You are on page 1of 14

หนา้ ๔๒

เลม่ ๑๔๐ ตอนพิเศษ ๑๖๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๖

ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน
เรื่อง ประเภท ระดับ อานาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือข้อจากัดของผู้ปฏิบตั ิการ
ในการปฏิบัตกิ ารฉุกเฉินตามคาสั่งการแพทย์หรือการอานวยการ
พ.ศ. ๒๕๖๖

โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน เรื่อง อานาจหน้าที่


ขอบเขต ความรั บ ผิ ด ชอบ หรื อ ข้ อ จ ากั ด ในการปฏิ บั ติ ก ารแพทย์ ข องผู้ ช่ ว ยเวชกรรม ตามค าสั่ ง
การแพทย์หรือการอานวยการ พ.ศ. ๒๕๕๖ และประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน เรื่อง อานาจหน้าที่
ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือข้อจากัดในการปฏิบัติการอานวยการของผู้ช่วยอานวยการตามคาสั่ง
การแพทย์หรือการอานวยการ พ.ศ. ๒๕๕๘ เพื่อให้สอดคล้องกับการให้ประกาศนียบัตรหรือเครื่องหมาย
วิทยฐานะแก่ผู้ผ่านการศึกษาหรือฝึกอบรม ตามมาตรา ๑๑ (๖) แห่งพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน
พ.ศ. ๒๕๕๑
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๒๙ (๑) แห่งพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑
ประกอบกับข้อ ๑๙ ของระเบียบคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน ว่าด้วยการประชุมของคณะกรรมการ
และคณะอนุ ก รรมการ พ.ศ. ๒๕๖๑ คณะกรรมการการแพทย์ฉุ กเฉิ น จึ ง ได้ มีม ติใ นการประชุม
ครั้งที่ ๕/๒๕๖๖ เมื่อวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๖ ให้ออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ประกาศฉบับนี้เรียกว่า “ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน เรื่อง ประเภท
ระดับ อานาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือข้อจากัดของผู้ปฏิบัติการในการปฏิบัติการฉุกเฉิน
ตามคาสั่งการแพทย์หรือการอานวยการ พ.ศ. ๒๕๖๖”
ข้อ ๒ ประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิก
(๑) ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน เรื่อง อานาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ
หรือข้อจากัดในการปฏิบัตกิ ารแพทย์ของผู้ช่วยเวชกรรมตามคาสั่งการแพทย์หรือการอานวยการ พ.ศ. ๒๕๕๖
(๒) ประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน เรื่อง อานาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ
หรือข้อจากัดในการปฏิบัติการอานวยการของผู้ช่วยอานวยการตามคาสั่งการแพทย์หรือการอานวยการ
พ.ศ. ๒๕๕๘
ข้อ ๔ ในประกาศนี้
“ปฏิบัติการแพทย์” หมายความว่า การปฏิบัติการฉุกเฉินที่กระทาโดยตรงต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน
เกี่ยวกับการประเมิน การดูแล การเคลื่อนย้ายหรือลาเลียง การนาส่งต่อ การตรวจวินิจฉัย และ
การบาบัดรักษาพยาบาล รวมถึงการเจาะหรือผ่าตัด การใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือแพทย์ การให้หรือ
บริหารยาหรือสารอื่น หรือการสอดใส่วัตถุใด ๆ เข้าไปในร่างกายผู้ป่วยฉุกเฉิน และให้หมายรวมถึง
หนา้ ๔๓
เลม่ ๑๔๐ ตอนพิเศษ ๑๖๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๖
การรับแจ้งและจ่ายงานให้ผู้ปฏิบัติการอื่นกระทาโดยตรงต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน รวมทั้งการปฏิบัติการฉุกเฉิน
ที่ต้องกระทาตามคาสั่งการแพทย์ด้วย แต่ไม่รวมถึงการกระทาใดอันเป็นการปฐมพยาบาล
“ปฏิบัติการอานวยการ” หมายความว่า การปฏิบัติการฉุกเฉินที่ไม่ได้กระทาโดยตรงต่อผู้ป่วยฉุกเฉิน
ประกอบด้ วยการจั ดการ การประสานงาน การควบคุ มดู แล และการติ ดต่ อสื่ อสารอั นมี ความจ าเป็ น
เพื่อให้ผู้ป่วยฉุกเฉินได้รับการปฏิบัติการแพทย์ที่ถูกต้อง สมบูรณ์ และทันท่วงที
“คาสั่งการแพทย์ ” หมายความว่า คาชี้แจงให้เข้าใจและสั่งให้ทาตามเป็นลาดับขั้น ตอน
เพื่อให้ผู้ปฏิบัติการปฏิบัติการแพทย์ตาม
“อานวยการ” หมายความว่า การอานวยการทางการแพทย์ฉุกเฉินโดยแพทย์อานวยการ
ปฏิ บั ติ ก ารฉุ ก เฉิน ซึ่ ง รวมถึ ง การจั ด การและควบคุ ม การปฏิ บัติ ก ารฉุก เฉิน ของผู้ ปฏิ บั ติ การซึ่งเป็น
ผู้ปฏิบัติงานด้านปฏิบัติการฉุกเฉิน ทั้งการอานวยการทั่วไปและการอานวยการตรง เพื่อให้ผู้ปฏิบัติการ
ซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานด้านปฏิบัติการฉุกเฉินรายงานภาวะของผู้ป่วยฉุกเฉินและปฏิบัติการฉุกเฉินตามคาสั่ง
การแพทย์
“อานวยการทั่วไป” หมายความว่า การอานวยการซึ่งได้จัดทาและประกาศไว้เป็นเอกสาร
ด้ว ยวิธีการที่กาหนดไว้ล่วงหน้า เพื่อเป็นคาสั่งประจา ขั้นตอนวิธี หรือเกณฑ์วิธีปฏิบัติการฉุกเฉิน
ให้ ผู้ ป ฏิ บั ติ ก ารซึ่ ง เป็ น ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านด้ า นปฏิ บั ติ ก ารฉุ ก เฉิ น ด าเนิ น การหรื อ ปฏิ บั ติ ต าม รวมทั้ ง
การตรวจสอบและพิจารณากระบวนการและผลการปฏิบัติการฉุกเฉินย้อนหลังด้วย
“อานวยการตรง” หมายความว่า การอานวยการเชื่อมตรงระหว่างบุคคลต่อบุคคลขณะกาลัง
ปฏิบัติการฉุกเฉิน ณ สถานที่ที่มีผู้ป่วยฉุกเฉินหรือที่เกิดเหตุการณ์ หรือผ่านการสื่อสารทางไกลด้วยวาจา
ลายลักษณ์อักษร อิเล็กทรอนิกส์ โทรคมนาคม หรือวิธีการสื่อสารอื่น
“รับแจ้ง” หมายความว่า การรับแจ้งการเจ็บป่วยฉุกเฉิน รวมทั้งรวบรวมข้อมูลและสารสนเทศ
ทางการแพทย์ฉุกเฉินเพื่อคัดแยกระดับความฉุกเฉิน แล้วส่งข้อมูลและสารสนเทศต่อไปยังผู้ปฏิบัติการ
หน่วยปฏิบัติการ หรือสถานพยาบาลที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนให้คาแนะนาเชื่อมตรงระหว่างบุคคลต่อบุคคล
ด้วยวาจา ลายลักษณ์อักษร อิเล็กทรอนิกส์ โทรคมนาคม หรือวิธีการสื่อสารอื่น ให้ผู้แจ้งหรือผู้อาจ
ช่ ว ยได้ ใ ห้ ท าการปฐมพยาบาลหรื อ ปฏิ บั ติ ก ารแพทย์ แ ก่ ผู้ ป่ ว ยฉุ ก เฉิ น ตามสมควรแก่ ก รณี ทั้ ง นี้
ให้หมายความรวมถึงการรับแจ้งทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วย
“จ่ายงาน” หมายความว่า การถ่ายทอดคาสั่ง รวมทั้งประสานการปฏิบัติการฉุกเฉินเชื่อมตรง
ระหว่างบุคคลต่อบุคคลด้วยวาจา ลายลักษณ์อักษร อิเล็กทรอนิกส์ โทรคมนาคม หรือวิธีการสื่อสารอื่น
ไปยังผู้ปฏิบัติการ หน่วยปฏิบัติการ หรือสถานพยาบาลตามคาสั่งการแพทย์และคาสั่งอานวยการรวมถึง
การช่วยกากับดูแลและการควบคุมการปฏิบัติการฉุกเฉินเชื่อมตรงระหว่างบุคคลต่อบุคคล ณ สถานที่
ที่ มี ผู้ ป่ ว ยฉุ ก เฉิ น หรื อ ที่ เ กิ ด เหตุ ก ารณ์ หรื อ ผ่ า นการสื่ อ สารทางไกลด้ ว ยวาจา ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร
อิเล็กทรอนิกส์ โทรคมนาคม หรือวิธีการสื่อสารอื่น โดยผู้ปฏิบัติการซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานด้านปฏิบัติการ
ฉุ ก เฉิ น ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย เพื่ อ ให้ ผู้ ป ฏิ บั ติ ก ารซึ่ ง เป็ น ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านด้ า นปฏิ บั ติ ก ารฉุ ก เฉิ น อื่ น หรื อ
ผู้ ป ฐมพยาบาลรายงานภาวะผู้ ป่ ว ยฉุ ก เฉิ นและเฝ้ า ติ ด ตามคุณ ภาพการปฏิ บั ติ ก ารให้ ก ารช่ วยเหลือ
และเฝ้าติดตามการปฏิบัติการฉุกเฉินของผู้ปฏิบัติการซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานด้านปฏิบัติการฉุกเฉินนั้น
หนา้ ๔๔
เลม่ ๑๔๐ ตอนพิเศษ ๑๖๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๖๖
ข้อ ๕ ให้ผู้ปฏิบัติการจาแนกเป็น ๒ ประเภท ดังต่อไปนี้
(๑) ประเภทวิชาชีพ หมายความว่า ผู้ประกอบวิชาชีพด้านการแพทย์และการสาธารณสุข
ที่ประกอบวิชาชีพตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น ได้แก่
(ก) ผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาฉุกเฉินการแพทย์
(ข) ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาล ผู้ประกอบวิชาชีพผดุงครรภ์ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
และการผดุงครรภ์ ที่ปฏิบัติการฉุกเฉิน
(ค) ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมที่ปฏิบัติการฉุกเฉิน
(๒) ประเภทช่วยฉุกเฉินการแพทย์ หมายความว่า ผู้ที่ได้รับประกาศนียบัตรตามข้อบังคับ
ที่ออกโดยอาศัยอานาจตามมาตรา ๑๑ (๖) แห่งพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๑ และ
ได้ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ปฏิบัติการกับ สพฉ.
ข้อ ๖ ให้ผู้ปฏิบัติการประเภทวิชาชีพตามข้อ ๕ (๑) ปฏิบัติการฉุกเฉินได้ตามอานาจหน้าที่
ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือข้อจากัดตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
ข้อ ๗ ให้ผู้ปฏิบัติการประเภทช่วยฉุกเฉินการแพทย์ ตามข้อ ๕ (๒) มี ๖ ระดับ ดังต่อไปนี้
(๑) ระดับ ๑ เรียกว่า อาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์ เรียกโดยย่อว่า “อฉพ.” (Emergency
Medical Responder : EMR)
(๒) ระดับ ๒ เรียกว่า พนักงานฉุกเฉินการแพทย์ เรียกโดยย่อว่า “พฉพ.” (Emergency
Medical Technician - Basic : EMT-B)
(๓) ระดั บ ๓ เรี ย กว่ า พนั ก งานฉุ ก เฉิ น การแพทย์ พิ เ ศษ เรี ย กโดยย่ อ ว่ า “พฉพพ.”
(Emergency Medical Technician : EMT)
(๔) ระดับ ๔ เรียกว่า เจ้าพนักงานฉุกเฉินการแพทย์ เรียกโดยย่อว่า “จฉพ.” (Emergency
Medical Technician - Intermediate : EMT-I)
(๕) ระดับ ๕ เรียกว่า “เจ้าพนักงานฉุกเฉินการแพทย์ขั้นสูง ” เรียกโดยย่อว่า “จฉพส.”
(Advanced Emergency Medical Technician: AEMT)
(๖) ระดั บ ๖ เรี ย กว่ า “นั ก ปฏิ บั ติ ก ารฉุ ก เฉิ น การแพทย์ ” เรี ย กโดยย่ อ ว่ า “นฉพ.”
(Emergency Medical Technician - Paramedic : EMT-P)
ให้ ผู้ ป ฏิ บั ติ ก ารแต่ ล ะระดั บ ตามวรรคหนึ่ ง มี อ านาจหน้ า ที่ ขอบเขตความรั บ ผิ ด ชอบ
หรือข้อจากัดในการปฏิบัติการฉุกเฉิน ตามคาสั่งการแพทย์หรือการอานวยการตามแนบท้ายประกาศนี้

ประกาศ ณ วันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. ๒๕66


เรืออากาศเอก อัจฉริยะ แพงมา
เลขาธิการสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน
อํานาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือข้อจํากัดของผู้ปฏิบัติการประเภทช่วยฉุกเฉินการแพทย์
ในการปฏิบัติการฉุกเฉิน ตามคําสั่งการแพทย์หรือการอํานวยการ
แนบท้ายประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฉุกเฉิน เรื่อง ประเภท ระดับ อํานาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ
หรือข้อจํากัดของผู้ปฏิบัติการ ในการปฏิบัติการฉุกเฉินตามคําสั่งการแพทย์หรือการอํานวยการ พ.ศ. ๒๕๖๖

ข้ อ ๑ อํ านาจหน้ า ที่ ขอบเขต ความรั บ ผิ ด ชอบ หรื อข้ อจํ ากั ด ของผู้ป ฏิ บัติ การประเภทช่ ว ยฉุ กเฉิ น
การแพทย์แต่ละสาขา ในการปฏิบัติการแพทย์และปฏิบัติการอํานวยการ ตามคําสั่งการแพทย์หรือการอํานวยการ ตาม
ประกาศนี้จะกําหนดขั้นการกระทํา โดยใช้สัญลักษณ์ดังต่อไปนี้
ให้ใช้สัญลักษณ์ “ก” เป็นขั้นที่กําหนดว่าผู้ปฏิบัติการในสาขานั้นสามารถกระทําได้ตามการอํานวยการ
ทั่วไปหรือการอํานวยการตรง รวมทั้งให้คําสั่งการแพทย์แก่ผู้ปฏิบัติการในระดับที่ต่ํากว่า
ให้ใช้สัญลักษณ์ “ข” เป็นขั้นที่กําหนดว่าผู้ปฏิบัติการในสาขานั้นสามารถกระทําได้ตามการอํานวยการ
ทั่วไปหรือการอํานวยการตรง
ให้ ใช้สัญ ลั กษณ์ “ค” เป็นขั้นที่กําหนดว่ า ผู้ปฏิ บัติการในสาขานั้นสามารถกระทํ าได้เฉพาะตามการ
อํานวยการตรง
ให้ ใช้สัญ ลั กษณ์ “ง” เป็น ขั้ น ที่กําหนดว่า ผู้ ป ฏิ บั ติการในสาขานั้ นสามารถช่ วยกระทํ าได้ ภายใต้ การ
ควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิดของผู้ประกอบวิชาชีพ หรือกลุ่มช่วยฉุกเฉินการแพทย์ในระดับที่มีขั้นของการปฏิบัติการแพทย์นั้น
ในสัญลักษณ์ “ก”
ให้ใช้สัญลักษณ์ “จ” เป็นขั้นที่กําหนดให้ผู้ปฏิบัติการในสาขานั้น ห้ามกระทําการปฏิบัติการแพทย์นั้น
กับผู้ป่วยฉุกเฉิน
ข้อ ๒ ให้ผู้ปฏิบัติการประเภทช่วยฉุกเฉินการแพทย์แต่ละสาขา มีอํานาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ
หรือข้อจํากัดในการปฏิบัติการแพทย์ตามคําสั่งการแพทย์หรือการอํานวยการได้ ดังต่อไปนี้
อํานาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือข้อจํากัด
รายการปฏิบัติการแพทย์ ของผู้ปฏิบัติการประเภทช่วยฉุกเฉินการแพทย์
นฉพ. จฉพส. จฉพ. พฉพพ. พฉพ. อฉพ.
๑. การแยกบุ คคลออกจากสิ่ง อั น ตราย/การใช้ อุป กรณ์
พิทักษ์บุคคล (body substance isolation/person
protective equipment)
๑.๑ อุปกรณ์พิทักษ์บุคคล ระดับ C ก ก ก ก ข ข
๑.๒ อุปกรณ์พิทักษ์บุคคล ระดับ D ก ก ก ก ก ข
๒. เทคนิคการจัดทางหายใจ (airway techniques)
๒.๑ การใช้อุปกรณ์พยุงทางหายใจ (airway adjunct)
๒.๑.๑ การสอดใส่อุปกรณ์พยุงทางหายใจที่มุ่งให้เข้าไป ก ก ข ค ค ง
ในคอหอยส่วนปาก (oropharyngeal airway)

อํานาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือข้อจํากัด
รายการปฏิบัติการแพทย์ ของผู้ปฏิบัติการประเภทช่วยฉุกเฉินการแพทย์
นฉพ. จฉพส. จฉพ. พฉพพ. พฉพ. อฉพ.
๒.๑.๒ การสอดใส่อุปกรณ์พยุงทางหายใจที่มุ่งให้เข้าไป ก ข ค ง จ จ
ในคอหอยส่วนจมูก (nasopharyngeal airway)
๒.๑.๓ การสอดใส่อุปกรณ์พยุ งทางหายใจชนิ ดเหนือ ข ค ง จ จ จ
กล่องเสียง (supraglottic airway)
๒.๒ การจั ด ทางหายใจโดยไม่ ใ ช้ อุ ป กรณ์ (airway
maneuvers)
๒.๒.๑ การกดหน้าผากเชยคาง (head tilt-chin lift) ก ก ข ข ข ค
๒.๒.๒ การยกขากรรไกร (jaw thrust) ก ก ข ข ค ค
๒ . ๒ . ๓ ก า ร ดู แ ล ผู้ ป่ ว ย มี รู เ จา ะ เ ปิ ด ท่ อ ล ม ค ง ง จ จ จ
(management of existing tracheostomy)
๒.๓ การเจาะเยื่อไครโคไทรอยด์ (cricothyrotomy)
๒.๓.๑ การเจาะด้วยเข็ม (needle) ค ง จ จ จ จ
๒.๓.๒ การเจาะด้วยการผ่าตัด (surgical) ง จ จ จ จ จ
๒.๔ การขจั ด สิ่ ง ขั ด ขวางทางหายใจ (obstructed
airway clearance)
๒.๔.๑ การขจัดสิ่งขัดขวางทางหายใจโดยไม่ใช้อุปกรณ์
(manual obstructed airway clearance)
๒.๔.๑.๑ การกวาดด้วยนิ้ว (finger sweep) ก ก ข ข ค ค
๒.๔.๑.๒ การตบหลังและกระแทกทรวงอก ก ก ข ข ค ค
(back blow and chest thrust)
๒.๔.๑.๓ การรัดกระตุกที่ท้อง (Heimlich ก ก ข ข ข ข
maneuver)
๒.๕ การสอดใส่ ห ลอดคาในท่ อ ลมในผู้ ใ หญ่ (adult
intubation)
๒.๕.๑ การสอดใส่ ห ลอดคาในท่ อ ลมทางปาก ข ง ง จ จ จ
(orotracheal)
๒.๕.๒ การสอดใส่หลอดคาในท่อลมด้วยการใช้ยา ค ง ง จ จ จ
ที่ไม่ทําให้เป็นอัมพาต (pharmacological facilitation
without paralytic)
๒.๕.๓ การสอดใส่หลอดคาในท่อลมด้วยการใช้ยาที่ทํา ง ง จ จ จ จ
ให้ เ ป็ น อั ม พาต (pharmacological facilitation with
paralytic)
๒.๕.๔ การตรวจยืนยั นการสอดใส่ หลอดคาในท่ อลม
(confirmation procedures)

อํานาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือข้อจํากัด
รายการปฏิบัติการแพทย์ ของผู้ปฏิบัติการประเภทช่วยฉุกเฉินการแพทย์
นฉพ. จฉพส. จฉพ. พฉพพ. พฉพ. อฉพ.
๒.๕.๔.๑ การติดตามระดับคาร์บอนไดออกไซด์ ข ค ง จ จ จ
ในลมหายใจออก (end-tidal carbon dioxide monitoring)
๒.๕.๔.๒ ก า ร แ ป ล ผ ล ค ลื่ น ร ะ ดั บ ข ง จ จ จ จ
คาร์ บ อนไดออกไซด์ ใ นลมหายใจออก (end-tidal
carbon dioxide waveform interpretation)
๒.๕.๕ การใช้อุปกรณ์ส่องกล่องเสียงร่วมกับใช้คีมคีบ ข ง จ จ จ จ
(laryngoscopy with Magill forceps)
๒.๖ การสอดใส่ ห ลอดคาในท่ อ ลมในเด็ ก (pediatric
intubation)
๒.๖.๑ การสอดใส่หลอดคาในท่อลมทางปากในเด็ก ค ง จ จ จ จ
(pediatric orotracheal)
๒.๖.๒ การสอดใส่หลอดคาในท่อลมด้วยการใช้ยาระงับ ค ง จ จ จ จ
ประสาท (pediatric sedation)
๒.๖.๓ การสอดใส่หลอดคาในท่อลมด้วยการใช้ยาที่ทํา ง ง จ จ จ จ
ให้เป็นอัมพาต (pediatric paralytic)
๓. ระบบการให้ออกซิเจน (oxygen delivery systems)
๓.๑ การให้ อ อกซิ เ จนด้ ว ยหลอดสอดจมู ก (nasal ก ก ข ข ข ค
cannula)
๓.๒ การให้ อ อกซิ เ จนด้ ว ยหน้ า กากมี ถุ ง กั ก อากาศ ก ก ข ข ค ค
(mask with bag)
๓.๓ การพ่นละออง (nebulizer) ก ข ค ง จ จ
๔. การดูดของเหลวออกจากทางหายใจ (suction)
๔.๑ การดู ด ด้ ว ยลู ก สู บ ยางใช้ มื อ บี บ (manually ก ก ก ข ข ข
operated)
๔.๒ การดู ด ด้ ว ยใช้ เ ครื่ อ งมื อ กล (mechanically
operated)
๔.๒.๑ การดูดทางปาก (oral suction) ก ข ข ค ง จ
๔.๒.๒ การดู ดทางหลอดคาในท่ อลม (endotracheal ข ข ค ง จ จ
suction)
๕. การใช้เครื่องมือกลช่วยการหายใจในผู้ใหญ่ (adult
ventilation-assisted/mechanical)
๕.๑ การใช้ปากเป่าผ่านหน้ากาก (mouth to pocket ก ก ก ข ข ข
mask)

อํานาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือข้อจํากัด
รายการปฏิบัติการแพทย์ ของผู้ปฏิบัติการประเภทช่วยฉุกเฉินการแพทย์
นฉพ. จฉพส. จฉพ. พฉพพ. พฉพ. อฉพ.
๕.๒ การใช้ ถุ ง บี บ ลมผ่ า นหน้ า กากกั น ลมย้ อ น (bag- ก ก ข ข ค จ
valve-mask)
๕.๓ การใช้ถุงมีที่กักออกซิเจนบีบลมผ่านหน้ากากกันลม ก ก ข ค ค จ
ย้อน (bag-valve-mask with supplemental oxygen
and reservoir)
๕.๔ การใช้ High flow nasal cannula ค ง จ จ จ จ
๖. การใช้ เ ครื่ องกลช่ ว ยการหายใจในเด็ ก (pediatric
ventilation-assisted/mechanical)
๖.๑ การใช้ ถุ ง บี บ ลมผ่ า นหน้ า กากกั น ลมย้ อ นในเด็ ก ข ข ค ค จ จ
(bag-valve-mask in pediatric)
๖.๒ การใช้ถุงมีที่กักออกซิเจนบีบลมผ่านหน้ากากกันลม ข ข ค ง จ จ
ย้ อ นในเด็ ก (bag-valve-mask with supplemental
oxygen and reservoir in pediatric)
๖.๓ การใช้ถุงมีที่กักออกซิเจนบีบลมผ่านหน้ากากกันลม ข ค ค จ จ จ
ย้อนในทารก (bag-valve-mask with supplemental
oxygen and reservoir in neonate/infant)
๗. การใช้ เ ครื่ อ งกลช่ ว ยการหายใจ (mechanical
ventilation-assisted)
๗.๑ การใช้เครื่องกลช่วยการหายใจโดยไม่รุกร่างกาย ค ง ง จ จ จ
ด้ ว ย PEEP, BiPAP, CPAP ( noninvasive positive
pressure ventilation with PEEP, BiPAP, CPAP)
๗.๒ การช่วยการหายใจผ่านเข็มเจาะเยื่อไครโคไทรอยด์ ข ค ง จ จ จ
(percutaneous transtracheal ventilation)
๗.๓ การใช้ เ ครื่ อ งกลช่ ว ยการหายใจแบบอั ต โนมั ติ ค ง ง จ จ จ
ระหว่างการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย (automated transport
mechanical ventilation)
๗.๔ การใช้ เ ครื่ อ งอั ด แรงดั น ออกซิ เ จนแบบพกพา ข ข ค ง จ จ
(portable oxygen power resuscitation)
๘. หัตถการวินิจฉัย (diagnostic procedures)
๘.๑ การตรวจระดับกลูโคสในเลือดจากหลอดเลือดฝอย ก ก ก ข ข ข
(capillary blood glucose)
๘.๒ การแปลผลความอิ่มออกซิเจนตามชีพจร (pulse ก ก ก ข ค ค
oximetry)

อํานาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือข้อจํากัด
รายการปฏิบัติการแพทย์ ของผู้ปฏิบัติการประเภทช่วยฉุกเฉินการแพทย์
นฉพ. จฉพส. จฉพ. พฉพพ. พฉพ. อฉพ.
๘.๓ การใช้คลื่นเสียงความถี่สูง (ultrasound)
๘.๓.๑ การทําและแปลผลคลื่นเสียงความถี่ สูงใน ข ง จ จ จ จ
การประเมินผู้บาดเจ็บ (EFAST)
๘.๓.๒ การทําและแปลผลคลื่นเสียงความถี่ สูงใน ค ง จ จ จ จ
การประเมินตําแหน่งอื่น
๘.๔ การแปลผล CXR ในภาวะฉุกเฉิน ค จ จ จ จ จ
๘.๕ การแปลผล CT brain ในภาวะฉุกเฉิน ค จ จ จ จ จ
๘.๖ การเก็บสิ่งส่งตรวจจากหลอดเลือดดํา ข ค ง จ จ จ
๘.๗ การแปลผล point of care test จากสิ่งส่งตรวจ ค ง จ จ จ จ
๘.๘ การบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (electrocardiogram ก ข ข ค ง จ
acquisition)
๘.๙ การแปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (electrocardiogram
interpretation)
๘.๙.๑ การแปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจในผู้ป่วยหัวใจ ก ข ค จ จ จ
หยุดเต้น (electrocardiogram interpretation in
cardiac arrest)
๘.๙.๒ การแปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจขั้นสูง ข ค ง จ จ จ
(advanced electrocardiogram interpretation)
๙. หั ต ถการในระบบสื บ พั น ธ์ แ ละทางเดิ น ปั ส สาวะ
(genital/urinary procedures)
๙.๑ การใส่ ห ลอดสวนปั ส สาวะทางท่ อ ปั ส สาวะ ข ค ค จ จ จ
(Foley’s catheter)
๑๐. เทคนิคโลหิตพลวัต (hemodynamic techniques)
๑๐.๑ การเฝ้ าตรวจการบริ ห ารสารน้ํ า /ยาทางหลอด ก ข ข ง จ จ
เลือดดํา (monitoring existing IV)
๑๐.๒ การดูแลทางเปิดเข้าหลอดเลือดดํา (peripheral ก ข ข ง จ จ
venous access maintenance)
๑๐.๓ การดูแลหลอดสวนท่อเลือดดํา (central venous ข ค ค จ จ จ
maintenance)
๑ ๐ . ๔ ก า ร ดู แ ล เ ข็ ม แ ท ง เ ข้ า ค า โ พ ร ง ก ร ะ ดู ก ข ค ค จ จ จ
(intraosseous maintenance)
๑๐.๕ การดู แ ลหลอดสวนหลอดเลื อ ดแดง (arterial ข ค ง จ จ จ
catheter maintenance)

อํานาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือข้อจํากัด
รายการปฏิบัติการแพทย์ ของผู้ปฏิบัติการประเภทช่วยฉุกเฉินการแพทย์
นฉพ. จฉพส. จฉพ. พฉพพ. พฉพ. อฉพ.
๑๐.๖ การแทงเข้าและบริหารสารน้ําทางหลอดเลือดดํา ข ค ค จ จ จ
(intravenous access & infusion)
๑๐.๗ การแทงเข้าคาและบริหารสารน้ํา/ยาเข้าในโพรง ข ค ง จ จ จ
กระดูก (intraosseous access and infusion)
๑๐.๘ การใส่ หลอดสวนสายสะดื อ (umbilical ค ง จ จ จ จ
catheter insertion)
๑๐.๙ การบริ ห ารสารน้ํ า /ยา ผ่ า นช่ อ งอุ ป กรณ์ ฝั ง คา ง จ จ จ จ จ
(access indwelling port)
๑ ๐ .๑ ๐ การ บริ ห า ร ส า ร น้ํ า / ยาด้ ว ย เ ค รื่ อ ง ก ล ข ค ง จ จ จ
(mechanical IV pumps)
๑๑. ก า ร เ ฝ้ า ต ร ว จ โ ล หิ ต พ ล วั ต ( hemodynamic
monitoring)
๑๑.๑ การเฝ้าตรวจโลหิตพลวัตด้วยหัตถการในร่างกาย ค ง จ จ จ จ
(invasive hemodynamic monitoring)
๑๑.๒ การกดเวกัส (vagal maneuvers)
๑๑.๒.๑ Valsalva’s maneuver ข ค ง จ จ จ
๑๑.๒.๒ การนวดแคโรติด (carotid sinus massage) ค ง จ จ จ จ
๑๒. หัตถการทางสูติกรรม (obstetrics procedures)
๑๒.๑ การช่ ว ยคลอดปกติ ใ นกรณี ฉุ ก เฉิ น (assisting ข ข ข ค ค ง
normal delivery of newborn)
๑๒.๒ การทํ า คลอดปกติ ใ นกรณี ฉุ ก เฉิ น (normal ข ค ค จ จ จ
delivery of newborn)
๑๒.๓ การช่วยคลอดผิดปกติในกรณีฉุกเฉิน (assisting ค ง ง จ จ จ
complicated delivery of newborn)
๑๒.๔ การตัดสายสะดือ (umbilical cord cutting) ข ค ง จ จ จ
๑๒.๕ การหนีบสายสะดือ (umbilical cord clamping) ข ข ข ค ค ง
๑๓. หัตถการอื่นๆ (other techniques)
๑๓.๑ การตรวจวัดสัญญาณชีพ (vital signs)
๑๓.๑.๑ การตรวจวั ด อุ ณ หภู มิ ก าย (taking ก ก ก ข ข ข
temperature)
๑๓.๑.๒ การตรวจวั ด ความดั น เลื อ ด (taking ก ก ก ข ข ข
blood pressure)

อํานาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือข้อจํากัด
รายการปฏิบัติการแพทย์ ของผู้ปฏิบัติการประเภทช่วยฉุกเฉินการแพทย์
นฉพ. จฉพส. จฉพ. พฉพพ. พฉพ. อฉพ.
๑๓.๑.๓ การตรวจวัดอัตราชีพจร (taking pulse ก ก ก ข ข ข
rate)
๑๓.๑.๔ การตรวจวัดอัตราการหายใจ (taking ก ก ก ข ข ข
respiratory rate)
๑๓.๑.๕ การตรวจวั ดการไหลกลั บของเลื อดฝอย ก ก ก ข ข ข
(capillary refilling time)
๑๓.๒ หั ต ถการการห้ า มเลื อ ด (bleeding control
techniques)
๑๓.๒.๑ การกดห้ามเลือด (direct pressure) ก ก ก ข ข ข
๑๓.๒.๒ การกดห้ามเลือดด้วยแรงดัน (pressure ก ก ก ข ข ข
dressing)
๑๓.๒.๓ การใช้สายรัดห้ามเลือดบริเวณรยางค์ ก ก ข ค ค ค
(extremity tourniquet)
๑๓.๒.๔ การใช้สายรัดห้ามเลือดบริเวณข้อต่อรยางค์ ข ข ค ง จ จ
(junctional tourniquet)
๑๓.๓ การใส่ ท่ อ สวนกระเพาะอาหารทางจมู ก ข ข ค จ จ จ
(nasogastric tube)
๑๓.๔ การใส่ ท่ อ สวนกระเพาะอาหารทางปาก ข ข ค จ จ จ
(orogastric tube)
๑๓.๕ การเจาะถุงหุ้มหัวใจ (pericardiocentesis) ง จ จ จ จ จ
๑๓.๖ การลดแรงดันในช่องเยื่อหุ้มปอดโดยใช้เข็มเจาะ ข ง ง จ จ จ
(needle thoracostomy)
๑๓.๗ การตรึงผู้ป่วย (patient restraint)
๑๓.๗.๑ การยึดตรึง (physical restraint) ก ก ข ค ค ค
๑๓.๗.๒ การใช้ยาตรึง (pharmacological) ค ค ง จ จ จ
๑๓.๘ การดู แ ลผู้ ป่ ว ยถู ก คุ ก คามทางเพศเบื้ อ งต้ น ข ข ค ง ง ง
(sexual assault victim initial management)
๑๓.๙ การดู แ ลผู้ ป่ ว ยถู ก ทารุ ณ เบื้ อ งต้ น (violence ข ข ค ง ง ง
victim initial management)
๑๓.๑๐ การแต่งแผล (wound dressing) ก ข ข ค ค ค
๑๔. การกู้ชีพ (resuscitation)
๑ ๔ . ๑ ก า ร ช่ ว ย ฟื้ น คื น ชี พ ( cardiopulmonary
resuscitation: CPR)

อํานาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือข้อจํากัด
รายการปฏิบัติการแพทย์ ของผู้ปฏิบัติการประเภทช่วยฉุกเฉินการแพทย์
นฉพ. จฉพส. จฉพ. พฉพพ. พฉพ. อฉพ.
๑๔.๑.๑ การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานในทารก ก ข ข ค ง จ
(basic CPR for neonate/infant)
๑๔.๑.๒ การช่ ว ยฟื้ น คื น ชี พ ขั้ น พื้ น ฐานในเด็ ก ก ก ก ข ข ข
และการใช้ เครื่ อ งฟื้ น คื น คลื่ น หั ว ใจด้ ว ยไฟฟ้ า ชนิ ด
อัตโนมัติ (basic CPR for pediatric and AED)
๑๔.๑.๓ การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานในผู้ใหญ่ ก ก ก ข ข ข
และการใช้ เ ครื่ อ งฟื้ น คื น คลื่ น หั ว ใจด้ ว ยไฟฟ้ า ชนิ ด
อัตโนมัติ (basic CPR for adult and AED)
๑๔.๑.๔ การช่ ว ยฟื้ น คื น ชี พ ขั้ น สู ง ในทารก ข ค ค ง จ จ
(advanced CPR for neonate/infant)
๑๔.๑.๕ การช่ ว ยฟื้ น คื น ชี พ ขั้ น สู ง ในเด็ ก ข ค ค ง จ จ
(advanced CPR for pediatric)
๑๔.๑.๖ การช่ ว ยฟื้ น คื น ชี พ ขั้ น สู ง ในผู้ ใ หญ่ ข ค ค ง จ จ
(advanced CPR for adult)
๑๔.๒ การกดหน้ า อกโดยใช้ เ ครื่ อ งกล (mechanical ก ข ค ง จ จ
chest compression device)
๑ ๔ . ๓ ก า ร ดู แ ล ผู้ ป่ ว ย ห ลั ง ฟื้ น คื น ชี พ ( post ข ค ค ง ง ง
resuscitative care)
๑๔.๔ การฟื้นคืนคลื่นหัวใจด้วยไฟฟ้าแบบไม่อัตโนมัติ ข ค จ จ จ จ
(manual defibrillation)
๑๔.๕ การผันคืนจังหวะหัวใจ (cardioversion)
๑๔.๕.๑ การผั น คื น จั ง หวะหั ว ใจด้ ว ยไฟฟ้ า ค ง จ จ จ จ
(electrical cardioversion)
๑๔.๕.๒ การผันคืนจังหวะหัวใจด้วยยา Adenosine ค ง จ จ จ จ
(pharmacological cardioversion : Adenosine)
๑๔.๖ การกํากับจังหวะหัวใจ (cardiac pacing) ค ง จ จ จ จ
๑๕. หัตถการทางโครงร่าง (skeletal procedures)
๑๕.๑ การรักษาอวัยวะส่วนที่ถูกตัดขาด (care of the ก ข ข ค ค ค
amputation part)
๑ ๕ . ๒ ก า ร ด า ม ก ร ะ ดู ก หั ก / ข้ อ เ ค ลื่ อ น ก ข ข ข ค ค
(fracture/dislocation immobilization techniques)
๑ ๕ . ๓ ก า ร จั ด ก ร ะ ดู ก หั ก / ข้ อ เ ค ลื่ อ น เ ข้ า ที่ ค ง จ จ จ จ
(fracture/dislocation realignment techniques)

อํานาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือข้อจํากัด
รายการปฏิบัติการแพทย์ ของผู้ปฏิบัติการประเภทช่วยฉุกเฉินการแพทย์
นฉพ. จฉพส. จฉพ. พฉพพ. พฉพ. อฉพ.
๑๕.๔ การพลิกตะแคงตัวผู้บาดเจ็บเหมือนท่อนไม้กลิ้ง ก ก ก ข ข ข
(spine immobilization techniques with log roll)
๑๕.๕ การรัดกระดูกเชิงกราน (pelvic binding) ก ข ข ค ค จ
๑๕.๖ การใส่เครื่องดึงกระดูกต้นขา (traction splint) ค ค ง จ จ จ
๑๖. การยกและเคลื่อนย้ายผู้ป่วย (lifting and moving
techniques)
๑๖.๑ การลากที่รักแร้ (axillary drag) ก ก ก ข ข ข
๑๖.๒ การลากที่เสื้อ (clothes drag) ก ก ก ข ข ข
๑๖.๓ การลากที่เท้า (foot drag) ก ก ก ข ข ข
๑๖.๔ การลากด้วยผ้าห่ม (blanket drag) ก ก ก ข ข ข
๑๖.๕ การลากแบบพนั กงานผจญเพลิง (firefighter's ก ก ก ข ข ข
drag)
๑๖.๖ การอุ้ ม แบบพนั ก งานผจญเพลิ ง (firefighter's ก ก ก ข ข ข
carry)
๑๖.๗ การอุ้มที่แขนและขา (extremity carry/lift) ก ก ก ข ข ข
๑๖.๘ การช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป่ ว ยที่ เ ดิ น ได้ (assisting an ก ก ก ข ข ข
ambulatory patient)
๑๖.๙ การใช้เก้าอี้ยกผู้ป่วย (stair chair/chair) ก ก ก ข ข ข
๑๖.๑๐ การใช้เปลล้อเลื่อน (wheeled stretcher) ก ก ก ข ข ข
๑๖.๑๑ การใช้กระดานยาวดามกระดูกสันหลัง (long ก ก ก ข ข ข
spinal board & head immobilizer)
๑๖.๑๒ การใช้เปลตัก (scoop stretcher) ก ก ก ข ข ข
๑๖.๑๓ การช่ ว ยให้ พ้ น อั น ตรายอย่ า งรวดเร็ ว (rapid ก ก ก ข ข ข
extrication)
๑๖.๑๔ การใช้ ก ระดานสั้ น ดามกระดู ก สั น หลั ง ก ก ข ค ค ง
(Kendrick extrication device)
๑๖.๑๕ การใช้เฝือกสุญญากาศแบบเต็มตัว (full body ข ค ง จ จ จ
vacuum mattress)
๑๖.๑๖ การเปลแผ่นม้วน (sketch stretcher) ข ค ง จ จ จ
๑๖.๑๗ การเปลตะกร้า (basket stretcher) ข ค ง จ จ จ
๑๖.๑๘ การปฏิบัติการแพทย์อื่นๆ
๑๖.๑๘.๑ การใส่ปลอกดามคอ (cervical collars) ก ก ก ข ข ข
๑๖.๑๘.๒ การถอดหมวกนิรภัย (removal helmet) ก ก ก ข ข ข
๑๐
อํานาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือข้อจํากัด
รายการปฏิบัติการแพทย์ ของผู้ปฏิบัติการประเภทช่วยฉุกเฉินการแพทย์
นฉพ. จฉพส. จฉพ. พฉพพ. พฉพ. อฉพ.
๑๗. หั ต ถ ก า ร ท า ง จั ก ษุ ก ร ร ม ( ophthalmological
procedures)
๑๗.๑ การชะล้างตา (ocular eye irrigation) ก ข ค ง จ จ
๑๘. วิ ธี ก า ร บ ริ ห า ร ย า ( drug administration
technique)
๑๘.๑ การช่วยบริหารยาที่แพทย์สั่งไว้ประจําตัวผู้ป่วย ก ก ก ข ข ข
(assist self-own medication)
๑ ๘ . ๒ ก า ร บ ริ ห า ร ย า สู ด ( inhaled medication ก ก ข ค จ จ
administration)
๑ ๘ . ๓ ก า ร บ ริ ห า ร ย า วิ ธี อื่ น ต า ม protocol
(pharmacological non-inhaled techniques)
๑๘.๓.๑ การบริ หารยากิ นตาม Protocol (oral ก ก ข ค จ จ
administration)
๑๘.๓.๒ การบริ ห ารยาใต้ ลิ้ น (sublingual ก ก ข ค จ จ
administration)
๑๘.๓.๓ การบริหารยาทางทวารหนัก (intrarectal ข ข ค จ จ จ
administration)
๑๘.๓.๔ การฉีดยาเข้าหนัง (intradermal injection) ค ง ง จ จ จ
๑๘.๓.๕ การฉีดยาเข้าใต้หนัง (subcutaneous ข ข ค จ จ จ
injection)
๑๘.๓.๖ การฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ (intramuscular ข ข ค จ จ จ
injection)
๑๘.๓.๗ การฉีดยาเข้าหลอดเลือดดํา (intravenous ข ข ค จ จ จ
injection)
๑๘.๓.๘ การฉีดยาเข้าโพรงกระดูก (intraosseous ข ข ง จ จ จ
injection)
๑๘.๓.๙ การบริ หารยาทางท่อลม (intratracheal ข ค ง จ จ จ
administration)
ข้อ ๓ ให้ผู้ปฏิบัติการประเภทช่วยฉุกเฉินการแพทย์แต่ละสาขา มีอํานาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือ
ข้อจํากัดในการปฏิบัติการอํานวยการตามคําสั่งการแพทย์หรือการอํานวยการได้ ดังต่อไปนี้
อํานาจหน้าที่ ขอบเขต ความรับผิดชอบ หรือข้อจํากัด
รายการปฏิบัติการอํานวยการ ของผู้ปฏิบัติการประเภทช่วยฉุกเฉินการแพทย์
นฉพ. จฉพส. จฉพ. พฉพพ. พฉพ. อฉพ.
๑. การรับแจ้งการเจ็บป่วยฉุกเฉิน ก ก ข ข ง จ
๒. การประสานปฏิบัติการฉุกเฉิน ก ข ง ง จ จ
๓. การจ่ายงานปฏิบัติการฉุกเฉิน ก จ จ จ จ จ
๔. การกํ า กั บ ติ ด ตามและประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ก าร ง จ จ จ จ จ
ฉุ ก เฉิ น ตามคํ า สั่ ง การแพทย์ ข องแพทย์ อํ า นวยการ
ปฏิบัติการฉุกเฉิน
๕. การคัดแยกระดับความฉุกเฉินทางโทรศัพท์ (phone ก ข ง ง จ จ
triage)
๖. ให้คําแนะนําแก่ผู้แจ้งให้ทําการปฐมพยาบาลหรือการ ก ข ค ค จ จ
ปฏิบัติการฉุกเฉิน ตามแนวทาง ขั้นตอนวิธี และเกณฑ์
วิ ธี ที่ แ พทย์ อํ า นวยการปฏิ บั ติ ก ารฉุ ก เฉิ น กํ า หนด
(Prearrival Instruction)
๗. การออกรหัสตามคู่มือ Criteria Base Dispatch เพื่อ ก ค ง ง จ จ
จัดลําดับการบริบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน
๘. จั ด เก็ บ และรวบรวมข้ อ มู ล สารสนเทศจากผู้ แ จ้ ง ก ก ข ข ง จ
เหตุการเจ็บป่วยฉุกเฉิน
๙. รับคําสั่งทางการแพทย์หรือการอํานวยการ จากแพทย์ ก ค จ จ จ จ
อํานวยการปฏิบัติการฉุกเฉิน
๑๐. การถ่ายทอดคําสั่งการแพทย์หรือการอํานวยการ ก ข ง ง จ จ
๑๑. การวิเคราะห์ข้อมูลการปฏิบัติการฉุกเฉินเพื่อประกัน ก ข ง ง จ จ
คุณภาพการปฏิบัติการแพทย์และการอํานวยการ
๑๒. การจัดทําข้อมูลทรัพยากรสนับสนุนการปฏิบัติงานใน ก ข ง ง จ จ
เขตพื้นที่ (Surge capacity)

You might also like