You are on page 1of 10

สัปดาห์ที่ หน้าที่

เนื้อหาการสอน 4 1
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

การหาแรงลัพธ์ โดยการแตกแรง

การแตกแรงหรื อการแยกแรง (Resolution of Force)


แรงหนึ่งแรงสามารถที่จะแยกแรงหรื อแตกออกเป็ น 2 แรงย่อยซึ่ งจะเป็ นแรงที่ต้ งั ฉากซึ่ งกันและกันได้
ซึ่งจะแตกเข้าแกน X แกน Y แรงจะอาศัยระบบพิกดั ฉากเพื่อแยกแรงออกเป็ น 2 แรงย่อย คือ Fx และ Fy
Fy

θ Fx
โดยที่

Fy = F sin θ
Fx = F cos θ
การหาขนาดของแรง F หาได้จาก
F = Fx + Fy

สรุ ป ถ้าแรงที่จะแยกทามุมθ กับแกนอ้างอิงหนึ่งถ้าขนาดของแรงย่อยในแนวแกน อ้างอิงนั้นจะเท่ากับ


ขนาดของเงาที่จะแยกคูณกับ cosθ ส่ วนขนาดของแรงย่อยในแนวแกนอ้างอิงอีกอันหนึ่ง ซึ่ งตั้งฉากกับแกน
อ้างอิงแรกจะเท่ากับขนาดของแรงที่จะแยกคูณกับ sinθ
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 4 2
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ตัวอย่างที่ 1 จงคานวณหาแรง Fx และ Fy

Y
120 N

80 N

20
38
X X

วิธีทา
Fy = 120cos20 + 80sin38
= 112.76 + 49.25
= 162.01 N
Fx = 80cos38 + 120sin20
= 63.04 + 41.04
= 104.08 N ตอบ
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 4 3
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

ตัวอย่างที่ 2 จงคานวณหาแรงลัพธ์ R

Y
178 N

60
X
50

วิธีทา 95 N
Fy = 178sin60 – 95sin50
= 154.15 – 72.77
= 81.37 N
Fx = 178cos60 – 95cos50
= 89 – 61.06
= 27.93 N
R = ( Fx ) 2  ( Fy ) 2
= (27.93) 2  (81.37 ) 2
= 86.03 N ans
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 4 4
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
ตัวอย่างที่ 3 จงคานวณแรงลัพธ์ ของ R
Y

300 N
62
28 X
35

วิธีทา 110 N
Fy = 300cos62 – 11cos35
= 50.73 N
Fx = 300sin62 – 110sin35
= 201.79 N

R  ( Fx) 2  ( Fy) 2
 (201.79) 2  (53.73) 2
= 208.82 N ans
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 4 5
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

การหาแรงลัพธ์ โดยการใช้ ทฤษฎีของลามี

F2

α γ

F3
F1

F1 F F
 2  3
จากทฤษฎีของลามีจะได้สูตร Sin Sin Sin
การคานวณหาแรงลัพธ์โดยการใช้ทฤษฎีของสามเหลี่ยมแทนแรง
C

F2 F3
F2

A B
F1
F1

F3

F1 F2 F3
จากทฤษฎีของสามเหลี่ยมแทนแรงจะได้สูตร = =
AB BC CA
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 4 6
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

ตัวอย่างที่ 4 จงใช้ ทฤษฎีของลามีคานวณหาแรง F


Y

35 N

X
75 70
90N

วิธีทา
35
= 90 = F
sin 70 sin 165 sin 125

F 90
=
sin 125 sin 165

90
F =  sin 125
sin 165

F = 284 N ans
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เนื้อหาการสอน 4 7
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลสาสตร์โครงสร้าง 1
แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่ อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน

ตัวอย่างที่ 5 จงคานวณหาแรงในชิ้นส่ วน AC

B 3m A

3m
4m

200 Kg

วิธีทา ทฤษฎีของสามเหลี่ยมแทนแรงจะได้สูตร F1

F 2 F3

AB BC CA
จะได้ 200 F2 F3
 
3 3 4
F3 200

4 3
200
F3 = 4
3
F3 = 266.67 Kg
ดังนั้น AC มีค่าเท่ากับ 266.67 Kg ans
สัปดาห์ที่ หน้าที่
แบบฝึ กหัด 4 8
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลศาสตร์ โครงสร้ าง1
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่ าน
1. จงคานวณหาแรงลัพธ์

60 N 97 N

40 36
X

25

55N
2. จงใช้กฎของลามีคานวณหาแรง F
Y

700 N

60 X
35 55 36
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เฉลยแบบฝึ กหัด 4 9
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลศาสตร์ โครงสร้ าง1
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่ าน
1.จงคานวณหาแรงลัพธ์

60 N 97 N

40 36 X

25

55N

วิธีทา
Fy = 97 sin 36 + 60 sin 40 - 55 cos 25
= 45.73 N
Fx = 97 cos 36 – 60 cos 40 + 55sin 25
= 55.57 N
R = Fx 2  Fy 2
= 55.752  45.732
= 5199.29
= 72.11 N
R = 72.11 N ans
สัปดาห์ที่ หน้าที่
เฉลยแบบฝึ กหัด 4 10
รหัสและชื่ อวิชา : 2106-2110 กลศาสตร์ โครงสร้ าง1
แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคน่าน
2. จงใช้กฎของลามีคานวณหาแรง F
Y

700 N

60 X
270 N 35 55 36

วิธีทา

700 270 F
= =
sin 91 sin 114 sin 155

F 270
=
sin 155 sin 144

270
F =  sin 155
sin 144

F = 124.90 N ans

You might also like