You are on page 1of 44

สรุปผลการรับฟังความคิดเห็น

ต่อร่างพระราชบัญญัติโรคติดต่อ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....


ที่สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาเสร็จแล้ว

๑. วิธีการในการรับฟังความคิดเห็น
กรมควบคุ ม โรคได้ จั ด ให้ มี ก ารรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น โดยผ่ า นระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศ
ของกรมควบคุมโรค (http://laws2.ddc.moph.go.th/index.php) ซึ่งเป็นการดาเนินการตามพระราชบัญญัติ
หลักเกณฑ์การจัดทาร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่ได้กาหนดหลักเกณฑ์
การจัดทาร่างกฎหมาย การตรวจสอบความจาเป็นในการตรากฎหมาย การรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง
การวิ เคราะห์ ผ ลกระทบที่ อาจเกิด ขึ้น จากกฎหมายเพื่ อประกอบการจัด ทาร่า งกฎหมาย และการเปิ ดเผยผล
การรับฟังความคิดเห็นและการวิเคราะห์นั้นต่อประชาชน เพื่อให้การตรากฎหมายเป็นไปโดยละเอียดรอบคอบ
ไม่สร้างภาระแก่ประชาชนเกินความจาเป็น

๒. จานวนครั้งและระยะเวลาในการรับฟังความคิดเห็นแต่ละครั้ง
กรมควบคุมโรคได้จัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นโดยผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมควบคุมโรค
(http://laws2.ddc.moph.go.th/index.php) จานวน ๑ ครั้ง ระหว่างวันที่ ๑๐ - ๒๘ เมษายน ๒๕๖๔ รวม ๑๙ วัน

๓. พื้นที่ในการรับฟังความคิดเห็น
เปิดโอกาสในการรับฟังความคิดเห็นทุกพื้นที่ ผ่านทางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมควบคุมโรค

๔. ความเห็นของหน่วยงานและผู้เกี่ยวข้อง
จานวนผู้แสดงความคิดเห็นต่อร่างพระราชบัญญัติโรคติดต่อ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
รวมจานวนทั้งหมด ๘๙๙ คน
หน่วยงาน จานวนคน ร้อยละ
หน่วยงานราชการ ๗๙๒ ๘๘.๑๐
ประชาชนทั่วไป ๕๓ ๕.๙๐
สถานพยาบาล ๒๓ ๒.๕๕
สถานประกอบการ ๑๗ ๑.๙๐
สถาบันการศึกษา ๑๑ ๑.๒๒
รัฐวิสาหกิจ ๓ ๐.๓๓

๔.๑ ประเด็นที่ ๑...


-2-

๔.๑ ประเด็นที่ ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติโรคติดต่อ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....”


เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๙๓ ๘๘.๒ ๑๔ ๑.๖ ๙๒ ๑๐.๒
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณฐิติพร วงศ์ศิริอานวย เสนอว่า ชื่อ “พระราชบัญญัติป้องกันควบคุมโรคติดต่อ”
๒) คุณวรรณิกา เสนอว่า ชื่อ “พระราชบัญญัติควบคุมโรคติดต่อ”
๓) คุณวาทิกษ์ พิมพ์วงศ์ เสนอว่า ชื่อ “พระราชบัญญัติป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ”
๔) คุ ณ ธนาคาร แถมเจริ ญ เสนอว่ า ชื่ อ “พระราชบั ญญั ติ ก ารเฝ้ า ระวั ง ป้ อ งกั น และควบคุ ม
โรคติดต่อ” เพราะควรระบุเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติ ฉบับนี้ไว้ในชื่อเลยซึ่งสื่อความหมายได้ชัดเจน ไม่สั้น
และยาวจนเกินไป
๔.๒ ประเด็นที่ ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เป็นต้นไป
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๗๙ ๘๗ ๑๑ ๑ ๑๐๙ ๑๒
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณศวรรยา เบ็ญจขันต์ เห็นว่า ควรให้มีผลใช้บังคับนับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เป็นต้นไป
๒) คุณจิรวัฒน์ ศานติสุข เห็นว่า ควรให้มีผลใช้บังคับนับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เป็นต้นไป
๓) คุ ณมาศสุ ภ า ทรั พ ย์ เจริ ญ เห็ นว่า ควรมีระยะเวลาให้ ผู้ อยู่ ใต้บั งคับของกฎหมายได้ป รับตั ว
และจัดตั้งกลไกต่าง ๆ ตามกฎหมายให้สมบูรณ์ก่อน
๔) คุ ณ สถาพร รอดคุ้ ม เห็ น ว่ า ควรมี ร ะยะเวลาให้ ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งได้ เ ตรี ย มตั ว ในการปฏิ บั ติ
ตามกฎหมายเป็นเวลา ๑๒๐ วัน

๔.๓ ประเด็นที่ ๓...


.
-3-
๔.๓ ประเด็นที่ ๓ ให้ยกเลิกความในบทนิยามคาว่า “โรคติดต่อ” “โรคติดต่ออันตราย” “โรคติดต่อ
ที่ต้ องเฝ้ า ระวัง ” และ “โรคระบาด” ในมาตรา ๔ แห่ง พระราชบัญญัติโ รคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใ ช้
ความต่อไปนี้แทน
“โรคติดต่อ” หมายความว่า โรคที่เกิดจากเชื้อโรคหรือพิษของเชื้อโรคไม่ว่า จะเป็นสิ่งมีชีวิต
หรือไม่ก็ตาม บรรดาที่สามารถแพร่โดยทางตรงหรือทางอ้อมมาสู่คน
“โรคติดต่ออันตราย” หมายความว่า โรคติดต่อที่มีความรุนแรงสูงและสามารถแพร่ไปสู่ผู้อื่น
ได้อย่างรวดเร็ว ที่กาหนดตามมาตรา ๙
“โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง” หมายความว่า โรคติดต่อที่ต้องมีการติดตาม ตรวจสอบ หรือจัดเก็บ
ข้อมูลอย่างต่อเนื่อง ที่กาหนดตามมาตรา ๙
“โรคระบาด” หมายความว่า โรคติดต่อหรื อโรคที่ยังไม่ทราบสาเหตุของการเกิดโรคแน่ชัด
ซึ่งอาจแพร่ไปสู่ผู้อื่นได้อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง หรื อมีภาวะของการเกิดโรคมากผิดปกติ กว่าที่เคยเป็นมา
ที่กาหนดตามมาตรา ๙
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๖๘ ๘๕ ๒๖ ๓ ๑๐๕ ๑๒
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุ ณ ศิร ชั ช นิ จ พาณิ ช ย์ สอบถามว่า เชื้ อโรค หมายรวมถึ ง ปรสิ ต ด้ ว ยหรือ ไม่ รวมถึง virion
และ prion ด้วยหรือไม่ หมายรวมถึง พิษจากแมลงด้วยหรือไม่ หมายรวมถึง เห็ ดพิษด้วยหรือไม่ ควรใช้ คาว่า
“สิ่งมีชีวิตก่อโรค” แทน “เชื้อโรค” หรือไม่
๒) คุณรัฐ เรืองโชติวิทย์ เห็นว่า ควรเพิ่มนิยามคาว่า “แหล่งแพร่กระจายโรค” หรือ “แหล่งกาเนิดโรค”
๓) คุณจิตรภาณุ ศรีเดช เห็นว่า คาว่า “โรคติดต่ออันตราย” ควรพิจารณาประเด็นโรคติดต่อระหว่าง
สั ต ว์ แ ละคน หรื อ โรคติ ด ต่ อ จากคนสู่ ค นด้ ว ย และค าว่ า “โรคระบาด” ควรเพิ่ ม เติ ม นิ ย ามโรคที่ ท ราบ
และยังไม่ทราบสาเหตุของโรคด้วย
๔) คุณเฉลิมเดช เนื่องสุว รรณลั กษณ์ เห็นว่า ควรเพิ่มนิยาม "ผู้ ที่มีความเสี่ยงที่จะติดโรค" และ
"ผู้มีเหตุอันควรสงสัย" ด้วย
๕) คุณกริ่งแก้ว สอาดรัตน์ : เห็นว่า ตามนิยาม “โรคติดต่อ” หมายความว่า โรคที่เกิดจากเชื้อโรค
หรือพิษของเชื้อโรคไม่ว่าจะเป็น สิ่งมีชีวิตหรือไม่ก็ตาม บรรดาที่สามารถแพร่โดยทางตรงหรือทางอ้อมมาสู่คน
ซึง่ คาว่า “บรรดาที่สามารถแพร่” ควรขยายความให้เข้าใจมากกว่านี้

๖) คุณมนัสวินีร์...
-4-
๖) คุณมนัสวินีร์ ภูมิวัฒน์ เห็นว่า โรคติดต่ออันตราย หมายความว่า เป็นโรคที่มีความรุนแรงสูง
และแพร่ ก ระจายได้ ร วดเร็ ว ซึ่ ง จะไม่ เ ข้ า กั บ กรณี โ รค XDR-TB อาจต้ อ งออกข้ อ ก าหนดยกเว้ น และเหตุ ผ ล
ที่จาเป็นต้องใช้พระราชบัญญัตินี้กับโรคดังกล่าวให้ชัดเจน
๔.๔ ประเด็ น ที่ ๔ ให้เ พิ่มบทนิยามค าว่า “โรคติดต่ออัน ตรายร้ า ยแรง” ระหว่า งบทนิยามค าว่า
“โรคระบาด” และ “พาหะ” ในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘
“โรคติ ด ต่ อ อั น ตรายร้ า ยแรง” หมายความว่ า โรคติ ด ต่ อ อั น ตรายร้ า ยแรงตามที่ ก าหนด
ตามมาตรา ๔๔/๑
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๗๕ ๘๖.๒ ๑๒ ๑.๓ ๑๑๒ ๑๒.๕
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณทิพย์สุดา นวลนิ่ม เห็นว่า ควรจะมีความหมายเช่นเดียวกับคาว่า “โรคติดต่ออันตราย”
๒) คุณสุมาศ ลอยเมฆ เห็นว่า คาว่า “โรคติดต่อ” ถึงจะไม่ร้ายแรงแต่ก็ทาให้เกิด ความเสียหาย
ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น จึงน่าจะแยกความหมายออกเป็นสองคา คือ “โรคติดต่อ” และ “โรคติดต่อร้ายแรง”
๔.๕ ประเด็ น ที่ ๕ ให้ ย กเลิ ก ความในบทนิ ย ามค าว่ า “แยกกั ก ” และ “กั ก กั น ” ในมาตรา ๔
แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“แยกกั ก ” หมายความว่ า การแยกผู้ ที่ เ ป็ น โรคหรื อ ผู้ สั ม ผั ส โรคออกจากผู้ อื่ น โดยให้ อ ยู่ ใ น
สถานพยาบาลหรือสถานที่ที่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อกาหนด เพื่อป้องกันการแพร่ของเชื้อโรคโดยทางตรง
หรือทางอ้อม
“กักกัน” หมายความว่า การแยกผู้มีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคออกจากผู้อื่น โดยให้อยู่ใ น
ที่เอกเทศ เพื่อป้องกันการแพร่ของเชื้อโรคที่อาจเกิดขึ้นโดยทางตรงหรือทางอ้อม
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๕๒ ๘๔ ๓๙ ๔ ๑๐๘ ๑๒
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณธงธน เพิ่มบถศรี เห็นว่า การแยกกักและกักกันเป็นการจากัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคล
จึงต้องกาหนดนิยามและเหตุผลความจาเป็นตลอดจนมาตรการแนวทางดาเนินการที่มีความชัดเจนเหมาะสม

๒) คุณวิมวิการ์...
-5-
๒) คุณวิมวิการ์ ศักดิ์ชัยนานนท์ เห็นว่า ควรเปิดช่องให้คาว่า "เอกเทศ" คือ สถานที่พิจารณาแล้ว
ว่าเป็นที่กักกัน เพราะบางครั้งการกักกัน ไม่ได้ทาเป็นเอกเทศชัดเจน
๓) คุณศรั ณยา สิ โ รรส เห็ นว่า การกักกัน ควรเพิ่มเติมว่า “ต้องปฏิบัติตัว อยู่ภ ายใต้ข้อแนะนา
ของเจ้าพนักงานควบคุมโรค” ด้วย
๔) คุ ณ ดาริ ก า กิ่ ง เนตร เห็ น ว่ า ควรระบุ ภ าษาอั ง กฤษด้ ว ย เช่ น แยกกั ก (Isolation) กั ก กั น
(Quarantine) และเสนอให้ ป รั บ ค าให้ ชั ด เจนขึ้ น โดยค าว่ า “แยกกั ก ” หมายความว่ า การแยกรั ก ษา
หรือแยกรักษาพยาบาล และ “กักกัน” หมายความว่า การแยกสังเกตอาการ
๕) คุณโสภัคค์ ศะศินิล เห็นว่า ต้องเพิ่มนิยามของ “สถานที่กักกัน ” และ “โรงพยาบาลสนาม”
เนื่องจากตามข้อเท็จจริง สถานที่กักกันจะใช้ในการกักกันโรคของผู้ที่เดินทางมาจากต่างประเทศ แต่ยังไม่ครอบคลุม
ผู้ ที่ เ ดิ น ทางภายในประเทศกรณี เ กิ ด โรคระบาดร้ า ยแรงว่ า ต้ อ งกั ก กั น ที่ ใ ด ส่ ว นโรงพยาบาลสนามเกิ ด ขึ้ น
เพราะปริมาณการใช้บริการมากกว่าปริมาณการให้บริการ
๖) คุ ณกุ ล ธิ ดา สุ ร วาท เห็ น ว่ า ตามความในมาตรา ๓๔ (๑) มี ก ารก าหนดให้ ส ามารถแยกกั ก
หรื อ กั ก กั น บุ ค คลได้ ๔ ประเภท ได้ แ ก่ ๑. ผู้ ที่ เ ป็ น โรค ๒. ผู้ มี เ หตุ อั น ควรสงสั ย ว่ า เป็ น โรค ๓. ผู้ สั ม ผั ส โรค
๔. ผู้ ที่ เ ป็ น พาหะ แต่ คานิ ย ามของค าว่า "แยกกั ก" และ "กั ก กั น" ก าหนดครอบคลุ ม บุค คลเพี ย ง ๓ ประเภท
ยังไม่ได้กาหนดถึงผู้ที่เป็นพาหะ
๗) คุณฤษณัสุ กาวงค์ เห็นว่า การแยกกัก หมายถึง การแยกผู้ป่วยหรือพาหะออกจากผู้อื่นให้อยู่
ในสถานพยาบาล หรืสถานที่ที่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อกาหนดจนกว่าจะพ้นระยะแพร่โรค
๘) คุณธัณย์สิ ตา วิเศษสิ งห์ เห็ นว่า คานิยามมีความหมายไม่ชัดเจน ยังคงมี ข้อความสงสั ยและ
คากากวม
๙) คุณ ชาโล สาณศิล ปิ น เห็ นว่า “แยกกัก ” หมายความว่า การแยกผู้ ที่เป็นโรคออกจากผู้ อื่ น
โดยให้อยู่ในสถานพยาบาลหรือสถานที่ที่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อกาหนด เพื่อป้องกันการแพร่ของเชื้อโรค
โดยทางตรงหรือทางอ้อม ส่วน “กักกัน” หมายความว่า การแยกผู้มีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคออกจากผู้อื่น
โดยให้อยู่ในที่เอกเทศ เพื่อป้องกันการแพร่ของเชื้อโรคที่อาจเกิดขึ้นโดยทางตรงหรือทางอ้อม
๑๐) คุณสุชาดา กิยะแพทย์ เห็นว่า “แยกกัก” หมายความว่า การแยกผู้ที่เป็นโรคหรือผู้สัมผัสโรค
ออกจากผู้อื่นโดยให้อยู่ในสถานพยาบาลหรือสถานที่ที่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อกาหนด มีฉากกั้น เป็นสัดส่วน
เพื่อป้องกันการแพร่ของเชื้อโรคโดยทางตรงหรือทางอ้อม ส่วน “กักกัน” หมายความว่า การแยกผู้มีเหตุอันควร
สงสัยว่าเป็นโรคออกจากผู้อื่น โดยให้อยู่ในที่เอกเทศ มีการปิดรั้วล้อมรอบ ห้ามให้ผู้อื่นอยู่ใกล้ชิด หากจาเป็นต้องอยู่
ใกล้ชิด ให้อยู่ได้ไม่เกิน ๕ นาที เพื่อป้องกันการแพร่ของเชื้อโรคที่อาจเกิดขึ้นโดยทางตรงหรือทางอ้อม

๑๑) คุณจีระวัฒน์...
-6-
๑๑) คุณจีระวัฒน์ ฉ่ารัศมี เห็นว่า การแยกคานิยามทาให้เข้าใจยาก จุดประสงค์ก็คือจะให้มีการแยก
ผู้ เ ป็ น โรค ผู้ สั ม ผั ส โรค หรื อ ผู้ มีเ หตุ อั น ควรสงสั ยว่ า เป็ น โรคออกจากผู้ อื่ น ไปที่ อื่น จึง ไม่ จ าเป็ น ต้อ งมาแยกค า
เห็นควรให้แก้คาโดยใช้คาเดียวกันและความหมายรวมกัน
๑๒) คุณเจษฎา ธนกิจเจริญกุล เห็นว่า ควรปรับนิยามให้ครบถ้วนและถูกต้องตามหลักวิชาการ
“แยกกัก ” หมายความว่า การแยกผู้ที่เป็นโรคหรือพาหะออกจากผู้อื่นโดยให้ อยู่ในสถานพยาบาลหรือสถานที่
ที่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อกาหนด เพื่อทาการรักษาและป้องกันมิให้เชื้อโรคแพร่โดยทางตรงหรือทางอ้อม
ไปยังผู้ซึ่งอาจได้รับเชื้อโรคนั้น ๆ ได้ จนกว่าจะพ้นระยะติดต่อของโรค ส่วน “กักกัน” หมายความว่า การแยกผู้มี
เหตุอันควรสงสั ย ว่าเป็ นโรคหรื อผู้ สัมผั ส โรคให้อยู่ในที่เอกเทศ เพื่อสังเกตอาการและป้องกันมิให้เชื้อโรคแพร่
โดยทางตรงหรือทางอ้อมไปยังผู้ซึ่งอาจได้รับเชื้อโรคนั้น ๆ ได้ จนกว่าจะพ้นระยะฟักตัวของโรค
๑๓) คุณณัฐปภัสร์ เบ็ญจพงษ์ เห็นว่า แยกกัก แบ่งได้เป็น ๒ ระดับ คือ
๑. เจ็บป่วยรุนแรงต้องใช้เครื่องมือทางการแพทย์ ต้องอยู่ในสถานพยาบาลเท่านั้น
๒. เจ็บป่วยไม่รุนแรง ให้อยู่ในที่พักอาศัยตนเอง โดยมีสายรัดข้อมือชนิดที่ถอดเองไม่ได้ติดไว้ตลอด
๑๔) คุณรพิน ทร หงษาค า เห็ นว่า "แยกกัก" คื อ เพื่อป้องกันการแพร่ข องเชื้อโรคโดยทางตรง
หรือทางอ้อม ควรแยกสถานที่เฉพาะเป็นศูนย์กักเชื้อโรคจากสภาพภูมิประเทศพื้นที่เสี่ยงคือพื้นที่ติดชายแดนไทย
ซึ่งเป็ น แบ่ ง ๔ ภาค ส่ ว น "กักกัน " คือ แยกผู้ ที่มีความเสี่ ยงสู งหรือผู้ สั มผั ส โรคออกจากผู้ อื่นโดยให้ อยู่ในพื้น ที่
แต่ละจังหวัด โดยมีเหตุผลประกอบการพิจารณา คือ
๑. ควรล็อคดาวน์ผู้ที่ไม่ได้ติดเชื้อ ให้แต่ละอาเภอกาหนดพื้นทีป่ ิด และขอความสมัครใจผู้ที่ไม่ติด
เชื้อมาอยู่รวมกัน
๒. สามารถป้องกันการลักลอบเข้าประเทศโดยผิดกฎหมายหรือผู้ที่มาจากประเทศเสี่ยง
๓. ช่วยบุคคลกรทางการแพทย์ กรณีสุ่มเสี่ยงทีบ่ ุคคลปิดบังข้อมูล เพิ่มการรักษาผู้ป่วยที่ไม่ได้ติดเชื้อ
๑๕) คุณจตุภูมิ โกมาสถิตย์ เห็นว่า ควรเพิ่มนิยาม “สถานที่กักกัน” ด้วย
๑๖) คุณวิลาวัลย์ พุ่มอยู่ เห็นว่า ควรเพิ่มข้อความว่า "โดยไม่ให้ออกจากสถานที่ดังกล่าวภายใน
ระยะเวลาที่กาหนด”
๑๗) คุณเรไร จันทรนราย เห็นว่า ควรเพิ่มเติมนิยามคาว่า “กักกัน” หมายความว่า การแยกผู้มีเหตุ
อันควรสงสัยว่าเป็นโรคออกจากผู้อื่น โดยให้อยู่ในที่เอกเทศหรือสถานที่ที่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อกาหนด
เพื่อป้องกันการแพร่ของเชื้อโรคที่อาจเกิดขึ้นโดยทางตรงหรือทางอ้อมไปยังผู้อื่นซึ่งอาจได้รับเชื้อโรคนั้น ๆ ได้
๔.๖ ประเด็นที่ ๖ ให้ยกเลิกความในบทนิยามคาว่า “เขตติดโรค” ในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติ
โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“เขตติดโรค” หมายความว่า ท้องที่หรือเมืองท่าใดนอกราชอาณาจักรที่มีโรคติดต่ออันตรายหรือ
โรคระบาดเกิดขึ้น ที่กาหนดตามมาตรา ๘

เห็นด้วย...
-7-
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๔๐ ๘๒.๓ ๓๘ ๔.๒ ๑๒๑ ๑๓.๕
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณดาริกา กิ่งเนตร เห็นว่า ควรปรับเป็น “ท้องที่หรือเมืองใด” ไม่ควรใช้คาว่า “เมืองท่า”
๒) คุณกฤตภาส ทองเฝือ เห็นว่า ควรหมายความรวมถึงพื้นทีภ่ ายในราชอาณาจักรด้วย
๔.๗ ประเด็นที่ ๗ ให้ยกเลิกความในบทนิยามคาว่า “ที่เอกเทศ” ในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติ
โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“ที่เอกเทศ” หมายความว่า ที่ใด ๆ ที่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อกาหนดให้ผู้ที่ต้องถูกกักกัน
เข้ า พั ก เป็ น เวลาที่ ก าหนดเพื่ อ รั บ การตรวจหรื อ ชั น สู ต รทางการแพทย์ แ ละป้ อ งกั น การแพร่ ข องเชื้ อ โรค
ที่อาจเกิดขึ้นโดยทางตรงหรือทางอ้อม
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๓๒ ๘๑ ๓๕ ๔ ๑๓๒ ๑๕
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณธงธน เพิ่มบถศรี เห็นว่า ความสัมพันธ์ของถ้อยคา "ที่ใด ๆ ที่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
กาหนดให้ผู้ที่ต้องถูกกักกันเข้าพักฯ " กับคาว่า "เอกเทศ" มีความไม่ชัดเจน
๒) คุณดาริกา กิ่งเนตร เห็นว่า ควรใช้คาว่า “ที่ใด ๆ ทีผ่ ู้ที่ถูกแยกสังเกตอาการเข้าพัก”
๓) คุณกุลธิดา สุรวาท เห็นว่า
๑. ตามความในมาตรา ๓๔ (๑) กาหนดให้ ผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสั ยว่าเป็นโรคติดต่อ
อันตรายหรือโรคระบาด หรือผู้ ที่เป็นผู้สัมผัสโรคหรือเป็นพาหะ มารับการตรวจหรือรักษา หรือรับการชันสูตร
ทางการแพทย์ แต่นิยามของคาว่า "ที่เอกเทศ" กาหนดไว้เพียง "...เพื่อรับการตรวจหรือชันสูตรทางการแพทย์..."
ดังนั้ น เพื่อให้ เกิด ความสอดคล้ องกับ ถ้อยค าในมาตราอื่ น ๆ จึงขอเสนอให้ แก้ไ ขนิยามของค าว่า "ที่เอกเทศ"
เป็น "...เพื่อรับการตรวจหรือรักษา หรือรับการชันสูตรทางการแพทย์..."
๒. ตามความในมาตรา ๓๔ (๑) ก าหนดให้ อ าจด าเนิ น การโดยการแยกกั ก ไว้ ใ นสถานที่ ที่
เจ้ า พนั ก งานควบคุ ม โรคติ ด ต่ อ ก าหนด แต่ นิ ย ามของค าว่ า "ที่ เ อกเทศ" ก าหนดเฉพาะกรณี ข องการกั ก กั น
ยังไม่รวมถึงกรณีแยกกัก ก่อให้เกิดประเด็นที่น่าสงสัยว่า สถานที่ที่ เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อกาหนดให้กักกัน
เรี ย กว่า ที่เอกเทศ แต่ส ถานที่ที่ เจ้ าพนั กงานควบคุมโรคติด ต่อ กาหนดให้ แยกกัก กลั บไม่ไ ด้เรียกว่า ที่เอกเทศ
กรณีดังกล่าวมีความแตกต่างกันหรือเหมือนกันอย่างไร
๔) คุณเรณูศรี...
-8-
๔) คุณเรณูศรี ธนวัฒนพงศ์ชัย เห็นว่า ควรเพิ่มข้อความว่า “โดยเป็นสถานที่ ๆ จัดไว้อย่างเหมาะสม
ถูกสุขอนามัยและไม่แออัดเกินไป”
๕) คุณณัฐพล ผลาผล เห็นว่า ควรระบุด้วยว่า ที่เอกเทศดังกล่าวเป็นที่ลักษณะอย่างไร สภาพแวดล้อม
เป็นแบบใด เหมาะสมต่อผู้ที่ต้องถูกกักกันหรือไม่
๖) คุณเรไร จันทรนราย เห็นว่า ฉบับเดิมมีเนื้อหาครอบคลุมดีอยู่แล้ว ใช้ได้ กับกรณีทั้งโรคติดต่อ
ทั่วไปและโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน ไม่ควรระบุคาว่า “เพื่อรับการตรวจหรือชันสูตรทางการแพทย์ ” เพราะผู้ที่ได้รับ
การกักกันไม่จาเป็นต้องดาเนินการดังกล่าวทุกคน และมีอานาจสั่งให้ตรวจอยู่แล้วในมาตรา ๓๔ (๑)
๔.๘ ประเด็นที่ ๘ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้
ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๕ ให้ น ายกรั ฐ มนตรี แ ละรั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงสาธารณสุ ข รั ก ษาการตาม
พระราชบัญญัตินี้ ทั้งนี้ ในส่วนที่เกี่ยวกับหน้าที่และอานาจของตน
ให้รัฐมนตรีมีอานาจแต่งตั้งเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ และออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการ
ตามพระราชบัญญัตินี้
กฎกระทรวงนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับได้”
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๓๕ ๘๒ ๓๖ ๔ ๑๒๘ ๑๔
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณกุลธิดา สุรวาท เห็นว่า มาตรา ๕ เป็นมาตราที่กาหนดเกี่ยวกับอานาจทั่วไปของรัฐมนตรี
ระบุแค่อานาจในการแต่งตั้งเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ และอานาจในการออกกฎกระทรวง แต่ไม่ได้ระบุอานาจ
ในการออกระเบียบหรือประกาศไว้ ทั้ง ๆ ที่ในมาตราอื่น ๆ ในพระราชบัญญัติโรคติดต่อฉบับนี้ มีการกาหนดให้
รัฐมนตรีมีอานาจในการออกประกาศด้วย ยกตัวอย่างเช่น มาตรา ๖ มาตรา ๓๔ วรรคสามและวรรคสี่ มาตรา ๔๑
และมาตรา ๔๒
๒) คุณเฉลิมเดช เนื่องสุ วรรณลักษณ์ เห็นว่า ควรให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการ
เท่านั้น
๓) คุณสุรวัฒน์ ชลอสันติสกุล เห็นว่า ควรมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ร่วมด้วย
เนื่องจากปั จจุบั นโรคติดต่อมีส าเหตุมาจากสัตว์และอาหารเพิ่มขึ้น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (สัตวแพทย์)
ควรมีบทบาทและหน้าที่รับผิดชอบร่วมกันในส่วนที่เกี่ยวข้อง

๔) คุณกฤตภาส...
-9-
๔) คุณกฤตภาส ทองเฝือ เห็นว่า การใช้อานาจควรให้ผ่านความเห็นชอบของที่ประชุมมาก่อนด้วย
๕) คุณวาทิกษ์ พิมพ์วงศ์ เห็นว่า การกาหนดให้ผู้รักษาการมี ๒ คน อาจขาดเอกภาพ
๖) คุณณัฐปภัสร์ เบ็ญจพงษ์ เห็นว่า ให้ผู้รับผิดชอบสูงสุดในองค์กรสาธารณสุขที่มีใบอนุญาตแพทย์
แผนปัจจุบัน เป็นผู้ กาหนด วิธีการรักษา ป้องกัน ควบคุม โดยรายงานตรงต่อคณะกรรมการควบคุมโรคติดต่อ
อย่างอิสระ
๗) คุณธีร์ธวัช ศรีเพ็ชรสัย เห็นว่า ควรให้รัฐมนตรีมีอานาจออกกฎกระทรวง หรือแต่งตั้ง มอบอานาจ
ให้ประธานคณะกรรมการโรคติดติดต่อจังหวัด
๔.๙ ประเด็นที่ ๙ ให้ยกเลิก (๑) ของมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๕๙๖ ๖๖ ๒๔ ๓ ๒๗๙ ๓๑
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณกิตติ เห็นว่า ควรคงเนื้อหา (๑) ของมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘
ไว้ตามเดิม
๔.๑๐ ประเด็นที่ ๑๐ ให้ยกเลิกมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๕๙๕ ๖๖ ๓๘ ๔ ๒๖๖ ๓๐
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณจิรัสย์ ดีเดช เห็นว่า ควรให้ใช้มาตรา ๗ ต่อมากกว่าที่จะยกเลิก
๒) คุณกิตติ เห็นว่า ควรจะคงมาตรา ๗ ไว้
๓) คุณพงษ์ศักดิ์ ศรีมุษิกโพธิ์ เห็นว่า การกาหนดอานาจให้อธิบดีมีอิสระทาให้ ควบคุมเชิงนโยบาย
ล าบาก และการตั ด ผู้ อ านวยการกองระบาดวิ ทยาออกไปอี ก จะท าให้ กรมควบคุ มโรคสามารถตั ดสิ นใจเองได้
จึงมีความอันตราย เพราะผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติควรมีอานาจทั้งหมดนี้
๔) คุณสิทิชัย เจริญกิติศัพท์ เห็นว่า น่าจะมีเนื้อหาเดิมที่จะยกเลิก
๕) คุณอาทยา พงศ์ไพบูลย์ ตั้งข้อสังเกตว่า ถ้ายกเลิกหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในมาตรา ๗
แสดงว่าต้องมีมาตราใหม่เพื่อมากาหนดสิ่งเหล่านี้ใช่หรือไม่

๖) คุณเรไร...
- 10 -
๖) คุณเรไร จันทรนราย ตั้งข้อสังเกตว่า หากยกเลิกมาตรา ๗ แล้วจะเอาหลักเกณฑ์และเงื่อนไข
ใดในการกาหนดค่าใช้จ่ายและผู้รับผิดชอบ ยกเว้นมีการระบุใช้ในพระราชบัญญัติไว้เรียบร้อยแล้ว
๔.๑๑ ประเด็ น ที่ ๑๑ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๙ แห่ งพระราชบั ญญัติโ รคติด ต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘
และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๙ เพื่ อประโยชน์ใ นการป้ องกัน และควบคุม โรคติ ด ต่อ อัน ตราย โรคติ ด ต่อ ที่ต้ อ ง
เฝ้าระวัง หรือโรคระบาด ให้อธิบดีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการด้านวิชาการมีหน้าที่ประกาศชื่อและอาการ
สาคัญของโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง หรือโรคระบาดให้ประชาชนทราบ
เมื่อเกิดโรคระบาดขึ้นในท้องที่ใดให้อธิบดีมีหน้าที่ประกาศให้ประชาชนทราบ พร้อมทั้งระบุ
สถานที่ที่มีโรคระบาด และแจ้งให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อทราบ รวมทั้งประกาศยกเลิก เปลี่ยนแปลง
หรือแก้ไข เมื่อมีเหตุอันสมควร”
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๔๗ ๘๓ ๒๖ ๓ ๑๒๖ ๑๔
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณศิรชัช นิจพาณิชย์ เห็น ว่า หากโรคติดต่อมีความร้ายแรงมากถึงขนาดอธิบดีหรือผู้แทน
กระทรวงไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ควรมีความครอบคลุมถึงกรณีร้ายแรงที่สุด เช่น รัฐบาลขาดเสถียรภาพ หรือ
เกิ ดเหตุจ ลาจล ผู้ มีอ านาจควรถู ก กาหนดเป็น ล าดั บขั้ น เช่ น เพิ่ ม ข้อ ความว่า “อธิบ ดี ห รื อ ผู้ มี อานาจควบคุ ม
สถานการณ์ หรือผู้บัญชาการสถานการณ์”
๒) คุณพงษ์ศักดิ์ ศรีมุษิกโพธิ์ เห็นว่า ควรให้ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติมีหน้าที่ ไม่เช่นนั้น
อานาจจะขัดแย้งกันได้
๓) คุ ณกุลธิดา สุ ร วาท เห็นว่า มาตรา ๙ กาหนดให้ อธิบดีโ ดยคาแนะนาของคณะกรรมการ
ด้านวิชาการมีหน้าที่ประกาศ หากใช้คาว่า "หน้าที่" อาจจะก่อให้เกิดปัญหาในการตีความว่า มาตรานี้จะสามารถ
นาไปใช้อ้างเป็นบทอาศัยอานาจในการออกประกาศได้หรือไม่ เนื่องจากกาหนดให้มีหน้าที่ในการออกประกาศ
แต่ไม่ได้กาหนดให้มีอานาจในการออกประกาศ
๔) คุ ณ รั ฐ กร ยานะโส เห็ น ว่า ควรท าการประชาสั ม พัน ธ์ใ ห้ มาก ทั้ งข้ อ ห้ า ม และบทลงโทษ
ไม่เช่นนั้นจะมีคนฝ่าฝืน ไม่เว้นผู้ใหญ่บ้าน กานัน และข้าราชการทุกคน
๕) คุณธัณย์สิตา วิเศษสิงห์ ตั้งข้อสังเกตว่า จะให้อธิบดีกรมควบคุมโรคแจ้งเจ้าพนักงานควบคุม
โรคติดต่อเพื่ออะไร ในเมื่อมีการประกาศแล้ว เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ ต้องทราบอยู่แล้ว แล้ววิธีการแจ้ง
แจ้งอย่างไร แจ้งเขตไหน เขตที่มีโรคระบาดหรือเขตไหน
๖) คุณหทัยรัตน์ ...
- 11 -
๖) คุ ณ หทั ย รั ต น์ สมั ครการ เห็ นว่ า ไม่ ส มควรรอให้ อธิ บ ดีโ ดยค าแนะน าของคณะกรรมการ
ด้านวิชาการประกาศ เพราะโรคที่ มีการระบาดหรือโรคติดต่ออันตรายเป็นเหตุจาเป็นเร่งด่วน สมควรดาเนินการ
ทันทีโดยลดขั้นตอน ลดระยะเวลาดาเนินการ และให้ผู้มีอานาจหรือผู้ที่เกี่ยวข้องประกาศแทน
๗) คุณเรณูศรี ธนวัฒนพงศ์ชัย มีความเห็นว่า ควรให้มีการแชร์ข้อมูลผู้ติดเชื้อแบบต่างประเทศ
ว่ามีผู้ติดเชื้ออยู่ในรั ศมี ๓๐๐ เมตร เป็นต้น เพื่อป้องกันกรณี การออกนอกพื้นที่ของผู้ ติดเชื้อ เพราะเจ้าหน้าที่
อาจไม่สามารถมอนิเตอร์ได้ตลอดเวลา เช่น กรณีปล่อยให้คนติดเชื้อขึ้นเครื่องกลับบ้าน เป็นต้น เพื่ อการเฝ้าระวัง
ของคนทั่วไป โดยไม่ได้มีการระบุว่าเป็นคนไหน
๔.๑๒ ประเด็ น ที่ ๑๒ ให้ เ พิ่ ม ความต่ อ ไปนี้ เ ป็ น มาตรา ๙/๑ แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ โ รคติ ด ต่ อ
พ.ศ. ๒๕๕๘
“มาตรา ๙/๑ เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการป้ อ งกั น และควบคุ ม โรคติ ด ต่ อ ที่ จ ะมี ม าจากนอก
ราชอาณาจักร ให้รัฐมนตรีมีอานาจสั่งให้ผู้ควบคุมพาหนะที่มาจากท้องที่หรือเมืองท่าใดนอกราชอาณาจักรที่มี
โรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาด หรือมีเหตุอันควรสงสัยว่ามีผู้เป็นโรคติดต่ออันตรายอยู่บนพาหนะนั้น มิให้ นา
พาหนะดังกล่าวเข้ามาในราชอาณาจักรหรือให้ออกไปนอกราชอาณาจักร หรือให้จอดพาหนะ ณ สถานที่ใด ๆ
ในราชอาณาจักรที่กาหนด
ราชอาณาจักรตามวรรคหนึ่ง หมายความรวมถึงเขตต่อเนื่องด้วย”
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๔๐ ๘๒.๓ ๒๑ ๒.๓ ๑๓๘ ๑๕.๔
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณศิรชัช า นิจพาณิชย์ เห็นว่า นอกจากพาหนะ ควรกาหนดให้หมายความรวมถึง สัตว์ ศพ
หรือสิ่งของอื่นใดที่อาจทาให้เกิดการแพร่กระจาย
๒) คุณ พงษ์ศั กดิ์ ศรี มุษิ กโพธิ์ เห็ น ว่า ต้อ งบั ญญั ติใ ห้ ชั ดเจนว่ า ผู้ ที่ มีเ หตุ อันควรสงสั ย ว่า เป็ น
โรคติ ดต่ออั น ตรายนั้ น จะต้องถูกกัก ตัว หรืออย่ างข้อ ความในมาตรานี้ อ่านแล้ ว เหมือนจะพูด ถึง พาหนะ ดังนั้ น
ถ้าสมมุติว่าได้จอดพาหนะแล้ว คนก็เดินเท้าไปขึ้นพาหนะอีกคันที่จอดอยู่ในราชอาณาจักร เช่นนี้ก็ไม่ผิดแล้ว
๓) คุณธัณย์สิตา วิเศษสิงห์ เห็นว่า เห็นด้วยตามวรรคแรก แต่วรรคสองนั้นต้องอธิบายการตีความ
คาว่า “เขตต่อเนื่อง” ว่ามีความหมายว่าอย่างไร
๔) คุณอุไรวรรณ อุดมสินค้า เห็นว่า น่าจะนาพาหนะเข้ามาในราชอาณาจักรได้แต่ต้องได้รับ
การฆ่าเชื้อด้วยวิธีมาตรฐาน

๕) คุณกัญญมน...
- 12 -
๕) คุณกัญญมน รุ่งเรืองธัญญา เห็นว่า ควรมอบอานาจให้อธิบดีกรมควบคุมโรคดาเนินการแทน
รัฐมนตรี
๖) คุณธีร์ธวัช ศรีเพ็ชรสัย เห็นว่า ควรให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจาช่องทางเข้าออก
ประเทศ มีอานาจตามมาตรานี้
๔.๑๓ ประเด็ น ที่ ๑๓ ให้ เ พิ่ ม ความต่ อ ไปนี้ เ ป็ น มาตรา ๑๐/๑ ของหมวด ๑ บททั่ ว ไป
แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘
“มาตรา ๑๐/๑ การยื่นค าขอ การอนุญาต การสั่งการ และการแจ้งตามพระราชบัญญัตินี้
จะดาเนินการโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้
ในกรณีที่พระราชบัญญัตินี้กาหนดให้ประกาศหรือเผยแพร่ให้ประชาชนทราบเป็นการทั่วไป
ให้ถือว่าการประกาศหรือเผยแพร่ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศหรือวิธีการอื่นใดที่ประชาชนทั่วไปสามารถ
เข้าถึงได้โดยสะดวก เป็นการดาเนินการโดยชอบด้วยพระราชบัญญัตินี้แล้ว”
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๕๗ ๘๔ ๑๖ ๒ ๑๒๖ ๑๔
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณกิตติ มีข้อสังเกตว่า ยังมีประชาชนบางคนที่ไม่มีโทรศัพท์มือถือใช้ จะได้รับข่าวสารอย่างไร
๒) คุณสิทิชัย เจริญกิติศัพท์ เห็นว่า ควรบังคับให้ประกาศแจ้งลงในเว็บไซต์กรมควบคุมโรคและ
สื่อมวลชนที่คนทั่วไปเข้าถึงง่าย
๓) คุณกุลธิดา สุรวาท มีข้อสังเกตว่า การเพิ่มความเป็นมาตราใหม่ เนื่องจากในร่างพระราชบัญญัติ
โรคติ ด ต่ อ ในมาตราอื่ น ๆ ไม่ ไ ด้ ร ะบุ ว่ า ให้ อ ยู่ ใ นหมวดใด แต่ ก ารเพิ่ ม มาตรา ๑๐/๑ ตามมาตรานี้
ระบุว่า "ของหมวด ๑ บททั่วไป" มีความแตกต่างจากมาตราอื่น ๆ
๔) คุณเรณูศรี ธนวัฒนพงศ์ชัย เห็นว่า คนไทยเข้าถึงระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้น้อยเกินไป ดังนั้น
ควรประชาสัมพันธ์ให้หลากหลายเพื่อทุกภาคส่วน
๕) คุณเรไร จันทรนราย เห็นว่า เห็นด้วยในกรณีการแจ้งประชาชน แต่สาหรับการประกาศหรือ
แจ้งให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อทราบ ควรแจ้งอย่างเป็ นทางการ เนื่องจากป้องกันข่าวลวงและเจ้าหน้าที่ต้อง
ยึดหลักเกณฑ์มาตรการต่าง ๆ ในการปฏิบัติงาน
๔.๑๔ ประเด็นที่ ๑๔ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (๑/๑) ของมาตรา ๑๑ แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ
พ.ศ. ๒๕๕๘

“(๑/๑) รัฐมนตรี...
- 13 -
“(๑/๑) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ถ้ามี เป็นรองประธานกรรมการ”
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๖๙๓ ๗๗ ๑๙ ๒ ๑๘๗ ๒๑
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุ ณ สุ ร วั ฒ น์ ชลอสั น ติ ส กุ ล เห็ น ว่ า ควรให้ รั ฐ มนตรี ห รื อ รั ฐ มนตรี ช่ ว ยกระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ เป็น รองประธาน หรือผู้ช่วยประธานเพิ่มอีกท่าน
๒) คุณณัฐปภัสร์ เบ็ญจพงษ์ เห็นว่า การคัดเลือกบุคคลมาทางานเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
สาธารณสุ ขหรื อ คณะ ควรเป็ น ผู้ ที่จ บการศึ กษาแพทย์แ ผนปัจ จุบั นเท่า นั้น ไม่ ควรน าผู้ ไม่ มีค วามรู้ ด้า นแพทย์
มาดารงตาแหน่ง เพราะจะทาให้ตัดสิ นใจผิดพลาด ไม่รู้เทคนิควิธีการรักษา การประกาศต่าง ๆ ให้ประชาชนทราบ
ก็จะผิดไปด้วย
๔.๑๕ ประเด็ น ที่ ๑๕ ให้ ย กเลิ ก ความใน (๒) ของมาตรา ๑๑ แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ โ รคติ ด ต่ อ
พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(๒) ปลั ด กระทรวงกลาโหม ปลั ด กระทรวงการต่ า งประเทศ ปลั ด กระทรวงคมนาคม
ปลั ด กระทรวงมหาดไทย ปลั ด กระทรวงแรงงาน ปลั ด กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ปลั ด กระทรวงสาธารณสุ ข
ผู้ บั ญ ชาการต ารวจแห่ ง ชาติ อธิ บ ดี ก รมการแพทย์ อธิ บ ดี ก รมประชาสั ม พั น ธ์ อธิ บ ดี ก รมปศุ สั ต ว์ อธิ บ ดี
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
อธิบดีกรมอนามัย อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช และปลัดกรุงเทพมหานคร เป็นกรรมการ”
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๖๙๑ ๗๗ ๒๘ ๓ ๑๘๐ ๒๐
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณรัฐ เรืองโชติวิทย์ เห็นว่า ควรเพิ่มอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ
๒) คุณดาริกา กิ่งเนตร เห็นว่า ควรเรียงลาดับใหม่ เช่น อธิบดีของกรมภายใต้กระทรวงสาธารณสุข
ควรอยู่ด้วยกัน
๓) คุณธัณย์สิตา วิเศษสิงห์ เห็นว่า ควรเพิ่มอัยการเป็นคณะกรรมการ
๔) นายสุรวัฒน์ ชลอสันติสกุล เห็นว่า ควรเพิ่มปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ด้วย

๕) นางสิริญา...
- 14 -
๕) นางสิริญา ฉิมพาลี เห็นว่า ควรเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครไม่ใช่ปลัดกรุงเทพมหานคร
๖) คุณ ชิงชัย ลิ้ มสุ ว รรณ เห็ นว่ า ควรให้ ตัว แทนของโรงพยาบาลเอกชน โรงพยาบาลของรั ฐ
และบริษัทยา เป็นกรรมการ
๗) คุณมานิ ตตา ชาญไชย เห็นว่า กรรมการเยอะต้องทางานให้ดีด้วย ไม่ใช่แค่ยกมือเห็นด้ว ย
ยิ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเยอะต้องทางานประสานกันให้ได้รู้บทบาทหน้าที่ของตัวเองแต่ต้องบูรณาการการทางาน
และขั้นตอนกระบวนการทางานต้องชัดเจนดาเนินการได้จริงและทันเวลา
๘) คุณวาทิกษ์ พิมพ์วงศ์ เห็นว่า ควรมีผู้บัญชาการทหารสูงสุดด้วย
๙) คุณวิลาวัลย์ พุ่มอยู่ เห็นว่า ควรเพิ่มอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
และสังคม
๔.๑๖ ประเด็ น ที่ ๑๖ ให้ ย กเลิ ก ความใน (๔) ของมาตรา ๑๑ แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ โ รคติ ด ต่ อ
พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(๔) กรรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ซึ่ ง รั ฐ มนตรี แ ต่ ง ตั้ ง จากผู้ มี ค วามรู้ ความเชี่ ย วชาญ และมี
ประสบการณ์เป็นที่ประจักษ์ในด้านการสาธารณสุข การควบคุมโรค และด้านอื่นที่เป็นประโยชน์ในการป้องกัน
ควบคุม โรคติ ด ต่ อ จ านวนไม่ เ กิน แปดคน โดยในจ านวนนี้ ต้ อ งแต่ งตั้ ง จากผู้ แ ทนสภากาชาดไทย คณบดี
คณะแพทยศาสตร์ในสถาบันอุดมศึกษา และผู้ซึ่งทางานในองค์กรพัฒนาเอกชนซึ่งมีวัตถุประสงค์ที่มิใช่เป็นการ
แสวงหาผลกาไรและดาเนินกิจกรรมด้านการสาธารณสุข อย่างน้อยประเภทละหนึ่งคน”
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๖๘๘ ๗๗ ๓๑ ๓ ๑๘๐ ๒๐
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณสิริ พร โตตาบ เห็นว่า ไม่เห็นด้วยตรงองค์กรพัฒนาเอกชนที่ไม่แสวงหากาไร จะพิสูจน์
ได้อย่างไร เพราะปัจจุบันมีองค์กรไม่แสวงหากาไรแต่รับเงินต่างชาติมาป่วนประเทศ และฉากหน้าพัฒนาสังคม
แต่ฉากหลังบ่อนทาลายชาติ
๒) คุณศิรชัช นิจพาณิชย์ เห็นว่า ในกรณีที่มีความร้ายแรงของสถานการณ์มาก เช่น โรคระบาด
ที่ยากในการควบคุม หรืออาวุธชีวภาพ อาจต้องมีกรรมการมากกว่าแปดคนไม่ควรกาหนดจานวนขั้นสูงแต่อย่างใด
๓) คุณพงษ์ศักดิ์ ศรีมุษิกโพธิ์ เห็นว่า ควรมีตัวแทนของภาคเอกชน ที่เป็นระดับปฐมภูมิอยู่ด้วยเสมอ
เพราะระบบสุ ข ภาพของไทยผู ก โยงกับ ระดับ ปฐมภู มิแ ละตามแผนยุท ธศาสตร์ ช าติ ร ะบบสุ ขภาพปฐมภู มิ นั้ น
จะยิ่งมีส่วนในการพัฒนาประเทศด้านสาธารณสุข รวมทั้งงานควบคุมโรคติดต่อ ซึ่งตามความหมายของบริการ

สุขภาพ...
- 15 -
สุขภาพปฐมภูมิ “บริการสุขภาพปฐมภูมิ ” หมายความว่า บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่มุ่งหมายดูแล
สุขภาพของบุคคลในเขตพื้นที่รับผิดชอบในลักษณะองค์รวมตั้งแต่แรก ต่อเนื่อง และผสมผสาน ครอบคลุมทั้งการ
ส่งเสริมสุขภาพ การควบคุมโรค การป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสุขภาพ
โดยหน่วยบริการปฐมภูมิหรือเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ประกอบด้วย แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวและคณะ
ผู้ให้บริการสุขภาพปฐมภูมิ รวมทั้งเชื่อมโยงกับครอบครั ว ชุมชน และบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขระดับ
ทุ ติย ภูมิ และตติ ย ภู มิ จึ งควรกาหนดตัว แทนของปฐมภูมิภ าคเอกชนเข้ าร่ ว มเป็น คณะกรรมการด้ว ยทุ กระดั บ
ขณะนี้มีแต่ผู้แทนสมาคมโรงพยาบาลเอกชนซึ่งเป็นระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ ทาให้ ขาดความเชื่อมโยงกับบริการ
ปฐมภูมิที่ห ากมีการส่ งผ่ านผู้ที่ติดโรคติดต่ออันตราย จะได้ประสานให้ ความรู้ดูแลเยี่ยมบ้านหรือช่ว ยคัดกรอง
ความเสี่ยง ชันสูตรโรคได้ทันเวลา และประชาชนผู้มีความเสี่ยงไม่ต้องไปแออัดที่โรงพยาบาล
๔) คุณธงธน เพิ่มบถศรี เห็นว่า นิยามขององค์กรพัฒนาเอกชนควรมีความชัดเจน หรือใช้นิยาม
ตามกฎหมายที่ใกล้เคียง (ถ้ามี)
๕) คุณดาริกา กิ่งเนตร เห็นว่า แก้ไขคาว่า “การสาธารณสุข” เป็น “การแพทย์และการสาธารณสุข”
๖) คุ ณ จิ ต รภาณุ ศรี เ ดช เห็ น ว่ า ประเด็ น เรื่ อ งจ านวนเป็ น ประเด็ น ที่ ขึ้ น อยู่ กั บ สถานการณ์
ต้อง flexible ตามสถานการณ์เเละความรุนเเรงของโรคที่เกิดขึ้นในขณะนั้น
๗) นายสุรวัฒน์ ชลอสันติสกุล เห็นว่า ควรจะมีตัวแทนจากสภาวิชาชีพร่วมด้วย เช่น สภาพยาบาล
สภาเภสัชกร สภาเทคนิคการแพทย์ สัตวแพทยสภา ทันตแพทยสภา สภากายภาพบาบัด ฯลฯ และควรมีตัวแทน
จากภาคประชาชนร่วมด้วย นอกจากนี้ประเภทของ NGO ไม่ชัดเจนว่ามีกี่ประเภท แบ่งประเภทอย่างไร (ประเด็นนี้
บทบัญญัติไม่แน่ชัดว่า หมายถึง ประเภทของ NGO หรือไม่)
๘) คุณเฉลิมพล รัตนลาโภ เห็นว่า ผู้ทรงคุณวุฒิยังไม่ครอบคลุม
๙) คุณโสภาวดี มูลเมฆ เห็นว่า จานวนคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ อาจมีมากกว่า ๘ คน อาจ
ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ความรุนแรงการระบาดของโรค
๑๐) คุณเจษฎา ธนกิจเจริญกุล เห็นว่าผู้แทนจากสภากาชาดไทย และคณบดีคณะแพทยศาสตร์
ในสถาบันอุดมศึกษาอาจไม่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญด้านสาธารณสุขและการควบคุมโรค ดังนั้น ควรแต่งตั้งจาก
ผู้ที่มีคุณสมบัตื ไม่ควรยึดตามตาแหน่งแต่เพียงอย่างเดียว
๔.๑๗ ประเด็นที่ ๑๗ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา ๑๑ แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.
๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“ให้อธิบดีกรมควบคุมโรคเป็นกรรมการและเลขานุการ และมีอานาจแต่งตั้งข้าราชการของ
กรมควบคุมโรคจานวนไม่เกินสองคนเป็นผู้ช่วยเลขานุการ”

เห็นด้วย...
- 16 -
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๒๘ ๘๑ ๒๙ ๓ ๑๔๒ ๑๖
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณกิตติ เห็นว่า ควรใช้มติในคณะกรรมการเลือกผู้ช่วยเลขานุการ
๒) คุ ณ พงษ์ ศั ก ดิ์ ศรี มุ ษิ ก โพธิ์ เห็ น ว่ า ของเดิ ม ให้ อ ธิ บ ดี ก รมควบคุ ม โรคเป็ น กรรมการและ
เลขานุการ และให้ผู้อานวยการสานักโรคติดต่อทั่วไป เป็นกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการคนที่หนึ่ง และผู้อานวยการ
สานักระบาดวิทยาเป็นกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการคนที่สอง แต่ร่างพระราชบัญญัตินี้ได้ตัด ผู้อานวยการสานัก
ระบาดวิทยาออกไปจากคณะกรรมการ จะทาให้คณะกรรมการโรคติดต่อระดับชาติไม่มี ความเชื่อมโยงกับการ
สอบสวนโรคทางระบาดวิทยาและกาหนดสถานที่ระบาดในการประกาศได้ไม่ถูกต้อง อีกทั้งไม่สามารถเข้าถึงข้อมูล
ความเชื่อมโยงในการสอบสวนโรคได้ทันเวลา
๓) คุณเรณูศรี ธนวัฒ นพงศ์ชั ย เห็นว่า ต้องเป็นตามความจาเป็ นเท่านั้น โดยไม่เป็นการถาวร
ถึงสองท่าน โดยไม่เกินงบเบิกจ่ายและไม่เบียดงบเดิม เพื่อไม่เป็นการเพิ่มภาระหรืออาจเป็นการให้ตาแหน่งเพื่อเอื้อ
ผลประโยชน์
๔) คุณนวพรรณ สั นตยากร เห็ นว่า น่าจะมีเลขาร่วมจากกรมอื่นที่เกี่ยวข้องหรือให้อานาจอธิบดี
คัดสรร
๕) คุณจั กริน ทร์ พุ่มนิ ล เห็นว่า เหตุใดเลขานุการต้องไม่เกิน ๒ คน น่าจะกาหนดเป็นจานวน
ตามความเหมาะสมเผื่อภาระงานเยอะใช้คนเยอะภาระงานน้อยก็ใช้คนน้อย
๔.๑๘ ประเด็นที่ ๑๘ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสามและวรรคสี่ของมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติ
โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘
“กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ตั้งเพิ่มขึ้นในภายหลัง ให้มีวาระตามกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่มีอยู่เดิม
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่พ้นจากตาแหน่งตามวาระ ให้ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้จนกว่าจะมีการ
แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นใหม่”
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๓๑ ๘๑ ๑๗ ๒ ๑๕๑ ๑๗

โดยมีความเห็น...
- 17 -
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณจิรัสย์ ดีเดช เห็นว่า เมื่อหมดวาระก็ควรหยุดปฏิบัติหน้าที่ แต่หากจาเป็นจะต้องปฏิบัติหน้าที่ต่อ
ให้แต่งตั้งตาแหน่งนั้นขึ้นมาใหม่ จึงจะปฏิบัติหน้าที่ต่อได้
๒) คุณกิตติ เห็นว่า ควรมีระยะเวลากาหนดในการแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิ หลังจากที่มี กรรมการฯ
ที่พ้นวาระแล้ว มิเช่นนั้นอาจจะทาให้คนที่หมดวาระยังคงอยู่ต่อไปเรื่อย ๆ ไม่สิ้นสุด
๓) คุณพงษ์ศักดิ์ ศรีมุษิกโพธิ์ เห็นว่า ควรเขียนเปิดกว้างไม่เฉพาะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเท่านั้น
น่าจะใช้คาว่า กรรมการที่ตั้งเพิ่มขึ้นในภายหลัง เพราะโลกเปลี่ยนเร็วมาก โรคก็เปลี่ยนแปลงไป มีโรคอุบัติการณ์ใหม่
การกลายพั น ธุ์ ไ วรั ส เทคโนโลยี ข องการผลิ ต วั ค ซี น เหล่ า นี้ ท าให้ อ าจต้ อ งเพิ่ ม กรรมการที่ มิ ใ ช่ ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ
ในภายหลั ง กฎหมายเก่ า ๆ ของไทยที่ มี ม าก่ อ น พระราชบั ญ ญั ติ ร ะบบสุ ข ภาพปฐมภู มิ พ.ศ. ๒๕๖๒ นั้ น
แทบมิไ ด้พู ดถึ งปฐมภู มิเ อกชนเลย มีแต่ เพี ยงผู้ แ ทนสมาคมโรงพยาบาลเอกชนและคณะกรรรมการที่บั ญญั ติ
ในกฎหมายก่อนหน้านั้น แม้กระทั่งพระราชบั ญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ ก็มิได้กาหนดไว้
ทาให้กฎหมายไม่ทันสมัยและอาจขัดต่อรัฐธรรมนูญมาตรา ๗๗ รัฐพึงจัดให้มีกฎหมายเพียงเท่าที่จาเป็น และยกเลิก
หรือปรับปรุงกฎหมายที่หมดความจาเป็นหรือไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ หรือที่เป็นอุปสรรคต่อการดารงชีวิต
หรือการประกอบอาชีพโดยไม่ชักช้าเพื่ อไม่ให้เป็นภาระแก่ประชาชน และดาเนินการให้ประชาชนเข้าถึงตัวบท
กฎหมายต่ า ง ๆ ได้ โ ดยสะดวกและสามารถเข้ า ใจกฎหมายได้ ง่ า ยเพื่ อ ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง
เพราะสถานการณ์เปลี่ยนไประบบการแพทย์ปฐมภูมิเป็น ตามมาตรา ๒๕๘ ของรัฐธรรมนูญ ให้ดาเนินการปฏิรูป
ประเทศอย่างน้อยในด้านต่าง ๆ ให้เกิดผลดังต่อไปนี้ ช. ด้านอื่น ๆ (๕) ให้มีระบบการแพทย์ปฐมภูมิที่มีแพทย์
เวชศาสตร์ครอบครัวดูแลประชาชนในสัดส่วนทีเ่ หมาะสม
๔) นางสาวกุ ล ธิดา สุ ร วาท เสนอว่า ให้ แก้ไขจากคาว่า "กรรมการผู้ ทรงคุณ วุฒิ ที่ตั้งเพิ่มขึ้ น
ในภายหลัง..." เป็น "กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่แต่งตั้งเพิ่มขึ้นในภายหลัง..." กล่าวคือ แก้ไขจากคาว่า ที่ตั้ง เป็น ที่แต่งตั้ง
๕) คุณวสุวัฒน์ ทัพเคลียว เห็นว่า ควรกาหนดวันในการแต่งตั้งกรรมการคนใหม่ให้ชัดเจน
๔.๑๙ ประเด็นที่ ๑๙ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ
พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“ให้ประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจ
ปฏิบัติหน้าที่ไ ด้ ในกรณีที่มีรองประธานกรรมการ ให้ร องประธานกรรมการที่มีอาวุโ สสูงสุดตามลาดับเป็น
ประธานในที่ประชุม ถ้าประธานกรรมการและรองประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้
หรือไม่มีรองประธานกรรมการ ให้ที่ประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งที่มาประชุมเป็นประธานในที่ประชุม”
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๑๐ ๗๙ ๒๙ ๓ ๑๖๐ ๑๘

โดยมีความเห็น...
- 18 -
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุ ณธงธน เพิ่ มบถศรี เห็ นว่ า คณะกรรมการโรคติ ดต่ อ แห่ งชาติ เป็ นคณะกรรมการนโยบาย
มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นกรรมการโดยตาแหน่ง การทาหน้าที่ประธานไม่น่าเกี่ยวข้องกับความอาวุโส
๒) คุณศรัณยา สิโรรส เห็นว่า อยากให้เรียงตามคุณวุฒิและความสามารถ ไม่ใช่เรียงตามวัยวุฒิ
๓) คุณณัฐมา รองมาลี สอบถามว่า สามารถประชุมผ่านระบบประชุมทางไกลได้หรือไม่
๔) นางสาวกุลธิดา สุรวาท เห็นว่า ไม่ได้กาหนดเรื่ององค์ประชุมไว้
๕) คุณนที ชาวนา เห็นว่า ประธานหรือรองประธานควรเข้าร่วมประชุม
๖) คุณจิรวัฒน์ ศานติสุข เห็นว่า ให้คงข้อความเพียง “ให้ประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม
ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ในกรณีที่มีรองประธานกรรมการ ให้รองประธานกรรมการ
ที่มีอาวุโสสูงสุดตามลาดับเป็นประธานในที่ประชุม ถ้าประธานกรรมการและรองประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือ
ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้หรือไม่มีรองประธานกรรมการ” เท่านั้น
๗) คุณพีระพรรณ พันธุ์ภักดีคุณ เห็ นว่า การพิจารณาเรื่องที่มีความสาคัญระดับประเทศ ประธาน
หรือรองประธานกรรมการควรต้องอยู่ในที่ประชุม ไม่ควรใช้ประธานหรือรองประธานที่มีตาแหน่งมากมาย เพราะจะไม่
สามารถมาประชุมได้บ่อย ๆ การประชุมไม่ต่อเนื่องกับวาระก่อนหน้า และอาจไม่มีผู้ตัดสินชี้ขาดในบางเรื่อง
๔.๒๐ ประเด็ นที่ ๒๐ ให้ยกเลิกความใน (๒) ของวรรคสองของมาตรา ๑๖ แห่งพระราชบัญญัติ
โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน...
“(๒) ให้ ค าแนะน าแก่ อ ธิ บ ดี ใ นการประกาศโรคติ ดต่ อ อั น ตราย โรคติด ต่ อ ที่ ต้อ งเฝ้า ระวั ง
และโรคระบาด”
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๐๖ ๗๙ ๒๑ ๒ ๑๗๒ ๑๙
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณพงษ์ศักดิ์ ศรีมุษิกโพธิ์ เสนอว่า ควรแก้ไขเป็น “(๒) ให้คาแนะนาแก่รัฐมนตรีในการประกาศ....”
อานาจของรัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติไม่ควรเท่าหรือน้อยกว่าอานาจของผู้ใต้บังคับบัญชา เพราะจะมี
ความขัดแย้งกันของอานาจ conflict of power เมื่อมีปัญหาการฟ้องคดี ผู้รักษาการไม่ต้องรับผิดชอบ เนื่องจาก
ให้อานาจอธิบดีในการประกาศ
๒) คุณดาริกา กิ่งเนตร สอบถามว่า รวมถึงโรคติดต่ออันตรายร้ายแรงหรือไม่
๓) คุณจิตรภาณุ ศรีเดช เห็นว่า ควรระบุให้ชัดเจนว่าอธิบดีกรมใดที่จะมีอานาจในการออกประกาศ

๔.๒๑ ประเด็นที่ ๒๑...


- 19 -
๔.๒๑ ประเด็นที่ ๒๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสี่ของมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ
พ.ศ. ๒๕๕๘
“ในกรณีที่ช่องทางเข้าออกใดมีเอกชนเป็นเจ้าของหรือผู้ควบคุมดูแล ให้คณะกรรมการแต่งตั้ง
ผู้แทนของเจ้าของหรือผู้ควบคุมดูแลช่องทางเข้าออกนั้น เป็นคณะทางานด้วยหนึ่งคน”
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๔๙ ๘๓ ๑๕ ๒ ๑๓๕ ๑๕
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณศิรชัช นิจพาณิชย์ เห็นว่า มีความคลุมเครือ
๒) คุณกมนชนก บุญสิทธิ์ เห็นว่า กรรมการ หมายถึง การมีสิทธิ์ออกเสียง ซึ่งอาจเกิดความไม่เที่ยงได้
ควรให้เจ้าของหรือผู้แทนให้ข้อมูลเป็นกรณีตามที่คณะกรรมการกาหนด
๓) คุณเรณูศรี ธนวัฒนพงศ์ชัย เสนอว่า ควรเป็นการชั่วคราว เพื่อความสะดวกต่อการทางานเท่านั้น
๔) คุณพีระพรรณ พันธุ์ภักดีคุณ เห็นว่า มีผลประโยชน์ทับซ้อน conflict of interest จึงไม่ควร
ให้เป็นคณะทางาน แต่กรณีมีความจาเป็นจะเชิญเข้าร่วมประชุมเพื่อให้ความเห็นได้
๕) คุณวิทมน เกษรบัวขาว เห็นว่า เอกชนควรให้ ความร่วมมือปฏิบัติตามข้อกฎหมาย ไม่ควรมี
ช่องทางให้เอกชนหาผลประโยชน์ส่วนตัว
๖) คุณจันทิมา จันทรประเสริฐ เสนอว่า ให้เจ้าของสถานที่นั้นเป็นคณะกรรมการด้วย
๗) คุณราเชนทร์ แตงอ่อน เห็นว่า ตามมาตรา ๒๓ เรื่อง คณะทางานช่องทางเข้าออกประเทศ
มี อ านาจตาม มาตรา ๒๔ (๑) - (๔) เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นกฎอนามั ย ระหว่ า งประเทศ พ.ศ. ๒๕๔๘ เป็ น ส่ ว นใหญ่
และที่ ผ่ า นมากรณีต้ อ งเพิ่ม คณะทางานที่ เ ป็น หน่ ว ยงานของรัฐ ตาม (๒) นั้น การเสนอเพิ่ มเติม หน่ ว ยงานรั ฐ
ตามวรรคสาม ค่อนข้างเป็นปัญหา และกรณีที่ต้องเสนอไปยังคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติมีระยะเวลานาน
จึงขอเสนอว่าควรเปลี่ยนข้อความจาก “คณะกรรมการ” เป็น “คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวั ด” (และให้ปรับ
ข้อความตามวรรคสี่ให้สอดคล้องกันด้วย)
๔.๒๒ ประเด็ น ที่ ๒๒ ให้ เ พิ่ ม ความต่ อ ไปนี้ เ ป็ น วรรคสองของมาตรา ๓๒ แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ
โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘
“ให้นาความในมาตรา ๓๔ มาใช้บังคับแก่กรณีมีโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังเกิดขึ้นด้วยโดยอนุโลม”

เห็นด้วย...
- 20 -
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๖๙๔ ๗๗ ๑๕ ๒ ๑๙๒ ๒๑
- ไม่มีความเห็น -
๔.๒๓ ประเด็ น ที่ ๒๓ ให้ ย กเลิ ก ความใน (๑) ของมาตรา ๓๔ แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ โ รคติ ด ต่ อ
พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(๑) ให้ผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาด หรือผู้ที่เป็น
ผู้สัมผัสโรคหรือเป็นพาหะ มารับการตรวจหรือรักษา หรือรับการชันสูตรทางการแพทย์ และเพื่อความปลอดภัย
อาจดาเนินการโดยการแยกกักไว้ในสถานพยาบาลหรือสถานที่ที่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อกาหนด กักกันไว้
ในที่เอกเทศ หรือคุมไว้สังเกต ณ สถานที่ซึ่งเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่ อกาหนด จนกว่าจะได้รับการตรวจ
และการชัน สู ต รทางการแพทย์ว่ า พ้น ระยะติด ต่อ ของโรคหรื อสิ้น สุดเหตุอั น ควรสงสัย ทั้ง นี้ หากเป็น สัต ว์
ให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองสัตว์เป็นผู้นาสัตว์มารับการตรวจหรือรักษา หรือรับการชันสูตรทางการแพทย์”
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๔๒ ๘๓ ๒๐ ๒ ๑๓๗ ๑๕
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณศิร ชัช นิ จพาณิช ย์ เห็ นว่า “มารับการตรวจหรือรักษา....” คาว่า “มา” อาจทาให้ เกิด
ความคลาดเคลื่อน อาทิ ผู้ที่มีเหตุอันควรสงสัยว่าติดเชื้ออยู่ที่บ้าน ซึ่งไม่ใช่สถานที่ที่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
กาหนด ต้องออกจากบ้านเพื่อมารับการตรวจหรือรักษา เป็นต้น
๒) คุณอภิรดี สุนงาม เสนอว่า ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในกรณีนี้ควรระบุหรือไม่
๓) คุณดาริกา กิ่งเนตร เสนอว่า อาจปรับคาตามนิยาม (กรณีมีการปรับ)
๔) คุณกุลธิดา สุร วาท เห็นว่า คาว่า “สถานที่ที่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อกาหนด” ในกรณี
ของการแยกกัก กับคาว่า “สถานที่ซึ่งเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อกาหนด” มีความหมายเหมือนกัน ก็ควรจะใช้ให้
เหมือนกัน โดยอาจจะเลื อกใช้คาใดคาหนึ่งระหว่าง “ที่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อกาหนด” หรือ “ซึ่งเจ้า
พนักงานควบคุมโรคติดต่อกาหนด”
๕) คุณรัฐกร ยานะโส เสนอว่า ควรมีบทลงโทษกรณีจับ ปรับ ริบทรัพย์ ที่ชัดเจน

๖) คุณไกรฤกษ์...
- 21 -
๖) คุณไกรฤกษ์ สุธรรม เสนอว่า “รับการชันสูตร” ใช้กับผู้เสียชีวิตแล้ว ควรใช้คาว่า “รับการตรวจ
ทางห้องปฏิบัติการ”
๗) คุณปัทมา นวประภากุล เสนอว่า ควรเพิ่มกรณีการห้ ามออกจากที่เอกเทศหรือสถานที่ใด
ที่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อสั่งให้แยกกักหรือกักกันไว้ใน (๑) โดยยกเลิก (๗) เพื่อจะได้ไม่ซ้าซ้อนและลดขั้นตอน
การปฏิบัติงานในการออกคาสั่งของเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
๘) คุณวิลาวัล ย์ พุ่มอยู่ เสนอว่า ควรเพิ่ม "ให้ ข้อมูล ตามข้อเท็จจริง ไม่ปกปิดแก่เจ้าพนักงาน
ควบคุมโรคติดต่อภายในเวลาที่กาหนด"
๔.๒๔ ประเด็นที่ ๒๔ ให้ยกเลิก (๗) ของมาตรา ๓๔ แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๖๑๐ ๖๘ ๓๓ ๔ ๒๕๖ ๒๘
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณจิรัสย์ ดีเดช เห็นว่า ไม่ควรยกเลิกและควรให้ใช้ต่อไป
๒) คุณกิตติ เห็นว่า ไม่ควรยกเลิก
๓) คุณพงษ์ศักดิ์ ศรีมุษิกโพธิ์ เห็นว่า ไม่ทราบเหตุผลในการแก้ไข กรณีของที่เอกเทศในการเข้า -
ออกจะมีการอนุญาตหรือการห้าม ควรแก้ไขเป็น ห้ามมิให้เข้า-ออกที่เอกเทศ โดยมิได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงาน
ควบคุมโรคติดต่อ
๔) คุณจิรวัฒน์ ศานติสุข เห็นว่า ไม่ควรยกเลิกเพราะเป็นการจากัดการเข้า-ออกเพื่อลดการแพร่โรค
๕) คุณอาทยา พงศ์ไพบูล ย์ สอบถามว่า หากยกเลิ กแล้ ว จะดาเนินการเรื่องการเข้า -ออกจาก
สถานที่เอกเทศอย่างไร
๖) คุณศศิกัญชณา แจ่มจันทร์ เห็นว่า ไม่ควรยกเลิก
๗) คุณเรไร จันทรนราย เห็นว่า ไม่ควรยกเลิก เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการแยกกัก
หรือกักกันโรค และป้องกันการฝ่าฝืนหลบหนีออกจากสถานที่ที่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อกาหนด
๔.๒๕ ประเด็นที่ ๒๕ ให้ยกเลิ กความในวรรคสองและวรรคสามของมาตรา ๓๔ แห่งพระราชบัญญัติ
โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“เมื่อสั่งการหรือด าเนินการตามวรรคหนึ่งแล้ว เจ้า พนักงานควบคุมโรคติดต่อต้องทาการ
สอบสวนโรค และหากพบว่ามีโรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดเกิดขึ้นในเขตพื้นที่ใด ให้เจ้าพนักงานควบคุม
โรคติดต่อแจ้งต่อคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดหรือคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร แล้วแต่กรณี
และรายงานข้อมูลนั้นให้กรมควบคุมโรคทราบโดยเร็ว

เจ้าพนักงาน...
- 22 -
เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อจะเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในการแยกกัก กักกัน หรือคุมไว้สังเกต
ตาม (๑) หรือค่าใช้จ่ายในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตาม (๒) จากผู้ซึ่งไม่มีสัญชาติไทยก็ได้ ทั้งนี้ ตามอัตรา
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีกาหนด”
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๐๐ ๗๘ ๓๔ ๔ ๑๖๕ ๑๘
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณจิรัสย์ ดีเดช เสนอว่า ควรระบุว่าต้องประกาศให้ประชาชนทราบลงไปด้วยเพื่อความชัดเจน
ต่อให้จะต้องมีการประกาศแล้วก็ตาม
๒) คุ ณพงษ์ศัก ดิ์ ศรี มุษิก โพธิ์ เห็ นว่า ในการควบคุม โรคและการสร้า งเสริ มสุ ขภาพกรณีของ
โรคติดต่อร้ายแรงไม่ควรกาหนดตามสัญชาติ เพราะจะทาให้บุคคลที่ไม่มีสัญญาติไทยหลีกเลี่ยงการไปเข้ารับการ
ตรวจคัดกรองโรค แม้จะมีบทลงโทษไว้แต่จะมีปัญหาในการติดตาม
๓) คุณสิทะชัย เจริญกิติศัพท์ เห็นว่า ไม่ควรเก็บจากคนไทย
๔) คุณกุลธิดา สุรวาท เห็นดังนี้
๑. มาตรา ๓๒ ก าหนดว่ า "...ให้ เ จ้ า พนั ก งานควบคุ ม โรคติ ด ต่ อ แจ้ ง คณะกรรมการ...."
แต่มาตรา ๓๔ วรรคสอง กาหนดว่า "ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อแจ้งต่อคณะกรรมการ..." เห็นว่า มาตรา ๓๔
วรรคสอง มีคาว่า "ต่อ" แต่มาตรา ๓๒ ไม่มี ดังนั้น จึงขอเสนอให้แก้ไขให้เหมือนกับถ้อยคาในมาตรา ๓๒ โดยตัดคาว่า
"ต่อ" ออกไป ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกันในทุกมาตรา
๒. มาตรา ๓๔ วรรคหนึ่งและวรรคสี่ใช้คาว่า การดาเนินการหรือออกคาสั่ง กล่าวคือ กล่าวถึง
เรื่องการดาเนินการก่อนแล้วกล่าวเรื่องคาสั่งภายหลัง แต่ในมาตรา ๓๔ วรรคสอง กลับกล่าวถึงเรื่องคาสั่งก่อนและ
กล่าวถึงเรื่องการดาเนินการภายหลัง มีลักษณะเป็นการกล่าวถึงคาเดียวกัน แต่ใช้ถ้อยคาไม่เหมือนกัน จึงขอเสนอ
ให้แก้ไขถ้อยคาดังกล่าวให้เหมือนกันในทุกวรรคของมาตรา ๓๔
๓. มาตรา ๓๔ วรรคสาม ใช้คาว่า "ผู้ซึ่งไม่มีสัญชาติไทย" แต่มาตรา ๓๔/๒ ใช้คาว่า "ผู้ไม่มี
สัญชาติไทย" เห็นว่า มาตรา ๓๔ วรรคสาม มีคาว่า "ซึ่ง" แต่มาตรา ๓๔/๒ ไม่มี ดังนั้น จึงขอเสนอให้แก้ไขถ้อยคา
ดังกล่าวให้เหมือนกัน
๕) คุณอภิชาญ ทองใบ เสนอว่า มาตรา ๓๔ วรรคสอง ควรเพิ่มเติมว่า “….และรายงานข้อมูลนั้น
ให้กรมควบคุมโรคทราบตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมควบคุมโรคกาหนด”
๖) คุณทิพย์สุดา นวลนิ่ม สอบถามว่า สามารถใช้สิทธิในการจ่ายค่ารักษาได้ด้วย

๗) คุณพีระพรรณ...
- 23 -
๗) คุณพีระพรรณ พันธุ์ภักดีคุณ เสนอว่า การแยกกัก กักกัน หรือคุมไว้สังเกตอาการ เพื่อประโยชน์
สาหรับคนในวงกว้าง ไม่ควรเรียกเก็บค่าใช้จ่ายและไม่เข้าใจว่าทาไมจึงระบุเฉพาะผู้ซึ่งไม่มีสัญชาติไทบ
๘) คุณวรรณิกา เห็นว่า จะต้องมีการประกาศอัตราและหลักเกณฑ์อย่างชัดเจน ไม่ควรใช้คาว่า
ตามดุลยพินิจ
๙) คุณวณิชชา รวิพิทยนันท์ เห็นว่า ควรอย่างยิ่งในการเก็บค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและ
การกั ก กั น ตั ว ผู้ เ ดิ น ทางมาจากต่ า งประเทศและคนต่ า งชาติ ทุ ก กรณี กระทรวงสาธารณสุ ข ควรเปลี่ ย นแปลง
ค่ารักษาพยาบาลชาวต่างชาติในสถานพยาบาลรัฐทุกระดับตั้งแต่สถานีอนามัยถึงโรงพยาบาลขนาดใหญ่
๑๐) คุณธนาคาร แถมเจริญ เห็นว่า เพราะเรียกเก็บไม่ได้ จึงควรสนับสนุนงบประมาณโดยตรง
เพื่อสารองสาหรับกรณี เช่น ต่างด้าวไร้สิทธิ คนเร่ร่อน เป็นต้น และควรออกพระราชบัญญัติให้เตรียมเงินสารองด้วย
๑๑) คุณวิลาวัลย์ พุ่มอยู่ เสนอว่า เพิ่มระยะเวลาการรายงานของโรคติดต่ออันตรายและโรคระบาด
๔.๒๖ ประเด็นที่ ๒๖ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นวรรคสี่ของมาตรา ๓๔ แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ
พ.ศ. ๒๕๕๘
“หลักเกณฑ์ วิธี การ และเงื่อนไขในการดาเนิน การหรื อออกค าสั่งตามวรรคหนึ่ง และการ
สอบสวนโรคตามวรรคสอง ให้เป็นไปตามที่รัฐมนตรีประกาศกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการ”
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๓๖ ๘๑.๙ ๑๔ ๑.๕ ๑๔๙ ๑๖.๖
- ไม่มีความเห็น -
๔.๒๗ ประเด็ น ที่ ๒๗ ให้ เ พิ่ ม ความต่ อ ไปนี้ เ ป็ น มาตรา ๓๔/๑ มาตรา ๓๔/๒ มาตรา ๓๔/๓
มาตรา ๓๔/๔ และมาตรา ๓๔/๕ แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘
“มาตรา ๓๔/๑ ผู้ใดได้รับคาสั่งให้กักกันในที่เอกเทศต้องเข้าอยู่ในที่เอกเทศและปฏิบัติตาม
ระเบียบของที่เอกเทศ
ผู้ไ ด้ รั บค าสั่งตามวรรคหนึ่งจะเข้า อยู่ ใ นที่เ อกเทศที่ รั ฐจัดให้มีขึ้น หรื อที่เ อกเทศที่ จัดตั้งขึ้ น
ตามมาตรา ๓๔/๓ ก็ได้
มาตรา ๓๔/๒ ผู้ ใ ดเข้ า อยู่ ใ นที่ เ อกเทศที่ รั ฐ จั ด ให้ มี ขึ้ น ต้ อ งช าระค่ า ใช้ จ่ า ยตามอั ต ราที่
คณะกรรมการกาหนด คณะกรรมการจะลดอัตราค่า ใช้จ่ายสาหรั บผู้มีสัญชาติไทย หรื อผู้ไ ม่มีสัญชาติไ ทย
บางประเภท หรือยกเว้นให้แก่บุคคลใดเฉพาะที่มีลักษณะตามเงื่อนไขที่กาหนดก็ได้

มาตรา ๓๔/๓...
- 24 -
มาตรา ๓๔/๓ ผู้ ใ ดประสงค์ จ ะจั ด ให้ มี ที่ เ อกเทศต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามหลั ก เกณฑ์ แ ละเงื่ อ นไข
ที่คณะกรรมการกาหนด และต้องแจ้งให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อทราบ และเมื่อเจ้าพนักงานควบคุม
โรคติดต่อได้ตรวจสอบและเห็นว่าได้ปฏิบัติถูกต้องตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขดังกล่าวแล้ว ให้แจ้งรับทราบและ
ให้ถือว่าเป็นที่เอกเทศที่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อกาหนดตามพระราชบัญญัตินี้
ระยะเวลาการตรวจสอบ การแจ้งผล และการประกาศตามวรรคหนึ่งให้กระทาโดยเร็วและต้อง
ไม่ช้ากว่าระยะเวลาที่คณะกรรมการกาหนด
ผู้ดูแลที่เอกเทศตามวรรคหนึ่ง มีหน้าที่ต้องออกระเบียบเพื่อให้ผู้อยู่ในที่เอกเทศและเจ้าหน้าที่ที่
เกี่ยวข้องต้องปฏิบัติให้สอดคล้องกับระเบียบที่ใช้อยู่ในที่เอกเทศที่รัฐจัดขึ้น
เมื่อปรากฏว่าที่เอกเทศใดไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่คณะกรรมการกาหนด ให้เจ้า
พนักงานควบคุมโรคติดต่อมีอานาจสั่งให้ผู้ดูแล เจ้าของ หรือผู้ครอบครองแก้ไขหรือปฏิบัติให้ถูกต้องภายใน
ระยะเวลาที่กาหนด หากไม่แก้ไขหรือปฏิบัติใ ห้ถูกต้องภายในระยะเวลาที่กาหนด ให้เจ้าพนักงานควบคุม
โรคติดต่อสั่งให้ที่เอกเทศนั้นหยุดการดาเนินการและประกาศให้ประชาชนทราบ
มาตรา ๓๔/๔ ห้ามมิให้ผู้ใดเข้าไปหรือออกจากที่เอกเทศโดยไม่ได้รับคาสั่งจากเจ้าพนักงาน
ควบคุมโรคติดต่อหรือได้รับอนุญาตจากผู้ควบคุมดูแลที่เอกเทศ
มาตรา ๓๔/๕ ห้ามมิให้ผู้ใดใช้ชื่อ เครื่องหมาย หรือถ้อยคาในประการที่น่าจะทาให้ประชาชน
เข้าใจว่าเป็นที่เอกเทศโดยมิได้เป็นที่เอกเทศตามพระราชบัญญัตินี้”
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๑๔ ๗๙.๔ ๑๓ ๑.๕ ๑๗๒ ๑๙.๑
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณศิรชัช นิจพาณิชย์ เห็นว่า ควรกาหนดให้คณะกรรมการหรือเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ
สามารถประกาศสถานที่เอกเทศได้โดยไม่จาเพาะสถานที่ใดที่หนึ่ง เช่น ขอให้ทุกคนที่สงสัยว่าติ ดเชื้ออยู่แต่ในที่พัก
อาศัยของตนหรือขอให้พนักงานในร้านค้าที่สงสัยการปนเปื้อนไม่ออกจากพื้นที่ เป็นต้น
๒) คุณดาริกา กิ่งเนตร เสนอว่า ควรตัดคาว่า “ในประการ” ออก
๓) คุณสิทะชัย เจริญกิติศัพท์ เห็นว่า กรณีคนไทยไม่ควรมีการเก็บค่าใช้จ่าย
๔) คุณกุลธิดา สุรวาท เห็นดังนี้
๑. มาตรา ๓๔ วรรคสาม ใช้คาว่า “ผู้ซึ่งไม่มีสัญชาติไทย” แต่มาตรา ๓๔/๒ ใช้คาว่า “ผู้ไม่มี
สัญชาติไทย” เห็นว่ามาตรา ๓๔ วรรคสาม มีคาว่า “ซึ่ง” แต่มาตรา ๓๔/๒ ไม่มี ดังนั้น จึงขอเสนอให้แก้ไขถ้อยคา
ดังกล่าวให้เหมือนกัน

๒. มาตรา ๓๔/๓...
- 25 -
๒. มาตรา ๓๔/๓ ใช้คาว่า “ผู้ ดูแลที่เอกเทศ” แต่มาตรา ๓๔/๔ ใช้คาว่า “ผู้ ควบคุมดูแล
ที่เอกเทศ” อาจก่อให้เกิดความเข้าใจว่าเป็นคาที่มีความหมายแตกต่างกัน หรือหมายถึงบุคคลที่แตกต่างกัน
๓. กรณีที่ เอกเทศประเภทที่รัฐ ไม่ได้จัดขึ้น มีการใช้ถ้อยคาแตกต่างกัน เช่น มาตรา ๓๔/๑
ใช้คาว่า “ที่เอกเทศที่จัดตั้งขึ้น” แต่มาตรา ๓๔/๓ ใช้คาว่า “จัดให้มี” ดังนั้น จึงขอเสนอให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
ระหว่าง “จัดตั้งขึ้น” หรือ “จัดให้มี”
๔. กรณี ที่ เ อกเทศประเภทที่ รั ฐ จั ด ขึ้ น มี ก ารใช้ ถ้ อ ยค าแตกต่ า งกั น เช่ น มาตรา ๓๔/๑
และมาตรา ๓๔/๒ ใช้คาว่า “ที่เอกเทศที่รัฐ จัดให้ มีขึ้น ” แต่มาตรา ๓๔/๓ วรรคสามใช้คาว่า “ที่เอกเทศที่รัฐ
จัดขึ้น” ดังนั้น จึงขอเสนอให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่งระหว่าง “จัดให้มีขึ้น” หรือ “จัดขึ้น”
๕. มาตรา ๓๔/๓ วรรคท้ า ย การให้ เ จ้ า พนั ก งานควบคุ ม โรคติ ด ต่ อ สั่ ง ให้ ที่ เ อกเทศนั้ น
หยุดการดาเนินการ ไม่ได้ระบุว่าจะต้องสั่งไปที่บุคคลใด (ไม่ได้ระบุถึงตัวผู้ที่ต้องได้รับคาสั่ง)
๖. มาตรา ๓๔/๕ นอกจากการห้ามใช้ชื่อ เครื่องหมาย หรือถ้อยคาแล้ว ขอเสนอให้รวมไปถึง
การห้ามใช้ “ภาพ” ด้วย
๕) คุ ณเรณู ศรี ธนวั ฒนพงศ์ ชั ย เห็ นว่ า การรั กษาโดยรั ฐควรเป็ นรั ฐออกให้ จากภาษี ประชาชน
เฉพาะโรคติ ด ต่ อ แบบรุ น แรงที่ ไ ม่ ส ามารถควบคุ ม ได้ ห รื อ ควบคุ ม ได้ ย าก ยกเว้ น ต้ อ งการรั ก ษาที่ อื่ น ส่ ว นต่ า ง
ให้ประชาชนออกเอง หรือการสมัครใจออกเองทั้งหมด และบุคคลนั้นจะพิจารณาโดยยื่นเป็นเอกสาร มีการเซ็น
รับรองชัดเจนเพื่อความถูกต้องตรวจสอบได้ของการเบิกจ่าย ส่วนต่างชาติควรให้ออกค่าใช้จ่ายเองทุกกรณี
๖) คุณนลินี อ่าอิ่ม เสนอว่า ไม่ควรเก็บค่าใช้จ่ายกับคนไทย
๗) คุณพีระพรรณ พันธุ์ภักดีคุณ เห็นว่า มาตรา ๓๔/๒ ไม่ควรให้มีการชาระค่าใช้จ่ายถ้ายืนยันว่า
ต้องมีการชาระค่าใช้จ่าย เหตุใดจึงลดค่าใช้จ่ายให้ผู้ไม่มีสัญชาติไทยบางประเภท หรือบุคคลที่มีลักษณะเฉพาะ
ทาให้เป็นช่องทางของการใช้มาตรฐานต่อบุคคลที่แตกต่างกัน
๘) คุณเรไร จันทรนราย เห็นว่า ไม่เห็นด้วย ในมาตรา ๓๔/๔ ควรตัดคาว่า หรือได้รับอนุญาต
จากผู้ควบคุมดูแลที่เอกเทศ เนื่องจากอาจส่งผลต่อการกากับดูแลให้เป็นไปตามแนวทางการควบคุมโรคที่รัฐกาหนด
๔.๒๘ ประเด็นที่ ๒๘ ให้ยกเลิกความใน (๓) และ (๔) ของมาตรา ๔๐ แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ
พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“(๓) ให้ ผู้ เ ดิ น ทางซึ่ ง มากั บ พาหนะนั้ น รั บ การตรวจในทางแพทย์ และอาจให้ แ ยกกั ก ไว้
ในสถานพยาบาลหรือสถานที่ที่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อกาหนด กักกันไว้ในที่เอกเทศคุมไว้สังเกต หรือรับ
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ณ สถานที่และระยะเวลาที่กาหนด
(๔) ห้ามผู้ใดเข้าไปในหรือออกจากพาหนะนั้น เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานควบคุม
โรคติดต่อประจาด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ”

เห็นด้วย...
- 26 -
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๒๒ ๘๐.๓ ๒๑ ๒.๓ ๑๕๖ ๑๗.๔
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณดาริกา กิ่งเนตร เสนอว่า ควรแก้ไข “รับการตรวจในทางแพทย์ ….” เป็น “รับการตรวจ
ทางการแพทย์….”
๒) คุณกุลธิดา สุรวาท เห็นดังนี้
๑. การคุมไว้สังเกตตามมาตรา ๔๐ (๓) ไม่ได้ระบุสถานที่ แต่การคุมไว้สังเกตตามมาตรา ๓๔ (๑)
ระบุว่า “คุมไว้สังเกต ณ สถานที่ซึ่งเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อกาหนด”
๒. เนื่องด้วยมาตรา ๔๐ (๓) เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศมีอานาจสั่งให้
กักกันผู้เดินทางไว้ที่เอกเทศ แต่มาตรา ๔๐ (๔) เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศมีอานาจเพียงห้าม
ผู้ใดเข้าไปในหรือออกจากพาหนะ แต่ไม่มีอานาจห้ามเข้าไปหรือออกจากที่เอกเทศ (ซึ่งมาตรา ๔๐ (๔) เดิมมีบัญญัติไว้)
ดังนั้น อาจจะเกิดข้อพิจารณาว่า หากเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ ประจาด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
ใช้อานาจตามมาตรา ๔๐ (๓) สั่ งกั กกันผู้ เดิน ทางไว้ที่บ ริเวณด่าน ซึ่งทาให้ บ ริเวณด่านดั งกล่ าวเป็ นที่เอกเทศ
ตามบทนิยาม หากต้องการที่จะมีคาสั่งห้ามผู้ใดเข้าไปหรือออกจากที่เอกเทศบริเวณด่านดังกล่าว เจ้าพนักงาน
ควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศกลับไม่มีอานาจที่จะออกคาสั่ง จะต้องให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่
เป็นผู้ออกคาสั่งห้ามมิให้ผู้ใดเข้าไปหรือออกจากที่เอกเทศตามมาตรา ๓๔/๔ แทน ทั้งที่บริเวณดังกล่าวเป็นบริเวณที่
อยู่ในด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นพื้นที่รับผิดชอบของเจ้าพนักงานควบคุมโรคประจาด่านควบคุม
โรคติดต่อระหว่างประเทศ
๓) คุณพีระพรรณ พันธุ์ภักดีคุณ เห็นว่า มาตรา ๔๐ (๓) ต้องมีการแจ้งให้ผู้เดินทางทราบล่วงหน้า
เป็นลายลักษณ์อักษรก่อนการเดินทางว่า จะมีการตรวจและอาจมีการแยกกัก หรือกักกัน หรือสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
๔) คุณอุไรวรรณ อุดมสินค้า เห็นว่า ให้หน่วยงานมารับผู้ที่ติดโควิดจากที่บ้านโดยทันทีเพื่อไป
รักษาโดยที่ไม่ต้องให้ผู้ป่วยร้องขอ
๕) คุณเรไร จันทรนราย เสนอว่า ควรเพิ่มข้อความในมาตรา ๔๐ (๓) ดังนี้ ให้ผู้เดินทางซึ่งมากั บ
พาหนะนั้นรับการตรวจในทางแพทย์ และอาจพิจารณาส่งกลับไม่ให้เข้าประเทศ หรือให้แยกกักไว้ในสถานพยาบาล
หรือสถานที่ที่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อกาหนด กักกันไว้ในที่เอกเทศ คุมไว้สังเกต หรือรับการสร้างเสริม
ภูมิคุ้มกันโรค ณ สถานที่และระยะเวลาที่กาหนด

๖) คุณราเชนทร์...
- 27 -
๖) คุ ณ ราเชนทร์ แตงอ่ อ น เห็ น ว่ า มาตรา ๔๐ เน้ น ที่ เ จ้ า ของพาหนะหรื อ ผู้ ค วบคุ ม พาหนะ
มาจากเขตโรคติดต่ออันตราย เน้ นเป็ น เครื่องบินและเรือ ถ้าเป็นด่านพรมแดนคนจะเดินเท้าเข้าออกระหว่าง
ประเทศไม่ได้มากับพาหนะ ดังที่ทราบในขณะนี้ที่มีคนลักลอบเข้าประเทศทางช่องทางธรรมชาติที่ไม่ได้ผ่านช่องทาง
ที่กฎหมายกาหนดซึง่ ไม่ได้รับการตรวจ ปัจจุบันก็เอาผิดตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ ไม่ได้ ฉะนั้นจึง
สมควรเพิ่มในมาตรา ๔๐ (๓) ให้ผู้เดินทางซึ่งมากับพาหนะนั้นหรือเดินเท้าเข้ามาในราชอาณาจักรได้รับการตรวจ
ทางการแพทย์
๔.๒๙ ประเด็นที่ ๒๙ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา ๔๑ แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ
พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“การก าหนดค่า ใช้ จ่ า ยที่ เ กิดจากการดาเนิน การตามวรรคหนึ่ ง ให้ เ ป็น ไปตามหลักเกณฑ์
วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด”
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๐๒ ๗๘.๑ ๓๑ ๓.๔ ๑๖๖ ๑๘.๕
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณพงษ์ศักดิ์ ศรีมุษิกโพธิ์ เห็นว่า ภาคเอกชนอาจเดือดร้อนเพราะต้องเรียกเก็บจากผู้ที่เดินทาง
มากับยานพาหนะเพื่อกักตัว แม้จะกาหนดให้เป็นเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด อาจทาให้ภาคเอกชนไม่ร่วมมือ
ภาครัฐจะหาเตียงและบุคลากรมาจากไหน ผมคิดว่ารัฐควรรับผิดชอบทั้งหมดแต่อาจเปิดช่องทางให้บุคคลเลือกได้
เช่น ถ้าต้องการร่วมจ่ายหรือจ่ายเสริมเพื่อเลือกความสะดวกของที่กักกัน ก็น่าจะทาได้
๒) คุณสุชาดา กิยะแพทย์ เห็นว่า ให้ยกเว้นค่าใช้จ่ายทั้งหมดสาหรับผู้ที่มีสัญชาติไทย หรือผู้ที่มี
รายได้น้อยต่อเดือนไม่เกิน ๑๘,๐๐๐ บาท
๓) คุณนวพรรณ สัน ตยากร เห็ นว่า เก็บค่าใช้จ่ายกับคนและสถานที่ ที่ไม่ปฏิบัติตามมาตรการ
และข้อบังคับ/กฎหมาย
๔.๓๐ ประเด็นที่ ๓๐ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๔๒ แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ และ
ให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“มาตรา ๓๐ ในกรณีที่พบว่าผู้เดินทางเป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตราย
โรคระบาด หรือพาหะนาโรค ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจาด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
มีอานาจสั่งให้บุคคลดังกล่าวถูกแยกกักไว้ในสถานพยาบาลหรือสถานที่ที่เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อกาหนด
กักกันไว้ในที่เอกเทศ คุมไว้สังเกต หรือได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

ค่าใช้จ่าย...
- 28 -
ค่าใช้จ่ ายที่เ กิด จากการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้เ ดิน ทางผู้นั้นเป็น ผู้รั บผิดชอบ ทั้งนี้
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศกาหนด”
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๐๔ ๗๘.๓ ๓๐ ๓.๓ ๑๖๕ ๑๘.๔
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณกุล ธิดา สุรวาท เห็นว่า การคุมไว้สังเกตตามมาตรา ๔๒ ไม่ได้ระบุสถานที่ แต่การคุมไว้
สังเกตตามมาตรา ๓๔ (๑) ระบุว่า "คุมไว้สังเกต ณ สถานที่ซึ่งเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อกาหนด"
๒) คุณนลินี อ่าอิ่ม เห็นว่า ไม่ควรเก็บเงินกับคนไทย
๓) คุณพีระพรรณ พันธุ์ภักดีคุณ เห็นว่า ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น ไม่ควรให้ผู้เดินทางผู้ นั้นรับผิดชอบ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าพิสูจน์ไม่ได้ว่าผู้นั้นเป็นโรคหรือพาหะนาโรค
๔) คุณวรพจน์ ใหม่สุวรรณ เห็นว่า ถ้าเป็นบุคคลสัญชาติไทย รัฐควรจะเป็นรับผิดชอบค่าใช้จ่าย
๕) คุณเรไร จันทรนราย เห็นว่า ควรเพิ่มข้อความให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคประจาด่านควบคุม
โรคติดต่อระหว่างประเทศมีอานาจสั่งให้บุคคลดังกล่าวเข้ารับการชันสูตรทางการแพทย์
๔.๓๑ ประเด็นที่ ๓๑ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็นหมวด ๖/๑ สถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข มาตรา
๔๔/๑ มาตรา ๔๔/๒ มาตรา ๔๔/๓ มาตรา ๔๔/๔ มาตรา ๔๔/๕ มาตรา ๔๔/๖ มาตรา ๔๔/๗
มาตรา ๔๔/๘ มาตรา ๔๔/๙ มาตรา ๔๔/๑๐ และมาตรา ๔๔/๑๑ แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘
“หมวด ๖/๑ สถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
มาตรา ๔๔/๑ เมื่ อความปรากฏว่ า มีโ รคติ ดต่อ อัน ตรายหรื อโรคระบาดเกิด ขึ้น แพร่ ห ลาย
หรืออาจแพร่ไปสู่ผู้อื่นได้ง่ายหรือมีภาวะของการเกิดโรคผิดปกติมากกว่าที่เคยเป็นมาจนเป็นอันตรายหรืออาจ
เป็นอันตรายต่อชีวิตหรือสุขภาพของมนุษย์อย่างกว้างขวาง ไม่ว่าโรคนั้นจะเกิดขึ้นในหรือนอกราชอาณาจักร
ให้ค ณะกรรมการพิจ ารณาประกาศให้โ รคนั้น เป็น โรคติดต่ออัน ตรายร้ า ยแรง ในการพิจารณาดังกล่า วจะ
มอบหมายให้คณะกรรมการด้านวิชาการทาความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาก่อนก็ได้
มาตรา ๔๔/๒ เมื่อ มีป ระกาศโรคติด ต่อ อัน ตรายร้ า ยแรงแล้ ว เพื่ อประโยชน์ ใ นการรั กษา
ความสงบเรียบร้อย สวัสดิภาพและความปลอดภัยของประชาชน หรือประโยชน์สาธารณะ หากปรากฏว่า
มีส ถานการณ์ อัน เป็น วิก ฤตจากโรคติ ด ต่อ อัน ตรายร้ า ยแรงอั น เป็น หรื อ อาจเป็ น อั น ตรายต่อ ชีวิ ต สุ ขภาพ
หรื อการดารงชีวิต ตามปกติ ของประชาชนอย่างรุ นแรงและกว้า งขวาง หากปล่อยเนิ่นช้า ไว้จะเสียหายต่อ

ประเทศชาติ...
- 29 -
ประเทศชาติอย่างร้ายแรง ไม่ว่าสถานการณ์นั้นจะเกิดขึ้นในราชอาณาจักร หรือเกิดขึ้นนอกราชอาณาจักร
แต่อาจระบาดเข้ามาในราชอาณาจักรได้ และนายกรัฐมนตรีเห็นสมควรใช้มาตรการพิเศษเพื่อป้องกัน ควบคุม
ระงับยับยั้ง ฟื้นฟู หรือช่วยเหลือประชาชน ให้นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีมีอานาจ
ประกาศสถานการณ์ ฉุ กเฉิ น ด้ า นสาธารณสุข เพื่อ บั ง คับ ใช้ทั่ ว ราชอาณาจั ก รหรื อ ในบางเขตบางท้ องที่ ไ ด้
ตามความจาเป็นแห่งสถานการณ์
การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขตามวรรคหนึ่ง ให้ใช้บังคับตลอดระยะเวลาที่
นายกรัฐมนตรีกาหนด แต่ต้องไม่เกินสามเดือนนับแต่วันประกาศ ในกรณีที่มีความจาเป็นต้องขยายระยะเวลา
ให้นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีมีอานาจประกาศขยายระยะเวลาการใช้บังคับออกไปอีก
เป็นคราว ๆ คราวละไม่เกินสามเดือน
ในกรณีที่สถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขสิ้นสุ ดลงก่อนกาหนดระยะเวลาตามวรรคสอง
ให้นายกรัฐมนตรีประกาศยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขนั้นหรือเมื่อสิ้นสุดกาหนดเวลา
ตามวรรคสอง ให้นายกรัฐมนตรีประกาศให้ประชาชนทราบ
มาตรา ๔๔/๓ เมื่อ มี ประกาศสถานการณ์ ฉุ กเฉิ น ด้ า นสาธารณสุ ข แล้ ว ให้ ค ณะกรรมการ
โรคติดต่อแห่งชาติตามมาตรา ๑๑ ประกอบด้วย
(๑) นายกรัฐมนตรี เป็นประธานกรรมการ
(๒) รองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เป็นรองประธานกรรมการ คนที่หนึ่ง
(๓) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็นรองประธานกรรมการ คนที่สอง
(๔) รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ถ้ามี เป็นกรรมการ
(๕) เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เป็นกรรมการ
(๖) กรรมการตามมาตรา ๑๑ (๒) และกรรมการตามมาตรา ๑๑ (๓) และ (๔) เท่าที่มีอยู่ใน
ขณะที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข เป็นกรรมการ
(๗) กรรมการผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นต่ า ง ๆ ที่ น ายกรั ฐ มนตรี เ ห็ น สมควรแต่ ง ตั้ ง ไม่ เ กิ น สี่ ค น
เป็นกรรมการ
นอกจากกรรมการและเลขานุการและกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการตามมาตรา ๑๑ วรรคสอง
แล้ว นายกรัฐมนตรีจะแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ของรัฐคนหนึ่งเป็นกรรมการและเลขานุการร่วมคนหนึ่งและกรรมการ
และผู้ช่วยเลขานุการอีกไม่เกินสองคนก็ได้
ในการประชุ ม คราวใดที่ มี ค วามจ าเป็ น และสมควร นายกรั ฐ มนตรี จ ะสั่ ง ให้ เ ชิ ญ รั ฐ มนตรี
หรือหัวหน้าหน่วยงานของรัฐแห่งใดให้มาร่วมประชุมด้วยหรือมาชี้แจงก็ได้ ในกรณีเช่นนั้นให้ถือว่าผู้ซึ่งได้รับ
เชิญมาร่วมประชุมเป็นกรรมการในการประชุมคราวนั้นด้วย

การประชุม...
- 30 -
การประชุ ม คณะกรรมการ ให้ เ ป็ น ไปตามหลั ก เกณฑ์ แ ละวิธี ก ารที่ ค ณะกรรมการก าหนด
โดยมิให้นาความในมาตรา ๑๕ มาใช้บังคับแก่การประชุมของคณะกรรมการในระหว่างที่มีประกาศสถานการณ์
ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
เมื่อสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขสิ้นสุดลง ให้คณะกรรมการเป็นอันสิ้นสุดลง
มาตรา ๔๔/๔ ในระหว่างที่มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข นอกจากอานาจ
หน้าที่ตามมาตรา ๑๔ และอานาจหน้าที่ตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้แล้ว เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครอง
ประชาชน ป้องกัน หรือระงับภยันตรายอันเกิดจากโรคติดต่ออันตรายร้ายแรง รวมทั้งการช่วยเหลือหรือเยียวยา
ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ดังกล่าว ให้คณะกรรมการมีอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ด้วย
(๑) เสนอแผนปฏิบัติ การเฝ้า ระวัง ป้องกัน ควบคุม และรั กษาโรคติดต่ออัน ตรายร้ า ยแรง
ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อให้ความเห็นชอบ ในแผนปฏิบัติการดังกล่าวต้องกาหนดหน่วยงานของรัฐที่ต้องปฏิบัติหรือ
รับผิดชอบในภารกิจให้ชัดเจนด้วย
(๒) กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ หรือเงื่อนไข ในการอนุญาตให้คนต่างด้าวเข้ามาหรือออกไป
นอกราชอาณาจักรตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง
(๓) กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ หรือเงื่อนไข ในการเดินทาง และการตรวจสอบการเดินทาง
ของบุคคล รวมทั้งการกาหนดให้บุคคลที่เดินทางมาจากท้องที่หรือเมืองท่าใดนอกราชอาณาจักร หรือที่เป็น
หรือมีเหตุสงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตรายร้ายแรงต้องปฏิบัติตามมาตรการที่กาหนด รวมทั้งการสั่งให้แยกกักไว้
ในสถานพยาบาลหรือสถานที่ที่ เ จ้ าพนักงานควบคุมโรคติดต่อกาหนด หรื อกักกัน ไว้ใ นที่เอกเทศตามเวลา
ที่กาหนด ทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ใ นการป้องกันมิใ ห้เ กิดการแพร่หรื อควบคุมการแพร่ ของโรคติดต่ออัน ตราย
ร้ายแรงเพื่อให้ระงับลง แต่จะห้ามมิให้ผู้มีสัญชาติไทยเข้ามาในราชอาณาจักรมิได้
(๔) ให้คาปรึกษา แนะนา หรือเสนอมาตรการการช่วยเหลือบุคคลที่เป็นโรคติดต่ออันตราย
ร้ายแรง หรือได้รับผลกระทบจากการแพร่ของโรคติดต่ออันตรายร้ายแรงหรือจากแผนปฏิบัติการ มาตรการ
ข้อกาหนด ระเบียบ ประกาศ หรือคาสั่งที่คณะกรรมการกาหนดต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาสั่งการ
(๕) ให้คาปรึกษาหรือแนะนาเกี่ยวกับมาตรการการจ่ายค่าชดเชย ค่าทดแทน ค่าตอบแทน
หรือค่าใช้จ่ายอื่นที่จาเป็น นอกเหนือจากกรณีตามมาตรา ๑๔ (๖) แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐหรือบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง
กับการปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวกับการสาธารณสุข ตลอดทั้งค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดู หรือการรักษาพยาบาลผู้ที่ เป็น
หรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตรายร้ายแรง ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาสั่งการ
(๖) เสนอแนะต่ อคณะรั ฐมนตรี เ พื่อพิจ ารณามี มติใ ห้หน่ วยงานของรั ฐที่เ กี่ยวข้องเข้า ร่ ว ม
ดาเนินการ หรือสนับสนุน ให้มีการศึกษาวิจัย การพัฒนา การถ่ายทอดเทคโนโลยี หรือการผลิตของบุคคลทั้งใน
ประเทศหรือต่างประเทศ เพื่อให้ได้มาซึ่งยา วัคซีน อุปกรณ์ทางการแพทย์ หรือสิ่งอื่นใดอันจะเป็นประโยชน์
ในการป้องกัน ควบคุม ระงับ หรือรักษาโรคติดต่ออันตรายร้ายแรง หรือฟื้นฟูผู้เป็นโรคติดต่ออันตรายร้ายแรง
การดาเนินการดังกล่าวมิให้ถือว่าเป็นการร่วมลงทุนตามกฎหมายว่าด้วยการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชน

(๗) กาหนด...
- 31 -
(๗) กาหนดมาตรการการจัดการเกี่ยวกับสถานที่ ทรัพย์สิน การประกอบอาชีพ การชุมนุม
หรือการทากิจกรรม เป็นการชั่วคราว รวมทั้งกาหนดมาตรการอื่นใดที่จาเป็นเพื่ อให้บุคคลต้องปฏิบัติ ในกรณี
จาเป็นอันไม่อาจหลีกเลี่ยงได้จะสั่งให้ประชาชนในทุกพื้นที่หรือบางพื้นที่งดประกอบกิจการบางชนิดที่อาจเป็น
แหล่งหรือก่อให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออันตรายร้ายแรง หรือห้ามให้อยู่ร่วมกันในที่ประชุมหรือชุมนุม
เกินจานวนที่กาหนด โดยจะกาหนดเงื่อนไขในการประชุมหรือชุมนุมไว้ด้วยหรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้ เพื่อป้องกันหรือ
กาจัดการแพร่ระบาดหรือการติดเชื้อโรคจากการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออันตรายร้ายแรง
(๘) กาหนดให้มีการจัดตั้งโรงพยาบาลสนาม สถานพยาบาลชั่วคราว หรือใช้สถานที่รวมถึง
พาหนะ เพื่อประโยชน์ในการรับการตรวจในทางแพทย์ แยกกัก กักกัน คุมไว้สังเกต คัดกรอง เฝ้าระวัง รอการ
วินิจฉัยโรค หรือรับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค แก่ผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตราย
ร้ายแรงหรือผู้สัมผัสโรคหรื อผู้มีเ หตุอันควรสงสัยว่าเป็น ผู้สัมผัสโรค พร้อมทั้งกาหนดลักษณะและอุปกรณ์
ที่จาเป็นต้องมี ทั้งนี้ ให้กระทาได้โดยไม่ต้องขออนุญาตหรือปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล
(๙) กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการในการตรวจสถานที่และพาหนะ รวมทั้งผู้ที่อยู่ในสถานที่
และพาหนะทั้งที่จะเดินทางเข้าไปหรือออกจากพื้นที่ที่เสี่ยงต่ออันตรายจากโรคติดต่ออันตรายร้ายแรงตามที่
คณะกรรมการกาหนด
(๑๐) ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลดาเนินการ
ให้ประชาชนได้รับวัคซีนหรือมีการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยเร็วและแพร่หลาย ในการนี้ หากเห็นว่ากฎหรือ
ระเบียบใดที่กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ หรือเงื่อนไขใดเป็นอุปสรรคหรือก่อให้เกิดความล่าช้าในการดาเนินการ
ดังกล่าว ให้คณะกรรมการมีอานาจเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อมีมติยกเว้นหรือสั่งการให้มีการปรับปรุงแก้ไขได้
ตามที่เห็นสมควรเพื่อให้สถานพยาบาลดังกล่าวดาเนินการได้โดยรวดเร็วและปลอดภัย
(๑๑) มอบหมายให้คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดและคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร
ใช้อานาจตาม (๓) (๗) (๘) หรือ (๙) ได้ โดยจะกาหนดหลักเกณฑ์หรือกรอบการใช้อานาจให้ต้องปฏิบัติด้วยก็ได้
แผนปฏิบัติการตาม (๑) จะกาหนดให้เจ้าหน้าที่ของรัฐทุกหน่วยหรือบางหน่วยปฏิบัติหน้าที่ที่
กาหนด ร่วมมือ ส่งเสริม หรือสนับสนุน การดาเนินการของคณะกรรมการ หน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบตาม
แผนปฏิบัติการ หรือเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อก็ได้ เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการแล้ว
ให้ทุกหน่วยงานของรัฐปฏิบัติตามโดยเคร่งครัด
ให้คณะรัฐมนตรีมีอานาจสั่งการตาม (๔) หรือ (๕) หรือมีมติตาม (๖) หรือ (๑๐) ได้ตามที่
เห็นสมควร และให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องดาเนินการให้เป็นไปตามการสั่งการหรือมตินั้น

มาตรา ๔๔/๕...
- 32 -
มาตรา ๔๔/๕ เมื่ อ คณะรั ฐ มนตรี ใ ห้ ค วามเห็ น ชอบแผนปฏิ บั ติ ก ารและมาตรการตาม
มาตรา ๔๔/๔ แล้ว ให้เป็นอานาจหน้าที่ของนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี และหัวหน้าหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง
ต้ องด าเนิ น การหรื อสั่ง การให้เ ป็น ไปตามหรื อสอดคล้ องกับ แผนปฏิ บัติ การและมาตรการดัง กล่ า วภายใน
สิบห้าวัน เมื่อพ้นกาหนดดังกล่าวแล้ว หากยังมิได้มีการดาเนินการหรือสั่งการหรือดาเนินการหรือสั่งการแล้ว
แต่ ไ ม่ เ ป็ น ไปตามหรื อ ไม่ ส อดคล้ อ งกั บ แผนปฏิ บั ติ ก ารหรื อ มาตรการดั ง กล่ า ว ให้ น ายกรั ฐ มนตรี มี อ านาจ
ดาเนินการหรือสั่งการให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการหรือมาตรการนั้นได้ โดยให้ถือว่านายกรัฐมนตรีมีอานาจ
ตามกฎหมายนั้น ๆ ที่จ ะด าเนิน การหรือสั่งการดังกล่า ว ในกรณี ที่การดาเนินการหรื อการสั่งการดังกล่า ว
กฎหมายกาหนดให้ผู้ดาเนินการหรือสั่งการต้องได้รับการแนะนา เสนอแนะ เห็นชอบ หรืออนุมัติจากคณะบุคคล
ใดก่อน ให้นายกรัฐมนตรีมีอานาจดาเนินการหรือสั่งการได้ โดยไม่ต้องได้รับคาแนะนา เสนอแนะ เห็นชอบ
หรืออนุมัติ จากคณะบุคคลตามกฎหมายนั้น
มาตรา ๔๔/๖ ในการดาเนินการตามแผนปฏิบัติการ มาตรการ ข้อกาหนด ระเบียบ ประกาศ
หรือคาสั่งตามมาตรา ๔๔/๔ หากมีความจาเป็นเร่งด่วนต้องดาเนินการเพื่อให้ได้มาซึ่งพัสดุและการดาเนินการ
ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งและการบริ ห ารพั ส ดุ ภ าครั ฐ จะไม่ ทั น กั บ ความจ าเป็ น เร่ ง ด่ ว น
หรื อ ไม่ ส อดคล้ อ งกั บ วิ ธี ป ฏิ บั ติ ข องนานาประเทศ คณะกรรมการจะเสนอคณะรั ฐ มนตรี เ พื่ อ ขอใช้ วิ ธี ก าร
ที่เ ห็น สมควรก็ไ ด้ และเมื่อคณะรั ฐมนตรี ใ ห้ค วามเห็ น ชอบวิธี การดัง กล่า วแล้ว ให้ ถือว่า การจัดซื้ อจัดจ้า ง
ดังกล่าวเป็นการชอบด้วยกฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐแล้ว
มาตรา ๔๔/๗ ในการใช้อานาจตามมาตรา ๒๒ มาตรา ๒๘ หรือมาตรา ๓๕ หรืออานาจที่
ได้ รั บ มอบหมายตามมาตรา ๔๔/๔ (๑๑) คณะกรรมการโรคติ ด ต่ อ จั ง หวั ด คณะกรรมการโรคติ ด ต่ อ
กรุงเทพมหานคร ผู้ว่าราชการจังหวัด และผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จะใช้ให้ขัดต่อหลักเกณฑ์หรือกรอบ
การใช้อานาจที่คณะกรรมการกาหนดหรือแนวทางที่คณะกรรมการวางไว้มิได้
มาตรา ๔๔/๘ ในกรณี ที่ มี ค วามจ าเป็น คณะกรรมการจะจัด ตั้ ง หน่ว ยงานพิ เ ศษเป็ น การ
ชั่วคราว เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่คณะกรรมการกาหนดก็ได้ และจะให้มีหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อตาม
มาตรา ๓๖ เพิ่มเติมตามที่จาเป็นหรือจะสั่งให้หน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อจากอาเภอหรือเขตหนึ่งไป
ช่วยงานในท้องที่ของอาเภอหรือเขตอื่น ได้ และเมื่อประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ด้า นสาธารณสุขสิ้นสุดลง
ให้คณะกรรมการยกเลิกหน่วยงานและหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อดังกล่าวโดยเร็ว ซึ่งต้องไม่ช้ากว่า
เก้าสิบวันนับแต่วันที่สถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขสิ้นสุดลง
หน่ ว ยงานพิ เ ศษตามวรรคหนึ่ง นอกจากจะจั ด ตั้ง เพื่ อ ให้ ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ ป็ น การทั่ ว ไปแล้ ว
จะตั้งขึ้นเพื่อปฏิบัติหน้าที่เป็นการเฉพาะตามที่คณะกรรมการกาหนดในพื้นที่หนึ่งพื้นที่ใดเท่าที่จาเป็นด้วยก็ได้

มาตรา ๔๔/๙...
- 33 -
มาตรา ๔๔/๙ เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง รักษา หรือป้องกันการแพร่ระบาดจากผู้ที่เป็น
โรคติดต่ออันตรายร้ายแรง ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อมีอานาจเรียกผู้เป็นโรคติดต่ออันตรายร้ายแรงและ
ผู้ที่สัมผัสโรคหรือสงสัยว่าจะเป็นผู้สัมผัสโรคเพื่อสอบหาข้อเท็จจริงอันจะเป็นประโยชน์ต่อการรักษาหรือการ
ป้ อ งกั น การแพร่ ร ะบาด และให้ มี อ านาจเผยแพร่ ข้ อ เท็ จ จริ ง ที่ ร วบรวมได้ เ พื่ อ ให้ ป ระชาชนได้ ท ราบและ
ตรวจสอบการสัมผัสโรคของตนได้
เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่งและการคุ้มครองประชาชนให้ได้รับการรักษา
หรือป้องกันการติดโรคติดต่ออันตรายร้ ายแรงทันท่วงที คณะกรรมการจะกาหนดให้ผู้มีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
ที่คณะกรรมการกาหนด ต้องติดตั้งโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันเพื่อแจ้งเตือนความเสี่ยงภัยที่จะเกิดขึ้นก็ได้
ข้อมูลส่วนบุคคลที่เก็บได้ตามวรรคสอง ห้ามนาไปใช้เพื่อการอื่นนอกเหนือจากวัตถุประสงค์
ตามวรรคหนึ่ง หรือเป็นการใช้เ พื่อประโยชน์ในการศึกษา วิจัย หรือกาหนดมาตรการเพื่อป้องกัน การแพร่
ระบาดในอนาคต
การเผยแพร่ ต ามวรรคหนึ่ ง หรื อ การน าไปใช้ ป ระโยชน์ ต ามวรรคสามจะเปิ ดเผยชื่ อ ที่ อ ยู่
หรือรายละเอียดอื่นใดที่จะทาให้ทราบว่าเป็นบุคคลใดไม่ได้
มาตรา ๔๔/๑๐ เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการควบคุ ม และป้ อ งกั น โรคติ ด ต่ อ อั น ตรายร้ า ยแรง
ในสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข คณะกรรมการอาจสั่งให้หน่วยงานที่รับผิดชอบและองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นดาเนินการให้บุคคลได้รับวัคซีนหรือมีการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามหลักเกณฑ์
และวิธีการที่คณะกรรมการกาหนดได้
หลักเกณฑ์แ ละวิ ธี การตามวรรคหนึ่ง ให้ร วมถึงการกาหนดวิธี การได้วัค ซี น และประเภท
หรือลักษณะของบุคคลที่จะต้องได้รับวัคซีนหรือมีการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและลาดับในการได้รับวัคซีน
หรือการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วย
ผู้มีสัญชาติ ไ ทยที่ ไ ด้ รั บวั ค ซีน หรื อมีการสร้ า งเสริ มภูมิ คุ้มกัน โรคตามวรรคสอง ไม่ ต้องเสี ย
ค่าใช้จ่ายใด ๆ
ความในมาตรานี้ไม่เป็นการตัดสิทธิสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลที่จะ
ด าเนิ น การให้ บุ ค คลได้ รั บ วั ค ซี น หรื อ มี ก ารสร้ า งเสริ ม ภู มิ คุ้ ม กั น โรคตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องตนแ ละในกรณี
ที่สถานพยาบาลดังกล่าวไม่อาจจัดหาวัคซีนได้ไม่ว่าด้วยเหตุใด คณะกรรมการจะจัดสรรวัคซีนให้สถานพยาบาล
โดยคิ ด ค่ า ใช้ จ่ า ยของวั ค ซี น หรื อ ไม่ ก็ ไ ด้ ในกรณี ที่ ไ ม่ ไ ด้ คิ ด ค่ า ใช้ จ่ า ย สถานพยาบาลจะคิ ด ค่ า ด าเนิ น การ
จากผู้รับวัคซีนเกินอัตราที่คณะกรรมการกาหนดมิได้

มาตรา ๔๔/๑๑...
- 34 -
มาตรา ๔๔/๑๑ ข้อกาหนด ระเบียบ ประกาศ คาสั่ง มาตรการหรือการกระทาที่คณะกรรมการ
ก าหนดหรื อ ด าเนิ น การตามหมวดนี้ ไ ม่ อ ยู่ ใ นบั ง คั บ ของกฎหมายว่ า ด้ ว ยวิ ธี ป ฏิ บั ติ ร าชการทางปกครอง
และกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง และให้มีผลใช้บังคับตามระยะเวลา
ที่คณะกรรมการกาหนดเฉพาะในระหว่างเวลาที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข”
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๖๐๙ ๖๗.๗ ๑๔ ๑.๖ ๒๗๖ ๓๐.๗
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณกิตติ เห็นว่า
(๑.๑) มาตรา ๔๔/๒ ควรให้ ค วามเห็ น ชอบจากสภาไม่ใ ช่ คณะรัฐ มนตรี และการก าหนด
ระยะเวลาไว้ ไม่เกิน ๓ เดือน ค่อนข้างนานเกินไป และการที่นายกรัฐมนตรีสามารถขยายระยะเวลาต่อได้อีกครั้งละ
ไม่เกิน ๓ เดือน ก็น านเกิน ไปเช่น กัน ควรมี การกาหนดเพดานสู ง สุ ด ในการขยายประกาศสถานการณ์ ฉุก เฉิ น
ด้านสาธารณสุขว่าจะขยายได้สูงสุดไม่เกินกี่ครั้ง
(๑.๒) มาตรา ๔๔/๓ (๗) ควรได้รับคาแนะนาจากคณะกรรมการในมาตราก่อนหน้านั้น ไม่ใช่
ให้นายกรัฐมนตรีเลือกตามสมควรได้เอง
(๑.๓) มาตรา ๔๔/๕ “ให้ นายกรัฐมนตรีมี อานาจดาเนิ นการหรือสั่ งการได้ โดยไม่ต้องได้รั บ
คาแนะน า เสนอแนะเห็ น ชอบหรื ออนุ มัติจากคณะบุคคลตามกฎหมายนั้น" เหตุใดต้องให้ นายกรัฐมนตรีได้รับ
การยกเว้น ไม่ต้องได้รับคาแนะนา
(๑.๔) มาตรา ๔๔/๖ การจัดซื้อจัดจ้างดังกล่าวเป็นการชอบด้วยกฎหมายว่าด้วยการจัดซื้อ
จั ด จ้ างและการบริ หารพัสดุภาครั ฐแล้ ว ตรงนี้มีการตรวจสอบในภายหลั งได้อย่างไรว่าการจัดซื้อจัดจ้างดังกล่ าว
มีความถู กต้อง หรื อไม่ก็ค วรมี การบั น ทึ กจัด ซื้อจั ดจ้า งดัง กล่ า วเข้ าไปในระเบี ยบราชการตามปกติใ นภายหลั ง
ภายในระยะเวลาที่กาหนด เพื่อสามารถตรวจสอบภายหลังได้ด้วย
(๑.๕) มาตรา ๔๔/๘ ไม่ช้ากว่า ๙๐ วัน มองว่านานเกินไป ควรลดลงมาเหลือแค่ ๑๔ วัน
๒) คุณ พงษ์ ศักดิ์ ศรี มุษิก โพธิ์ เห็ นว่า ควรใช้ อานาจตามพระราชก าหนดการบริ ห ารราชการ
ในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ เพราะอย่างน้อยคณะกรรมการก็เป็นคนละชุดกัน ประธานกรรมการก็ต่างกัน
อาจทาให้ประกาศตามพระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ขัดแย้งกับคาสั่ง
ตามร่างพระราชบัญญัตินี้ได้

๓) คุณดาริกา...
- 35 -
๓) คุณดาริกา กิ่งเนตร เห็นว่า ควรให้นิยามคนต่างด้าว หรือตามกฎหมายใช้ว่าคนต่างชาติ
๔) คุ ณ โสภั ค ค์ ศะศิ นิ ล เห็ น ว่ า ต้ อ งเพิ่ ม ในเรื่ อ งเวลาการเข้ า -ออกเคหะสถานและก าหนด
ให้ประชาชนที่อยู่ในพื้นที่โรคระบาดทางานหรือเรียนในเคหะสถาน เพราะปัจจุบันเทคโนโลยี ได้รับการพัฒนาแล้ว
และสถานศึกษาในเขตจังหวัดสมุทรสาครได้นามาใช้เป็นพื้นที่แรกและสามารถคุมการระบาดได้เป็นอย่างดี
๕) คุณกุลธิดา สุรวาท เห็นว่า
(๕.๑) มาตรา ๔๑/๑ ใช้ ค าว่ า "มี ภ าวะของการเกิ ด โรคผิ ด ปกติ ม ากกว่ า ที่ เ คยเป็ น มา"
แต่บทนิยามคาว่า "โรคระบาด" ใช้คาว่า "มี ภาวะของการเกิดโรคมากผิดปกติกว่าที่เคยเป็นมา" จึงขอเสนอให้แก้ไข
ถ้อยคาให้เหมือนกัน
(๕.๒) มาตรา ๔๑/๑ ใช้คาว่า "จะเกิดขึ้นในหรือนอกราชอาณาจักร" แต่มาตรา ๔๑/๒ ใช้คาว่า
"จะเกิดขึ้นในราชอาณาจักร หรือเกิดขึ้นนอกราชอาณาจักร" จึงขอเสนอให้แก้ไขถ้อยคาให้เหมือนกัน
(๕.๓) มาตรา ๔๔/๔ (๓) ขอเสนอแก้ไขจากคาว่า "...หรือที่เป็นหรือมีเหตุสงสัย..." เป็น "...หรือ
ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัย..." เพื่อให้สอดคล้องกับมาตรา ๓๔ (๑)
(๕.๔) มาตรา ๔๔/๔ (๓) ขอเสนอแก้ไขจากค าว่า "...ตามเวลาที่กาหนด..." เป็น "...ตาม
ระยะเวลาที่กาหนด..." เพื่อให้สอดคล้องกับมาตราอื่น ๆ
(๕.๕) มาตรา ๔๔/๔ (๔) ขอเสนอแก้ไขจากคาว่า "...ช่วยเหลือบุคคลที่เป็นโรคติดต่ออันตราย
ร้ายแรง..." เป็น "...ช่วยเหลือผู้ที่เป็นโรคติดต่ออันตรายร้ายแรง..." เพื่อให้สอดคล้องกับมาตราอื่น ๆ
(๕.๖) มาตรา ๔๔/๔ (๖) ขอเสนอแก้ไขจากคาว่า "...หรือฟื้นฟูผู้เป็นโรคติดต่ออันตรายร้ายแรง
..." เป็น "...หรือฟื้นฟูผู้ที่เป็นโรคติดต่ออันตรายร้ายแรง..." เพื่อให้สอดคล้องกับมาตราอื่น ๆ
(๕.๗) มาตรา ๔๔/๙ ขอเสนอให้ใช้คาว่า "ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อมีอานาจเรียกผู้ที่
เป็นโรคติดต่ออันตรายร้ายแรง" (เพิ่มคาว่า "ที่")
(๕.๘) มาตรา ๔๔/๔ (๘) ใช้คาว่า "...ผู้สัมผัสโรคหรือผู้มีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นผู้สัมผัสโรค..."
แต่ ม าตรา ๔๔/๙ ใช้ ค าว่ า "...ผู้ ที่ สั ม ผั ส โรคหรื อ สงสั ย ว่ า จะเป็ น ผู้ สั ม ผั ส โรค..." จึ ง ขอเสนอให้ แ ก้ ไ ขถ้ อ ยค า
ให้เหมือนกัน
๖) คุณสุรวัฒน์ ชะลอสันติสกุล เห็นว่า ควรเพิ่มรัฐมนตรีว่าการกระทรวงด้านเศรษฐกิจ เข้าร่วม
เป็นกรรมการด้วย
๗) คุณ กฤตภาส ทองเฝื อ เห็ นว่ า ควรมีตั ว แทนบุ คลากรทางการแพทย์ (ที่เ ป็น หมอจริ ง ๆ )
ในการประชุมแต่ละครั้ง
๘) คุ ณอาทยา พงศ์ไ พบู ล ย์ เห็ นว่ า ควรระบุวิ ธีก ารจั ดตั้ งโรงพยาบาลสนามให้ เห็ นชั ดกว่า นี้
ควรมีรูปแบบการจัดการโรงพยาบาลสนามที่ดี มีความปลอดภัยในทุกรูปแบบ

๙) คุณเรณูศรี...
- 36 -
๙) คุณเรณูศรี ธนวัฒนพงศ์ชัย เห็นว่า ๓ เดือนนานเกินไป ควรมีระยะเวลาแค่ ๑ เดือนแล้วต่อไป
ตามความเหมาะสม
๑๐) คุณประทิน ธรรมรักษ์ เห็นว่า กรณีแยกกักคนที่เดินทางเข้ามาจากต่างประเทศ ทั้งที่เป็นคนไทย
และไม่ใ ช่ ค นไทยควรต้ องเสี ย ค่ า ใช้ จ่ า ยเองหรื อนายจ้า งเป็น ผู้ รั บผิ ด ชอบจ่ า ยให้ ในประเทศอื่ น ๆ ผู้ เดิ น ทาง
ต้องรับภาระเอง ไม่ใช่ภาระของรัฐหรือประเทศปลายทาง
๑๑) คุณพีระพรรณ พันธุ์ภักดีคุณ เห็นว่า มาตรา ๔๔/๔ (๖) เป็นช่องทางเกิดการใช้งบประมาณ
ที่ไม่เหมาะสม ไม่โปร่งใส ถ้าจะคงมาตรานี้ ต้องกาหนดความรับผิดชอบของกรรมการและคณะรัฐมนตรีที่อนุมัติ
ถ้าตรวจพบว่าไม่ได้เป็นภาวะที่เร่งด่วนจริง และมาตรา ๔๔/๔ (๑๐) การดาเนินการของสถานพยาบาลอาจมีความ
แตกต่ า งกั น ในอั ต ราค่ า บริ ก าร จึ ง ควรให้ ส ถานพยาบาลแสดงอั ต ราการด าเนิ น การให้ ค ณะกรรมการทราบ
ถ้าคณะกรรมการไม่เห็นด้วยก็ไม่ต้องอนุมัติให้สถานพยาบาลนั้น ๆ ดาเนินการบริหารวัคซีน
๑๒) คุณ ภริ ษ า นนทศิริ ช ญากุล เห็ นว่ า กรุ ณาแก้คาผิ ดหรือ ค าตกด้ ว ย เช่น มาตรา ๔๔/๑๐
วรรคสาม ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ต้องมีทั้งการควบคุมโรค การจัดหาวัคซีน และมาตรการเยียวยาไปพร้อม ๆ กันด้วย
โปรดคานึงถึงผลกระทบต่อเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น และให้คณะกรรมการมีหน้าที่ต้องหาทางแก้ไขปัญหาและเยียวยา
ผลกระทบ
๑๓) คุณเจษฎา ธนกิจเจริญกุล เห็นว่า ควรมีการเพิ่มเติมการบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน
ลงไปในหมวดนี้ เช่น
(๑๓.๑) เมื่อปรากฏโรคติดต่ออันตรายร้ายแรง ให้ ห น่ว ยงานของรัฐ ที่ เกี่ยวข้องใช้ระบบ
บัญชาการเหตุการณ์ในการบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิ นด้านสาธารณสุข (เพิ่มนิยามของ “ระบบบัญชาการ
เหตุการณ์” ในมาตรา ๔)
(๑๓.๒) เพื่อประโยชน์ในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่ออันตรายร้ายแรงในสถานการณ์
ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข คณะกรรมการอาจสั่งให้ระดมทรัพยากรด้านสาธารณสุขจากหน่วยงานภายนอกกระทรวง
สาธารณสุข เพื่อสนับสนุนการดาเนินการควบคุมโรคติดต่ออันตรายร้ายแรงภายใต้พระราชบัญญัติฉบับนี้
๔.๑๓ ประเด็ น ที่ ๓๒ ให้ เ พิ่ ม ความต่ อ ไปนี้ เ ป็ น วรรคสามของมาตรา ๔๘ แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ
โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘
“ความในวรรคหนึ่งไม่ใช้บังคับแก่กรณีที่มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข”
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๖๗๘ ๗๕ ๑๗ ๒ ๒๐๔ ๒๓

โดยมีความเห็น...
- 37 -
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุณจิรัสย์ ดีเดช เห็นว่า ควรพิจารณาเป็นกรณี ๆ ไป
๒) คุณภริษา นนทศิริชญากุล เห็นว่า การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ไม่ใช่เหตุ
อันสมควรในการปฏิเสธไม่ใช้ค่าทดแทนให้กับบุคคลที่ได้รับความเสียหาย ไม่ว่าจะต่อบุคคลหรือทรัพย์สินจากการ
เฝ้าระวัง การป้องกัน หรือการควบคุมโรค เพราะบุคคลที่ได้รับความเสียหายจากการกระทาดังกล่าวของทางราชการ
ย่อมจะเดือดร้อนเป็นอย่างยิ่ง ทั้งที่ความเสียหายเกิดจากการกระทาของทางราชการเอง ไม่ใช่การกระทาของบุคคล
ผู้เสียหายแต่อย่างใด ขอสานักงานพิจารณาไม่ให้มีข้อยกเว้นความรับผิดเช่นนี้
๔.๓๓ ประเด็ น ที่ ๓๓ ให้ ย กเลิ ก ความในหมวด ๙ บทก าหนดโทษ มาตรา ๔๙ มาตรา ๕๐
มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๒ มาตรา ๕๓ มาตรา ๕๔ มาตรา ๕๕ มาตรา ๕๖ และมาตรา ๕๗ แห่งพระราชบัญญัติ
โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน
“หมวด ๙ บทกาหนดโทษ
มาตรา ๔๙ การกระทาหรืองดเว้นการกระทาใดที่พระราชบัญญัตินี้บัญญัติให้เป็นความผิดและ
กาหนดโทษไว้แล้ว แม้การกระทาหรืองดเว้นการกระทานั้นจะเป็นความผิดตามกฎหมายอื่นด้วย ให้ดาเนินการ
ลงโทษตามพระราชบัญญัตินี้เพียงบทเดียว โดยมิให้นาความในมาตรา ๙๐ แห่งประมวลกฎหมายอาญามาใช้
บังคับ
มาตรา ๕๐ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่งของรัฐมนตรีที่สั่งตามมาตรา ๙/๑ ต้องระวางโทษปรับไม่
เกินสามแสนบาท และปรับอีกไม่เกินวันละหนึ่งหมื่นบาทตลอดระยะเวลาที่ไม่ปฏิบัติตาม
มาตรา ๕๑ ผู้ใ ดล่ว งรู้ ค วามลั บ หรื อข้ อ มูล ส่ว นบุ ค คลของผู้อื่ น เนื่ องจากการปฏิ บัติ หน้ า ที่
ตามพระราชบัญญัติ นี้ และฝ่า ฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๑๐ หรื อมาตรา ๔๔/๙ วรรคสามหรื อวรรคสี่
ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินสามแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา ๕๒ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่งหรือหนังสือเรียกที่ออกตามมาตรา ๑๘ มาตรา ๒๒ (๖)
มาตรา ๒๘ (๖) หรือมาตรา ๔๕ (๑) โดยไม่มีเหตุอันสมควร ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา ๕๓ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา ๓๑ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท ในกรณีที่การ
กระทาความผิดตามวรรคหนึ่งได้กระทาในระหว่างที่มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ผู้นั้นต้อง
ระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
มาตรา ๕๔ ผู้ใดได้รับคาสั่งที่สั่งตามมาตรา ๓๔ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) หรือ (๖) มาตรา 39
(๑) (2) (3) หรือ (5) มาตรา 40 (1) (2) (3) (4) หรื อ (5) หรื อมาตรา 42 วรรคหนึ่ง และฝ่า ฝืน หรือไม่
ปฏิบัติ ตามค าสั่งนั้น ต้ องระวางโทษปรั บไม่เ กิน สองแสนบาท และปรั บอีกไม่เ กิน วัน ละแปดพัน บาทตลอด
ระยะเวลาที่ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติ
ตามความในวรรคหนึ่งไม่ใช้บังคับแก่การไม่ปฏิ บัติตามคาสั่งที่สั่งให้มารับการตรวจหรือรักษา
รับการตรวจในทางแพทย์ รับการชันสูตรทางการแพทย์ หรือรับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

ผู้ใดไม่ปฏิบัติ...
- 38 -
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่งตามวรรคสอง เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อจะสั่งให้แยกกักกักกัน
หรือคุมไว้สังเกต ณ สถานที่ซึ่งเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อกาหนดจนกว่าจะเห็นว่าพ้นระยะติดต่อของโรค
หรือสิ้นสุดเหตุอันควรสงสัยก็ได้
มาตรา 55 ผู้ใดขัดขวางการดาเนินการของเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อหรือเจ้าพนักงาน
ท้องถิ่น แล้วแต่กรณี ตามมาตรา 34 (8) มาตรา 38 มาตรา 39 (4) หรือมาตรา 45 (2)) ต้องระวางโทษ
ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
มาตรา 56 ผู้ ไ ด้ รั บ ค าสั่ ง ให้ อ ยู่ ใ นที่ เ อกเทศผู้ ใ ดไม่ ป ฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บของที่ เ อกเทศ
ตามมาตรา 34/1 หรือผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 34/4 ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท
มาตรา 57 ผู้ ใ ดได้ รั บ ค าสั่ งให้ หยุ ด การดาเนิน การตามมาตรา 34/3 วรรคสี่ แ ล้ว ไม่ห ยุ ด
ดาเนิน การ ต้ องระวางโทษปรั บไม่เ กิน ห้า แสนบาท และปรั บอีกไม่เ กิน วัน ละสองหมื่น บาทจนกว่า จะหยุด
ดาเนินการ
มาตรา 58 ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 34/5 ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท
มาตรา 59 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามค าสั่งผู้ว่า ราชการจังหวัดหรือผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ตามมาตรา 35 (1) ต้องระวางโทษปรับไม่เ กินสามแสนบาท และปรับอีกไม่เกิน วันละหนึ่งหมื่นบาทตลอด
ระยะเวลาที่ไม่ปฏิบัติตาม
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่งผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครตามมาตรา 35 (2)
หรือ (3) ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาท
มาตรา 60 การกระทาความผิดตามมาตรา 50 มาตรา 52 มาตรา 54 มาตรา 55 มาตรา
56 มาตรา 57 และมาตรา 59 ถ้าได้กระทาในระหว่างที่มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ผู้นั้น
ต้องระวางโทษเป็นสองเท่าของโทษที่กาหนดไว้สาหรับความผิดนั้น
ผู้ใดกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งและเป็นเหตุให้ เ กิดการแพร่ร ะบาดไปยังบุคคลอื่นตั้งแต่
ห้าคนขึ้นไป ผู้นั้นต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งล้านแปดแสนบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา 61 ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามข้อกาหนด ระเบียบ ประกาศ คาสั่ง หรือมาตรการที่
ออกตามมาตรา 44/4 (3) หรือ (7) ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหกแสนบาท หรือทั้งจา
ทั้งปรับ
ผู้ใดกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งและเป็นเหตุให้เกิดการแพร่ระบาดไปยังบุคคลอื่นตั้งแต่ห้า
คนขึ้นไป ผู้นั้นต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งล้านแปดแสนบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา 62 ผู้ใดมีหน้าที่ต้องติดตั้งโปรแกรมหรือแอปพลิเคชันตามมาตรา 44/9 วรรคสอง
แล้วไม่ติดตั้ง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าพันบาท
มาตรา 63 บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ที่มีโทษปรับสถานเดียวหรือมีโ ทษจาคุกไม่
เกินหนึ่งปี ให้อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอานาจเปรียบเทียบได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์การเปรียบเทียบที่
คณะกรรมการกาหนด
เมื่อผู้ต้องหาได้ชาระเงินค่าปรับตามจานวนที่เปรียบเทียบภายในสามสิบวันนับแต่วันที่มีการ
เปรียบเทียบแล้ว ให้ถือว่าคดีเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

มาตรา 64...
- 39 -
มาตรา 64 เมื่อมีกฎหมายว่าด้วยการปรับเป็นพินัยใช้บังคับแล้ว ให้บรรดาความผิดอาญาที่มี
โทษปรับสถานเดียวที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ เปลี่ยนเป็นความผิดทางพินัยและให้อัตราโทษปรับอาญา
เป็นอัตราค่าปรับเป็นพินัย”
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๖๖๒ ๗๓.๖ ๓๓ ๓.๗ ๒๐๔ ๒๒.๗
โดยมีความเห็นดังนี้
๑) คุ ณ จิ รั ส ย์ ดี เ ดช เห็ น ว่ า ในการใช้ บ ทลงโทษ ควรพิ จ ารณาไปตามความเหมาะสมด้ ว ย
ยกตัวอย่างที่ชัดเจนมาก ๆ เช่น หากมีผู้ใดกระทาความผิดตามมาตรา 62 แต่ผู้นั้นไม่มีความรู้ในเรื่องโปรแกรมหรือแอป
พลิเคชัน หรือไม่สามารถที่จะติดตั้งได้ด้วยเหตุจาเป็นอะไรก็ตาม ก็ควรอนุโลมหรือลดหลั่นโทษกันไป บางครั้งก็ควร
มองข้ามกฎหมายและมองตามความเหมาะสมและความเป็นจริงมากกว่า
2) คุณกิตติ เห็นว่า บทกาหนดโทษสูงกว่ากฎหมายอื่นบางฉบับ และการกาหนดโทษเป็น 2 เท่า
ในสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขด้วยจะมีการใช้บังคับอย่างไรให้มีความเหมาะสมและยุติธรรมกับทั้งสองฝ่าย
เนื่องจากอัตราโทษสูงมาก
3) คุณรัชนีกร มณีศิริ เห็นว่า ควรกาหนดบทลงโทษทั้งแพ่งและทางอาญาในขั้นสูงสุด เนื่องจาก
การนาเชื้อโรคไปติดผู้อื่นถือเป็นการทาร้ายร่างกายผู้อื่นโดยเจตนา ซึ่งหากทาให้ผู้อื่นถึงแก่ชีวิต ก็เท่ากับการฆ่าคน
ตายโดยเจตนา หรืออาจลงโทษให้ไปช่วยงานโควิดของรัฐ ตลอดระยะเวลาที่มีการระบาดของโรค ทั้งนี้ บทลงโทษ
ควรลงโทษอย่างจริงจังเพื่อให้ประชาชนไม่กล้าฝ่าฝืน
4) คุณโสภัคค์ ศะศินิล เห็นว่า การปกปิดข้อมูลในการเดินทางไปตามสถานที่ต่าง ๆ ต้องมีโทษ
สถานหนักโดยจาคุก 30 ปี
5) คุณสุชาดา กิยะแพทย์ เห็นว่า
(๕.1) มาตรา 50 ผู้ ใดไม่ปฏิบัติ ตามคาสั่ งของรัฐมนตรี ที่สั่ งตามมาตรา 9/1 ต้ องระวางโทษ
ปรับไม่เกินห้าแสนบาท และปรับอีกไม่เกินวันละสองหมื่นบาทตลอดระยะเวลาที่ไม่ปฏิบัติตาม หรือทั้งจาทั้งปรับ
(๕.๒) มาตรา 51 ผู้ใดล่วงรู้ความลับหรือข้อมูลส่วนบุคคลของผู้อื่นเนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่
ตามพระราชบั ญ ญั ติ นี้ และฝ่ า ฝื น หรื อ ไม่ ป ฏิ บั ติ ต ามมาตรา 10 หรื อ มาตรา 44/9 วรรคสามหรื อ วรรคสี่
ต้องระวางโทษจาคุก 1 ปี หรือปรับไม่เกินห้าแสนบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
(๕.3) มาตรา 52 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่งหรือหนังสือเรียกที่ออกตามมาตรา 18 มาตรา 22
(6) มาตรา 28 (6) หรือมาตรา 45 (1) โดยไม่มีเหตุอันสมควร ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
(๕.๔) มาตรา 53 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 31 ต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท ใน
กรณีที่การกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งได้กระทาในระหว่างที่มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ผู้นั้น
ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาท

(๕.๕) มาตรา 54...


- 40 -
(๕.๕) มาตรา 54 ผู้ใดได้รับคาสั่งที่สั่งตามมาตรา 34 (1) (2) (3) (4) (5) หรือ (6) มาตรา
39 (1) (2) (3) หรือ (5) มาตรา 40 (1) (2) (3) (4) หรือ (5) หรือมาตรา 42 วรรคหนึ่ง และฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติ
ตามคาสั่งนั้น ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสามแสนบาท และปรับอีกไม่เกินวั นละห้าพันบาทตลอดระยะเวลาที่ฝ่าฝืน
หรื อไม่ป ฏิ บั ติต าม ความในวรรคหนึ่ ง ไม่ใ ช้บังคั บแก่ การไม่ป ฏิบัติต ามค าสั่ ง ที่สั่ ง ให้ ม ารับการตรวจหรือ รักษา
รับการตรวจในทางแพทย์ รับการชันสูตรทางการแพทย์ หรือรับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่ง
ตามวรรคสอง เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อจะสั่งให้แยกกักกักกัน หรือคุมไว้สังเกต ณ สถานที่ซึ่งเจ้าพนักงาน
ควบคุมโรคติดต่อกาหนดจนกว่าจะเห็นว่าพ้นระยะติดต่อของโรคหรือสิ้นสุดเหตุอันควรสงสัยก็ได้
(๕.๖) มาตรา 55 ผู้ ใ ดขั ด ขวางการด าเนิ น การของเจ้ า พนั ก งานควบคุ ม โรคติ ด ต่ อ หรื อ
เจ้าพนักงานท้องถิ่น แล้วแต่กรณี ตามมาตรา 34 (8) มาตรา 38 มาตรา 39 (4) หรือมาตรา 45 (2)) ต้องระวางโทษ
ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท
(๕.๗) มาตรา 56 ผู้ ได้รับคาสั่งให้อยู่ในที่เอกเทศผู้ใดไม่ปฏิบัติตามระเบียบของที่เอกเทศ
ตามมาตรา 34/1 หรือผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 34/4 ต้องระวางโทษปรับหนึ่งแสนบาท
(๕.๘) มาตรา 57 ผู้ใดได้รับคาสั่งให้หยุดการดาเนินการตามมาตรา 34/3 วรรคสี่แล้วไม่หยุด
ดาเนินการ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าแสนบาท และปรับอีกไม่เกินวันละสองหมื่นบาทจนกว่าจะหยุดดาเนินการ
(๕.๙) มาตรา 58 ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 34/5 ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท
(๕.๑๐) มาตรา 59 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่งผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ตามมาตรา 35 (1) ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสามแสนบาท และปรับอีกไม่เกินวันละหนึ่งหมื่นบาทตลอดระยะเวลา
ที่ไม่ปฏิบัติตาม ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคาสั่งผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครตามมาตรา 35 (2)
หรือ (3) ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาท
(๕.๑๑) มาตรา 60 การกระทาความผิดตามมาตรา 50 มาตรา 52 มาตรา 54 มาตรา 55
มาตรา 56 มาตรา 57 และมาตรา 59 ถ้าได้กระทาในระหว่างที่มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
ผู้นั้นต้องระวางโทษเป็นสองเท่าของโทษที่กาหนดไว้สาหรับความผิดนั้น ผู้ใดกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งและ
เป็นเหตุให้เกิดการแพร่ระบาดไปยังบุคคลอื่นตั้งแต่ห้าคนขึ้นไป ผู้นั้นต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับ
ไม่เกินหนึ่งล้านแปดแสนบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ
(๕.๑๒) มาตรา 61 ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามข้อกาหนด ระเบียบ ประกาศ คาสั่ง หรือ
มาตรการที่ออกตามมาตรา 44/4 (3) หรือ (7) ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหกแสนบาท หรือ
ทั้งจาทั้งปรับ ผู้ใดกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งและเป็นเหตุให้เกิดการแพร่ระบาดไปยังบุคคลอื่นตั้งแต่ห้าคนขึ้นไป
ผู้นั้นต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งล้านแปดแสนบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ
(๕.1๓) มาตรา 62 ผู้ ใดมี ห น้ าที่ ต้ องติ ดตั้ งโปรแกรมหรื อแอปพลิ เคชั นตามมาตรา 44/9
วรรคสอง แล้วไม่ติดตั้ง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าพันบาท
(๕.๑๔) มาตรา 63 บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ที่มีโทษปรับสถานเดียวหรือมีโ ทษ
จาคุกไม่เกินหนึ่งปี ให้อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอานาจเปรียบเทียบได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์การเปรียบเทียบ
ที่คณะกรรมการกาหนด เมื่อผู้ต้องหาได้ชาระเงินค่าปรับตามจานวนที่เปรียบเทียบภายในสามสิบวันนับแต่วัน
ที่มีการเปรียบเทียบแล้ว ให้ถือว่าคดีเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา

(๕.๑๕) มาตรา 64...


- 41 -
(๕.๑๕) มาตรา 64 เมื่อมีกฎหมายว่าด้วยการปรับเป็นพินัยใช้บังคับแล้ว ให้บรรดาความผิด
อาญาที่มีโทษปรับสถานเดียวที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ เปลี่ยนเป็นความผิดทางพินัยและให้อัตราโทษปรับ
อาญาเป็นอัตราค่าปรับเป็นพินัย
6) คุณกฤตภาส ทองเฝือ เห็นว่า มาตรา 62 ควรพัฒนาแอปพลิเคชันให้ครอบคลุมแบบ all-in-one
7) คุณเรณูศรี ธนวัฒ นพงศ์ชัย เห็ นว่า ไม่เห็ นด้ ว ยกันการปรับเงิน เพราะบางคนคงไม่มีจ่า ย
แต่เห็นด้วยกับการให้จ่ายค่าเสียหายที่เกิดขึ้นจากการกระทาการฝ่าฝืนโดยเจตนา
8) คุณนางนลินี อ่าอิ่ม เห็นว่า ค่าปรับแพงไป ถ้าไม่มีเงินจ่ายจะทาอย่างไร
9) คุณพีระพรรณ พันธุ์ภักดีคุณ เห็นว่า มาตรา 62 อ่านไม่เข้าใจว่าผู้ที่มีหน้าที่คือใคร ควรมีการ
ลงโทษเจ้าหน้าที่ที่อาจปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบหรือใช้วิธีการที่ไม่เป็นสากล
10) คุณสุ พัตรา นิล ศิริ เห็นว่า แอปพลิเคชันควรเสถียรและง่ายต่อการใช้งาน เพื่อให้ สะดวก
ในการใช้งาน
11) คุณภริษา นนทศิริชญากุล เห็นว่า มาตรา 62 ควรเพิ่มเติมคาว่า "โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร"
ก่อนหน้าระวางโทษด้วย โปรดคานึงถึงเหตุผลจาเป็นอื่นใดที่ประชาชนบางรายแม้จะมีโทรศัพท์มือถือก็ไม่อาจติดตั้ง
แอปพลิเคชันให้ได้ เช่น ปัญหาหน่วยความจาไม่พอ หรือปัญหาการไม่มีสัญญาณแพ็กเกจอินเตอร์เน็ต (ทาให้แม้จะ
ติดตัง้ ก็ไม่อาจใช้ประโยชน์ได้อยู่ดี)
12) คุณกัล ยวันต์ สวนคร้ามดี เห็ นว่า มาตรา 62 ควรคานึงถึงประชาชนที่ไม่ส ามารถเข้าถึง
อิน เตอร์ เน็ ตหรื อไม่ส ามารถเข้า Application ได้ด้วย หรือหากเป็นการบังคับควรมีมาตรการในการช่วยเหลื อ
ให้ประชาชนกลุ่มดังกล่าวเข้าถึงเครื่องมือสื่อสาร/ค่าใช้จ่ายสิ้นเปลืองที่จะเกิดขึ้นได้
13) คุณณัฐปภัสร์ เบ็ญจพงษ์ เห็นว่า การประกาศรายชื่อผู้ป่วยให้เว้นชื่อได้ แต่ให้บอกสถานที่
โดยละเอียด เลขที่อยู่ ตาบล อาเภอ จังหวัด หากปิดบังหรือให้ข้อมูล เท็จ มีโ ทษปรับ 3 แสนบาท จาคุก 1 ปี
หรือทั้งจาทั้งปรับและเบี้ยปรับอีกวันละ 1 หมื่นบาท
14) คุณวิทักษ์ วิทักษบุตร เห็นว่า มาตรา 53 ผิดมาตรา 31 เสนอปรับหนึ่งแสนบาท ถ้าอยู่
ในระหว่างพระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 เสนอปรับห้าแสนบาท
15) คุณนิธิวัฒน์ รุจิไชยวัฒน์ เห็นว่า ขอความอนุเคราะห์ กองกฎหมาย ได้ออกระเบียบกรมควบคุม
โรค ว่ า ด้ ว ยหลั ก เกณฑ์ วิ ธี ก าร และเงื่ อ นไขการจ่ า ยเงิ น สิ น บนรางวั ล และค่ า ใช้ จ่ า ยในการด าเนิ น งานตาม
พระราชบัญญัติควบคุมโรค พ.ศ. 2558 และประกาศอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง มาเพื่อเป็นขวัญกาลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงานด้วย
เนื่องจากการออกปฏิบัติกากับดูแล บังคับใช้กฎหมาย คาสั่ง และงานบางครั้ง ต้องใช้พลังกาย พลั งใจ ทีมงานที่ต้อง
ร่วมปฏิบัติเป็นทีม หากจะให้หัวหน้าหน่วยที่นาพาไปปฏิบัติงานโดยใช้จ่ายเงินส่วนตัวของตัวเองงานคงจะเกิดผล
ในทางปฏิบัติที่เห็นเป็นรูปธรรมค่อนข้างยาก เพราะผู้ที่ละเมิดกฎหมาย คาสั่ง ควรที่จะต้องถูกลงโทษ และมีการ
ช่วยเหลือสังคมจากการเสียค่าปรับในส่วนที่กล่าวมาข้างต้นด้วย
16) คุณวิลาวัลย์ พุ่มอยู่ เห็นว่า เพิ่มข้อความมาตรา 55 "หรือให้ข้อมูลไม่ครบถ้วน หรือให้ข้อมูล
อันเป็นเท็จ"

๔.๓๔ ประเด็นที่ 34...


- 42 -
๔.๓๔ ประเด็ น ที่ 34 “ให้ค ณะกรรมการโรคติดต่ อแห่ งชาติ ซึ่งด ารงต าแหน่งอยู่ใ นวั น ก่อ นวัน ที่
พระราชบั ญญัติ นี้ใ ช้ บังคั บ ปฏิบัติ หน้า ที่ค ณะกรรมการโรคติด ต่อแห่งชาติต ามพระราชบั ญญัติ โ รคติดต่ อ
พ.ศ. 2558 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ไปพลางก่อนจนกว่าจะมีการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ตามวรรคสอง
ให้ ด าเนิ น การแต่ ง ตั้ ง กรรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ต ามพระราชบั ญ ญั ติ โ รคติ ด ต่ อ พ.ศ. 2558
ซึ่งแก้ไ ขเพิ่มเติ ม โดยพระราชบัญ ญัติ นี้ใ ห้แ ล้วเสร็ จ ภายในหกสิบวัน นับแต่วัน ที่พระราชบัญญัติโ รคติดต่ อ
พ.ศ. 2558 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เมื่อครบกาหนดเวลาแล้วยังมิได้มีการแต่งตั้ง
กรรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ดั ง กล่ า ว ให้ น ายกรั ฐ มนตรี เ ป็ น ผู้ มี อ านาจแต่ ง ตั้ ง ตามที่ เ ห็ น สมควรให้ แ ล้ ว เสร็ จ
ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ครบกาหนดเวลาดังกล่าวโดยไม่ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนด
ตามมาตรา 11 วรรคสาม”
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๐๐ ๗๗.๙ ๑๔ ๑.๕ ๑๘๕ ๒๐.๖
โดยมีความเห็นดังนี้
1) คุณพงษ์ศักดิ์ ศรี มุษิกโพธิ์ เห็ นว่า เนื่องจากผู้ รักษาการตามพระราชบัญญัติมี 2 ตาแหน่ง
อานาจการใช้จึงอาจขัดแย้งกัน ไม่ควรให้มีผู้รักษาการสองคน
2) คุณธงธน เพิ่มบถศรี เห็นว่า ระยะเวลาดาเนินการแต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสั้ นเกินไป
ควรกาหนดเป็น 120 วัน
3) คุณพีระพรรณ พันธุ์ภักดีคุณ เห็นว่า กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ควรมีด้านทันตกรรม เภสัชกรรม
เทคนิคการแพทย์ ไวรัสวิทยา ร่วมหรือไม่ ควรกาหนดที่มาของกรรมการว่าได้มาอย่างไร
๔.๓๕ ประเด็ นที่ 35 ให้ประกาศที่รั ฐมนตรี ออกตามมาตรา 6 (1) มาตรา 7 มาตรา 31 วรรคสอง
มาตรา 34 วรรคสาม มาตรา 41 วรรคสอง และมาตรา 42 วรรคสองแห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ โ รคติ ด ต่ อ
พ.ศ. 2558 ยังคงมีผลใช้บังคับได้ต่ อไป จนกว่า จะมีประกาศตามพระราชบัญญัติโ รคติดต่อ พ.ศ. 2558
ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๑๓ ๗๙ ๙ ๑ ๑๗๗ ๒๐

- ไม่มีความเห็น -

๔.๓๖ ประเด็นที่ 36...


- 43 -
๔.๓๖ ประเด็นที่ 36 บรรดาประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ที่ใช้บังคับอยู่
ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ยังคงใช้บังคับได้ต่อไปเพียงเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระราชบัญญัติ
โรคติ ด ต่ อ พ.ศ. 2558 ซึ่ง แก้ไ ขเพิ่ มเติ มโดยพระราชบัญ ญัตินี้ จนกว่า จะมี ประกาศตามพระราชบัญญั ติ
โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลง
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๓๓ ๘๒ ๑๐ ๑ ๑๕๖ ๑๗
โดยมีความเห็นดังนี้
1) คุ ณ สิ ทิ ชั ย เจริ ญ กิ ติ ศั พ ท์ เห็ น ว่ า ควรก าหนดระยะเวลายกเลิ ก ระเบี ย บเก่ า เพื่ อ ป้ อ งกั น
การสับสน
2) คุณ สุ ช าดา กิ ย ะแพทย์ เห็ น ว่า ให้ ย กเลิ ก พระราชบั ญ ญั ติโ รคติ ด ต่อ พ.ศ. 2558 และใช้
ร่างพระราชบัญญัตินี้แทน เพื่อไม่ให้กฎหมายทับซ้อนหรือใช้หลายฉบับมากจนเกินไป
๔.๓๗ ประเด็นที่ 37 ในกรณีที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขตามพระราชบัญญัติ
โรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ในระหว่างที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน
ตามพระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ให้ถือว่าบรรดาข้อกาหนด ประกาศ
และคาสั่ง ที่นายกรัฐมนตรีออกโดยอาศัยอานาจ ตามพระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน
พ.ศ. 2548 และบรรดาข้ อ ก าหนด ประกาศ และค าสั่ ง ที่ อ อกตามข้ อ ก าหนด ประกาศ หรื อ ค าสั่ ง ของ
นายกรั ฐมนตรี ดังกล่าว หรื อที่ออกตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ทั้งนี้ ในส่วนที่เกี่ยวกับการ
ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และที่ยังมีผลใช้บังคับอยู่ในวันก่อน
วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ เป็นข้อกาหนด ระเบียบ ประกาศ คาสั่ง หรือมาตรการที่ออกหรือกาหนดขึ้น
ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ จนกว่าคณะกรรมการจะได้
มีมติให้ยกเลิกหรือกาหนดเป็นอย่างอื่น
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๒๔ ๘๐.๕ ๑๖ ๑.๘ ๑๕๙ ๑๗.๗
โดยมีความเห็นดังนี้
1) คุณพงษ์ศักดิ์ ศรีมุษิกโพธิ์ เห็นว่า ขอแก้ไขความเห็นเรื่องระยะเวลาการบังคับใช้ น่าจะให้มีผล
อีก 60 วัน เนื่องจากอาจมีปัญหากับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
พ.ศ. 2539 และพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. ๒๕๖๒

2) คุณสิทิชัย...
- 44 -
2) คุณสิทิชัย เจริญกิติศัพท์ เห็นว่า ควรตัดข้อความตั้งแต่ “ทั้งนี้ ในส่วนที่เกี่ยวกับการป้องกันและ
ควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และที่ยังมีผลใช้บังคับอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัติ
นี้ ใ ช้ บั ง คั บ เ ป็ น ข้ อ ก า ห น ด ร ะ เ บี ย บ ป ร ะ ก า ศ ค า สั่ ง ห รื อ ม า ต ร ก า ร ที่ อ อ ก ห รื อ ก า ห น ด ขึ้ น
ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 ซึ่งแก้ ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ จนกว่าคณะกรรมการจะได้มีมติ
ให้ยกเลิกหรือกาหนดเป็นอย่างอื่น” ออก
๔.๓๘ ประเด็ น ที่ 38 ให้ น ายกรั ฐ มนตรี แ ละรั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงสาธารณสุ ข รั ก ษาการ
ตามพระราชบัญญัตินี้
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ/ไม่ออก
ความเห็น
จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
๗๓๙ ๘๒ ๑๘ ๒ ๑๔๒ ๑๖
โดยมีความเห็นดังนี้
1) คุณพงษ์ศักดิ์ ศรีมุษิกโพธิ์ เห็นว่า กฎหมายที่มีผู้รักษาการสองคนทาให้ขาดความเป็นเอกภาพ
เหมือนมีแม่ทัพภาค 2 คนในพื้น ที่เดียวกัน นายกรัฐมนตรีส ามารถสั่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุ ขได้
ไม่จาเป็นต้องให้นายกรัฐมนตรีรักษาการ ถ้าจะให้ นายกรัฐมนตรีรักษาการ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงสาธารณสุข
ก็เป็นเพียงกรรมการ ไม่ต้องรักษาการ
2) คุณสิทิชัย เจริญกิติศัพท์ เห็นว่า ควรจะเป็นคนเดียวหรือไม่
3) คุ ณ เฉลิ ม เดช เนื่ อ งสุ ว รรณลั ก ษณ์ เห็ น ว่ า ควรให้ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงสาธารณสุ ข
เป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
4) คุณวาทิกษ์ พิมพ์วงศ์ เห็นว่า ผู้รักษาการมี 2 คน อาจขาดเอกภาพ ควรพิจารณาให้มีผู้แทน
หน่วยงานความมั่นคงในระดับจังหวัดด้วย (คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด)
5) คุณจตุภูมิ โกมาสถิต เห็นว่า เลือกคนใดคนหนึ่งก็น่าจะพอแล้ว

๕. การนาผลการรับฟังความคิดเห็นมาประกอบการพิจารณาจัดทาร่างกฎหมาย
กระทรวงสาธารณสุ ข โดยกรมควบคุ ม โรค ได้ พิ จ ารณาความคิ ด เห็ น และข้ อ สั ง เกตข้ า งต้ น แล้ ว
เห็นว่า โดยส่วนใหญ่ไม่มีผู้ใดมีความเห็นที่ขัดหรือแย้งในหลักการและสาระสาคัญของร่างพระราชบัญญัติโรคติดต่อ
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ที่สานั กงานคณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาเสร็จแล้ว โดยจะดาเนินการนาความคิดเห็ น
และข้อสังเกตดังกล่าวข้างต้นมาประกอบในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติโรคติดต่อ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ต่อไป
_________________________

จัดทาโดย กองกฎหมาย กรมควบคุมโรค


พฤษภาคม 256๔

You might also like