You are on page 1of 23

โครงการฝึกอบรม เรื่อง “นักสืบสวนธุรกรรม

ทางการเงินและนักสืบทรัพย์”

มาตร
การท
กับกา างภาษี
รทําธุร
ทางก กรรม
ารเงิน
กฎหม ที่ผิด
าย

นางกองกนก โกศัลลกูฏ สุขพันธุ์ถาวร


เลขานุการศาลภาษีอากรกลาง
ภาษี คือ

เงินที่รัฐหรือท้องถิ่นเรียกเก็บจาก
เครื่องมือเพื่อสร้างสมดุลระบบ
บุคคล เพื่อใช้จ่ายในการบริหาร
เศรษฐกิจต่างๆ
ประเทศ (เงินตราหรือทรัพย์ที่

ประชาชนต้องนำส่งให้แก่รัฐ เพื่อ

สนับสนุนรัฐและกิจการของรัฐ เช่น

สร้างสาธารณูปโภคต่างๆ สร้าง

เศรษฐกิจในประเทศ และอื่นๆ)
333,xxx,xxx คน
ยื่นแบบเสียภาษี ~ 14x,xxx,xxx คน

เสียภาษีมากกว่าคนไทย 14 เท่า

USA.
66,xxx,xxx คน
ยื่นแบบเสียภาษี ~ 10.xx ล. คน

เสียภาษีจริงๆเพียง 4.xx คน
ภาษีแบ่งเป็น ๒ ประเภท
หลักๆ คือ
​-ภาษีทางตรง ; เก็บจากรายได้
​-ภาษีทางอ้อม ; เก็บเมื่อมีการ
ซื้อสินค้า หรือ บริการต่างๆ
หลักเกณฑ์การ
จัดเก็บภาษี
หลักแหล่งเงินได้ source rule

หลักถิ่นที่อยู่ residence rule

หลักสัญชาติหรือความเป็น
พลเมืองnationaliy rule/
ประมวลรัษฎากร มาตร 39 ได้บัญญัติไว้ว่า

เงินได้พึงประเมิน หมายความว่า เงินได้อันเข้า


ลักษณะพึงเสียภาษีในหมวดนี้ เงินได้ที่กล่าวนี้ให้
หมายความรวมตลอดถึงทรัพย์สิน หรือประโยชน์อย่าง
อื่นที่ได้รับ ซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน เงินค่าภาษี
อากรที่ผู้อื่นจ่ายเงินหรือผู้อื่นออกแทนให้สำหรับเงินได้
ประเภทต่างๆ ตามที่มาตรา 40 และเครดิตภาษีมาตรา
47 ทวิ ด้วย
ประมวลรัษฎากร มาตร 40 กำหนดให้

เงินได้พึงประเมินนั้น คือเงินได้ประเภทต่อไปนี้ รวม


ตลอดถึงเงินค่าภาษีอากรที่ผู้จ่ายเงินหรือผู้อื่นออกแทน
ให้สำหรับเงินได้ประเภทต่าง ๆ ดังกล่าว ไม่ว่าในทอดใด
แบ่งออกเป็น 8 ประเภท
(1) -(8)
(8) เงินได้จากการธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การ
อุตสาหกรรม การขนส่ง หรือการอื่นนอกจากที่ระบุไว้ใน (1)
ถึง (7) แล้ว เงินค่าภาษีอากรตามวรรคหนึ่ง ถ้าผู้จ่ายเงิน
หรือผู้อื่นออกแทนให้สำหรับเงินได้ประเภทใด ไม่ว่าทอดใด
หรือในปีภาษีใดก็ตาม ให้ถือเป็นเงินได้ประเภทและของปีภาษี
เดียวกันกับเงินได้ที่ออกแทนให้นั้น
มาตรา 42 เงินได้พึงประเมินประเภทต่อ
ไปนี้ ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้องรวมคำนวณ
เพื่อเสียภาษีเงินได้
(1)- (29)
เงินที่ผิดกฎหมาย/รายได้ที่ได้มาจากการทำ
ผิดกฎหมาย ต้องเสียภาษีหรือไม่
คำพิพากษาศาลฎีกาที่
10701/2555
เงินได้จากการเล่นพนันสลากกินรวบ
(หวยใต้ดิน) แม้เป็นเงินได้ที่มาจากการ
กระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ก็เข้า
ลักษณะเป็นเงินได้จากการอื่น นอกจากที่
ระบุไว้ตามมาตรา 40 (1) ถึง (7) จึงเป็น
เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (8)
การยึดทรัพย์ของ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ อาศัย
มาตรา 17 ของรัฐธรรมนูญการปกครองแห่งราช
อาณาจักร พ.ศ. 2507 โดยนายกรัฐมนตรีจอมพล
ถนอม กิตติขจร ในขณะนั้น มีคำสั่งให้ทรัพย์สินกอง
มรดกของ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และทรัพย์สินใน
กองมรดกของท่านผู้หญิงวิจิตรา ธนะรัชต์ ให้ตกเป็น
ของรัฐ
**อ้างเหตุผลในการยึดทรัพย์ว่า โดยปรากฏชัดเจน
ปราศจากข้อสงสัยว่า จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ขณะยัง
มีชีวิตอยู่ได้ใช้อำนาจหน้าที่ในทางราชการโดยมิชอบ
กระทำการเบียดบังและยักยอกทรัพย์ของรัฐไปหลาย
ครั้งมีจำนวนมากถึง 604,551,276.62 บาท การกระ
ทำดังกล่าวนี้มีผลเป็นการบ่อนทำลายความมั่นคงของ
ราชอาณาจักร

จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายกรัฐมนตรีไทยและท่านผู้หญิง


วิจิตรา ธนะรัชต์ที่มาภาพ : http://th.wikipedia.org/
คณะกรรมาธิการฯได้ ขอให้สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
(ปปง.) ตรวจสอบการได้มาซึ่งทรัพย์สิน รวมถึงการฝาก-ถอนเงินแต่ไม่พบว่าเข้า
ข่ายมูลฐานความผิดกฎหมายฟอกเงิน จึงไม่สามารถดำเนินการตามกฎหมายได้
ปปง. จึงประสาน ไปยังกรมสรรพากรให้ตรวจสอบการเสียภาษีเงินได้บุคคล
ธรรมดาต่อไป
หลักการของภาษี

เงินได้ที่ไม่ได้รับยกเว้น
ต้องเสียภาษี
พระราชบัญญัติ แก้ไขเพิ่มเติม
ประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 48)
พ.ศ. 2562
จำนวนธุรกรรมรวมกันทุกบัญชีที่เกิดขึ้นภายใน 1 ปี (ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. -
31 ธ.ค. ของทุกปี) นำส่งข้อมูลให้กรมสรรพากร โดยมีเงื่อนไขดังต่อไปนี้

จำนวนครั้งการฝาก/รับโอนเงิน ตั้งแต่ 3000 ครั้งขึ้นไปต่อปี

จำนวนครั้งการฝาก/รับโอนเงิน ตั้งแต่ 400 ครั้งขึ้นไป และต้องมี


ยอดรวมมากกว่า 2,000,000 บาทต่อปี
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value added tax)
ม.77-ม.90/5
ผู้ประกอบการ ให้บริการ ที่มีรายรับเกิน
กว่า 1.8 ล้านบาท ต่อปี
มาตรา 253 ถ้าหนี้มีอยู่เป็นคุณแก่บุคคลผู้ใดในมูลอย่างหนึ่ง
อย่างใดดังจะกล่าวต่อไปนี้ บุคคลผู้นั้นย่อมมีบุริมสิทธิเหนือ
ทรัพย์สินทั้งหมดของลูกหนี้ คือ
(1) ค่าใช้จ่ายเพื่อประโยชน์อันร่วมกัน
(2) ค่าปลงศพ
ประมวลแพ่ง
และพาณิชย์ (3) ค่าภาษีอากร และเงินที่ลูกจ้างมีสิทธิได้รับเพื่อการ
งานที่ได้ทำให้แก่ลูกหนี้ซึ่งเป็นนายจ้าง
(4) ค่าเครื่องอุปโภคบริโภคอันจำเป็นประจำวัน

You might also like