ ยในกระบวนการผลิตไม่สงู สามารถนํา
กลับมาหมุนเวียนใช้ ใหม่ได้ (recycle) เมื่อใช้ ผลิตเป็ นภาชนะประเภทขวดและกระป๋ องจะมีความ เหนียว
ยืดหยุน่ ทนแรงกระแทกได้ ดี ตกไม่แตกและไม่มีขอบคม จึงไม่เป็ นอันตรายต่อผู้ใช้ และเป็นฉนวนไฟฟ้า วิธีการ
ผลิตภาชนะกลวงได้ แก่ การเป่ าขึ ้นรูป (blow molding) โดยสามารถแบ่งแยกได้ เป็ น การอัดรี ดเป่ าขึ ้นรูป
(extrusion blow molding) และการฉีดเป่ าขึ ้นรูป (injection blow molding) เนื่องด้ วย PET (Polyethylene
Terephthalate) เป็ นวัสดุหลักที่นํามาใช้ ทําขวดพลาสติกใสบรรจุเครื่ องดื่ม อาหาร ฯลฯ ดังนั ้นการออกแบบและ
พัฒนารูปทรงและลวดลายหรื อรูปลักษณ์เพื่อเป็ นเอกลักษณ์ของผลิตภัณฑ์นั้นๆ ต้ องคํานึงถึงต้ นทุนการผลิต และ
ความแข็งแรงในระบบการขนส่งและการจัดเก็บแบบวางซ้ อนกัน โดยทดสอบความแข็งแรงได้ จาก การทดสอบ
ภาระด้ านบน (top-load test) การทดสอบภาระด้ านบนมีอยู่ 2 วิธี คือ แบบสถิตย์ (static) และพลวัต (dynamic)
การทดสอบแบบสถิตย์ เป็ นการทดสอบการวางซ้ อน (stacking test) เปรี ยบเสมือนการวางซ้ อนกันของสินค้ าใน
การขนส่ง หรื อเก็บในโกดังสินค้ า การทดสอบตามมาตรฐาน ISO 2234:2000 (Packaging -- Complete, filled
transport packages and unit loads -- Stacking tests using a static load) ให้ นําบรรจุภณ ั ฑ์วางบนแผ่นเรี ยบ
(flat plate) ซึง่ ขนานกับแนวราบ วางแผ่นรองนํ ้าหนัก (Loading platform) บนด้ านบนของบรรจุภณ ั ฑ์ แล้ วใส่
นํ ้าหนักทดสอบลงช้ าๆ ที่ด้านบนของแผ่นรองนํ ้าหนัก เพื่อหลีกเลี่ยงแรงกระแทก (impact force) ส่วนวิธีทดสอบ
แบบ dynamic ตามมาตรฐาน ASTM D2659-95 (Standard Test Method for Column Crush Properties of
Blow Thermoplastic Containers) เป็ นการใส่ภาระตามแนวแกน ภายใต้ เงื่อนไขความเร็ วคงที่ของการกด
(constant rate of compressive) ทิศทางในการบีบอัดในแนวดิง่ ได้ แสดงใน Figure 1.

Figure 1 Orientation of loading’s axis by standard ASTM D2659.

วิธีการการคาดคะเนการยุบตัวของกระป๋ องพลาสติกสําหรับบรรจุนํ ้ามันเครื่ อง ซึง่ ผลิตจากกระบวนการ


เป่ าขึ ้นรูป ภายใต้ การทดสอบภาระด้ านบนแบบ static เป็ นตัวอย่างของการใช้ ซอฟแวร์ FEA (Finite-Element
Analysis) สําเร็ จรูป ในการออกแบบความหนาเฉลี่ยของผนังขวด เพื่อลดนํ ้าหนักของ HDPE (สัจจาทิพย์และ
ชาคริ ต, 2547) ทิพากร, (2548) ได้ ใช้ FEA จําลองการทดสอบแบบสถิตย์ ของขวด HDPE และสรุปว่า รูปทรง
ขวดที่โค้ งมนสามารถส่งเสริ มความแข็งแรงของขวดในการรับภาระด้ านบนได้ อีกทั้งร่องลายต่างๆ ที่ผนังขวด
สามารถเพิ่มและลดความแข็งแรงของโครงสร้ าง (Figure 2) ประพันธ์, (2552) ได้ ใช้ FEA จําลองความแข็งแรง
Figure 2 Shape and feature studied by Tipakorn, 2548.

ของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจาก PS (Polystyrene) ที่ขึ ้นรูปโดยกระบวนการขึ ้นรูปร้ อน การประยุกต์ใช้ FEA สําหรับการ


จําลองกระบวนการเป่ าขึ ้นรูปแบบเอ็กทรูชนั่ ทั้งแบบรูปทรงสมมาตร และไม่สมมาตร สามารถคาดการณ์ความ
หนาที่ตําแหน่งต่างๆ ของผนังขวดได้ (รวิวฒ
ั น์ และคณะ, 2554) งานวิจยั นี ้ได้ ใช้ กระบวนการวิเคราะห์ FEA เพื่อ
จําลองการทดสอบภาระด้ านบนสําหรับบรรจุภณ ั ฑ์ที่ผลิตโดยใช้ วสั ดุ PET โดยใช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ช่วยการ
ออกแบบ CAD (Computer-Aided Design) และคอมพิวเตอร์ ช่วยวิเคราะห์ทางวิศวกรรม CAE (Computer-
Aided Engineering) ช่วยในการจําลองการทดสอบของผลิตภัณฑ์เพื่อพัฒนาให้ ได้ มาตรฐาน และส่งผลให้
ประหยัดเวลา พลังงาน รวมถึงลดต้ นทุนในการผลิตจริ ง

วิธีการ
การทดสอบวัสดุ
ปั จจัยที่มีผลต่อความแม่นยําในการวิเคราะห์ FEA ของความแข็งแรงของผลิตภัณฑ์ คือ สมบัตทิ างกล
ของวัสดุ งานวิจยั นี ้ใช้ วิธีทดสอบวัสดุตามมาตรฐาน ASTM D 638-03 Standard Test Method for Tensile
Properties of Plastics รูปแบบชิ ้นงานเป็ นแบบที่ 1 (Type 1) สําหรับทดสอบแรงดึง (tensile test) ทําการ
ทดสอบโดยใช้ เครื่ องทดสอบอเนกประสงค์ (Universal Testing Machine, UTM) และกําหนดให้ ความเร็ วในการ
ดึงเท่ากับ 25 มม./วินาที สมบัตทิ างกลที่ได้ จากการทดสอบ คือแรงที่ใช้ ในการดึง ระยะยืดของชิ ้นงาน รวมถึงค่า
ความเค้ น ความเครี ยด และมอดุลสั ของความยืดหยุน่ (modulus of elasticity).
งานวิจยั นี ้ใช้ เม็ดพลาสติก PET จาก Indorama Polyester Industries PCL. (Rayong, Thailand)
นํามาฉีดขึ ้นรูปเป็ นชิ ้นงานทดสอบ ตามมาตรฐาน ASTM D 638 Type 1 (Figure 3a) ทําการทดสอบการดึงด้ วย
เครื่ อง UTM ผลการทดสอบจากชิ ้นงานจํานวน 7 ชิ ้น ได้ แสดงเป็ นกราฟของแรงและระยะยืดใน Figure 3b
ข้ อมูลจากผลการทดสอบของแต่ละชิ ้นงานดังกล่าว ได้ นํามาคํานวณเป็ นค่าความเค้ นจริ ง (true stress)
และความเครี ยดจริ ง (true strain) แล้ วหาค่าเฉลี่ยแบบ ensemble average ของข้ อมูล (Figure 4a) เนื่องด้ วย
ข้ อมูลมีการกระจาย หรื อเกิด noise จึงดําเนินการลด noise โดยใช้ หลักการกรอง หรื อ filter ตามผลที่แสดงใน
Figure 4b ลักษณะของกราฟที่ได้ นี ้มีความเหมาะสมสําหรับนําไปใช้ ในซอฟแวร์ FEA ต่อไป
การวัดความหนาของผนังขวด
ความหนาของผนังขวดตลอดความสูงของขวดทดสอบขนาด 1 ลิตร ได้ ทําการวัดจํานวน 4 ตําแหน่งที่
อ้ างอิงจากแนวเส้ นแบ่งของแม่พิมพ์ (Parting line) ที่ 0°, 90°, 180° และ 270° (Figure 5a) ตั้งแต่ปากขวดจนถึง
ก้ นขวด (Figure 5b) กราฟแสดงความหนาผนังขวดเฉลี่ยจาก 4 ตําแหน่งของแต่ละระดับความสูงได้ แสดงใน
Figure 5c.
a) b) 3000
spec.1
spec.2
2500 spec.3
spec.4
2000
spec.5
spec.6

Force (N.)
spec.7
1500

1000

500

0
0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 50 55 60
Elongation (mm.)

Figure 3 (a) Sample of specimens by standard ASTM D638 Type 1, and (b) The Force-Elongation
results from tensile test of seven specimens.
True Stress-Strain True Stress-Strain (filted)

a) 60
b) 60

50 50

40 40
Stress (MPa)
Stress (MPa)

30 30

20 20

10 10

0 0
0.00 0.05 0.10 0.15 0.20 0.25 0.30 0.35 0.40 0.00 0.05 0.10 0.15 0.20 0.25 0.30 0.35 0.40

strain Strain

Figure 4 (a) Graph of the ensemble average of the true stress and true strain shown the noise. (b)
The true stress-strain curve after the noise reduction process.

a) 90°
b) c) 280

260

240

220

200

180° 0° (parting line) 180

160
Height (mm.)

140

120

100

270° 80

60

40

20

-20
0.0 0.2 0.4 0.6 0.8 1.0 1.2 1.4 1.6 1.8 2.0

Wall thickness (mm.)

Figure 5 (a) Location of the four points for measuring the wall thickness at each height. (b)
Sample of bottles. (c) Average of the measured wall thickness along the height of
the bottle.
การสร้ างแบบจําลองไฟไนต์ เอลิเมนต์ ของขวดทดสอบ
แบบจําลองแบบพื ้นผิว (surface model) ของขวดซึง่ มีความสมมาตรรอบแกน (axisymmetric shape)
ขนาด 1 ลิตร สร้ างโดยใช้ ซอฟแวร์ CAD ชื่อ Pro/ENGINEERING WILDFIRE V3.0 โดยมีการปรับเปลี่ยน
พื ้นผิวที่บริ เวณ เขี ้ยวที่ปากขวดและลายรูปหยดนํ ้า (Figure 6) เพื่อให้ งา่ ยต่อการวิเคราะห์และคํานวณ จากนั ้นทํา
การแปลงเป็ นไฟล์ข้อมูลมาตรฐาน step เพื่อนําไปสร้ างแบบจําลองไฟไนต์เอลิเมนต์ (Finite Element Model,

a) b) c)

274 mm.
256 mm.

82 mm.
FEM) โดยใช้ ซอฟแวร์ MSC สําหรับจําลองการทดสอบภาระด้ านบนทั้งแบบสถิตย์ และพลวัต (Figure 7).

Figure 6 (a) Test bottles, (b) surface model, (c) dimension of the sample.

Static test by using MPC

a) b) Dynamic test by using plate


contact

Fix XYZ [ 0,0,0 ] Fix XYZ [ 0,0,0 ]

Figure 7 Finite element model shown the constrains and load for (a) static test, and (b) dynamic test.

ผลการทดสอบและวิจารณ์
ผลการทดสอบภาระด้ านบนแบบต่ างๆ
ผลการทดสอบภาระด้ านบนแบบสถิตย์ (Figure 8) แสดงเป็ นค่าเฉลี่ยจากการทดสอบจํานวน 5 ขวด
ของขวด PET ขนาด 1 ลิตร ภาพแสดงอุปกรณ์ ในขณะทดสอบภาระด้ านบนแบบพลวัต (Figure 9a) และกราฟ
ของแรงและระยะยุบได้ แสดงใน Figure 9b.
6

Load (kg.)
2

0
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
Displacement (mm.)

Figure 8 Average static top load test of 1-liter PET bottles.

a) b)
100

80
force (N.)

60

40

20

0
0 5 10 15 20 25
displacement (mm.)

Figure 9 (a) Universal testing machine for top load testing, (b) Graph of force-displacement from
the test.

ผลการวิเคราะห์ การทดสอบภาระด้ านบนด้ วยวิธีไฟไนต์ เอลิเมนต์


ผลจากการวิเคราะห์ ภาระด้ านบนแบบสถิตย์ เมื่อกําหนดแรงด้ วยวิธี Multiple Point Constrain (MPC)
และแบบแรงกระจาย (distributed load) ตามแสดงใน Figure 10 a และ b ตามลําดับ โดยในภาพนี ้ได้ แสดง
ระดับชั้นสีของระยะยุบตัวในแนวดิง่ (มีหน่วยเป็ นมิลลิเมตร) ที่มีผลใกล้ เคียงกัน กราฟแสดงระยะยุบกับภาระ
ของแบบจําลองแบบเต็มใบ (full model) แบบสมมาตรแบบครึ่งใบ และแบบหนึง่ ในสี่ ได้ แสดงใน Figure 11.
a) b)
Figure 10 Result of static top-load test: (a) using distribute load model, (b) MPC load model.
8
Distribute load full model
MPC load full model
7
Distribute load 1/2 model
MPC load 1/2 model
6
Distribute load 1/4 model

Displacement (mm.)
MPC load 1/4 model
5
Experiment

0
0 2 4 6 8 10
Load (kg)

Figure 11 Graph comparing the static test from the experiment with six finite element conditions.

ผลการวิเคราะห์ภาระด้ านบนแบบพลวัต (Figure 12) ของแบบจําลอง FEM แบบเต็มใบ และสมมาตร


ครึ่งใบมีลกั ษณะการเสียรูปใกล้ เคียงกัน ซึง่ สอดคล้ องกับการทดสอบจริ ง (Figure 12a) ส่วน FEM ของขวดแบบ
สมมาตรหนึง่ ในสี่ (Figure 12d) มีความแตกต่างมากกว่า
จากการวิเคราะห์แบบจําลองทั้งหมดทําให้ ทราบว่า การใช้ แบบจําลองแบบสมมาตรครึ่งใบและสมมาตร
หนึง่ ในสี่สว่ นสามารถใช้ เป็ นแนวทางในการวิเคราะห์ได้ ซึง่ จะใช้ เวลาในการวิเคราะห์น้อยกว่าโดยผลการ
วิเคราะห์ใกล้ เคียงกัน

a)

b) c) d)

Figure 12 Result of dynamic test (a) from the experiment. The Fe result of the deformation of (b) full
model, (c) half model, (d) quarter model.
สรุ ป
แบบจําลองไฟไนต์เอลิเมนต์ที่กําหนดตามความหนาจริ งของผนังขวด ให้ ผลจากการจําลองใกล้ เคียงกัน
ทั้งแบบเต็มใบ แบบสมมาตรครึ่งใบ และแบบสมมาตรหนึง่ ในสี่ โดยการทดสอบแบบสถิตย์มีความคลาดเคลื่อน
ของระยะยุบที่ปากขวดในช่วง 23.00 ถึง 36.25 % เมื่อพิจารณาจากรูปทรงของผนังขวดที่เสียรูปในขณะทําการ
กดทดสอบแบบพลวัตร แบบจําลองแบบเต็มใบและครึ่งใบ ผลของ FEA มีแนวโน้ มของการเสียรูปไปในทิศทาง
เดียวกันกับผลการทดสอบ ปั จจัยของความคลาดเคลื่อนของงานวิจยั นี ้คือ สมบัตทิ างกลของ PET ซึง่ ได้ จากการ
ฉีดเป็ น specimen ซึง่ ต่างกับขวดที่ผลิตจากกระบวนการเป่ าขึ ้นรูป และพฤติกรรม mathematical modeling
ของ PET ในสภาวะสถิตย์และพลวัต อาจมีความแตกต่างกัน

กิตติกรรมประกาศ
ขอบคุณห้ องปฎิบตั กิ ารวิจยั การออกแบบทางกลและผลิตภัณฑ์ (MPDRL) ภาควิชาวิศวกรรม เครื่ องกล
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่สนับสนุนสถานที่ทําการทดลอง อุปกรณ์ รวมถึงซอฟแวร์ ตา่ งๆ สถาบันค้ นคว้ า
และพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตทางอุตสาหกรรม (RDIPT) ที่สนับสนุนการฉีดชิ ้นงานทดสอบการดึง ภาควิชา
วิศวกรรมวัสดุ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่สนับสนุนเครื่ องทดสอบ UTM และ บริ ษัท ลํ่าสูง(ประเทศไทย) จํากัด
ที่สนับสนุนขวดทดสอบและเม็ดพลาสติก

เอกสารอ้ างอิง
ทิพากร พรพันธุ์ไพบูลย์. 2548. อิทธิพลของรู ปทรงต่ อความแข็งแรงของขวดพลาสติก. วิทยานิพนธ์
ปริ ญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ .
ประพันธ์ ธรรมนนทิกลุ . 2552. การออกแบบเพื่อความแข็งแรงสําหรับบรรจุภณ ั ฑ์ พลาสติกที่ผลิตโดย
การขึน้ รู ปร้ อน. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ .
รวิวฒ
ั น์ รักสัจ และคณะ. 2554. การจําลองการเปลี่ยนแปลงความหนาของพาริ สนั ภายใต้ การเป่ าขึ ้นรูปแบบ
เอ็กทรูชนั่ . ใน การประชุมวิชาการเครือข่ ายวิศวกรรมเครื่ องกลแห่ งประเทศไทย ครั ง้ ที่ 25,
กระบี่
สัจจาทิพย์ ทัศนียพันธุ์ และ ชาคริ ต สุวรรณจํารัส.2547. การยุบตัวของกระป๋ องพลาสติกบรรจุของเหลวภายใต้
ภาระด้ านบนโดยวิธี FEA. ใน การประชุมวิชาการเครือข่ ายวิศวกรรมเครื่ องกลแห่ งประเทศไทย
ครั ง้ ที่ 18. มหาวิทยาลัยขอนแก่น,ขอนแก่น.
ASTM D 638-03. Standard Test Method for Tensile Properties of Plastics.
ASTM D 2659-95. Standard Test Method for Column Crush Properties of blow Thermoplastic
Containers.
ISO 2234:2000. Packaging – Complete, Filled transport packages and unit loads – Stacking tests
using astatic load.

You might also like