You are on page 1of 44

คูมือธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรม

1. โครงสรางทางธุรกิจ .........................................................................................1
1.1 ภาพรวมธุรกิจ ..........................................................................................1
1.2 การวิเคราะหโซอุปทาน.............................................................................6
2. สภาวะตลาดและแนวโนมการแขงขัน ...............................................................8
2.1 ความสามารถในการแขงขัน ......................................................................8
2.2 สภาวะตลาดและแนวโนมการแขงขันในประเทศ...................................... 12
2.3 สภาวะตลาดและแนวโนมการแขงขันในตางประเทศ................................ 13
3. คุณสมบัติของผูประกอบธุรกิจ ...................................................................... 15
4. รูปแบบและขั้นตอนการจัดตั้งธุรกิจ ................................................................ 16
4.1 ขั้นตอนการจัดตั้งธุรกิจ .......................................................................... 16
4.2 การขออนุญาตประกอบธุรกิจ................................................................. 18
4.3 องคประกอบหลักในการประกอบธุรกิจ ................................................... 24
5. กระบวนการดําเนินงาน ................................................................................ 27
6. ขอมูลทางการเงิน ......................................................................................... 32
6.1 โครงสรางการลงทุน............................................................................... 32
6.2 คาใชจายในการดําเนินงาน.................................................................... 33
6.3 ประมาณการรายได............................................................................... 33
7. บทศึกษาเชิงกลยุทธแนวทางการสงเสริมและพัฒนาธุรกิจ............................... 34
7.1 แนวทางการสงเสริมและพัฒนาธุรกิจ...................................................... 34
7.2 ปจจัยแหงความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจ (Key Success Factor) ........... 37
8. แนวทางการจัดทํามาตรฐาน ......................................................................... 39
1. ภาพรวมและโครงสรางธุรกิจ

1.1 ภาพรวมธุรกิจ
คําจํากัดความธุรกิจ
ธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรม เปนธุรกิจที่ใหบริการดานการออกแบบและ
วางแผนในการก อสรา ง โดยมีสถาปนิกเปนผูปฏิบัติงานทําหนา ที่ออกแบบอาคาร
สิ่งกอสราง และควบคุมการกอสรางรวมกับวิศวกร คํานวณวัสดุ เวลา และราคาของ
คาแบบกอสราง และการกอสรางที่เหมาะสม การใหคําแนะนําในเรื่องวัสดุกอสรางที่
ให ป ระโยชน สู ง สุ ด แก ผูว า จา ง และเปน ไปตามกฎข อ บั ง คับ ของทอ งถิ่น และแบบ
ลักษณะทางสถาปตยกรรม

ประเภทการใหบริการ
สมาคมสถาปนิ ก สยามในพระบรมราชู ป ถั ม ภ ได แ บ ง ประเภทของธุ ร กิ จ
ใหบริการดานสถาปตยกรรมและที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรม
ออกเปน 7 กลุม ดังนี้
1) ธุรกิจดานการออกแบบ: สถาปนิกผูเกี่ยวของกับธุรกิจดานการออกแบบ
จะมีหน าที่ในดานการออกแบบสถาปตยกรรมโดยสามารถครอบคลุ มขั้นตอนการ
ทํางานทั้ง หมดตั้งแตการเจรจาตกลงกับ ผูวา จาง การศึกษากําหนดโปรแกรมหรือ
รายละเอียดความตองการของโครงการ การออกแบบราง การออกแบบขั้นพัฒนา
รายละเอียดความตองการของโครงการ การจัดทําแบบขออนุญ าต การออกแบบ
รายละเอียดการกอสราง การถอดแบบประเมินราคา การคัดเลือกผูรับเหมากอสราง
2) ธุรกิจบริหารจัดการและควบคุมงานกอสราง: สถาปนิกผูเกี่ยวของกับ
ธุรกิจบริหารจัดการและควบคุมงานกอสราง จะมีบทบาทในดานอํานวยการกอสราง
และเปนผูเชื่อมโยงปญหาความตองการ และแกไขปญหาและอุปสรรคตางๆ ในงาน
กอสรางจากแบบของสถาปนิกผูออกแบบและการดําเนินการกอสรางของผูรับเหมา

1
โดยจะเปนผูทําหนาที่กํากับดูแลการทํางานของผูรับเหมากอสรางชวยอธิบายแบบ
ควบคุมขั้นตอนและวิธีการกอสรางใหถูกตอง รวมถึงการตรวจสอบวัสดุกอสรางใหเกิด
ความเขา ใจต อ คุ ณ สมบัติข องวัสดุแ ละอุป กรณเครื่อ งมือ การกอสร า งที่ถูก ตอ งต อ
ผูรับเหมากอสราง ชวยสื่อสารและประสานงานกับผูรับเหมาในการจัดทําแผนการ
ก อ สร า ง เตรี ย มงานก อ สร า ง ทั้ ง บริ เ วณหน า งานและมาตรการความปลอดภั ย ที่
เกี่ยวของ รวมทั้งการตรวจสอบควบคุมใหการกอสรางเปนไปตามความตองการของ
เจาของงานและสถาปนิกผูออกแบบ
3) ธุรกิจรับเหมากอสราง: สถาปนิกทําหนาที่ในธุรกิจรับเหมากอสราง
จะต อ งเป น ผู รั บ หน า ที่ ใ นการก อ สร า งให แ บบที่ ไ ด รั บ การออกแบบจากสถาปนิ ก
ผูออกแบบเปนจริงขึ้นได โดยเฉพาะงานออกแบบที่มีขนาดใหญซึ่งตองอาศัยความรู
ความชํ า นาญของผูอ า นแบบและแปลภาษาสื่ อ สารในแบบเพื่อ ใชใ นการก อสรา ง
เพื่อใหตรงกับแนวคิดและวัตถุประสงคของสถาปนิกผูออกแบบ สถาปนิกที่ทําหนาที่
ในธุรกิจรับเหมาจะเปนผูที่รูและเขาใจถึงขอบเขตของงาน ขั้นตอน ความยากงายของ
งาน จึงสามารถวางแผนกําหนดวิธี และขั้นตอนการทํางานใหเกิดประสิทธิภาพในการ
กอสรางไดอยางดี ทั้งในดานความถูกตอง ความประหยัดและความตรงตอเวลา ซึ่ง
สรางใหเกิดงานที่มีคุณภาพ นอกจากนี้สถาปนิกยังสามารถจัดทําแบบประสานระบบ
กอสราง (Integration Drawing) จัดทําแบบใชงานกอสราง (Shop Drawing) จัดทํา
แบบกอสรางจริง (As-built Drawing) เพื่อสงมอบใหเจาของงานภายหลังโครงการ
แลวเสร็จ
4) ธุรกิจจัดการอาคารหรือบริการจัดการทรัพยากรกายภาพ: สถาปนิก
ในธุรกิจนี้ทําหนาที่เปนผูดูแลอาคารสถานที่ของหนวยงานทําหนาที่ในการกํากับดูแล
อาคารสถานที่ ตรวจตรา การทํ า งานของอาคารให อ ยู ใ นความเรี ย บร อ ย ทํ า งาน
ออกแบบและซอมแซมทํานุบํารุงในสวนที่มีความจําเปน รวมถึงบริหารจัดการการใช
อาคาร ประเมินความตองการ ศักยภาพและสรางความตองการที่มีการเปลี่ยนแปลง

2
หรือเพิ่มมากขึ้นทั้งในงานสถาปตยกรรมโดยตรงและงานที่มีความสัมพันธเกี่ยวเนื่อง
เชน งานผังแมบท งานผังระบบสาธารณูปโภค ผังอาคารหรือหนวยงาน งานภูมิทัศน
5) ธุรกิจวัสดุและเทคนิคการกอสราง: สถาปนิกในธุรกิจนี้ จะเปนผูชวย
ตอบป ญ หาความต อ งการด า นเทคนิ ค การก อ สร า งและด า นวั ส ดุ ต อ สถาปนิ ก
ผูออกแบบโดยเปนผูเชี่ยวชาญใหคําแนะนําวัสดุและเทคนิควิธีการกอสรางนั้นๆ ที่
เหมาะสมใหกับงานสถาปตยกรรม
6) ธุรกิจอสังหาริมทรัพย: สถาปนิกในภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพย ซึ่งเปน
ภาคธุรกิจเกี่ยวของกับการลงทุนและการกอสราง สถาปนิกจะทําหนาที่ตั้งแตการมี
สวนรวมในการคิดสรางสรรคโครงการ การศึกษาความเปนไปไดโครงการ การบริหาร
โครงการใหเกิดเปน รูป ธรรมจริง การอํ า นวยการและนําเสนอแผนการดํา เนิน การ
กอสรางและกํากับดูแลการกอสรางโครงการใหมีคุณภาพและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ทั้งดานการออกแบบ การกําหนดมาตรฐานคุณภาพ ใหสอดคลองกับการดําเนินการ
ในดานอื่นๆ ของโครงการทั้งดานการโฆษณาประชาสัมพันธและการขาย เปนตน
7) ธุรกิจอื่นๆ ในสาขาที่เกี่ยวของ: สถาปนิกสามารถมีบทบาทหนาที่หลาย
ประการ ตั้งแตการออกแบบการประมาณการคากอสราง การประเมินสินทรัพย การ
อํานวยการกอสราง การบริหารจัดการกายภาพและการบริหารบุคคลสายชาง การให
ความชวยเหลือดานเทคนิคและการวางแผน เปนตน
จํานวนผูประกอบการ
ขอมูลจาก กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย ตามตารางที่ 1 แสดงให
เห็นวาในป 2551 มีจํานวนสถานประกอบการธุรกิจบริการทางสถาปตยกรรมรวมทั่ว
ประเทศ จํานวน 3,421 แหง โดยมีรูปแบบการจัดตั้งเปน หางหุนสวนนิติบุคคลรอยละ
1 หางหุนสวนจํากัดรอยละ 35 โดยมีการจัดตั้งเปนรูปแบบบริษัทจํากัดมากที่สุด รอย
ละ 64 ดังรูปที่ 1

3
ตารางที่ 1 : สถานประกอบการธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรม
รูปแบบกิจการ 2549 2550 2551
หางหุนสวนสามัญนิติบุคคล 23 23 24
หางหุนสวนจํากัด 1,057 1,110 1,162
บริษัทจํากัด 1,832 1,929 2,147
รวม 2,912 3,062 3,333
ที่มา: กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย
หมายเหตุ: ขอมูลในป 2549-2551

รูปที่ 1 : สัดสวนสถานประกอบการธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรม
หางหุน
 สวน
สามัญนิติบุคคล
1%

บริษัทจํากัด
64%

หางหุน
 สวนจํากัด
35%

ที่มา: กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย


หมายเหตุ: ขอมูลในป 2551

4
จํานวนการจางงาน
ข อ มู ล จากสํ า นั ก งานสถิ ติ แ ห ง ชาติ ก ารจ า งงานในด า นสถาป ต ยกรรมและ
วิศวกรรมและการใหคําปรึกษาดานเทคนิคที่เกี่ยวของพบวามีผูทํางานในอุตสาหกรรม
โดยมีรายละเอียดจํานวนคนทํางานและจํานวนลูกจางระหวางป 2547 – 2551 ตาม
ตารางที่ 2
ตารางที่ 2 : สถานประกอบการธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรม
กิ จ กรรมด านสถาป ต ยกรรมและวิ ศ วกรรมและการให คํ า ปรึ ก ษาด าน
เทคนิ ค ที่ เกี่ ย วข อ ง
2547 2548 2549 2550
หญิ ง 4,442 5,464 5,343 4,782
ชาย 8,409 9,912 9,639 9,358
รวม 12,851 15,376 14,982 14,140
ที่มา: สํานักงานสถิติแหงชาติ
หมายเหตุ: ขอมูลในป 2547-2550

ขนาดของสถานประกอบการ
ตามหลักเกณฑของกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชยไดจําแนกขนาด
ธุรกิจออกเปน 3 ขนาด คือ S M L ซึ่งเปนการจําแนกนิติบุคคลในอุตสาหกรรม (หมวด
ยอยตามเกณฑการแบงของ TSIC) ใหเปนขนาดเล็ก (S) กลาง (M) และใหญ (L) ตาม
เกณฑที่กําหนด เพื่อใชสําหรับการวิเคราะหภายในอุตสาหกรรมเดียวกัน โดยธุรกิจ
บริการทางสถาปตยกรรมจําแนกขนาดนิติบุคคลตามเกณฑเงื่อนไขของสินทรัพยรวม
(Total Asset)
จากสถิติการจดทะเบียนนิติบุคคลจากกระทรวงพาณิชยป 2550 พบวามีธุรกิจ
ใหบริการทางสถาปตยกรรม จํานวน 1,134 ราย โดยจําแนกขนาดตามสินทรัพยรวม
ดังนี้

5
ตารางที่ 3 : เกณฑการจําแนกธุรกิจการใหบริการดานสถาปตยกรรม
ขนาด เกณฑ
เล็ก (S) นอยกวาหรือเทากับ 914,173.51 บาท

มากกวา 914,173.51 บาท และ


กลาง (M)
นอยกวาหรือเทากับ 3,777,790.03 บาท

ใหญ (L) มากกวา 3,777,790.03 บาท


ที่มา: กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย

1.2 การวิเคราะหโซอุปทาน
โดยทั่วไปสามารถแบงธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรมออกตามหวงโซคุณคา
(Value Chain) ไดเปนธุรกิจตนน้ํา กลางน้ํา และ ปลายน้ํา โดยสามารถแบงได ดังนี้
1. ธุรกิจตนน้ํา (Upstream) จะเปนบริษัทวัสดุกอสราง ผูผลิต อิฐ หิน ดิน
ทราย กระจก, บริษัทออกแบบ สถาปตยกรรมและวิศวกรรม
2. ธุรกิจกลางน้ําไดแก บริษัทที่รับงานดานการพัฒนา (Developer), บริษัท
รับเหมากอสราง (Sub-Contractor), บริษัทผูควบคุมการกอสราง
3. ธุ ร กิ จ ปลายน้ํ า (Downstream) คื อ บริ ษั ท จั ด การด า นขายและ
ประชาสัมพันธ หรือบริษัทโบรกเกอรที่ขายบาน

6
รูปที่ 2 : โซอุปทานของธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรม

แมวาในปจจุบันการแขงขันทางธุรกิจนั้นสูงขึ้น ซึ่งธุรกิจโดยทั่วไปมักจะมีการ
ประยุกตใชกลยุทธแนวดิ่ง (Vertical Integration) คือ รวมกิจกรรมทั้งหวงโซคุณคาเขา
อยู ใ นบริ ษั ท เพี ย งบริ ษั ท เดี ย ว ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให ส ามารถบริ ห ารจั ด การช อ งทางการจั ด
จําหนายไดสะดวกขึ้น ลดคาใชจายในการขนสงและการติดตอสื่อสารในหวงโซ การ
ประสานงานตางๆ ทําไดรวดเร็วขึ้น แตสําหรับธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรมจะ
แบงเปนบริษัทยอยตามความเชี่ยวชาญของบุคลากรในบริษัท และโดยธรรมชาติของ
งานแลวบริษัทสถาปนิกที่มีความเชี่ยวชาญในดานการออกแบบอาคารสูง มักจะไม
กาวขามไปออกแบบงานในลักษณะอื่นๆ เชน งานออกแบบรีสอรทหรือโรงแรม ใน
ขณะเดียวกันความเปนวิชาชีพของงานดานสถาปตยกรรมทําใหธุรกิจประเภทนี้มักไม
มีการทํากลยุทธแนวดิ่ง แตมักจะเปนการรวมตัวกันอยางหลวมๆ ที่ไมมีรูปแบบชัดเจน
และการรวมตัวนี้จะเกิดขึ้นก็ตอเมื่อความจําเปนที่จะตองไปประมูลงานตางๆ ซึ่งขนาด

7
และลักษณะการรวมตัวนั้นขึ้นอยูกับประเภทของงาน เชน การรวมตัวไปประมูลงานใน
ตางประเทศ จําเปนที่จะตองมีบริษัทที่เขามารวมที่มีความเชี่ยวชาญดานภาษาเปน
พิเศษ ซึ่งเรื่องนี้นับเปนจุดออนของบริษัทสถาปนิกไทยในปจจุบัน

2. สภาวะตลาดและแนวโนมการแขงขัน

2.1 ความสามารถในการแขงขัน
การจัดทําธุรกิจบริการทางสถาปตยกรรมตองมีความพรอมหรือมีความรูดาน
อื่นๆ อันจะชวยใหการทํางานเปนไปไดโดยราบรื่นและมีประสิทธิภาพซึ่งความพรอมที่
จําเปน สามารถแบงไดเปน 2 ดานใหญๆ ไดแก ความพรอมดานองคความรูพื้นฐาน
และความพรอมดานองคความรูเกี่ยวกับการทํางาน
1) ความพรอมดานองคความรูพื้นฐาน ประกอบดวย
- ความรูพื้นฐานดานสถาปตยกรรม
- ความรูทางวัสดุและวิธีกรรมในการกอสราง
- ความรูทางดานวิศวกรรมโครงสรางพื้นฐาน
- ความรูทางดานวิศวกรรมระบบอาคาร
- ความสามารถในการออกแบบสถาปตยกรรม
- ความรูดานคน กายภาพ และชุมชน
- ความรูดานสภาวะอากาศ ภูมิประเทศ และสิ่งแวดลอม
- ความรูดานการอนุรักษศิลปะสถาปตยกรรม
- ความรูทางดานพลังงานที่เกี่ยวของกับงานสถาปตยกรรม
- ความรอบรูและความชํานาญในการปฏิบัติวิชาชีพสถาปตยกรรม
2) ความพรอมดานองคความรูเกี่ยวกับการทํางาน
- ความรูดานการประกอบธุรกิจตามกฎหมาย
- ความรูดานการบริหารลูกคา

8
- ความรูดานการบริหารสํานักงาน หรือองคกร
- ความรูดานการจัดองคกรภายใน หรือโครงสรางบริหารภายใน
- ความรูดานการบริหารบุคคล
- ความรูดานการเงิน
- ความรูดานการตลาด
การประเมินศักยภาพธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรมนั้นมีปจจัยที่จําเปนใน
การพิจารณา
1) ภูมิหลังของสํานักงาน หรือผูบริหารสํานักงาน
ป จ จั ย นี้ มี ส ว นช ว ยให สํ า นั ก งานมี โ อกาสหรื อ มี ค วามได เ ปรี ย บในการ
ดําเนินการได เชน การที่สํานักงาน หรือผูบริหารมีอายุ หรือมีประสบการณในการ
ทํางานมากยอมเปนที่ไววางใจใหไดรับงาน ผูบริหารมีความพรอมทางดานการเงินก็
ยอมไดเปรียบสําหรับการดําเนินการ และสามารถรับพนักงานไดมากขึ้น หรือการที่
ผูบริหารสํานักงานจบการศึกษาจากตางประเทศ ก็ยอมไดเปรียบในการติดตอกับ
ลูกคากับชาวตางประเทศ เปนตน
2) ความสามารถของบุคลากรในสํานักงาน
สิ่งที่จําเปนตองพิจารณาความสามารถของบุคลากรในดานตางๆ ไดแก
- ความสามารถทางดานวิชาชีพสถาปตยกรรม เชนมีความคิดสรางสรรค
ความสามารถในการออกแบบ การเขียนแบบกอสราง การเขียนภาพ
ทัศนียภาพ การทําหุนจําลอง ความสามารถในการใชคอมพิวเตอรเพื่อ
การออกแบบ และความสามารถในการนําเสนองานตอลูกคา เปนตน
- ความสามารถทางดานการบริหารจัดการ เชน ความสามารถในการวาง
แผนการทํางาน การจัดเวลาการทํางาน ความสามารถในการเปนผูนํา
และความสามารถในการควบคุมใหงานดําเนินไปตามแผนงานที่วางไว
เปนตน

9
- ความสามารถสนั บ สนุ น อื่ น ๆ เช น ความสามารถทางการใช ภ าษา
ความสามารถในการใชอุปกรณสํานักงาน ความสามารถทางการบริหาร
การเงิน ความสามารถทางดา นบัญ ชี ความสามารถทางการตลาด
เปนตน
3) จํานวนบุคลากรในสํานักงาน
จํ า นวนบุ ค ลากรของสํ า นั ก งานมี ค วามสํ า คั ญ อย า งมากในการรั บ งานของ
สํานักงาน เพราะหากสํานักงานมีบุคลากรจํานวนนอย ก็อาจทําใหไมสามารถรับงาน
โครงการที่มีขนาดใหญได รวมทั้งยังมีผลทําใหขอบเขตการใหบริการของสํานักงาน
ถู ก จํ า กั ด ให น อ ยลงและไม ส ามารถให บ ริ ก ารบางอย า งได สํ า หรั บ สํ า นั ก งานที่ มี
บุคลากรจํานวนมากก็ยอมสามารถรับงานโครงการที่มีขนาดใหญ และขยายขอบเขต
การใหบริการเพิ่มขึ้นได แตสํานักงานก็ตองแบกภาระคาใชจายในการจางบุคลากร
เพิ่มขึ้นดวย
4) ชื่อเสียง และภาพพจนของสํานักงาน
ชื่อเสียงและภาพพจนที่ดียอมชวยใหสํานักงานมีโอกาสไดรับงาน หรือหางาน
ไดงาย แตในทางกลับกัน ถาสํานักงานมีชื่อเสียงในทางลบโอกาสที่สํานักงานจะ
ไดรับงานก็จะลดลง ซึ่งชื่อเสียงของสํานักงานอาจมาจากการทํางานที่ดีของสํานักงาน
หรือกิจกรรมทางการตลาดของสํานักงาน เชน การเขารวมประกวดแบบการเผยแพร
ผลงานทางสิ่งพิมพ เปนตน
5) ความสามารถในการทํางานของสํานักงาน
ความสามารถในการทํางานของสํานักงาน ตองพิจารณาถึงความชํานาญ
เฉพาะดานของสํานักงาน หากสํานักงานมีความชํานาญเฉพาะดานใดดานหนึ่งเปน
อยางดียอมมีโอกาส ไดรับงานที่ตองการความชํานาญนั้นๆ สูง หากสํานักงานมี
ความชํานาญที่หลากหลายก็ยอมมีโอกาสไดรับงานเปนจํานวนมากขึ้น

10
6) ความสัมพันธระหวางสํานักงานกับลูกคา
สํ า นั ก งานต อ งประเมิ น ความสั ม พั น ธ ข องสํ า นั ก งานกั บ ลู ก ค า ก อ นเริ่ ม
ดําเนินการ หากสํานักงานมีความสัมพันธที่ดีกับลูกคา ยอมแสดงใหเห็นถึงโอกาสที่
สํานักงานจะไดรับงานเพิ่มขึ้น แตหากสํานักงานและลูกคามีความสัมพันธที่ไมดีตอ
กัน สํานักงานก็ควรหาทางพัฒนาความสัมพันธ เพื่อนําไปสูโอกาสที่จะไดรับงานหรือ
หางาน
7) ความพรอมทางการเงินของสํานักงาน
ความพร อมทางการเงิน มีความสํา คัญ กับการดํา เนิน การของทุกสํานัก งาน
สํานักงานใหบริการทางสถาปตยกรรมก็เชนเดียวกัน หากสํานักงานขาดความพรอม
เรื่องการเงินก็ไมสามารถอยูรอดได
8) ความสัมพันธกับบุคคล และองคกรอื่นๆ
สํานักงานที่มีความสัมพันธที่ดีกับบุคคลและองคกรอื่นๆ ยอมมีความไดเปรียบ
ในการดําเนินการทั้งในแงของโอกาสที่จะรับงาน หรือหางานไดงายขึ้น เชน การ
รวมงานกันระหวางสํานักงานในการรับงานขนาดใหญ เปนตน
9) ระบบการบริหารจัดการของสํานักงาน
หากสํานักงานมีการจัดวางระบบการบริหารจัดการที่ดียอมทําใหเกิดความ
ไดเปรียบในการดําเนินการทั้งในดานการเงิน การตลาด และดานบุคลากร
10) ที่ตั้งของสํานักงาน
ที่ ตั้ ง ของสํ า นั ก งานให บ ริ ก ารทางสถาป ต ยกรรมมี ค วามสํ า คั ญ ต อ การ
ดําเนินการทั้งในแงของทําเลที่ตั้ง และรูปแบบสํานักงาน เพราะลูกคาของสํานักงาน
ตองมีการติดตอที่สํานักงานตลอดจึงตองอยูในสถานที่ที่สามารถเขาถึงไดโดยสะดวก
และลักษณะงานของสํานักงานที่เปนการออกแบบสถาปตยกรรม ซึ่งสามารถสื่อถึง
ภาพพจนลูกคาผานรูปแบบของสํานักงาน ดังนั้นที่ตั้งของสํานักงานจึงสามารถสราง
โอกาสในการไดรับงานของสํานักงาน

11
2.2 สภาวะตลาดและแนวโนมการแขงขันในประเทศ
โครงสรางตลาดของผูใหบริการสถาปตยกรรมในประเทศไทย ตลาดที่มีคู
แขงขันมากราย เปนผูประกอบการรายยอย ไมมีใครเปนผูนําตลาดอยางเดนชั ด
โดยเฉพาะในกลุมบริษัทที่ปรึกษาดานการออกแบบทางสถาปตยกรรมทั่วไป บริษัทที่
ปรึกษาดานการออกแบบภายใน บริษัทที่ปรึกษาดานการออกแบบกราฟฟก มีจํานวน
หลายรอยแหง ลักษณะการแขงขันกันในธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรมมีการ
แขงขันกันสูงทั้งดานการตัดราคา การจับกลุมลูกคาเฉพาะ (Focus) และการพัฒนา
นวัตกรรมและความคิดสรางสรรคในการออกแบบ โดยเฉพาะงานสถาปตยกรรม
อาคารที่มีขนาดเล็กและขนาดกลาง
สําหรับกําลังแรงงานดานสถาปตยกรรมจากสถิติของผูถือใบอนุญาตประกอบ
วิชาชีพสถาปตยกรรม ควบคุม 4 สาขา ณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2548 พบวามี ผูถือ
ใบอนุ ญ าตสถาป ต ยกรรมหลั ก 10,235 คน สถาป ต ยกรรมผั ง เมื อ ง 78 คน ภู มิ
สถาปตยกรรม 95 คน สถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป 411 คน ทั้งนี้แรงงาน
สถาปตยกรรมตางชาติมีนอยมากประมาณ 257 คน โดยสวนมากเปนชาวญี่ปุน
ฟลิปปนส จีน และอินเดีย
ปจจุบันการแขงขันในวงการอุตสาหกรรมการออกแบบทั้งในและตางประเทศมี
การแขงขันคอนขางรุนแรง และคาดวาจะมีแนวโนมรุนแรงยิ่งขึ้นหากมีการเปดเขต
การคาเสรี (Free Trade Area: FTA) กับนานาประเทศในอนาคตอันใกลนี้ การ
แข ง ขั น จากบริ ษั ท สถาปนิ ก ต า งชาติ จ ะรุ น แรงยิ่ ง ขึ้ น ซึ่ ง ส ง ผลให ธุ ร กิ จ อื่ น จาก
ตางประเทศเขามาทําธุรกรรมในประเทศไทยไดงายขึ้น โดยเฉพาะธุรกิจภาคบริการซึ่ง
ก็รวมถึ ง การบริ ก ารดา นวิ ชาชีพ ออกแบบที่ มีแ นวโนม ตอ งเกิด การเป ด กวา งใหกั บ
ตางประเทศ ดังนั้น การพัฒนาศักยภาพสถาปนิกไทยใหพรอมจึงเปนสิ่งจําเปน
จากวิกฤติเศรษฐกิจโลกที่กระทบไปทุกภาคธุรกิจนั้น สงผลกระทบตอภาค
วิชาชีพสถาปนิกไทยทั้งที่ทํางานในประเทศและตางประเทศ ซึ่งคาดวาจะตองถูกเลิก
จางแลวตองกลับมารับงานภายในประเทศไทย เชน มีแนวโนมที่บริษัทสถาปนิกใน

12
สิงคโปรจะเลิกจางสถาปนิกตางชาติที่ทํางานในสิงคโปร ซึ่งรวมถึงสถาปนิกไทย ใน
ขณะเดียวกันปริมาณงานในตลาดก็นอยลง จากการชะลอการลงทุนโครงการใหม
ดังนั้นเพื่อรองรับวิกฤตการณที่เกิดขึ้นสํานักงานสถาปนิกควรหาแนวทางแกไขและ
เพิ่มศักยภาพเพื่อหาโอกาสในการหาตลาดเพิ่มทั้งในประเทศและตางประเทศ
2.3 สภาวะตลาดและแนวโนมการแขงขันในตางประเทศ
จากการเปดเขตการคาเสรี หรือ Free Trade Area (FTA) คือการรวมตัวทาง
เศรษฐกิจซึ่งอาจเปนการรวมระหวางสองประเทศ หรือเปนกลุมหลายประเทศก็ได
เพื่อที่จะใหเกิดการลดภาษีศุลกากรและอุปสรรคอื่นๆ ระหวางกันใหนอยลงหรือหมด
ไป และใหเกิดความรวดเร็วมากขึ้น โดยที่ยังคงอัตราภาษีปกติกับประเทศนอกกลุม
การทําเขตการคาเสรีเริ่มตนจากดานสินคา (Goods) และในที่สุดไดรวมเอาดาน
บริการ (Services) และการลงทุนเขาไวดวย คณะกรรมการกลางสถาปนิกเอเปค
(APEC Architect Central Council) ซึ่งประกอบดวยตัวแทนขององคกรที่ทําหนาที่
กํากับ ดูแล และควบคุม วิชาชีพสถาปตยกรรมของแตละสมาชิก (โดยไมมีตัวแทน
ของภาครัฐ) ดังมีรายชื่อขางลางนี้
- ออสเตรเลีย
- แคนาดา
- สาธารณรัฐประชาชนจีน
- ฮองกง (ซึ่งเรียกเปนทางการวา จีนฮองกง - Hong Kong - China)
- ญี่ปุน
- สาธารณรัฐเกาหลี
- นิวซีแลนด
- สาธารณรัฐเม็กซิโก
- สาธารณรัฐฟลิปปนส
- สิงคโปร
- ไตหวัน (ซึ่งเรียกเปนทางการวา จีนไทเป - Chinese Taipei)

13
- ไทย และสหรัฐอเมริกา
ในการประชุมเมือ่ วันที่ 7 - 8 สิงหาคม 2551 ที่เมืองแวนคูเวอร ประเทศแคนาดา
ที่ประชุมมีขอสรุปที่สําคัญดังนี้
การเขารวมโครงการจะเปนไปโดยสมัครใจที่ระดับตางๆ ซึ่งกําหนดไวในกรอบ
ของการยอมรับซึ่งกันและกัน (Reciprocal Recognition Framework) ซึ่งมีลักษณะ
เปนขั้นบันได 5 ขั้นจากต่ําสุดที่สถาปนิกจากสมาชิกแหงหนึ่งอาจไปใหบริการในอีก
ดินแดนหนึ่งได โดยตองรวมทํางานกับสถาปนิกทองถิ่น ไปจนถึงขั้นสูงสุดที่ปราศจาก
ขอจํากัดใดๆ การใชกรอบดังกลาวตองอาศัยรายละเอียดจากผลการเจรจาระหวาง
สมาชิก ซึ่งอาจเปนลักษณะการเจรจาตกลงทวิภาคีหรือพหุภาคีก็ได สมาชิกที่ไมเขา
รวมโครงการถือวาไมรับการยอมรับ (No recognition) และจะไมมีโอกาสเขารวม
ประชุมกับ “คณะกรรมการกลางสถาปนิกเอเปค”ที่เขารวมประชุม 13 เศรษฐภาพ
(Economies) ไดแสดงเจตนจํานงในการเขารวม
ทั้งนี้ไทยเปนสมาชิกเดียวที่แจงที่ประชุมวายังไมสามารถแสดงเจตนจํานงใน
การประชุมครั้งนี้ไดเนื่องจากสภาสถาปนิกยังอยูระหวางการแกไขกฎเกณฑตางๆ ที่ใช
กํากับ ดูแล การประกอบวิชาชีพสถาปตยกรรมควบคุมในประเทศ
อยางไรก็ตามพิจารณาไดวาการหาโอกาสและชองทางในการประกอบวิชาชีพ
สถาปตยกรรมในตางประเทศคอนขางมีมาก เพียงแตหากบริษัทสถาปตยกรรมไทย
เพิ่มศักยภาพใหสามารถเทียบเคียงกับตางชาติไดก็เปนโอกาสที่ดีอยางยิ่งตออาชีพ
บริการสถาปตยกรรมในไทย เนื่องจากสถาปนิกไทยมีฝมือและอัตราคาบริการวิชาชีพ
คอนขางถูกเมื่อเทียบกับตางชาติ ขอนี้ก็เปนขอไดเปรียบของไทย ดังนั้น การพัฒนา
ศักยภาพสถาปนิกไทยเพื่อเตรียมตัวเองใหพรอม จึงเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่ง

14
3. คุณสมบัตขิ องผูประกอบธุรกิจ

คุณสมบัติผูประกอบการ
1. ผูประกอบการควรมีความรูและความชํานาญในการปฏิบัติวิชาชีพสถาปตยกรรม
- ความรูดานกระบวนการภายใน (In-house Process)
- ความรูดานการควบคุมและบริหารโครงการ
- ความรูดานธุรกิจกอสราง
- ความรูดานวิชาชีพ
2. ผูประกอบการควรมีความรูดานการประกอบธุรกิจตามกฎหมาย
3. ผูประกอบการควรมีความรูเรื่องการใหบริการ
4. ผูประกอบการควรมีความรูดานการบริหารและการควบคุมกิจการ
5. ผูประกอบการควรมีหลักในการบริหารบุคคล
เนื่อ งจากบุ คคลที่ทํ า งานสถาป ตยกรรมถื อ เปน ทรัพ ยากรที่สํา คัญ อยา งยิ่ ง
เพราะการปฏิบัติวิชาชีพสถาปตยกรรมนั้นเปนงานที่เนนเรื่อง การใชสติปญญาและ
เหตุผล ผลิตภัณฑที่เกิดขึ้นนั้นเปนขอมูล ความชํานาญ และการตัดสินใจ ดังนั้น
สํานักงานสถาปนิกจึงตองพิจารณาถึงความสามารถของบุคลากรในดานตางๆ ไดแก
- ความสามารถทางดานวิชาชีพสถาปตยกรรม
เชน การมีความคิดสรางสรรค ความสามารถในการออกแบบ การเขียนแบบ
ก อ สร า ง การเขี ย นภาพทั ศ นี ย ภาพ การทํ า หุ น จํ า ลอง ความสามารถในการใช
คอมพิวเตอรเพื่อการออกแบบ และความสามารถในการนําเสนองานตอลูกคา เปนตน
- ความสามารถทางดานการบริหารจัดการ
เช น ความสามารถในการวางแผนการทํ า งาน การจั ด เวลาการทํ า งาน
ความสามารถในการเปนผูนํา และความสามารถในการควบคุมใหงานดําเนินไปตาม
แผนงานที่วางไว เปนตน

15
- ความสามารถสนับสนุนอื่นๆ
เชน ความสามารถทางการใชภาษา ความสามารถทางการบริหารการเงิน
ความสามารถทางดานบัญชี และความสามารถทางการตลาด เปนตน
6. ผูประกอบการควรมีความรูดานการเงิน
เชน การจัดรูปแบบบัญชี การติดตามระบบเงินสดหมุนเวียน รายไดและ
คาใชจาย ผูประกอบการตองรูถึงเปาหมายทางการเงิน รวมถึงเปายอดกําไรรูวา
จะตองมียอดเงินสดหมุนเวียนที่จะจายภายในสํานักงาน รวมถึงในการตั้งคาบริการ
ตองเปนไปตามความตองการของลูกคาและเปาหมายขององคกร รวมทั้งคุณภาพของ
งานที่เสนอดวย
7. ผูประกอบการควรมีความรูดานการตลาด
เนื่องจากการการจัดการดานการตลาดเปนสิ่งสําคัญที่ทําใหสํานักงานสามารถ
อยูรอดไดในสภาพแวดลอมในปจจุบัน ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว จึงควร
จะตองมีการวางแผนทางการตลาด การหาโอกาสทางการตลาด เพื่อหาแนวทาง
ใหมๆ

4. รูปแบบและขั้นตอนการจัดตั้งธุรกิจ

4.1 ขั้นตอนการจัดตั้งธุรกิจ1
การจัดตั้งธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรม จะมีขั้นตอนในการจัดตั้งคลาย
องคกรธุรกิจอื่น โดยมีแบบแผนในการดําเนินงานดังรูปที่ 3

1
สําหรับการจดทะเบียนพาณิชย ใหศึกษากฏหมายเพิ่มเติมที่
http://www.dbd.go.th/mainsite/index.php?id=101
16
รูปที่ 3 : การจัดตั้งธุรกิจ

ที่มา : กรมพัฒนาธุรกิจการคา

ตารางที่ 4 แสดงขั้นตอนตางๆ และระยะเวลาในการดําเนินการขออนุญาตจด


ทะเบียนธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรม แบงตามลักษณะของธุรกิจที่ตองการจด
ทะเบียน และหนวยงานที่ติดตอ
ตารางที่ 4 : ขั้นตอนและระยะเวลาการจัดตั้งธุรกิจ
ระยะ
ขั้นตอน กรมพัฒนาธุรกิจการคา กรมสรรพากร
เวลา
1. จดทะเบียนจัดตั้ง 1 วัน
บริษัท/หางหุนสวน
2. ขอมีเลข และบัตร 1 วัน
ประจําตัวผูเสียภาษี
3. จดทะเบียน 1 วัน
ภาษีมูลคาเพิ่ม
4. ใบอนุญาต (ถามี) 1 วัน
17
4.2 การขออนุญาตประกอบธุรกิจ
การจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท
ขั้นตอนการดําเนินการในการจัดตั้งบริษัทจํากัด มี 2 ขั้นตอน คือ
- การจดทะเบียนหนังสือบริคณหสนธิ
- การจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทจํากัด
4.2.1 การจดทะเบียนหนังสือบริคณหสนธิ ในการจดทะเบียนหนังสือ
บริคณหสนธิ ตองดําเนินการดังตอไปนี้
1. ผูเริ่มกอการจองชื่อนิติบุคคล
2. เมื่อไดรับอนุญาตใหใชชื่อแลว ผูเริ่มกอการอยางนอย 3 คน เขาชื่อ
กันจัดทําหนังสือบริคณหสนธิ ผูเริ่มกอการจะตองมีคุณสมบัติ ดังนี้
2.1 เปนบุคคลธรรมดา จะเปนนิติบุคคลไมได
2.2 มีอายุตั้งแต 12 ป ขึ้นไป
2.3 จะตองจองซื้อหุนอยางนอยคนละ 1 หุน
3. ผูเริ่มกอการยื่นจดทะเบียนหนังสือบริคณหสนธิตอนายทะเบียน
ภายใน 30 วันนับแตวันที่นายทะเบียนอนุญาตใหจองชื่อนิติบุคคล

ขอมูลที่ตองใชในการจดทะเบียนหนังสือบริคณหสนธิ
การจดทะเบียนหนังสือบริคณหสนธิ ผูขอจดทะเบียนจะตองเตรียมขอมูล
ดังตอไปนี้ เพื่อกรอกในคําขอจดทะเบียนและเอกสารประกอบการจดทะเบียน คือ
1. ชื่อของบริษัท (ตามที่ไดจองชื่อไว)
2. ที่ตั้งสํานักงานแหงใหญ (ตั้งอยู ณ จังหวัดใด)
3. วัตถุที่ประสงคของบริษัทที่จะประกอบกิจการคา
4. ทุนจดทะเบียน จะตองแบงเปนหุนๆ มีมูลคาหุนเทาๆ กัน (มูลคาหุน
จะตองไมต่ํากวา 5 บาท)
5. ชื่อ ที่อยู อาชีพ และจํานวนหุนที่ผูเริ่มกอการจองซื้อไว

18
6. ชื่อ ที่อยู อายุ สัญชาติ ของพยาน 2 คน
7. อากรแสตมป 200 บาท

เอกสารหลักฐานที่ตองใชในการจดทะเบียนหนังสือบริคณหสนธิ
1. คําขอจดทะเบียนบริษัทจํากัด (แบบ บอจ.1)
2. หนังสือบริคณหสนธิ (แบบ บอจ.2) ผนึกอากรแสตมป 200 บาท
3. แบบวัตถุที่ประสงค (แบบ ว.)
4. แบบจองชื่อนิติบุคคล
5. หลักฐานใหความเห็นชอบในการจัดตั้งบริษัทเพื่อประกอบธุรกิจจาก
หนวยงานที่เกี่ยวของ (ใชเฉพาะในการประกอบธุรกิจที่มีกฎหมาย
พิเศษควบคุม)
6. สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผูเริ่มกอการที่ลงลายมือชื่อในคํา
ขอจดทะเบียน
7. สําเนาหลักฐานการเปนผูรับรองลายมือชื่อ (ถามี)
8. หนังสือมอบอํานาจ (กรณีที่ผูขอจดทะเบียนไมสามารถยื่นขอจด
ทะเบียนไดดวยตนเอง ก็มอบอํานาจใหบุคคลอื่นดําเนินการแทนโดย
ทําหนังสือมอบอํานาจและผนึกอากรแสตมปดวย)
หมายเหตุ แบบพิมพจดทะเบียนสามารถขอและซื้อไดจากหนวยงานของกรม
พัฒนาธุรกิจการคาหรือ Download จาก www.dbd.go.th

คาธรรมเนียม
คาธรรมเนียมเกี่ยวกับการจดทะเบียนหนังสือบริคณหสนธิ ผูขอจด
ทะเบียนจะตองชําระคาธรรมเนียมตามอัตราที่กฎกระทรวงกําหนด ดังนี้

19
- การจดทะเบียนหนังสือบริคณหสนธิทุกจํานวนเงินไมเกิน 100,000
บาท แหงจํานวนทุนที่กําหนดไว 50 บาท เศษของ 100,000 บาท ใหคิดเปน 100,000
บาท ทั้งนี้รวมกันไมใหต่ํากวา 500 บาท และไมใหเกิน 25,000 บาท

สถานที่จดทะเบียน
1. สํานักงานแหงใหญตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานคร ยื่นจดทะเบียนไดที่
สวนจดทะเบียนธุรกิจกลาง กรมพัฒนาธุรกิจการคา ถนนนนทบุรี 1 จังหวัดนนทบุรี
หรือสํานักงานบริการจดทะเบียนธุรกิจทั้ง 7 แหง
2. สํานักงานแหงใหญตั้งอยูจังหวัดอื่น ยื่นจดทะเบียนไดที่สํานักงาน
พัฒนาธุรกิจการคาจังหวัดที่บริษัทมีสํานักงานแหงใหญตั้งอยู
3. ยื่นจดทะเบียนทางอินเทอรเน็ตที่ www.dbd.go.th
เมื่อจดทะเบียนหนังสือบริคณหสนธิแลว ก็ใหดําเนินการดังนี้
1. ผูเริ่มกอการจัดใหมีการจองซื้อหุนทั้งหมด
2. เมื่อมีการจองซื้อหุนหมดแลว ก็ใหผูเริ่มกอการออกหนังสือนัด
ประชุมผูเขาชื่อซื้อหุนเพื่อประชุมจัดตั้งบริษัท การออกหนังสือนัดประชุมจะตองหาง
จากวันประชุมอยางนอย 7 วัน
3. จัดประชุมผูเขาชื่อซื้อหุนเพื่อจัดตั้งบริษัท
3.1 องคประชุมจะตองมีผูเขาชื่อซื้อหุนเขารวมประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่ง
ของจํานวนผูเขาชื่อซื้อหุนทั้งหมดและนับจํานวนหุนรวมกันไมนอยกวากึ่งหนึ่งของหุน
ทั้งหมด (จะมอบฉันทะใหผูอื่นเขาประชุมแทนก็ได)
3.2 วาระการประชุม
(1) ทําความตกลงตั้งขอบังคับของบริษัท
(2) ใหสัตยาบันแกบรรดาสัญญาซึ่งผูเริ่มกอการไดทําไว และ
คาใชจายที่ผูเริ่มกอการตองจายในการเริ่มกอตั้งบริษัท
(3) กําหนดจํานวนเงินซึ่งจะใหแกผูเริ่มกอการ (ถามี)

20
(4) ในกรณีที่บริษัทจะออกหุนบุริมสิทธิ ใหกําหนดจํานวนหุน
บุริมสิทธิพรอมทั้ งกําหนดสภาพและบุริมสิทธิของหุนบุริมสิทธิวา มีสภาพหรือสิท ธิ
อยางไร
(5) ในกรณีที่บริษัทจะออกหุนเพื่อเปนการตอบแทนการลงทุนดวย
ทรัพยสินหรือแรงงาน จะตองกําหนดจํานวนหุนสามัญหรือหุนบุริมสิทธิซึ่งออกให
เสมือนหนึ่งวาไดใชเต็มคาแลวหรือไดใชแตบางสวนเพราะไดใชคาหุนดวยอยางอื่น
นอกจากตัวเงิน โดยจะตองระบุรายละเอียดใหชัดเจนทั้งในหนังสือนัดประชุมและมติที่
ประชุม แรงงานที่จะนํามาตีราคาเปนคาหุนของบริษัทตองเปนแรงงานที่ไดกระทําไป
แลว
(6) การเรียกชําระคาหุน
(7) เลือกตั้งกรรมการและกําหนดอํานาจกรรมการ
(8) เลือกผูสอบบัญชีรับอนุญาตพรอมทั้งกําหนดคาสินจาง การตั้ง
ผูสอบบัญชีรับอนุญาตเพื่อตรวจสอบและรับรองงบการเงินตองแตงตั้งบุคคลธรรมดา
เทานั้น จะแตงตั้งสํานักงานตรวจสอบบัญชีไมได
4. ผูเริ่มกอการมอบหมายกิจการงานทั้งหมดใหแกคณะกรรมการที่
ไดรับการแตงตั้งจากที่ประชุม
5. คณะกรรมการเรียกเก็บคาหุนจากผูเขาชื่อซื้อหุน อยางนอยรอยละ
25 ของมูลคาหุน
6. เมื่อ เก็บ คาหุน ไดครบแลว ใหกรรมการผูมีอํา นาจจัดทํา คํา ขอจด
ทะเบียนตั้งบริษัทแลวยื่นจดทะเบียนตอนายทะเบียน
การยื่นจดทะเบียนจะตองใหกรรมการผูมีอํานาจเปนผูลงลายมือชื่อใน
คําขอจดทะเบียน และตองยื่นจดทะเบียนภายใน 3 เดือนนับแตวันที่ที่ประชุมจัดตั้ง
บริษัท ถาไมจดทะเบียนภายในกําหนดเวลาดังกลาวจะทําใหการประชุมตั้งบริษัทเสีย
ไป หากตอไปตองการจดทะเบียนตั้งบริษัทก็ตองดําเนินการจัดประชุมผูจองซื้อหุนใหม

21
4.2.2 ขอมูลที่ตองใชในการจัดตั้งบริษัทจํากัด
1. ขอบังคับ (ถามี)
2. จํานวนทุน (คาหุน) ที่เรียกชําระแลว อยางนอยรอยละ 25 ของทุน
จดทะเบียน
3. ชื่อ ที่อยู อายุของกรรมการ
4. รายชื่อหรือจํานวนกรรมการที่มีอํานาจลงชื่อแทนบริษัท (อํานาจ
กรรมการ)
5. ชื่อ เลขทะเบียนผูสอบบัญชีรับอนุญาตพรอมคาตอบแทน
6. ชื่อ ที่อยู สัญชาติ และจํานวนหุนของผูถือหุนแตละคน
7. ตราสําคัญ
8. ที่ตั้งสํานักงานแหงใหญ/สาขา
เอกสารหลักฐานที่ตองใชในการจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทจํากัด
1. คําขอจดทะเบียนบริษัทจํากัด (แบบ บอจ.1)
2. รายการจดทะเบียนจัดตั้ง (แบบ บอจ.3)
3. รายละเอียดกรรมการ (แบบ ก.)
4. บัญชีรายชื่อผูถือหุน (แบบ บอจ.5)
5. สําเนาหนังสือนัดประชุมตั้งบริษัท
6. สําเนารายงานการประชุมตั้งบริษัท
7. สําเนาขอบังคับ ผนึกอากร 200 บาท (ถามี)
8. หลักฐานการชําระคาหุนที่บริษัทออกใหแกผูถือหุน
9. กรณีคนตางดาวลงทุนในบริษัทจํากัด ตั้งแตรอยละ 40 แตไมถึง
รอยละ 50 ของทุนจดทะเบียน หรือกรณีมีคนตางดาวลงทุนในบริษัทจํากัดต่ํากวารอย
ละ 40 ของทุนจดทะเบียนแตคนตางดาวเปนกรรมการผูมีอํานาจกระทําการแทน
บริษัท ใหผูถือหุนที่มีสัญชาติไทยทุกคนสงหลักฐานแสดงที่มาของเงินลงทุนที่

22
สอดคลองกับจํานวนเงิน ที่ชํา ระแลวของผูถือหุนแตละราย อยางใดอยางหนึ่ง
ดังตอไปนี้
9.1 สําเนาสมุดเงินฝากธนาคาร หรือสําเนาใบแจงยอดบัญชี
ธนาคาร ยอนหลัง 6 เดือน หรือ
9.2 เอกสารที่ธนาคารออกใหเพื่อรับรอง หรือแสดงฐานะทาง
การเงินของผูถือหุน หรือ
9.3 สําเนาหลักฐานที่แสดงแหลงที่มาของเงินที่นํามาชําระคาหุน
10. แบบ สสช.1 จํานวน 1 ฉบับ
11. สําเนาบัตรประจําตัวของกรรมการที่ลงชื่อในคําขอจดทะเบียน
12. สําเนาหลักฐานการเปนผูรับรองลายมือชื่อ (ถามี)
13. หนังสือมอบอํานาจ (กรณีที่ผูขอจดทะเบียนไมสามารถยื่นขอจด
ทะเบียนไดดวยตนเอง ก็มอบอํานาจใหบุคคลอื่นดําเนินการแทนโดยทําหนังสือมอบ
อํานาจและผนึกอากรแสตมปดวย)
แบบพิ ม พ จ ดทะเบี ย นสามารถขอและซื้ อ ได จ ากหน ว ยงานของกรม
พัฒนาธุรกิจการคา หรือ Download จาก www.dbd.go.th
คาธรรมเนียม
1. คิดตามทุนจดทะเบียนแสนละ 500 บาท แตไมนอยกวา 5,000
บาท และไมเกิน 250,000 บาท (เศษของแสนคิดเปนแสน)
2. หนังสือรับรอง ฉบับละ 200 บาท
3. ใบสําคัญแสดงการจดทะเบียน ฉบับละ 100 บาท
4. รับรองสําเนาเอกสาร หนาละ 50 บาท
สถานที่จดทะเบียน
1. สํานักงานแหงใหญตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานคร ยื่นจดทะเบียน
ไดที่ สวนจดทะเบียนธุรกิจกลาง กรมพัฒนาธุรกิจการคา ถนนนนทบุรี 1 จังหวัด
นนทบุรี หรือสํานักงานบริการจดทะเบียนธุรกิจทั้ง 7 แหง

23
2. สํา นั ก งานแห ง ใหญ ตั้ ง อยู จั ง หวั ด อื่น ยื่น จดทะเบี ย นได ที่
สํานักงานพัฒนาธุรกิจการคาจังหวัดที่บริษัทมีสํานักงานแหงใหญตั้งอยู
3. ยื่นจดทะเบียนทางอินเทอรเน็ตที่ www.dbd.go.th

4.3 องคประกอบหลักในการจัดตัง้ ธุรกิจ


องคประกอบหลักในการจัดตั้งธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรมประกอบดวย
1) สถานที่ตั้งสํานักงาน
2) อุปกรณและเครื่องมือ
3) ซอฟทแวรคอมพิวเตอร
4) บุคลากร
ซึ่งมีรายละเอียดดังตอไปนี้
` ที่ตั้งของสํานักงาน
ใหบริการทางสถาปตยกรรมมีความสําคัญตอการดําเนินการทั้งในแงของทําเล
ที่ตั้ง และรูปแบบสํานักงาน เพราะลูกคาของสํานักงานตองมีการติดตอที่สํานักงาน
ตลอดจึ ง ต อ งอยู ใ นสถานที่ ที่ ส ามารถเข า ถึ ง ได โ ดยสะดวก และลั ก ษณะงานของ
สํานักงานที่เปนการออกแบบสถาปตยกรรม ซึ่งสามารถสื่อถึงภาพพจนลูกคาผาน
รูปแบบของสํานักงาน ดังนั้นที่ตั้งของสํานักงานจึงสามารถสรางโอกาสในการไดรับ
งานของสํานักงาน โดยมีการประมาณราคาคาเชาสํานักงานในเขตธุรกิจ ดังนี้

ตารางที่ 5 : คาเชาสํานักงาน

สถานที่ องคประกอบ ราคา


ถนนสุขุมวิท, ขนาดพื้นที่ 300-500 บาท/ตร.ม. -เดือน
ถนนอโศก คาไฟ ตามอัตราคาไฟ ถึง 3-6 บาท/ยูนิต
คาน้ํา ฟรี – 20 บาท/ยูนิต

24
สถานที่ องคประกอบ ราคา
ถนนสุขุมวิท, ขนาดพื้นที่ 500-800 บาท/ตร.ม-เดือน
ถนนวิทยุ คาไฟ ตามอัตราคาไฟ ถึง 3-6 บาท/ยูนิต
คาน้ํา ฟรี - 20 บาท/ยูนิต

` อุปกรณและเครื่องมือ
ตารางที่ 6 : อุปกรณและเครื่องมือที่ใชในสํานักงานสถาปตยกรรม
อุปกรณ ตัวอยางรูปภาพ ราคา
โตะเขียนแบบ 4,000-5,000 บาท
ขึ้นอยูกับขนาด

เครื่องถาย 20,000-50,000
เอกสาร บาท
ขึ้นอยูกับขนาด
และคุณสมบัติของ
เครื่อง

คอมพิวเตอร 20,000-30,000
บาท
ขึ้นอยูกับ
คุณสมบัติของ
เครื่อง

25
อุปกรณ ตัวอยางรูปภาพ ราคา
โปรแกรม 1. AutoCAD 40,000 บาท/ชุด
คอมพิวเตอร

2.SketchUP 12,000 บาท/ชุด

` บุคลากร
ธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรม เปนธุรกิจที่ใชความสามารถของพนักงาน
หลายดาน เชน การออกแบบ ความคิดสรางสรรค ความสามารถในการวิเคราะหและ
แปลผล ความสามารถในการสื่อสารระหวางบุคคลหลายอาชีพและหลายระดับ กลาว
ได ว า ธุ ร กิ จ ให บ ริ ก ารด า นสถาป ต ยกรรมเป น การลงทุ น ด า นคนเป น หลั ก ซึ่ ง มี
องคประกอบดังนี้
1. สถาปนิกอาวุโสหรือผูบริหาร เปนสถาปนิกที่มีประสบการณสูง มี
หนาที่ติดตอลูกคาและหางานควบคุมดูแลในสํานักงาน รวมทั้งวาง Concept ในการ
ออกแบบรางขั้นตน

26
2. สถาปนิก เปนสถาปนิกที่มีประสบการณหรือทํางานกับสํานักงานมา
ตั้งแตแรก มีประสบการณประมาณ 5-10 ป ทําหนาที่ออกแบบรางขั้นตนไปจนถึงขั้น
สุดทาย ตรวจแบบกอสราง จัดทํารายละเอียดการกอสราง
3. สถาปนิกฝกหัด ทําหนาที่เปนผูชวยสถาปนิก ทําหนาที่ตามที่ไดรับ
มอบหมาย สวนใหญจะมีหนาที่เขียนแบบกอสราง
4. พนักงานเขียนแบบ จะเปนพนักงานที่เขียนแบบที่มีประสบการณมา
นาน ทําหนาที่เขียนแบบในโครงการขนาดใหญ และมีความซับซอน

5. กระบวนการดําเนินงาน

การดําเนินธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรม ผูประกอบการควรมีความรูและ
เขาใจถึงวงจรหรือขั้นตอนของสถาปตยกรรม มีความรูความสามารถพอในการบริการ
วิชาชีพ โดยขั้นตอนงานสถาปตยกรรมสรุปไดดังนี้

รูปที่ 4 : วงจรหรือขั้นตอนของงานสถาปตยกรรม

ที่มา: คูมือสถาปนิก 2542 สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ

27
1. งานศึกษาขั้นตนกอนการออกแบบ (Pre-Design Stage) ประกอบดวย
ขั้นตอนดังนี้
¾ การศึกษากําหนดรายละเอียดโครงการ (Project Programming)
- จัดทําแผนงานและแตงตั้งผูออกแบบและผูเชี่ยวชาญตางๆ
- พิจารณาความตองการของผูใช ทําเลที่ตั้ง และคาใชจายโดยประมาณ
- ขอกําหนดดานคุณภาพของงานสถาปตยกรรมหรือโครงการ
- ประมาณการคาใชจายที่เกิดขึ้นในปจจุบันและในอนาคต
- จัดทําแผนการดําเนินการออกแบบ
¾ ศึกษาความเปนไปไดของโครงการ
- โดยกํ า หนดวัตถุ ป ระสงคข องโครงการให ชั ด เจน และจั ด หาขอ มูล ที่
เกี่ยวของกับโครงการ
- ศึกษาทบทวนเพิ่มรายละเอียดความตองการของเจาของอาคารและ
ความตองการของผูใชสอย
- ศึกษาขอมูลของสถานที่ที่จะทําการกอสราง เชน ราคาที่ดิน ระบบ
สาธารณูปโภคที่จําเปน
- พิจารณาความเปนไปไดเรื่องของกฎหมายตางๆ เชน กฎหมายผังเมือง
กฎหมายควบคุมอาคาร
¾ การจัดทํารายละเอียดการออกแบบ (Design Program)
- จัดทํารายละเอียดเพื่อการออกแบบ
- ศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม เรื่ อ งการวางผั ง การออกแบบและกฎหมายต า งๆ ที่
เกี่ยวกับที่ตั้งและการออกแบบโครงการ
- ศึกษาขอมูลดานงบประมาณและคากอสรางเพื่อสรุปรายละเอียดการ
ออกแบบ

28
2. งานขั้นการออกแบบ (Design Stage)
เมื่อโครงการงานสถาปตยกรรมไดกําหนดแนวความคิดในการออกแบบ
แลว ควรจะดําเนินการออกแบบตามขั้นตอนดังนี้
¾ การออกแบบรางทางเลือก (Schematic Design)
- วิเคราะหการออกแบบโครงการ
- วิเ คราะหป จจัยที่ เกี่ยวขอ งกั บ การออกแบบอาคารทั้ งหมด เพื่ อ เป น
แนวทางในการแกปญหา และนําไปใชประกอบการออกแบบ
- ออกแบบอาคารครบทุกสวนในขั้นแบบรางทางเลือกโดยอาจจัดทําเปน
แบบทางเลือก 2-3 แบบ เพื่อใชพิจารณาหาจุดบกพรอง และแกปญหาที่เกิด
ขึ้นกับโครงการ
¾ การประเมินและตัดสินใจพัฒนารูปแบบทางเลือก (Evaluation
and Design Selection) เปนการประเมินและหาขอสรุปในการตัดสินใจเลือก
รู ป แบบทางเลื อ กที่ เ หมาะสมที่ สุ ด และอาจมี ก ารนํ า เสนอให แ ก เ จ า ของ
โครงการพิจารณาในประเด็น ตางๆ เพื่อใหไ ดผลสรุปของรูปแบบไปในทาง
เดียวกัน

3. งานกอนการกอสราง (Pre-Construction Stage)


หลังจากยื่นขอรับอนุญาตปลูกสรางอาคาร กอนการดําเนินการกอสราง
จะตองมีการบริการงานการจัดการกอนการกอสรางแกเจาของโครงการ โดย
อาจรวมในงานการบริ ก ารออกแบบ หรื อ ในงานผู บ ริ ห ารโครงการ การ
ดําเนินการขั้นตอนนี้มีดังนี้
¾ การจัดการประกวดราคา (Bidding)
¾ การจัดทําสัญญาจาง (Contracting)

29
4. งานระหวางการกอสราง (Construction stage)
ผูประกอบการธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรมระหวางงานกอสราง ขอบเขต
ของงานมีดังนี้
¾ การบริหารจัดการงานกอสราง (Construction Management) หรือ
งานอํานวยการกอสราง ตามกฎหมายสถาปนิก งานที่ตองทําในชวงนี้คือ
- เตรียมระบบติดตอประสานงานที่รัดกุมและมีประสิทธิภาพ
- เตรียมวางแผนสายการทํางานและชวงการทํางานที่เหมาะสม
- จัดเตรียมทีมงานกํากับ ควบคุมดูแล และการประเมินผลการกอสราง
รวมทั้งประสานงานกับผูเกี่ยวของ
¾ งานควบคุ ม โครงการระหว า งการก อ สร า ง (Construction
Supervisor) ขั้นตอนนี้เปนการประสานงาน ระหวางสถาปนิก วิศวกรผู
ควบคุมงาน ผูรับเหมากอสราง ที่ทําใหงานกอสรางดําเนินไปไดอยางรวดเร็ว
ไม เ กิ ด ป ญ หาในการก อ สร า ง งานที่ ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ ให บ ริ ก ารด า น
สถาปตยกรรมทําในขั้นตอนนี้คือ
- จั ด สถาปนิ ก วิ ศ วกร และผู เ ชี่ ย วชาญ ให คํ า แนะนํ า และให ค วาม
กระจางเกี่ยวกับแบบการกอสรางในกรณีที่มีปญหาหรือขอขัดแยงตางๆ
- ควบคุ ม งานก อ สร า งเป น ไปตามแบบและแผนงานที่ ว างไว ต ลอดจน
ตรวจสอบคุ ณ ภาพของวั ส ดุ แ ละช า งฝ มื อ ให เ ป น ไปตามมาตรฐานที่
กําหนดไวในแบบการกอสราง
- จัดขอกําหนดใหบริษัทผูกอสรางจัดทําแบบเพื่อใชกอสรางโดยเสนอให
สถาปนิกที่ควบคุมงาน ใหความเห็นชอบ เพื่อมิใหเกิดการผิดพลาด
- สถาปนิกบริการวิชาชีพบริหารจัดการงานกอสรางจัดใหมีผูควบคุมงาน
กํ า กั บ ดู แ ละตรวจสอบปริ ม าณงานก อ สร า งให ต รงกั บ การจ า ยเงิ น ค า
กอสรางแตละงวด และถูกตองตามที่ระบุไวในสัญญาการกอสราง
- ตรวจโครงการที่กอสรางเสร็จเรียบรอย เพื่อสํารวจความสมบูรณถูกตอง

30
- ระบุขอบกพรองและสวนที่ยังไมสมบูรณ เพื่อใหผูกอสรางทําการแกไข
กอนสงมอบงาน
- ตรวจสวนที่มีการแกไขอีกครั้ง และตรวจแบบการกอสรางอาคารใหตรง
กับงานที่กอสรางเสร็จเรียบรอย
- ผู รั บ เหมาก อ สร า งส ง มอบงานสถาป ต ยกรรมหรื อ โครงการที่ เ สร็ จ
เรียบรอยใหกับเจาของโครงการ
-
5. งานหลังการกอสรางแลวเสร็จ (Post Construction Stage)
โครงการหรืองานสถาปตยกรรมบางโครงการภายหลังงานกอสรางแลวเสร็จ
แลว ลูกคาหรือเจาของโครงการ ขอใหสถาปนิกบริการวิชาชีพใหคําปรึกษา
ขอบเขตงานประกอบดวยงานดังตอไปนี้
¾ การวางแผนเขาใชอาคาร (Occupancy)
¾ การประเมินการใชอาคาร (Post-Occupancy Evaluation: POE)
คือการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของอาคารหลังการเขาใชอาคาร
โดยมีจุดมุงหมายเพื่อทําการประเมินอาคารและสภาพแวดลอมกายภาพที่
สรางขึ้น วามีความสอดคลองกับเปาหมายโครงการ และความตองการของ
กลุมผูใชตางๆ อยางไร

6. งานบริหารจัดการทรัพยากรกายภาพ (Facility Management)


โดยคํานึงปจจัยดังตอไปนี้
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน
¾ ประสิทธิภาพในการใชอาคาร
¾ ความประหยัด การควบคุมคาใชจายทั้งการใชและการดูแลรักษา
¾ ชะลอหรื อ ลดป ญ หาอุ ป สรรคที่ ติ ด ขั ด ในการใช อ าคารหรื อ ระบบ
กายภาพอันเนื่องจากความทรุดโทรมหรือความเสียหาย

31
7. งานการวางแผนทรัพยากรกายภาพ (Facility Planning)
การวางแผนภาพรวมดานกายภาพทั้งหมดในระยะยาวของหนวยงาน
เปนลักษณะ Key Long Plan เปนการประเมินคาดการณหรือวางแผนวาใน
การดํ า เนิ น การในอนาคตจะเป น อย า งไร ต อ งมี ก ารเตรี ย มการหรื อ การ
ปรับเปลี่ยนอาคารและระบบกายภาพอยางไร เพื่อรองรับความตองการใน
อนาคตของหนวยงานนั้นได

6. ขอมูลทางการเงิน

6.1 โครงสรางการลงทุน
` โครงสรางการลงทุน
องคประกอบหลักในการลงทุนเริ่มตน (Initial Investment) ประกอบดวย
ตารางที่ 7 : องคประกอบหลักในการลงทุนเริ่มตน
องคประกอบ ประมาณการลงทุน หมายเหตุ
สถานที่ตั้งสํานักงาน 500 บาท/ตร.ม.-เดือน ราคาค า เช า สํ า นั ก งานใน
เขตธุรกิจ
อุปกรณสํานักงาน 100,000-200,000 บาท ขึ้ น อ ยู กั บ จํ า น ว น แ ล ะ
ประเภทของอุปกรณ
คาซอฟทแวร 250,000 บาท ขึ้ น อ ยู กั บ ช นิ ด ข อ ง
คอมพิวเตอร ซอฟทแวร
คาระบบคอมพิวเตอร 200,000 บาท ขึ้นอยูกับประสิทธิภาพของ
เครื่องคอมพิวเตอร

32
6.2 คาใชจายในการดําเนินงาน
องคประกอบหลักของคาใชจายในการดําเนินงาน (Operating Expenses)
ประกอบดวยคาจางบุคลากรและพนักงาน ซึ่งมีการประมาณการเบื้องตนดังนี้
ตารางที่ 8 : คาจางบุคลากรและพนักงาน
ประมาณการ จํานวนเงิน
รายการ เงินเดือนตอคน จํานวนคน ประมาณการตอ
(บาท) เดือน (บาท)
ผูบริหาร 50,000 1 50,000
สถาปนิกอาวุโส 40,000 1 40,000
สถาปนิก 30,000 2 60,000
สถาปนิกฝกหัด 12,000 3 36,000
พนักงานธุรการ 9,000 2 18,000

6.3 การประมาณการรายได
อัตราคาบริการวิชาชีพออกแบบสถาปตยกรรม โดยมีโครงสรางมาตรฐาน
อัตราคาบริการวิชาชีพขั้นพื้นฐานดังนี้
ตารางที่ 9 : อัตราคาบริการวิชาชีพขั้นพื้นฐานเปนรอยละของมูลคาโครงการ
มูลคาโครงการ (ลานบาท)
ประเภท
200 -
ของงาน < 10 10-30 30-50 50-100 100 200 > 500
500
ประเภท 1 10.00 7.75 6.50 6.00 5.25 4.50 3.70
ประเภท 2 8.50 6.75 5.75 5.50 4.75 4.25 3.60
ประเภท 3 7.50 6.00 5.25 5.00 4.50 4.00 3.50
ประเภท 4 6.50 5.50 4.75 4.50 4.25 3.75 3.40
ประเภท 5 5.50 4.75 4.50 4.25 4.00 3.50 3.30
ประเภท 6 4.50 4.25 4.00 3.75 3.50 3.25 3.20
33
ตัวอยาง
อาคารประเภท 4 ราคากอสราง 35 ลานบาท ใหคํานวณหาคาบริการวิชาชีพ
ดังตอไปนี้
10 ลานบาทแรก อัตรารอยละ 6.50 เปนเงิน 650,000 บาท
20 ลานบาทถัดไป อัตรารอยละ 5.50 เปนเงิน 1,100,000 บาท
50 ลานบาทที่เหลือ อัตรารอยละ 4.75 เปนเงิน 237,500 บาท
รวมเปนคาบริการทั้งสิ้น 1,987,500 บาท

7. บทศึกษาเชิงกลยุทธแนวทางการสงเสริมและพัฒนาธุรกิจ

7.1 แนวทางการสงเสริมและพัฒนาธุรกิจ
กลยุทธในการพัฒนาธุรกิจสูความเปนเลิศ
จากการศึ ก ษาและวิ เ คราะห ช อ งว า งระหว า งผู ป ระกอบการพบว า
ผูประกอบการที่เปนเลิศมีการพัฒนาองคกรในหลายๆ ดาน จากองคประกอบของ
Service Triangle Model กลยุทธการบริการมีความสําคัญมากตอธุรกิจใหบริการ
ดานสถาปตยกรรม เนื่องจากการแขงขันในปจจุบันมีมากขึ้นและมีรูปแบบที่ซับซอน
ทั้ ง จากคู แ ข ง ในประเทศและต า งประเทศ ประเด็ น ที่ สํ า คั ญ ต อ การพั ฒ นาธุ ร กิ จ
ใหบริการดานสถาปตยกรรมสามารถกลาวเปนประเด็นตางๆ ไดดังนี้
• การประเมินตําแหนงทางธุรกิจ เพื่อชวยใหผูประกอบการทราบถึง
ความสามารถในการแขงขันของตนเองและคูแขง
• การคํ า นึ ง ถึ ง ความเป น ไปได ใ นการทํ า โครงการ เพื่ อ ช ว ยให
ผู ป ระกอบการทราบถึ ง ผลสํ า เร็ จ ก อ นตั ด สิ น ใจประมู ล หรื อ รั บ งาน
ออกแบบ เพื่อใหเกิดความคุมคาในการลงทุนมากที่สุด

34
• การใสใจในกระบวนการทํางานใหมากขึ้น เพื่อใหสามารถแขงขัน
ด า นราคากั บ คู แ ข ง ให ไ ด รวมถึ ง การลดกระบวนการทํ า งานโดยใช
เทคนิคตางๆ เชน Value Engineering
• การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย เพื่อพัฒนาความสามารถในการ
นําเสนองานและเจรจาตกลง
• การพั ฒ นาความสั ม พั น ธ ท างธุ ร กิ จ ในรู ป แบบต า งๆ เพื่ อ เพิ่ ม
ประสิทธิภาพและการไดเปรียบทางการแขงขัน

รูปที่ 5 : องคประกอบเพื่อความเปนเลิศในธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรม

35
โอกาสการสรางมูลคา (Value Creation)
เนื่องจากสถานประกอบการที่ใหบริการดานสถาปตยกรรม เปนงาน
บริการที่แสดงการนําเสนอแนวคิด เพื่อใหเกิดการผสานเชิงจินตภาพและกายภาพ
โดยมุงเนน ที่การนําเสนอผลงานการออกแบบที่มีคุณคา และตอบสนองตอความ
ตองการของลูกคา นอกจากนี้หากวิเคราะหจากขอมูลปฐมภูมิ และทุติยภูมิตางๆ
พบว า การสร า งมู ล ค า ให ธุ ร กิ จ ให บ ริ ก ารด า นสถาป ต ยกรรมในป จ จุ บั น นั้ น จะ
ประกอบดวยองคประกอบตางๆ ไดแก
X ผลงานการออกแบบ
การนําผลงานการออกแบบที่ดีและมีความนาสนใจทั้งในเรื่องความ
สวยงาม และความทั น สมั ย ของรู ป แบบอาคารที่ มี ค วามโดดเด น จะช ว ยให ก าร
นําเสนองานของบริษัทมีความแตกตางจากคูแขง และสรางความสนใจในบริษัทใหแก
เจาของโครงการ อาทิ การออกแบบอาคารใหมีลักษณะเฉพาะและเปนเอกลักษณทั้ง
ในแงของคุณคา รูปทรงและวัสดุที่ใช จะสามารถเพิ่มความสามารถในการแขงขัน
ใหกับผูประกอบการธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรม
X กระบวนการทํางาน
ผูประกอบการธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรมสามารถเพิ่มคุณคา
ของการทํ า งาน ได โ ดยการพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพของกระบวนการ
ออกแบบ โดยนํ า หลั ก การแขนงต า งๆ มาประยุ ก ต เ พื่ อ ให ก ระบวนการออกแบบ
สามารถตอบสนองความตองการหลักๆ ดานคุณคา คุณภาพ ระยะเวลา และความ
ยื ด หยุ น ได อาทิ ก ารเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพงานออกแบบ ให อ าคารมี รู ป ทรงที่ เ ป น
เอกลักษณ การเลือกใชวัสดุที่โดดเดน และงายตอการกอสราง และการนําระบบ
โครงสรางที่เหมาะสมมาใชในกระบวนการออกแบบอาคาร เพื่อใหมีระยะเวลาในการ
ออกแบบกอสรางที่นอยลง

36
X องคกร
ธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรมนั้นอาศัยความรูความชํานาญเฉพาะ
ทาง ซึ่งผูที่จะอยูในธุรกิจนี้ตองมีความคิดสรางสรรคเปนพื้นฐานสําคัญ อัตราการ
Turnover ในธุรกิจนี้อยูในระดับสูงโดยเฉพาะในผูประกอบการธุรกิจขนาดกลางและ
ขนาดเล็ก องคกรควรเสริมสรางความภักดีของพนักงาน (สถาปนิก) ตอองคกร มีการ
ส ง เสริ มใหเกิด องค กรแหง การเรี ยนรู แ ละพั ฒ นา เนื่อ งจากธุ รกิจ บริก ารออกแบบ
สถาปตยกรรมจําเปนที่จะตองมีการสรางสรรคผลงานออกแบบที่มีความแปลกใหม
และเป นเอกลักษณอ ยูเสมอ ดัง นั้นองค กรจะตอ งผลักดันใหเกิดการพั ฒนาอยา ง
ตอเนื่องในดานตางๆ เพื่อการแขงขันกับคูแขงและภาวะคุกคามตางๆ
X ภาคธุรกิจที่เกี่ยวของ
บริษัท ที่เกี่ยวของในธุรกิจใหบริ การดานสถาปตยกรรมควรคํานึงถึง
แนวทางเพื่ อ ลดความเสี่ ย ง ต น ทุ น และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพให แ ก ธุ ร กิ จ การสร า ง
พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ อาทิ การร ว มมื อ กั บ บริ ษั ท ออกแบบตกแต ง ภายใน บริ ษั ท
ออกแบบโครงสรางและกอสรางอาคาร จะชวยใหบริษัทสถาปตยกรรมมีความพรอม
ในการดําเนินงาน ความรวมมือกันระหวางองคกรในการใชทรัพยากรรวมกัน จะชวย
ใหภาคธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรมในภาพรวมนั้นสามารถรับมือกับความเสี่ยง
ไดดีขึ้น รวมถึงการจัดการโซอุปทานของภาคธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรมถือ
เปนแนวทางที่สําคัญในการเพิ่มมูลคาใหแกธุรกิจ

7.2 ปจจัยแหงความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจ (Key Success Factor)


การดําเนินธุรกิจใหบริการดานสถาปตยกรรมนั้นผูประกอบการควรหาโอกาส
ในการสรางตลาดเพิ่ม ดังนี้
` การขยายตลาด โดยการ ขยายฐานลูกคา การขยายขอบเขตการให
บริการ หรืออาจเปดสํานักงานสาขา เชน เดิมอาจเคยรับงานกับลูกคาที่เปนเอกชน
อยางเดียว อาจมารับงานกับลูกคาที่เปนราชการดวย หรือแมกระทั่งการออกไปรับ

37
งานกั บ ลู ก ค า ที่ อ ยู ต า งประเทศ หากต อ งการขยายขอบเขตการให บ ริ ก าร เช น
สํานักงานเคยรับงานออกแบบเพียงอยางเดียว สํานักงานอาจเพิ่มการบริหารงาน
กอสรางและเปนที่ปรึกษาโครงการดวย หรือ หากตองการขยายตลาดโดยการเปด
สํา นั ก งาน ซึ่ ง สามารถเป ด สํ า นัก งานสาขาในตา งพื้ น ที่ หรื อ ในพื้ น ที่ เ ดี ย วกั น กั บ
สํานักงานแหงเดิม
` เสนองานกับลูกคาเปาหมาย ผูประกอบการควรพิจารณาหากลุม
ลูกคาที่พรอมจะลงทุนกอสราง และควรไปติดตอเขาไปยังลูกคาหากสํานักงานสนใจที่
จะทําโครงการนั้นๆ โดยการสงประวัติและผลงานไปใหลูกคาพิจารณา
` การประชาสัมพันธ เผยแพรผลงาน ผูประกอบการควรทําใหผลงาน
หรือชื่อเปนที่รูจักแกสาธารณชน โดยมุงประเด็นไปที่ลักษณะเฉพาะและคุณคาของ
วิชาชีพสถาปตยกรรม
` การเขารวมประกวดแบบ เนื่องจากการเขารวมประกวดแบบเปนการ
โอกาสในการไดรับงาน ซึ่งในประเทศไทยโครงการของภาครัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ
จะตองมีการจัดการประกวดแบบตามระเบียบพัสดุ สวนของภาคเอกชนนั้นจะมีการ
จัดประกวดหรือไมก็แลวแตเจาของโครงการ
` หาโอกาสในการสรางผลงานแรกเริ่ม และหาโอกาสในการทํา
โครงการที่นาสนใจ สําหรับผูประกอบการใหม ควรแสวงหาโอกาสในการสราง
ผลงานที่ดี หรื อผลงานที่นาสนใจ ที่สามารถสรา งชื่อเสียงใหกับสํา นักงาน และ
โดยเฉพาะโครงการที่เปนอาคารสาธารณะ
` การปรับปรุง และพัฒนาผลงาน หรือการใหบริการ ผูประกอบการ
จําเปนตองมีการปรับปรุง และพัฒนาผลงานและการใหบริการอยูเสมอ เนื่องจาก
งานสถาปตยกรรมมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอยูตลอดเวลา หากสํานักงานใด
มองเห็ น โอกาสหรื อ ช อ งว า งทางการตลาด หรื อ บริ ก ารที่ แ ปลกใหม ยั ง ไม มี ผู ใ ด
ใหบริการก็ยอมทําใหสํานักงานแหงนั้นมีความไดเปรียบสํานักงานอื่น

38
` การสราง และรักษาความสัมพันธกับลูกคาอยางตอเนื่อง การ
รักษาความสัมพันธกับลูกคาเกาของสํานักงาน และการสรางความสัมพันธกับลูกคา
อยางตอเนื่อง จะเปนผลดีสําหรับสํานักงานเนื่องจากสํานักงานจะไดรับงานอยาง
ตอเนื่องจากลูกคาเกา
` การสรา งเครื อ ข า ยความสั ม พั น ธท างสัง คม เนื่ อ งจากลูก ค า มั ก
พิจ ารณาเลือ กสํ า นั ก งานออกแบบสถาปต ยกรรมที่ มีค วามรู จั กคุ น เคยกั น มากอ น
เนื่องจากโครงการกอสรางเปนโครงการที่ตองมีการลงทุนคอนขางสูง เพราะฉะนั้นการ
ที่ผูประกอบการมีการรูจักคุนเคยกับลูกคามากอนจะทําใหลูกคาไววางใจมากขึ้น
` การสรางพันธมิตรทางธุรกิจ อาจเปนสํานักงานสถาปนิกดวยกัน
หรือสํานักงานสาขาอื่นที่ตอเนื่องกัน เชน วิศวกร มัณฑนากร หรือภูมิสถาปนิกซึ่ง
สํานักงานแหงใดมีพันธมิตรทางธุรกิจมากยอมเปนสํานักงานที่ไดเปรียบ นอกจากจะ
สามารถรวมตั ว กัน ทํา โครงการที่สํา นั ก งานมีศัก ยภาพหรือ ความรูไ มเพีย งพอแล ว
พันธมิตรทางธุรกิจมักจะเปนผูที่แนะนํางาน หรือลูกคามาใหอยูเสมอ
` การเสริมสรางภาพลักษณ หรือเอกลักษณเฉพาะของสํานักงาน
สํานักงานแหงใดที่มีภาพลักษณที่ดีและโดดเดน หรือมีเอกลักษณเฉพาะทําใหลูกคา
สามารถจดจําได สํานักงานแหงนั้นสามารถดึงดูดลูกคาไดดีกวาแหงอื่น เนื่องจาก
เมื่อลูกคาจะเลือกสํานักงานออกแบบสถาปตยกรรมลูกคามักจะนึกถึงสํานักงานที่
ตนเองจําได และรูจักในทางที่ดี

8. แนวทางการจัดทํามาตรฐาน

Checklist นี้จัดทําขึ้นเพื่อใหผูที่ดําเนินธุรกิจบริการออกแบบสถาปตยกรรมได
ประเมิ น ตนเองในด า นต า งๆ และเพื่ อ เป น แนวทางการจั ด ทํ า มาตรฐานเพื่ อ การ
ดําเนินงานตอไป

39
1) ดานสถานที่ตั้ง
มีการเดินทางที่สามารถเขาถึงไดโดยสะดวก
มีพื้นที่ใชสอยในสํานักงานเพียงพอ
มีการออกแบบสํานักงานที่สื่อถึงภาพพจนสํานักงาน
2) ดานบุคลากร
มีการตรวจสอบประวัติบุคลากร
มีการจัดหาพนักงานที่มีทักษะ และคุณสมบัติเหมาะสม
มีการฝกอบรมบุคลากร และกิจกรรมเพิ่มพูนความรูและทักษะอยาง
สม่ําเสมอ
สงเสริมการมีสวนรวมในการแลกเปลี่ยนความรู และประสบการณ
ระหวางบุคลากร (Knowledge Management)
มีการปรับเปลี่ยนตําแหนงงานของบุคลากรใหเหมาะสมกับคุณสมบัติ
ของพนักงาน
มีการจัดทําแผนพัฒนาบุคลากร
3) ดานการสรางชื่อเสียง และภาพพจนของบริษัท
มีประสบการณ และมีความสามารถในการออกแบบ
สงผลงานเขารวมในงานประกวดการออกแบบ
สงเสริมภาพพจนของบริษัทในความชํานาญเฉพาะดาน
มีการประชาสัมพันธ
4) ดานการใหบริการลูกคา
มีบริการใหคําปรึกษาลูกคา
มีการติดตามสอบถามความพึงพอใจของลูกคา
5) ดานสถานะการเงิน
มีเงินทุนหมุนเวียนเพียงพอตอการดําเนินงาน
40
มีระบบการติดตามลูกหนี้อยางเหมาะสม
มีการบริหารคาใชจายภายในบริษัท หรือโครงการอยางเหมาะสม
6) ระบบการบริหารจัดการ
มีกลไกการกําหนดแนวทางการปฏิบัติงาน การสื่อสารและการ
แกปญหาที่มีประสิทธิภาพ
มีกิจกรรมที่สงเสริมใหพนักงาน เกิดความคิดสรางสรรคใหมๆ หรือการ
ใหรางวัล เพื่อกระตุนใหพนักงานเกิดความกระตือรือรนในการทํางาน
มีการสงเสริมการพัฒนาองคความรูแกพนักงานภายในองคกร เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพการใหบริการ
มีการพัฒนาคุณภาพ โดยการวิเคราะหความตองการและความ
คาดหวังของลูกคา
มีระบบมาตรฐานในการตรวจสอบและติดตามงาน
มีการรักษาความลับของลูกคา

41

You might also like