You are on page 1of 173

กฎหมายวิธพ

ี จ
ิ ารณา
ความอาญา
ร.ต.ท.สิทธิพน
ั ธุ ์ สีนวล
รอง สว.ฝอ.บก.สอ.บช.ตชด.

7 ก.พ.
61
ขอบเขต
1. ผู เ้ สียหายและผู ม
้ อ
ี านาจจัดการแทนผู เ้ สียหาย
2. ผู ต ้ อ
้ งหา จาเลย และสิทธิของผู ต
้ อ ้ งหา จาเลย
3. การร ้องทุกข ์
4. ลักษณะหมายเรียกและหมายอาญา
5. การจ ับตามหมายจ ับ การจ ับโดยไม่มห ี มายจับ
การกระทาความผิดซึงหน้ ่ า
และกรณี ราษฎรจ ับ ตลอดจนข้อปฏิบต ั ใิ นการ
จับ
6. การควบคุม วิธก ี ารควบคุม ระยะเวลาในการ
ควบคุม
่ ่
1. ผู เ้ สียหายและผู ม ้ อ
ี านาจจัดการแทน
ผู เ้ สียหาย
ผู เ้ สียหาย
ป.วิ.อ. ม.2(4) “บุคคลผู ไ้ ด้ร ับความเสียหาย
อ ันเนื่ องมาจากการกระทาผิดฐานใดฐานหนึ่ ง
รวมทังบุ ้ คคลอืนที
่ มี่ อานาจจัดการแทนได้ ดัง
บัญญัตไิ ว้ในมาตรา 4, 5 และ 6”
ผู เ้ สียหาย จึงมี 2 ประเภท
่ จริง
1. ผู เ้ สียหายทีแท้
2. ผู ม
้ อ
ี านาจจัดการแทนผู เ้ สียหาย
่ จริง
1. ผู เ้ สียหายทีแท้

หมายถึง บุคคลผู ไ้ ด้ร ับความเสียหาย อ ันเนื่ อ


การกระทาความผิดฐานใดฐานหนึ่ ง(โดยตรง)

2. ผู ม
้ อ
ี านาจจัดการแทนผู เ้ สียหาย

่ ใช่ผูเ้ สียหายทีแท้
หมายถึง บุคคลทีไม่ ่ จริง
ให้มอ ่ จริงได้
ี านาจจัดการแทนผู เ้ สียหายทีแท้
่ ้จริง
หลักเกณฑ ์การพิจารณาการเป็ นผู ้เสียหายทีแท
่ จริงห
การพิจารณาว่าบุคคลใดจะผู เ้ สียหายทีแท้
จะต้องพิจารณาจากหลักเกณฑ ์ด ังต่อไปนี ้


1. มีการกระทาความผิดอาญาเกิดขึน

ให้พจ ้ เป็ นการกระ


ิ ารณาว่าการกระทานัน
บัญญัตวิ า
่ เป็ นความผิดทางอาญา หรือไม่

2. บุคคลนันได้ ร ับความเสียหายอ ันเนื่ องจากก
ความผิดนัน ้
การพิจารณาว่า บุคคลซึงก ่ าลังพิจารณาน
ความเสียหายอน ั เนื่ องมาจากการกระทาความผ

ให้พจิ ารณาจากคุณธรรมของกฎหมายในเรอ
ว่ามีวต ่ ่งจะคุม
ั ถุประสงค ์ทีมุ ้ ครองสิทธิของบุคค

3. บุคคลนันเป็ นผู เ้ สียหายโดยนิ ตน
ิ ย


การทีจะถื
อว่าบุคคลใดเป็ นผู เ้ สียหายในคว
ผิดฐานใดหรือไม่ มิได้พจิ ารณาเพียงแต่ว่าไดม
อน
ั กฎหมายบัญญัตเิ ป็ นความผิด และบุคคลน
ได้ร ับความเสียหายอ ันเนื่ องจากการกระทาคว

แต่บุคคลนันจะต้
องมีฐานะเป็ นผู เ้ สียหายโดย
่ ลก
ด้วย กล่าวคือจะต้องมิได้เป็ นผู เ้ สียหายซึงมี ั ษณ
ใดดงั ต่อไปนี ้
่ ส่วนในการกระทาความผ
ก. ผู เ้ สียหายทีมี

คาพิพากษาฎีกาที่ 1604/2508 โจทก ์จาเลย


ประมาท เป็ นเหตุให้รถชนกันและโจทก ์ ได้ร ับบาดเ

เมือโจทก ์เป็ นผู ก
้ ระทาการโดยประมาท โจทก ์จึงมีส
กระทาผิดทางอาญาด้วย โดยนิ ตน ิ ย
ั ถือไม่ได้วา
่ โจท
หายตามประมวลกฎหมายวิธพ ี จ
ิ ารณาความอาญา
่ นยอมสมัครใจกระทาความผ
ข. ผู เ้ สียหายทียิ

คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 845/2481,643/248
ยอมเสียดอกเบียแก่ ้ ผูใ้ ห้กูเ้ กินอ ัตราในกฎหมายโดย
เป็ นผู เ้ สียหายโดยนิ ตน ิ ยั ไม่มอ ี านาจฟ้องขอให้ลงโทษ
พระราชบัญญัตห ิ า้ มเรียกดอกเบียเกิ ้ นอ ัตราฯ


คาพิพากษาศาลฎีกาที577/2496,1828-182
เข้าวิวาททาร ้ายก ันจะมาฟ้องคูว ่ วิ าทฐานทาร ้ายร่าง
เพราะไม่ใช่ผูเ้ สียหายโดยนิ ตน
ิ ยั
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1083/2510 ผู ต ้ ายกับจา
ชกมวยพนันเอาเงินกันโดยไม่ได้ร ับอนุ ญาต จะถือว่าฝ
หนึ่งเป็ นผู เ้ สียหายตามกฎหมายไม่ได้ บิดาของผู ต
้ าย
ฟ้องคดีแทนผู ต ้ าย
่ วมกระทาผิด หรือใช้ให้กระท
ค. ผู เ้ สียหายทีร่
คาพิพากษาศาลฎีกาที955/2502 ่ หญิง
ยอมให้ผูอ ื่ าให้ตนแท้งลู ก ถือว่าหญิงนันมี
้ นท ้
ส่วนร่วมในการกระทาผิดด้วย จึงมิใช่
ผู เ้ สียหายตามประมวลกฎหมายวิธพ ี จ ิ ารณา
ความอาญา มาตรา 2(4) แม้หญิงนันจะถึ ้ งแก่
ความตาย บิดาของหญิงนันก็ ้ ไม่มส ี ทิ ธิทจะี่
ฟ้องผูคท ้ าพิ
าให้ กาที่ 481/2524 ผู เ้ สียหายใช
หญิงแท้ลูกได้
พากษาศาลฎี
จาเลยนาเงินไปซือสลากกิ ้ นรวบอ ันเป็ นความผิด จึงไม
หายโดยนิ ตน ิ ย ่
ั ทีจะมีสท
ิ ธิร ้องทุกข ์ในความผิดฐานฉ้อ
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1638-1640/2523 จ
ผู เ้ สียหายว่า จาเลยสามารถนาบุตรชายผู เ้ สียหายเ
นายสิบทหารบกได้โดยสอบคัดเลือกพอเป็ นพิธเี ท่าน
เรียกเงินเพือน่ าไปให้คณะกรรมการเพือช่ ่ วยบุตรผ

ให้เข้าเรียนได้ ผู เ้ สียหายหลงเชือมอบเงิ นให้จาเลยไ
ผู เ้ สียหายได้รว่ มกับ จาเลยนาสินบนไปให้เจ้าพนักง
ผู เ้ สียหายจึงมิใช่ผูเ้ สียหายตามกฎหมาย
ผู ม
้ อ
ี านาจจัดการแทนผู เ้ สียหาย

ผู ม
้ อ
ี านาจ ัดการแทนผู เ้ สียหายตามกฎหมายมี 3

1. ผู ม
้ อ ี านาจจัดการแทนตามมาตรา 4
2. ผู ม้ อ ี านาจจัดการแทนตามมาตรา 5
3. ผู ม ้ อ
ี านาจจัดการแทนตามมาตรา 6
อานาจของผู ม
้ อ
ี านาจจัดการแทน

ป.วิ.อ. ม. 3 ผู ม
้ อ
ี านาจจัดการแทนมีอานาจจัดก
ไปนี ้ แทนผู เ้ สียหายทีแท้่ จริงได้ ตามเงื่อนไขทีบั
่ ญญัตไ
1. ร ้องทุกข ์
2. เป็ นโจทก ์ฟ้องคดีอาญา หรือเข้าร่วมเป็ น
โจทก ์กับ
พนักงานอ ัยการ

3. เป็ นโจทก ์ฟ้องคดีแพ่งเกียวเนื ่องกับ
คดีอาญา
4. ถอนฟ้องคดีอาญา หรือคดีแพ่งทีเกี ่ ยวเนื
่ ่อง
กับคดีอาญา
หมายเหตุ

แม้วา ่ ผู ม
้ อ
ี านาจจัดการแทนจะมีอานาจจัดการใน
แทนผู เ้ สียหายทีแท้ ่ จริงได้ แต่จะจัดการในทางทีขั
่ ดกับ
ประสงค ์อ ันแท้จริงของผู เ้ สียหายไม่ได้
1. มาตรา
ผู ม
้ อ
ี านาจจั
ด การแทนตามมาตรา
่ 4 วรรค 2
๔ ในคดีอาญาซึงผู เ้ สียหายเป็ นหญิงมีสามี
้ สท
หญิงนันมี ิ ธิฟ้องคดีได้เองโดยมิตอ้ งได้ร ับอนุ ญาตของ
สามีกอ
่ น
ภายใต้บงั คบ
ั แห่งมาตรา ๕ (๒) สามีมส ี ท
ิ ธิฟ้อง
คดีอาญาแทนภริยาได้ ่ ร ับอนุ ญาตโดยช ัดแจ้ง
ต่อเมือได้
จากภริยา
“สามีมส
ี ท
ิ ธิฟ้องคดีแทนภริยาได้
่ ร ับอนุ ญาตโดยช ัดแจ้งจากภริยา”
ต่อเมือได้

ี่ เ้ สียหายทีแท้
1. ในกรณี ทผู ่ จริงเป็ นหญิงมีสา

ทีจะดาเนิ นคดีอาญาได้เอง ไม่วา ้ั
่ คดีนนจะเกี ่
ยวข้ อง
หรือไม่

2. (หลัก) สามี มีอานาจทีจะจัดการกิ
จการ
ต่างๆตาม ม. 3 แทนภริยาได้
ป.วิ.อ. ม. 3 “ผู ม
้ อ
ี านาจจัดการแทนมีอานาจจัดกา
ไปนี ้ แทนผู เ้ สียหายทีแท้
่ จริงได้ ตามเงือนไขที
่ ่ ญญัต
บั
1. ร ้องทุกข ์
2. เป็ นโจทก ์ฟ้องคดีอาญา หรือเข้าร่วมเป็ นโจทก ์ก
งานอัยการ

3. เป็ นโจทก ์ฟ้องคดีแพ่งเกียวเนื ่
องกับคดีอาญา
4. ถอนฟ้องคดีอาญา หรือคดีแพ่งทีเกี ่ ยวเนื
่ ่
องก
5. ยอมความในคดีความผิดต่อส่วนตัว”

ยกเว้นแต่ ในเรืองการฟ ึ่
้ องคดีซงจะต้อง
ได้ร ับอนุ ญาต โดยช ัดแจ้งจากภริยาเสียก่อน จึง
จะจัดการได้
3. การอนุ ญาตให้ฟ้องคดี จะกระทาด้วยวิธใี ดๆก
กฎหมายไม่ได้กล่าวว่าต้องอนุ ญาตเป็ นหนังสือ
้ ไม่จาต้องทาเป็ นหนังสือ จะอนุ ญา
เพราะฉะนันก็
ก็ได้
4. ภริยาสามารถอนุ ญาตให้สามีฟ้องคดีแทนต
วรรค 2 ได้ทุกลักษณะความผิด
“สามีมส
ี ท
ิ ธิฟ้องคดีแทนภริยาได้
่ ร ับอนุ ญาตโดยช ัดแจ้งจากภริยา”
ต่อเมือได้

ป.วิ.อ. มาตรา 5(2)


“ผู บ้ ุพการี ผู ส
้ บ
ื สันดาน สามีหรือภริยา เฉพาะ
่ เ้ สียหายถูกทาร ้ายถึงตายหรือบาดเจ็บจน
อาญาซึงผู
การเองได้”
ี่
5. สามีทจะมี
สท ิ ธิฟ้องคดีแทนภริยา หมายถึง
ทะเบียนสมรสก ับภริยา โดยไม่ตอ ้ งพิจารณาผลของก
จะมีผลประการใด

และแม้วา ้
่ การกระทาความผิดต่อหญิงจะเกิดขึน
จดทะเบียนสมรส สามีกม
็ อ
ี านาจจัดการแทนภริยาได
ี่
6. ในกรณี ทสถานะภาพการเป็ นสามีภริยาได้
้ ดลง
สินสุ
อานาจการจัดการของสามีแทนภริยาตามมาตรา 4
้ ดลง
วรรค 2 และมาตรา 3 เป็ นอ ันสินสุ
้ ดลงแล
เพราะ ฐานะของการเป็ นสามีภริยา สินสุ
ให้อานาจจัดการแทน สินสุ้ ดลงด้วย

อาทิเช่น ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดตายตาม ป.พ.พ. มาต


มีการหย่า
ดู ม.29 ว.2

ตัวอย่างเช่น นางแดง ถูกนายดายักยอก


ทร ัพย ์ นางแดงอนุ ญาต
ให้นายขาวสามีฟ้องคดีแทน ระหว่างดาเนิ นคดีใน
้ั
ชนศาล นางแดง
ประสบอุ
มาตรา ๒๙ บต
ั เิ เมื
หตุ่ ถ
อผู เ้ สีงึ ยแก่ความตาย
หายได ่ องแลเช่
้ยืนฟ้ นนี ้ ผูนายขาว
้วตายลง บ้ ุพการี
สามารถที
ผูส้ บ ่ สามีาเนิ
ื สันดานจะด หรือน ภริยาจะดาเนิ นคดีตา่ งผู ้ตายต่อไปก็ได ้
คดีตอ ่ ไปได้จนเสร็จสินได้ ้ หรือไม่

ถ ้าผูเ้ สียหายทีตายนั ้นเป็ นผูเ้ ยาว ์ ผูว้ ก
ิ ลจริต หรือผูไ้ ร ้
ความสามารถ ซึงผู ่ แ้ ทนโดยชอบธรรม ผูอ้ นุ บาลหรือผูแ้ ทน
่ องแทนไว ้แล ้ว ผูฟ
เฉพาะคดีได ้ยืนฟ้ ้
้ ้ องแทนนันจะว่ าคดีตอ ่ ไป
แต่ถา้ นายขาวยังไม่ได้ฟ้องคดี นางแดงถึงแก่คว
เช่นนี ้ นายขาวจะมีสท
ิ ธิฟ้องคดีตอ
่ ไปได้หรือไม่ ?

-ไม่สามารถใช้มาตรา 29 ได้ เนื่องจากยังไม่ได

ถ ้าสามีไปร ้องทุกข ์ จะได ้หรือไม่?


7. ภริยาไม่มอ ่
ี านาจตามกฎหมายทีจัดการแทน
่ นเรือง
สามีจะได้มอบอานาจให้ภริยาจัดการแทน ซึงเป็ ่
ให้เป็ นตัวแทนดาเนิ นคดี

ป.วิ.อ. มาตรา 5 บุคคลเหล่านี จัดการแทนผู เ้ สียหายไ
(1)ผู แ้ ทนโดยชอบธรรม ผู อ้ นุ บาล เฉพาะแต่ใน
่ ่ในคว
ได้กระทาต่อผู เ้ ยาว ์ ผู ไ้ ร ้ความสามารถ ซึงอยู
(2)ผู บ้ ุพการี ผู ส ้ บื สันดาน สามีหรือภริยา เฉพา
ผิดอาญาซึงผู ่ เ้ สียหายถูกทาร ้ายถึงตายหรือบาดเจ
จัดการเองได้
(3)ผู จ้ ด ่
ั การ ผู แ้ ทนอืนๆของนิ ตบิ ุคคล เฉพาะค
ได้กระทาลงแต่นิตบ ิ ุคคลนัน้
ผู ม
้ อ
ี านาจ ัดการแทนตามมาตรา 5 (1)

ี่ เ้ สียหายทีแท้
ในกรณี ทผู ่ จริงมีฐานะเป็ นผู เ้ ยาว ์ ห
สามารถ บุคคลด ังกล่าวไม่สามารถทีจะด ่ าเนิ นคดีอาญ
้ เพราะมี
ไว้ในมาตรา 3 เองได้ ทังนี ้ ความสามารถไม่บร
และ การดาเนิ นคดีอาญาอาจจะเกิดความเสียหา
ผู เ้ ยาว ์ หรือผู ไ้ ร ้ความสามารถได้

1. บุคคลใดจะมีฐานะเป็ นผู แ
้ ทนโดยชอบธรรม แล
ต้องพิจารณาจากบทบัญญัตข ิ องกฎหมายว่าหมายถ
้ ทนโดยชอบธรรม ได้แก่บุคคลหนึ่งบุคคลใดด ัง
1.1 ผู แ

1.1.1 บิดามารดาโดยชอบด้วยกฎหมาย

สาหร ับบิดา ได้แก่ บิดาโดยชอบด้วยกฎหมาย ซ



-บิดาทีจดทะเบียนสมรสกับมารดาขอ
-จดทะเบียนร ับเด็กว่าเป็ นบุตร หรือ
-ศาลพิพากษาว่าเป็ นบุตร

่ นมารดาของเด็ก
สาหร ับมารดา ได้แก่ หญิงซึงเป็
คาพิพากษาฎีกาที ่ 2882/2527 บิดาของผู เ้ ยาว
จดทะเบียนสมรสกับมารดาของผู เ้ ยาว ์ทังไม่ ้ ปรากฏว่าไ
จดทะเบียนว่าผู เ้ ยาว ์เป็ นบุตรหรือศาลพิพากษาว่าผู เ้ ย
ไม่เป็ นผู แ้ ทนโดยชอบธรรมของผู เ้ ยาว ์ และไม่มอ ี านาจ
ร ้องทุกข ์แทนผู เ้ ยาว ์ในความผิดฐานข่มขืนกระทาชา
มาตรา 276 วรรคแรก จึงถือได้วา่ ไม่มค ี าร ้องทุกข ์ พน
ไม่มอี านาจสอบสวน และพนักงานอัยการไม่มอ ี านาจย
1.1.2 ผู ป
้ กครอง

ในกรณี ท ี่ ผู เ้ ยาว ์ไม่มบ


ี ด
ิ ามารดา หรือมีแต่บด
ถูกถอนอานาจปกครอง
ผู แ
้ ทนโดยชอบธรรมได้แก่ ผู ป
้ กครอง (ถ้ามีก
โดยศาล) ตาม ป.พ.พ มาตรา 1585, 1586, 1598
1.1.3 ผู ร้ ับบุตรบุญธรรม

ผู ร้ ับบุตรบุญธรรมจะมีฐานะเป็ นผู แ
้ ทนโดยชอบ
ตามมาตรา 5(1) เฉพาะกรณี ทบุ ี่ ตรบุญธรรมยังเป็ น

ส่วนบิดามารดาโดยกาเนิ ดนันหมดอ านาจปก
่ กเป็ นบุตรบุญธรรมตามมาตรา 1
นับแต่ว ันเวลาทีเด็
“...ให้บดิ ามารดาโดยกาเนิ ดหมดอานาจปก
แต่วน ่ กเป็ นบุตรบุญธรรม”
ั เวลาทีเด็
1.2 ผู อ ้ นุ บาล ได้แก่ ผู ม
้ ห ่
ี น้าทีจัดกิ
จการแทน
ผู ว้ ก ่
ิ ลจริต ทีศาลสั่ เป็ นคนไร ้ความสามารถ
งให้
ตาม ป.พ.พ. มาตรา 28
2. ผู แ
้ ทนโดยชอบธรรม และผู อ
้ นุ บาลมีอานาจจัด
ได้ทุกลักษณะความผิด
-ไม่วา ้ เ้ ยาว ์ หรือผู ไ้ ร ้ความสามาร
่ ความผิดนันผู
ร ้ายถึงตาย หรือบาดเจ็บจนไม่สามารถจัดการเองได้หร
ป.วิ.อ. มาตรา 5(2)
“ผู บ้ ุพการี ผู ส
้ บ
ื สันดาน สามีหรือภริยา เฉพาะ
่ เ้ สียหายถูกทาร ้ายถึงตายหรือบาดเจ็บจน
อาญาซึงผู
การเองได้”
3. ในกรณี ท ี่ ผู เ้ ยาว ์ หรือผู ไ้ ร ้ความสามารถถึงแ
ก่อนที่ ผู แ
้ ทนโดยชอบธรรม หรือผู อ ้ นุ บาล จะจัดการเ
การจัดการแทน ของผู แ ้ ทนโดยชอบธรรม และ ผู อ ้ นุ บ
้ ดลง
สินสุ
เพราะฐานะการเป็ นผู แ
้ ทนโดยชอบธรรม และผ
้ ดลงด้วยความตาย ของผู เ้ ยาว ์ และผู ไ้ ร ้ควา
ย่อมสินสุ
เดียวกัน
้ ดลงเมือผ
มาตรา 1958/6 “ความปกครองสินสุ ่
ปกครองตาย หรือบรรลุนิตภ
ิ าวะ”

เช่น ผู เ้ ยาว ์ถูกหน่ วงเหนี ยวกั กขัง ระหว่างทีผู่ แ้ ทน
ยังมิได้มก ี ารฟ้องคดี ผู เ้ ยาว ์ได้ถงึ แก่ความตายด้วยอุบต ั
โดยชอบธรรมไม่มอ ่ ้องทุกข ์ หรือฟ้องคดีแทน
ี านาจทีจะร
ฐานะความเป็ นผู แ้ ทนโดยชอบธรรมได้สนสุ ิ ้ ดลงแล้วด้วย
ผู เ้ ยาว ์
แต่ถา้ ผู แ
้ ทนโดยชอบธรรมได้ฟ้องคดีไว้กอ
่ นแล
ผู แ
้ ทนโดยชอบธรรมสามารถดาเนิ นต่อไปได้ ตาม ป.

ป.วิ.อ. มาตรา 29 วรรค 2 “ถ้าผู เ้ สียหายทีตายน
่ แ้ ทนโดยชอบธรรมได้ยนฟ
.......ซึงผู ื ่ ้ องคดีแทนไว้แล้ว
จะว่าคดีตอ ่ ไปก็ได้”
ี่ เ้ ยาว ์ ผู ไ้ ร ้ความสามารถ
4. ในกรณี ทผู
ไม่มผ ี ูแ
้ ทนโดยชอบธรรม หรือผู อ ้ นุ บาล
นอกจากการดาเนิ นการร ้องขอให้ศาลตง้ั
ผู ป
้ กครอง หรือผู อ
้ นุ บาลแล้ว

้ แ
อาจร ้องขอให้ศาลตังผู ้ ทนเฉพาะคดีได้
อีก ทางหนึ่งด้วย เพือให้
่ มอ ี านาจจัดการแทน
่ จริงนันได้
ผู เ้ สียหายทีแท้ ้ ตาม ป.วิ.อ.ม.6
“ผู บ
้ ุพการี ผู ส
้ บ
ื สันดาน สามีหรือภริยา เฉพาะแ
่ เ้ สียหายถูกทาร ้ายถึงตาย หรือบาดเจ็บจนไม่สาม
ซึงผู
่ แก่ การที่
ซึงได้
-ผู บ
้ ุพการี จัดการแทน ผู ส
้ บ
ื สันดาน หรือ
-ผู ส้ บ
ื สันดาน จัดการแทน ผู บ้ ุพการี หรือ
-สามี จัดการแทน ภริยา หรือ
-ภริยา จัดการแทน สามี
ี่ เ้ สียหายทีแท้
1. ในกรณี ทผู ่ จริง ถูกทาร ้ายถึงตาย

จนไม่สามารถทีจะจัดการคดี ่
อาญาเองได้ ผู เ้ สียหายทีแ
จัดการคดีอาญาด้วยตนเองไม่ได้

กฎหมายจึงให้อานาจบุพการี ผู ส้ บ
ื สันดาน สามี
่ จริงมีอานาจทีจะจัดการคดี
ของผู เ้ สียหายทีแท้ ่ อาญาแ
่ จร
คานึ งถึงอายุ หรือความสามารถของผู เ้ สียหายทีแท้
2. บุพการี ผู ส้ บ
ื สันดาน สามี ภริยา ของ
่ จริง จะมีอานาจจัดการ
ผู เ้ สียหายทีแท้
คดีอาญาแทนได้ เฉพาะความผิดทีกระท ่ าลง
่ จริงถึงแก่ความตาย
เป็ นเหตุให้ ผู เ้ สียหายทีแท้
หรือบาดเจ็บจดไม่สามารถจัดการเองได้
เท่านัน ้ “ถูกทาร ้ายถึงตาย” หมายถึง
ความผิดทุกลักษณะอันเป็ นเหตุให้
ผู เ้ สียหายถึงแก่ความตาย โดยไม่ตอ้ ง
พิจารณาว่าผู ก ้ ระทาความผิดจะต้องมี
เจตนาประสงค ์ต่อผลหรือเล็งเห็นผลให้
ผู เ้ สียหายถึงแก่ความตาย หรือไม่
“บาดเจ็บจนไม่สามารถจะจัดการเองได้” หมายถ

ได้ร ับการบาดเจ็บ จนไม่สามารถทีจะจัดการได้ดว้ ยตน

การบาดเจ็บไม่จาเป็ นต้องถึงเป็ นอน


ั ตรายสาหัส

พิจารณาข้อเท็จจริงเป็ นเรืองๆไป ว่าในขณะทีผู่ ม
้ อ
ี า
จะเข้าจัดการแทนนัน้ ผู เ้ สียหายบาดเจ็บจนไม่สามาร
ได้หรือไม่
3. บุคคลผู ม ี านาจจัดการแทน ตาม ม. นี ้ ได้แก่ บ
้ อ

-ผู บ
้ ุพการี ได้แก่ ผู ส
้ บ ้
ื สายโลหิตโดยตรงขึนไป
บิดามารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด โดยไม่ตอ ้ งพิจารณา
กฎหมาย (พิจารณาตามความเป็ นจริง)

แต่ผูบ
้ ุพการีไม่มค
ี วามหมายรวมถึง ผู ร้ ับบุตร
ผู ร้ ับบุตรบุญธรรมจะมีฐานะเป็ นผู แ
้ ทนโดยชอบธรร
คาพิพากษาฎีกาที่ 1384/2516 (ประชุมใหญ่) ผ
ป.วิ.อาญา มาตรา 5(2) นันหมายถึ ้ งผู บ
้ ุพการีตามคว
แม้ผูต ้ ายจะมิใช่บุตรโดยชอบด้วยกฎหมายของโ
ก็เป็ นผู บ
้ ุพการีของผู ต
้ ายตามความเป็ นจริง เมือผู ่ ต
้ าย
ถึงแก่ความตายโจทก ์ซึงเป็ ่ นผู บ ้ ุพการีตามความเป็ นจ
มีอานาจฟ้องคดีแทนผู ต ้ ายได้
-ผู ส
้ บ
ื สันดานได้แก่ ผู ส้ บ
ื สายโลหิตโดยตรงลงม
ตามความเป็ นจริง
แต่ผูส
้ บ ่
ื สันดานทีจะมี อานาจจัดการแทน
จะต้องเป็ นผู บ
้ รรลุนิตภิ าวะแล้ว
-สามีภริยาต้องจดทะเบียนสมรสก ัน ตาม ป.พ.พ
(ฎ1056/2504,1335/2494) โดยไม่พจ ิ ารณาผลขอ
เป็ นโมฆะ หรือโมฆียะ
4. ผู บ
้ ุพการี ผู ส
้ บ
ื สันดาน สามี ภริยา ของผู เ้ สีย
อานาจจัดการคดีอาญาได้ทุกคน เพราะกฎหมายมิได
หลังเอาไว้
เช่น
นางแดง ถูกนายดาทาร ้าย เป็ นเหตุให้นางแดง
ตัวอยู ่ในห้องฉุ กเฉิ น 10 วัน ถ้านางแดงมีสามีคอ
ื น
บิดามารดา คือ นายทอง และนางเงิน ตามลาด ับ เช
นายทอง และนางเงิน มีอานาจจัดการแทนนางแดงไ
้ ควร
แต่หากบุคคลใดเข้าจัดการแล้ว บุคคลนันก็

เพียงคนเดียว บุคคลอืนไม่ มอ
ี านาจจัดการอีกต่อไป

จากตัวอย่าง ถ้านายขาวเข้าร ้องทุกข ์ต่อเจ้าพน


แล้ว เช่นนี ้ นายทอง และนางเงิน ไม่มอ ี านาจจัดการ
อีกต่อไป จนกว่านายขาวไม่ประสงค ์จะจัดการอีกต่อไป
จัดการในทางทีฝ ่ ่ าฝื นความประสงค ์ของนางแดง
5. ผู บ
้ ุพการี สืบสันดาน สามี ภริยา
่ จริงเท่านัน
หมายถึงเฉพาะของผู เ้ สียหายทีแท้ ้
ส่วนผู บ
้ ุพการี สืบสันดาน สามี ภริยา ของผู ม
้ ี
่ อยู ่
อานาจจัดการแทนผู เ้ สียหายอีกทอดหนึ งไม่
ในความหมายของมาตรานี ้
6. บุคคลผู ม
้ อ ่ จร
ี านาจจัดการแทนผู เ้ สียหายทีแท้
กาหนดต ัวบุคคลผู ม้ อ
ี านาจจัดการแทนไว้โดยเฉพาะ
้ คคลอืนที
ดังนันบุ ่ มิ่ ได้มฐี านะเช่นนัน
้ จึงไม่มอ
ี านา
่ จริงได้
ผู เ้ สียหายทีแท้

คาพิพากษาฎีกาที่ 890/2495 พีเขยของผู


่ ต
้ าย
ผู ต
้ ามมาตรา 5(2) ไม่ได้
คาพิพากษาฎีกาที่ 2331/2521 บิดา
ผู เ้ สียหายเป็ นโจทก ์ยืนฟ ่ ้ องจาเลยในความผิด
ฐานฆ่าผู เ้ สียหายถึงแก่ความตายโดยเจตนา
ในฐานะผู จ ้ ัดการแทนผู เ้ สียหายตาม ป.วิ.อ
มาตรา 5(2) นัน ้
่ ดาผู เ้ สียหายตายลงระหว่าง
เมือบิ
พิจารณา ผู ร้ ้องซึงเป็ ่ นบุตรของบิดา

ผู เ้ สียหาย(พีชายผู เ้ สียหาย) หามีสท
ิ ธิ
ดาเนิ นคดีตา ่ งบิดาผู เ้ สียหายต่อไปตาม
ความหมายตาม ป.วิ.อ.ม.29ไม่ เพราะบิดา
ผู เ้ สียหายเป็ นผู จ ่ ก
้ ัดการแทนผู เ้ สียหาย ซึงถู
ตัวอย่าง
นาย ก. อายุ 17 ปี ประสบอุบต
ั เิ หตุถูกนาย
ขับรถชนถึงแก่ความตาย โดย นาย ก. เป็ นบุตรอ ันช

ของนายขาว นางแดง ซึงนายทองพี ่
ชายนายขาว ได
้ั
บุตรบุญธรรม ตงแต่ ขณะนาย ก. อายุได้ 10 ปี เช่นน
อานาจจัดการคดีอาญาแทนนาย ก. ได้ ?
นายทอง จัดการตาม ม.5(1)ไม่ได้ เพราะ
ฐานะของการเป็ น
ผู แ ้ ดลงเมือ
้ ทนโดยชอบธรรมสินสุ ่ นาย ก. ถึง
นายขาว
แก่ นางแดง
ความตาย จัดการได้ ตาม ป.วิ.อ.ม.5(2)
ตัวอย่าง
นาย ก. อายุ 17 ปี ประสบอุบต ั เิ หตุถูกนาย
ขับรถชนถึงแก่ความตาย โดย นาย ก. เป็ นบุตรอ ันช
้ั
ของนายขาว นางแดง แต่ทงสองคนเสี ยชีวต ้ั
ิ ตงแต่ขณ
ได้ 2 ขวบ ศาลจึงตง้ั นายทอง เป็ นผู ป
้ กครอง นาย ก.
จะจัดการคดีอาญาแทนนาย ก. ได้หรือไม่ ?

นายทอง จัดการ ตาม ม.5(1)ไม่ได้เพราะ


ฐานะการเป็ น
ผู แ ้ ดลงเมือ
้ ทนโดยชอบธรรมสินสุ ่ นาย ก. ถึง
นายทอง
แก่ความตายมิได้มฐ
ี านะเป็ นบุพการีจงึ จัดการ ตาม ม.5
ตัวอย่าง
นาย ก. อายุ 17 ปี ถูกนายดายักยอกทร ัพ
ยังไม่มก
ี ารร ้องทุกข ์ นาย ก. ประสบอุบตั เิ หตุถงึ แก่ควา
นาย ก. เป็ นบุตรอ ันชอบด้วยกฎหมาย ของนายขาว

นายทองพีชายนายขาว ได้ขอ นาย ก. เป็ นบุตรบุญธ
นาย ก. อายุได้ 10 ปี เช่นนี ้ บุคคลใดจะมีอานาจจัดกา
นาย ก. ได้ ?
นายทอง จัดการตาม ม.5(1)ไม่ได้ เพราะ ฐานะของ
ผู แ ้ ดลงเมือ
้ ทนโดยชอบธรรมสินสุ ่ นาย ก. ถึงแก่ควา

นายขาว นางแดง จัดการม.5(2) ไม่ได้ เพราะการ


ไม่ได้ทาให้นาย ก. ถึงแก่ความตาย
มาตรา 5 (3) “ผู จ้ ด ่ ของน
ั การหรือผู แ้ ทนอืนๆ

เฉพาะความผิดซึงกระท าลงแก่นิตบ
ิ ุคคลนัน”้

1. ในกรณี ทนิ ี่ ตบ
ิ ุคคลเป็ นผู เ้ สียหายทีแท้่ จริง ผู ม
้ อ
แทนนิ ตบ ิ ุคคลได้แก่ ผู จ ้ ัดการหรือผู แ ่
้ ทนอืนของนิ ตบิ ุค
้ ผู ถ
ด ังนัน ้ อ
ื หุน
้ มิได้มฐ ี านะเป็ นผู แ้ ทนของนิ ตบ ิ ุคคล
คาพิพากษาฎีกาที่ 610/2515 หุน ้ ส่วนผู จ
้ ัดการเ
ส่วนจากัดมีอานาจร ้องทุกข ์ได้ หุน ่ ใช่หน
้ ส่วนทีไม่ ุ ้ ส่ว
อานาจร ้องทุกข ์
2. ในกรณี ทผู ี่ แ ้ ทนของนิ ตบิ ุคคล เป็ นผู ก
้ ระทาควา
เอง อาทิเช่น ผู จ้ ัดการยักยอกทร ัพย ์สินของห้าง ย่อมเ
นิ ตบ
ิ ุคคลย่อมไม่ดาเนิ นคดีตอ ่ ตนเองอย่างแน่ นอน
้ อว่าผู ถ
เช่นนี ถื ้ อ
ื หุน
้ มีอานาจจัดการแทนนิ ตบ ิ ุคคลไ
คาพิพากษาฎีกาที่ 115/2535 กรณี ผูจ ้ ัดการแล
ความผิดอาญาฐานยักยอก อ ันเป็ นการกระทาต่อบริษ
ได้ช ัดว่าผู ก
้ ระทาความผิดจะไม่ฟ้องคดีแทนนิ ตบ ิ ุคคล
กรรมการอืน ่ หรือผู ถ
้ อ
ื หุน้ คนใดคนหนึ่งซึงมี
่ ประโยชน
้ อมได้ร ับความเสียหาย จึงมีสท
บุคคลนันย่ ิ ธิฟ้องคดีอาญ
ทุกข ์ หรือถอนคาร ้องทุกข ์ อ ันมีผลทาให้คดีอาญาระง
กล่าวมิใช่กรรมการผู ม ้ อ
ี านาจกระทาการแทนบริษท ั โ
3. การทีผู ่ จ ้ ัดการ หรือผู แ ้ ทนของนิ ตบ ิ ุคคลได้
จัดการไปประการใดแล้วย่อมมีผลผู กพันนิต ิ
บุคคลนันด้้ วย ด ังนันแม้
้ ตอ ่ มาจะมีการเปลียน ่
ผู แ
้ ทนนิ ตบ ิ ุคคลคนใหม่ ผู แ ิ ุคคลที่
้ ทนนิ ตบ
ได้ร ับการแต่งตงใหม่ ้ั กไ็ ม่อาจจะเปลียนแปลง ่
ผลแห่งการจัดการทีผู ่ จ ้ ัดการ หรือผู แ ้ ทนอืนๆ ่
ของนิ ตคบิาพิ
ุคคลคนเดิ
พากษาฎีมก ได้
าที จ 115/2535
ัดการไปแล้
่ วได้
ห้าง
หุน
้ ส่วนร ้องทุกข ์ดาเนิ นคดีกบั ผู จ้ ด
ั การใน
ความผิดอันยอมความได้ ต่อมาถอนคาร ้อง
ทุกข ์สิทธินาคดีอาญามาฟ้องย่อมระงับซึง่
ส่งผลให้นิตบ ิ ุคคลโดยกรรมการผู จ้ ด ั การ
คนใหม่จะดาเนิ นคดีตอ ่ ไปใหม่ไม่ได้
4. ผู จ
้ ัดการหรือผู แ ่
้ ทนอืนๆของนิ ตบ
ิ ุคคลจะมอบอา
การแทนตนก็ได้
ในกรณี ทผู ี่ เ้ สียหายทีแท้
่ จริงเป็ นผู เ้ ยาว ์
คนวิกลจริต หรือคนไร ้ความสามารถ
ผู เ้ สียหายจะจัดการคดีอาญาเองไม่ได้ ต้องให้
ผู แ ้ ทนโดยชอบธรรม หรือผู อ ้ นุ บาลจัดการ
แทนตาม ป.วิเ้ สี
หากผู .อ.
ยหายซึมาตรา่ 5(1)
งเป็ นผู เ้ ยาว ์ คน
วิกลจริต หรือคนไร ้ความสามารถ นันไม่ ้ มี
ผู แ ้ ทนโดยชอบธรรม หรือผู อ ้ นุ บาล ตาม
มาตรา 5(1) ทีจะจัดการแทน่ จะต้องมีการ
ดาเนิ นการตังผู ้ แ ้ ทนเฉพาะคดีเพือให้ ่ มี
อานาจจัดการแทน
้ั แ
การตงผู ้ ทนเฉพาะคดีมเี งื่อนไขด ังนี ้

่ จริงจะต้องเป็ นเป็ นผู เ้ ยาว ์ คนวิก


1. ผู เ้ สียหายทีแท้
คนไร ้ความสามารถ
ผู เ้ ยาว ์ คนวิกลจริต หรือคนไร ้ความสามมารถเป
อานาจจัดการแทน(เป็ นผู ส ้ บ
ื สันดาน) จะตงผู ้ั แ
้ ทนเฉพ

เพือให้ มอ ี านาจจัดการแทนไม่ได้
2. ผู เ้ ยาว ์ คนวิกลจริต หรือคนไร ้ความสามารถ
1.)ไม่มผ ี ูแ
้ ทนโดยชอบธรรม หรือผู อ ้ นุ บาล
2.)มี แต่ผูแ ้ ทนโดยชอบธรรม หรือผู อ ้ นุ บาล
ทาตามหน้าทีได้ ่ หรือ
3.)มี แต่ผูแ ้ ทนโดยชอบธรรม หรือผู อ ้ นุ บาล
ประโยชน์ขด ั กับผู เ้ ยาว ์ หรือคนไร ้ความสามารถนัน ้
3. ขณะทีมี ่ การร ้องขอให้ศาลตงผู ้ั แ ้ ทน
เฉพาะคดีนน ้ั ผู เ้ ยาว ์ คนวิกลจริตหรือผู ไ้ ร ้
ความสามารถจะต้องยังคงมีชวี ต ิ อยู ่
หากผู เ้ ยาว ์ผู ว้ ก
ิ ลจริต หรือคนไร ้
ความสามารถถึงแก่ความตายไปแล้วไม่
สามารถร ้องขอให้ศาลตงผู ้ั แ้ ทนเฉพาะคดี
ได้เนื่องจากไม่มเี หตุจะตงผู ้ั แ ้ ทนเฉพาะคดี
คาพิพากษาฎีกาที่ 1625/2532 การร ้องขอตงผ ้ั
คดีของผู ว้ กิ ลจริตตามประมวลกฎหมายวิธพ ี จ ิ ารณาค
้ องเป็ นกรณี ผูว้ ก
นันต้ ิ ลจริตยังมีชวี ต ้
ิ อยู ่ ฉะนันการที ่
แก่กรรมไปก่อนวันนัดไต่สวนคาร ้องของตงผู ้ั แ ้ ทนเฉพ

แล้ว ดังนี ้ ไม่อาจตังโจทก ์เป็ นผู แ ้ ทนเฉพาะคดีของ ต.
ผู แ
้ ทนเฉพาะคดีทฟ ี่ ้ องแทนผู เ้ สียหายจะม

ผู เ้ สียหายทีตายลงต่ อไปได้ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 29 นั่น
ี่
กรณี ทศาลได้ ้ั แ
ตงผู ้ ทนเฉพาะคดีของผู เ้ สียหายไว้กอ ่ น
ตาย หาได้หมายรวมถึงกรณี ผูเ้ สียหายได้ตายไปก่อน
เฉพาะคดีดว้ ยไม่

ข้อสังเกตเกียวกั ่
บเรือง
ผู เ้ สียหาย และผู ม
้ อ
ี านาจ
จัดการแทน
ข้อสังเกต


1. ในความผิดอ ันเกียวกับทร ัพย ์ หากผู เ้ สียห
ก่อนร ้องทุกข ์ ทายาทสามารถร ้องทุกข ์และถอนคา

ในความผิดอ ันเกียวกับทร ัพย ์แทนผู เ้ สียหายทีแท้ ่ จ

เพราะเป็ นสิทธิอ ันเกียวกับทร ัพย ์สิน(ฎ11/2518) แ
จะฟ้องคดีแทนผู เ้ สียหายไม่ได้ (878/2515
ตัวอย่างเช่น นางแดง ถูกนายดายักยอก
ทร ัพย ์ นางแดงอนุ ญาต

ให้นายขาวสามีฟ้องคดีแทน ระหว่างทีนายขาว
กาลังเตรียมการฟ้องคดี นางแดงประสบอุบต ั เิ หตุ
ถึงแก่คนายขาว
วามตายจะฟ
เช่น นี ้
้ องนายดาต่อศาล ได้หรือไม่ ?

นายขาว จะร ้องทุกข ์นายดาต่อเจ้าพนักงาน ได้ห


ตัวอย่าง
นาย ก. อายุ 17 ปี ถูกนายดายักยอกทร ัพ
ยังไม่มก
ี ารร ้องทุกข ์ นาย ก. ประสบอุบตั เิ หตุถงึ แก่ควา
นาย ก. เป็ นบุตรอ ันชอบด้วยกฎหมาย ของนายขาว

นายทองพีชายนายขาว ได้ขอ นาย ก. เป็ นบุตรบุญธ
นาย ก. อายุได้ 10 ปี เช่นนี ้ บุคคลใดจะมีอานาจจัดกา
นาย ก. ได้ ?
นายทอง จัดการตาม ม.5(1)ไม่ได้ เพราะ ฐานะของ
ผู แ ้ ดลงเมือ
้ ทนโดยชอบธรรมสินสุ ่ นาย ก. ถึงแก่ควา

นายขาว นางแดง จัดการม.5(2) ไม่ได้ เพราะการ


ไม่ได้ทาให้นาย ก. ถึงแก่ความตาย
2. ในกรณี ผูเ้ สียหายทีแท้ ่ จริงเป็ นผู เ้ ยาว ์ ผู เ้ ยาว ์ไ
ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 3 เองได้ ผู แ ้ ทนโดยชอบธรรมจะต
แทนจัดการให้(ฎ 1123/2479)และแม้จะได้ร ับอนุ ญา
ชอบธรรม ผู เ้ ยาว ์ก็ไม่สามารถทาได้(ฎ 563/2517)

เว้นแต่ผูเ้ ยาว ์นันจะมี
อายุพอสมควร ผู เ้ ยาว ์มีสท ิ
หรือถอนคาร ้องทุกข ์ได้ด ัวยตนเอง(ฎ 214/2494)
ี่ เ้ สียหายทีแท้
3. ในกรณี ทผู ่ จริงได้ยนฟ
ื่ ้ องคดีตอ
่ ศา
ตายลงระหว่างการพิจารณา บุคคลต่างๆตามทีระบุไว้ ่ ใ
สามารถดาเนิ นคดีตอ ่ ไปได้ (การร ับมรดกความ)
4. ในกรณี ทบุ ี่ คคลผู ไ้ ด้ร ับความเสียหายมิได้เป็
แท้จริง ผู ม
้ อ ี านาจจัดการแทน และผู ร้ ับมอบอานาจให

มีอานาจทีจัดการแทนบุ คคลด ังกล่าวเช่นเดียวกัน

คาพิพากษาฎีกาที่ 1083/2510 ผู ต ้ ายกับจาเล


เอาเงินกันโดยมิได้ร ับอนุ ญาต จะถือว่าฝ่ายใดฝ่ายหน
ตามกฎหมายไม่ได้ เมือผู ่ ต้ ายถึงแก่ความตายเพราะก
ผู ต
้ ายไม่ใช่ผูเ้ สียหายตามกฎหมาย บิดาผู ต ้ ายไม่มอ
ี า
ผู ต้ ายได้
2. ผู ต้ อ
้ งหา จาเลย และสิทธิของ
ผู ต
้ อ
้ งหา จาเลย
• ผู ้ ต ้ อ ง ห า ห ม า ย ถึ ง บุ ค ค ล ผู ้ ถู ก
กล่าวหาว่าได้กระทาความผิด แต่ยงั
ไม่ ไ ด้ถู ก ฟ้ องต่ อ ศาล(ป.วิ. อ.มาตรา
2(2))
• จากความหมายของผูต
้ อ้ งหาดังกล่าว จะเห็ นไดว้ ่า
ผู ต ้ งหานั้ นเป็ นเพี ย งผู ต
้ อ ้ อ
้ งสงสัย ว่ า ได ก ้ ระท า
ความผิดเท่านั้น แต่การทีเขาจะกระท
่ าความผิดจริง
หรือไม่ น้ั น ยังไม่ ไ ด ร้ บ
ั การพิ สู จ น์ข อ้ เท็ จ จริง และ
พยานหลักฐานต่างๆโดยศาล ซึงผู ่ ต้ ้องหานั้นถือเป็ น
่ กฟ้องคดียงั ศาล
• จาเลย คือ บุคคลทีถู
โดยข้อหาว่าได้กระทาความผิดอาญา
(ป.วิ.อ.มาตรา 2(3))
้ ต่ อ ม า
• จา ก มี ก า ร ท า คว า มผิ ด ตา มก ฎ ห มา ย ขึ น
เจ า้ หน้า ที่ต ารวจท าการสืบ สวนสอบสวนหาตัว ผู ท ้ า
ความผิด เมือรู ่ ้ตัวว่าใครเป็ นผูท้ าความผิด ก็จะทาการ
แจ ้งข ้อกล่าวหาว่า ได ้ทาความผิด เมือเจ ่ ้าหน้าทีตรวจ

แจ ง้ ข อ้ กล่ า วหาแล ว้ ผู ห ้ าว่ า ได ท
้ าความผิ ด ก็ จ ะตก
เป็ นผู ต ้ อ้ งหา แล ว้ เจ า้ หน้ า ที่ ต ารวจก็ จ ะรวบรวม
พ ย า น ห ลั ก ฐ า น ต่ า ง ๆ ต่ อไ ป เ มื่ อ ร ว บ ร ว ม
พยานหลักฐานต่างๆ เสร็จแลว้ เห็ นว่าเรืองดั ่ งกล่าวมี
มู ล ว่ า ได ท้ าความผิด จริง เจ า้ หน้า ที่ต ารวจก็ จ ะส่ ง
• สิทธิของผู ต
้ อ
้ งหา
• มาตรา 7/1 ผูถ
้ ก ่ กควบคุมหรือขังมี
ู จับหรือผูต้ ้องหาซึงถู
สิทธิแจ ้งหรือขอให ้เจ ้าพนักงานแจ ้งให ้ญาติ หรือผู้ซงผู้ึ่ ถก ู
จับหรือผูต้ ้องหาไว ้วางใจทราบถึงการถูกจับกุมและสถานที่
่ กควบคุมในโอกาสแรก และให ้ผู้ถก
ทีถู ู จับ หรือผูต้ ้องหามี
้ ้วย
สิทธิดงั ต่อไปนี ด
• (1) พบและปรึกษาผู้ซงจะเป็ ึ่ นทนายความเป็ นการ
เฉพาะตัว
• (2) ให ้ทนายความหรือผู้ซงตนไว ึ่ ้วางใจเข ้าฟังการ
สอบปากคาตนได ้ในชนสอบสวน ้ั

• (3) ได ้ร ับการเยียมหรื อติดต่อกับญาติได ้ตามสมควร
• (4) ได ้ร ับการร ักษาพยาบาลโดยเร็วเมือเกิ ่ ดการเจ็บป่ วย
• ให ้พนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจซึงร ่ ับมอบตัวผูถ้ ก ู จับ
ี่ อ ัตราโทษประหาร
• มาตรา 134/1 ในคดีทมี
ชีวติ หรือในคดีทผู ี่ ต
้ อ
้ งหามีอายุไม่เกิน 18
่ กงานสอบสวนแจ้งข้อหา
ปี ในวันทีพนั

ก่อนเริมถามค าให้การให้พนักงาน
สอบสวนถามผู ต ้ อ
้ งหาว่ามีทนายความ
หรือไม่ ถ้าไม่มใี ห้ร ัฐจัดหาทนายความให้

• ในคดีทมี ี ่ อต ่
ั ราโทษจาคุก ก่อนเริมถาม
คาให้การให้พนักงานสอบสวนถาม
ผู ต
้ อ
้ งหาว่ามีทนายความหรือไม่ ถ้าไม่ม ี
และผู ต ้ อ
้ งหาต้องการทนายความ ให้ร ัฐ
• มาตรา 134/3 ผู ต
้ อ
้ งหามีสท
ิ ธิให้ทนายความหรือผู ้

ซึงตนไว้
วางใจเข้าฟั งการสอบปากคาตนได้

• มาตรา 134/4 ในการถามคาให้การผู ต


้ อ
้ งหา ให้
พนักงานสอบสวนแจ้งให้ผูต ้ อ ้ งหาทราบก่อนว่า
• (1) ผู ต ้ อ้ งหามีสท ี่
ิ ธิทจะให้ การหรือไม่กไ็ ด้ ถ้า
ผู ต้ อ้ งหาให้การ ถ้อยคาทีผู ่ ต ้ อ ้ งหาให้การนันอาจ ้
ใช้เป็ นพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีได้
• (2) ผู ต ้ อ้ งหามีสท ิ ธิให้ทนายความหรือผู ซ ึ่
้ งตน
ไว้วางใจเข้าฟั งการสอบปากคาตนได้เมือผู ่ ต ้ อ้ งหา
เต็มใจให้การอย่างใดก็ให้จดคาให้การไว้ ถ้า
ผู ต
้ อ้ งหาไม่เต็มใจให้การเลยก็ให้บน ั ทึกไว้
• ถ้อยคาใดๆ ทีผู ่ ต
้ อ ้ งหาให้ไว้ตอ ่ พนักงานสอบสวน
ก่อนมีการแจ้งสิทธิตามวรรคหนึ่ ง หรือก่อนทีจะ ่
• มาตรา 135 ในการถามค าให้ก าร
ผู ต ้ อ
้ งหา ห้ามมิให้พนักงานสอบสวน
ทาหรือจด ั ให้ทาการใดๆ ซึงเป็่ นการให้
ค า มั่ น สั ญ ญ า ขู่ เ ข็ ญ ห ล อ ก ล ว ง
ทรมาน ใช้ก าลัง บัง ค บ ั หรือ กระท า
โดยมิช อบ ประการใดๆ เพื่อจู งใจให้
เขาให้การอย่างใดๆ ในเรืองที ่ ่ องการ
ต้
นัน้

• สิทธิของจาเลย
่ นฟ
• 1. มาตรา 8 นับแต่เวลาทียื ่ ้ องแล้ว จาเลยมีสท
ิ ธิ
ดังต่อไปนี ้
• (1) ได้ร ับการพิจารณาด้วยความรวดเร็ว ต่อเนื่ อง และเป็ น
ธรรม
• (2) แต่งทนายความแก้ตา ่ งในชนไต่้ั สวนมู ลฟ้องหรือชน้ั
พิจารณาในศาลชนต้ ้ั นตลอดจนชนศาลอุ้ั ทธรณ์และศาล
ฎีกา
• (3) ปรึกษาทนายความหรือผู ซ ึ่
้ งจะเป็ นทนายความเป็ นการ
เฉพาะตัว
• (4) ตรวจดู สงที ิ่ ยื
่ นเป็
่ นพยานหลักฐานและคัดสาเนาหรือ
่ นๆ
ถ่านรู ปสิงนั ้
• (5) ตรวจดู สานวนการไต่สวนมู ลฟ้องหรือพิจารณาของ
ศาล และคัดสาเนาหรือขอร ับสาเนาทีร่ ับรองว่าถู กต้องโดย
เสียค่าธรรมเนี ยม เว้นแต่ศาลจะมีคาสังให้ ่ ยกเว้น
ค่าธรรมเนี ยม
ี่
• 2. สิทธิทจะมี ี่ าเลยไม่
ล่ามหรือล่ามภาษามือ กรณี ทจ
สามารถพู ดหรือเข้าใจภาษาไทยหรือไม่ สามารถพู ดหรือ
ได้ยน ่
ิ หรือสือความหมายได้ (ป.วิ.อ.มาตรา 13 วรรคสอง
และวรรคสาม)
ี่
• 3. สิทธิทจะได้ ่
ร ับหลักประกันในเรืองความสามารถในการ
ต่อสู ค
้ ดี ในกรณี ทเชื ี่ อว่
่ าจาเลยเป็ นผู ว้ ก
ิ ลจริตและไม่
สามารถต่อสู ค ้ ดี ได้ (ป.วิอาญา ม.14)
ี่
• 4. สิทธิทจะตั ้ อร ังเกียจผู พ
งข้ ้ พิ ากษา (ป.วิ.อ.มาตรา 27)
ี่
• 5. สิทธิทจะคั ดค้านคาร ้องขอถอนฟ้องของโจทก ์ (ป.วิ.อ.
มาตรา 35)
ี่
• 6. สิทธิทจะไม่ ถูกดาเนิ นคดีซา้ (ประมวลกฎหมายวิธ ี
พิจารณาความอาญา มาตรา 36(4))
ี่
• 7. สิทธิทจะได้ ร ับการพิจารณาคดีของศาลโดยเปิ ดเผยและ
ต่อหน้าจาเลย (ป.วิ.อ.มาตรา 172 วรรคแรก)
• 8. สิทธิทจะได้ ี่ ร ับทราบคาฟ้องและคาอธิบายจากศาล (ป.
3. การร ้องทุกข ์
• คาร ้องทุกข ์ ประมวลกฎหมายวิธพ
ี จิ ารณาความอาญา
• มาตรา 2 (7) “คาร ้องทุกข ์” หมายความถึง
่ เสียหายได ้กล่าวหาต่อเจ ้าหน้าทีตามบทบั
การทีผู้ ่ ญญัติ
แห่งประมวลกฎหมายนี ้ ว่ามีผูก้ ระทาความผิดขึน้ จะรู ้ตัว

ผู้กระทาความผิดหรือไม่ก็ตามซึงกระท าให ้เกิดความ
เสียหายแก่ผู้เสียหาย และการกล่าวหาเช่นนั้นได ้กล่าวโดย
มีเจตนาจะให ้ผูก้ ระทาความผิดได ้ร ับโทษ
มาตรา 121 วรรคสอง "แต่ถ ้าเป็ นคดีความผิดต่อ
ส่วนตัว ห ้ามมิให ้ทาการสอบสวนเว ้นแต่จะมีคาร ้องทุกข ์
ตามระเบียบ"

• ค าร ้องทุ ก ข ม
์ ีค วามส าคัญในการด าเนิ น คดีใ น
ความผิดต่อส่วนตัว (ความผิดอันยอมความได)้
เกี่ยวกับ เรืองอ ่ านาจสอบสวนของพนั ก งาน
สอบสวนและอ านาจฟ้ องของพนั ก งานอัย การ
กล่าวคือ อานาจสอบสวนของพนักงานสอบสวน
สาหรบั ความผิดต่อส่วนตัวหรือความผิดอันยอม
ความได น ้ ้ั น จะต อ้ งมีค าร ้องทุ ก ข ต์ ามระเบีย บ
ก่อน ตามมาตรา 121 วรรคสอง ถา้ ไม่มค ี าร ้อง
ทุ ก ข ห
์ รือ ค าร ้องทุ ก ข ไ์ ม่ ช อบด ว้ ยตามมาตรา
2(7) พนักงานสอบสวนจะไม่มอ ี านาจสอบสวน
หากพนักงานสอบสวนทาการสอบสวนไปจะทา
ใหก้ ารสอบสวนทีท ่ าไปโดยปราศจากอานาจนั้น
• ผู ม
้ อ
ี านาจร ้องทุกข ์ คือ ผู ้เสียหายตาม
มาตรา 2 (4) แห่งประมวลกฎหมายวิธพ ี จิ ารณา
ความอาญา
่ ้แก่
• ซึงได
• (1) ผูเ้ สียหายซึงได่ ้ร ับความเสียหาย
เนื่ องจากการกระทาผิดฐานใดฐานหนึ่ ง
• (2) ผูม้ อี านาจจัดการแทนผูเ้ สียหาย
ตามมาตรา 4, 5 และ 6
• ่ ้ร ับมอบอานาจจากผูเ้ สียหาย
(3) ผู ้ทีได
(แนวคาวินิจฉัยของศาลฎีกา)
• ่
ร ้องทุกข ์ทีใคร?
• ในมาตรา 2 (7) กาหนดให ้ร ้องทุกข ์ต่อ

เจ ้าหน้าทีตามบทบั ญญัตแิ ห่งประมวลกฎหมาย
นี ้ ซึงได
่ ้แก่
• (1) ร ้องทุกข ์ต่อพนักงานสอบสวนตาม
มาตรา 123 แห่งประมวลกฎหมายวิธพ ี จิ ารณา
ความอาญา
• (2) ร ้องทุกข ์ต่อพนักงานฝ่ ายปกครอง
หรือตารวจ ซึงมี ่ ตาแหน่ งหน้าทีรองหรื
่ อเหนื อ
พนักงานสอบสวน และเป็ นผู ้ซึงมี ่ หน้าทีร่ ักษา
• ลักษณะของคาร ้องทุกข ์ตามมาตรา 2 (7)
• (1) เป็ นการกล่าวหาของผู ้เสียหายต่อ
เจ ้าหน้าทีที่ มี
่ อานาจร ับคาร ้องทุกข ์ตามประมวล
กฎหมายนี ้
• (2) เป็ นการกล่าวหาว่ามีผูก้ ระทาความ
ขึน้ จะรู ้ตัวผูก้ ระทาความผิดหรือไม่ก็ตามซึง่
กระทาให ้เกิดความเสียหายแก่ผู ้เสียหาย และ
• (3) การกล่าวหาเช่นนั้นได ้กล่าวโดยมี
เจตนาจะให ้ผูก้ ระทาความผิดได ้ร ับโทษ
• คาร ้องทุกข ์ต ้องมีรายละเอียดครบถ ้วน
• ผู เ้ สียหายต้องมีเจตนาให้ผูก
้ ระทาผิดได้ร ับโทษ
• คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 391/2527 ในคดียก ั ยอก
ข ้อความทีว่่ า นาความมาแจ ้งเพือชะลอการด
่ าเนิ นคดีไว ้ก่อน ถ ้า
หากจาเลยไม่ชาระเงินจะได ้มาแจ ้งดาเนิ นคดีตอ ่ ไปอีก จึงนาความ
มาแจ ้งไว ้เป็ นหลักฐานดังนี ้ ถือไม่ได ้ว่าเป็ นการร ้องทุกข ์ตาม
กฎหมาย เพราะขณะแจ ้งยังไม่ประสงค ์จะให ้พนักงานสอบสวน
ดาเนิ นคดี ครนพ้ ้ั นกาหนด 3 เดือน นับแต่รู ้เรืองความผิ
่ ด และรู ้ตัว
ผูก้ ระทาผิด ผูเ้ สียหายจึงได ้มาแจ ้งความให ้ดาเนิ นคดีกบ ั จาเลยคดี
โจทก ์จึงขาดอายุความฟ้ องร ้องตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 96
• คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 758/2523 การทีโจทก ่ ์ร่วมไป
แจ ้งความต่อพนักงานสอบสวนเรืองข ่ ้
้าวสารและนาตาลทรายที ่ ก
ถู
จาเลยยักยอกไปโดยระบุวา่ เพียงแจ ้งไว ้เป็ นหลักฐานเพือไม่ ่ ให ้คดี
ขาดอายุความเท่านั้น ถือไม่ได ้ว่าเป็ นการแจ ้งในลักษณะของการ
กล่าวหาโดยมีเจตนาจะให ้จาเลยได ้รับโทษตามประมวลกฎหมายวิธ ี
พิจารณาความอาญา มาตรา 2(7) จึงไม่เป็ นคาร ้องทุกข ์ตาม
• ระยะเวลาในการร ้องทุกข ์สาหร ับความผิดต่อ
ส่วนต ัว (ความผิดอ ันยอมความได้)
• ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 96 "ภายใต ้
บังคับมาตรา 95 ในกรณี ความผิดอันยอมความได ้ ถ ้า
ผูเ้ สียหายมิได ้ร ้องทุกข ์ภายในสามเดือนนับแต่วน ั ทีรู่ ้

เรืองความผิ ดและรู ้ตัวผูก้ ระทาความผิด เป็ นอันขาด
อายุความ"
• อายุความร ้องทุกข ์สาหร ับความผิดอันยอม
ความได ้ จะต ้องร ้องทุกข ์ภายในสามเดือนนับแต่วน ั ทีรู่ ้

เรืองความผิ ดและรู ้ตัวผูก้ ระทาความผิด คือ นับจากรู ้

เรืองการกระท าความผิดและรู ้ตัวผูก้ ระทาความผิดแล ้ว
่ บอายุความร ้องทุกข ์ ดังนั้น แม้จะรู ้เรืองการ
จึงจะเริมนั ่
กระทาความผิด แต่หากยังไม่รู ้ตัวผูก้ ระทาความผิด
คือ ยังไม่รู ้ตัวคนร ้าย อายุความร ้องทุกข ์ย่อมยังไม่เริม่
• คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 12675/2558 ความผิดฐาน
ยัก ยอกตาม ป.อ. มาตรา 352 เป็ นความผิด อ น ั
ยอมความได้ โจทก ร์ ่ ว มต้อ งร อ ้ งทุ ก ข ภ ์ ายใน 3
เดือ น นั บ แต่ ว น ่
ั รู เ้ รืองความผิ ด และรู ต ้ วั ผู ก้ ระท า
ความผิด มิฉ ะนั้น คดีเ ป็ นอ น ั ขาดอายุ ค วาม ตาม
ป.อ. มาตรา 96 คดีนี ้ข อ้ เท็ จ จริง ปรากฏตามค าเบิก
ความของโจทก ์ร่วมเองว่า เมือวั ่ นที่ 10 มกราคม 2555
จ าเลยยอมร บ ั กับโจทก ร์ ่ว มว่ า ได้ย ก ั ยอกเงิ น ค่ า
จาหน่ ายสินค้าของโจทก ์ร่วมไปจริง ดังนี ้ จึงเท่ากับ
โจทก ร์ ่ ว มได้รู เ้ รื่องความผิ ด และรู ต ้ ว ั ผู ้ก ระท า
ความผิด ตังแต่้ ั ดัง กล่ า วแล้ว การที่โจทก ร์ ว่ มให ้
วน
จาเลยนาเงินมาชดใช ้คืนและจะตรวจสอบบัญชีเพือทราบ ่
่ ญหายไปใหช
ยอดเงินทีสู ้ั งทีอ่ า้ ง เป็ นเรืองที
้ ดั แจง้ อีกครงดั ่ ่
โจทก ์ร่วมยอมผ่ อนผันหรือใหโ้ อกาสแก่จาเลยในฐานะที่
เคยเป็ นลู ก จ า้ งของตนเท่ า นั้ น ไม่ ท าให ส้ ิท ธิใ นการร ้อง
ทุกข ์ของโจทก ์ร่วมขยายออกไป ดังนั้นเมือโจทก ่ ์ร่วมเพิง่
ไปร อ ้ งทุ ก ข เ์ มื่อวัน ที่ 19 มิถุ น ายน 2555 จึง พ้น
• การถอนคาร ้องทุกข ์ในคดีความผิดต่อส่วนตัว
(ความผิดอ ันยอมความได้)
• ประมวลกฎหมายวิธพ ี จิ ารณาความอาญา
• มาตรา 35 วรรคสอง "คดีความผิดต่อส่วนตัวนั้น
จะถอนฟ้ องหรือยอมความในเวลาใดก่อนคดีถงึ ทีสุ ่ ดก็ได ้
แต่ถ ้าจาเลยคัดค ้าน ให ้ศาลยกคาร ้องขอถอนฟ้ องนั้น
เสีย"
• มาตรา 39 "สิทธินาคดีอาญามาฟ้ องย่อมระงับไป
่ อไปนี ้
ดังต่
• (2) ในคดีความผิดต่อส่วนตัว เมือได่ ้ถอนคาร ้อง
ทุกข ์ ถอนฟ้ องหรือยอมความกันโดยถูกต ้องตาม
กฎหมาย"
• มาตรา 126 "ผูร้ ้องทุกข ์จะแก ้คาร ้องทุกข ์ระยะใด

หรือจะถอนคาร ้องทุกข ์เสียเมือใดก็ ได ้

• การถอนคาร ้องทุกข ์จะถอนเมือใดก็
ได้ตามมาตรา 126
แต่ทงนี ้ั ต้
้ องก่อนคดีถงึ ทีสุ ่ ด ซึงการถอนค
่ าร ้องทุกข ์ใน
คดีความผิดต่อส่วนตัวหรือความผิดอ ันยอมความได้
นันท้ าให้สท ิ ธินาคดีอาญามาฟ้องย่อมระงับไป ซึงมี ่ ผล
ว่าหากคดียงั พิจารณาอยู ่ในศาลเมือสิ ่ ทธินาคดีอาญา
มาฟ้องระงับไปแล้วศาลก็ตอ ่ าหน่ ายคดี
้ งสังจ
• คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 1706/2551 คดีความผิดต่อ
ส่วนตัว ผู เ้ สียหายจะถอนคาร ้องทุกข ์ในเวลาใดก่อน
คดีถงึ ทีสุ ่ ดก็ได้ การทีผู
่ เ้ สียหายยืนค ่ าร ้องขอถอนคาร ้อง
ทุกข ์ในระหว่างระยะเวลาฎีกา และศาลชันต ้ ้นยังไม่มค ่ ับ
ี าสังร
ฎีกา ศาลชันต ้ ้นย่อมมีอานาจสังค ่ าร ้องดังกล่าวได ้ เมือปรากฏ

ว่าผูเ้ สียหายยืนค่ าร ้องขอถอนคาร ้องทุกข ์ก่อนทีคดี ่ จะถึงทีสุ ่ ด
ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 35 วรรคสอง แล ้วจาเลยไม่คด ั ค ้าน ศาล
้ ้นก็ชอบทีจะอนุ
ชันต ่ ญาตให ้ผูเ้ สียหายถอนคาร ้องทุกข ์ได ้ แม ้
• แต่ถา ่ น
้ เป็ นการถอนคาร ้องทุกข ์ในความผิดทีเป็
กรรมเดียวผิดต่อกฎหมายหลายบท ซึงมี ่ ทงความผิ
้ั ด
อ ันยอมความได้และทีมี ่ ใช่ความผิดอ ันยอมความได้
่ เ้ สียหายขอถอนคาร ้องทุกข ์ ก็มผ
เมือผู ี ลทาให้สท ิ ธินา
คดีอาญามาฟ้องระงับไปเฉพาะความผิดอ ันยอมความ
ได้เท่านัน ้ พนักงานอ ัยการคงมีอานาจดาเนิ นคดีใน
ความผิดทีมิ ่ ใช่ความผิดอ ันยอมความได้ตอ ่ ไป
• คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 6550/2548 แมค้ วามผิด
ฐานทาให ้เสียทร ัพย ์จะเป็ นความผิดต่อส่วนตัว เมือผู ่ เ้ สียหาย
ถอนคาร ้องทุกข ์ทาให ้สิทธินาคดีอาญามาฟ้ องระงับไปตาม ป.
วิ.อ. มาตรา 39 (2) แต่การกระทาของจาเลยเป็ นความผิด
ตาม ป.อ. มาตรา 365 (1) (2) (3) ประกอบมาตรา 364
ด ้วย อันเป็ นการกระทาผิดกรรมเดียวแต่ผด ิ ต่อกฎหมายหลาย
บท ศาลล่างลงโทษจาเลยในความผิดฐานนี ซึ ้ งเป็
่ นกฎหมายที่

4. ลักษณะหมายเรียกและหมาย
อาญา
• หมายเรียก
• หมายเรียก หมายถึง หนังสือของเจ้าพนักงาน
่ ยกบุคคลใดให้มาทีเจ้
หรือศาล ซึงเรี ่ าพนักงาน

หรือศาล เพือประโยชน์ ่
เกียวกับคดี

• มาตรา ๕๒ การทีจะให ่ กงานสอบสวนหรือมาที่
้บุคคลใดมาทีพนั
พนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจชนผู ้ั ใ้ หญ่หรือมาศาล เนื่ องใน
การสอบสวน การไต่สวนมูลฟ้ องการพิจารณาคดี หรือการอย่าง

อืนตามบทบั ญญัตแิ ห่งประมวลกฎหมายนี ้ จักต้องมีหมายเรียก
ของพนักงานสอบสวนหรือพนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจชน้ั
ผูใ้ หญ่หรือของศาล แล ้วแต่กรณี
• แต่ในกรณี ทพนัี่ กงานสอบสวนหรือพนักงานฝ่ ายปกครองหรือ
้ ใ้ หญ่ไปทาการสอบสวนด ้วยตนเอง ย่อมมีอานาจที่
ตารวจชันผู
่ อานาจในการออกหมายเรียก
บุคคลทีมี

1. พนักงานสอบสวน
้ั ใ้ ห
2. พนักงายฝ่ายปกครอง หรือตารวจชนผู
3. ศาล
ี่ จาเป็ นต้องออกหมายเรียก
กรณี ทไม่

ี่ กงานสอบสวน หรือพนักงานฝ่ายป
ในกรณี ทพนั

ไปทาการสอบสวนด้วยตนเอง สามารถทีจะเรี
ยกผู ต
้ อ
้ ง
ออกหมายเรียก(มาตรา 52 วรรค 2)

การส่งหมายเรียกให้แก่บุคคลซึงอยู ่ งท้องที่
่ตา

พนักงานสอบสวน พนักงานฝ่ายปกครอง หรือต



มีอานาจในการออกหมายเรียก เฉพาะแต่บุคคลทีอย

่ ทอยู
หากต้องการเรียกบุคคลทีมี ี่ ่นอกเขตอานา

การตามมาตรา 56 ซึงแยกพิ จารณาเป็ น 2 กรณี คือ
่ ผ
ก. หมายเรียกของศาล ต้องส่งไปยังศาลท้องทีที

นันจัดการส่ งหมายเรียกให้แก่ผูถ
้ ูกเรียก

ศาลจังหวัด เชียงใหม่ ศาลจังหวัด ลาพู น

นาย แดง
ข. หมายเรียกของพนักงานสอบสวน และพนัก
้ั ใ้ หญ่ จะต้องส่งไปยังพนักงานฝ่ายปกครอ
ตารวจชนผู
พนักงานสอบสวนทีมี ่ อานาจออกหมายเรียกซึงผู่ ถ
้ ูกเ

พนักงานสอบสวน พนักงานสอบสวน
ส.ภ.ต.ภู พงิ ค ์ฯ ส.ภ.อ.หางดง

นาย แดง
ผลของการไม่ปฏิบต
ั ิ
ตามหมายเรียก

ถ้าบุคคลผู ถ ่ การ
้ ูกเรียกไม่มาตามทีมี
เรียก จะมีผลด ังต่อไปนี ้
ก. หมายเรียกผู ต
้ อ
้ งหาหรือจาเลย จะมีผล
ให้เจ้าพนักงาน หรือศาลออกหมายจับได้
ตามมาตรา 66 ว.2
ข. หมายเรียกพยาน การไม่มา
ตามหมายเรียกจะมีผลด ังนี ้
-การขัดขืนหมายเรียกของพนักงาน
สอบสวนมีความผิด ตาม ม.168

-การขัดขืนหมายเรียกของศาล
มีความผิดตาม ม.170
หมายอาญา

ป.วิ.อ. ม.2(9)
หมายอาญา หมายความถึง หนัง สือ บง
ก า ร ซึ่ง อ อ ก ต า ม บ ท บัญ ญัต ิ แ ห่ ง ป ร ะ ม ว ล
กฎหมายนี สั ้ งให้
่ เจ้าหน้าทีท ่ าการจับ ขัง จาคุก
หรือปล่อย ผู ต ้ อ
้ งหา จาเลย หรือนักโทษหรือให้
ท าการค้น รวมทังส ้ าเนาหมายจับหรือ หมาย
ค้น อ นั ได้ร บ ั รองว่ า ถู ก ต้อ ง และค าบอกกล่ า ว
ทางโทรเลขว่าได้ออกหมายจับหรือหมายค้น
แล้ว ตลอดจนสาเนาหมายจับหรือหมายค้นที่
ไ ด้ ส่ ง ท า ง โ ท ร ส า ร
สื่ อ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส ์ ห รื อ สื่ อ เ ท คโ นโ ล ยี
หมายอาญามี 5 ชนิ ด คือ หมายจับ หมายค้น
หมายจาคุก หมายปล่อย

บุคคลผู ม
้ อ
ี านาจออกหมายอาญา มาตรา 57
ป.วิ.อ. มาตรา 57
“ภายใต้บงั คับแห่งบทบัญญัตใิ น มาตรา 78
มาตรา 79 มาตรา 80 มาตรา 92 และมาตรา 94
แห่งประมวลกฎหมายนี ้ จะจับ ขัง จาคุก หรือค้น

ในทีรโหฐานหาตั ่
วคน หรือสิงของต้ องมีคาสัง่
หรือหมายของศาลสาหร ับการนัน ้
บุคคลผู ม ี านาจออกหมายอาญาทัง้ 5
้ อ

ชนิ ด ได้แก่ ศาล เท่านัน
ผู จ
้ ัดการตามหมายอาญา มาตรา 61
หมายขัง หมายจาคุก หมายปล่อย ซึงศาล ่
ออกจะมีถงึ ผู บ
้ ญ ั ชาการเรือนจาหรือพัศดีของ
เรือนจ าซึ ่
งอยู ใ
่ นเขตอ านาจศาลนัน้
หมายค้น ผู จ้ ัดการตามหมายได้แก่ เจ้าพนักงาน
มาตรา ๖๑[๒๖] ภายใต ้บังคับแห่งมาตรา ๙๗ พนักงานฝ่ายปกครองหรือ
ตารวจมีอานาจหน้าทีจ ่ ดั การให้เป็ นไปตามหมายอาญา ซึงได้ ่ มอบ
หรือส่งมาให้จ ัดการภายในอานาจของเขา
หมายอาญาใดซึงศาลได ่ ้ออก จะมอบหรือส่งไปยังพนักงานฝ่ าย
ปกครองหรือตารวจซึงอยู ่ ่ภายในเขตอานาจของศาลดังระบุในหมาย หรือแก่
หัวหน้าพนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจประจาจังหวัด อาเภอ กิงอ ่ าเภอ

หรือตาบล ซึงจะให ้จัดการให ้เป็ นไปตามหมายนั้นก็ได ้
ในกรณี หลังเจ ้าพนักงานผูไ้ ด ้ร ับหมายต ้องร ับผิดชอบในการจัดการ
ตามหมายนั้น จะจัดการเองหรือสังให ่ ้เจ ้าพนักงานรองลงไปจัดการให ้ก็ได ้
หรือจะมอบหรือส่งสาเนาหมายอันร ับรองว่าถูกต ้องให ้แก่พนักงานฝ่ าย
ปกครองหรือตารวจคนอืนซึ ่ งมี ่ หน้าทีจั่ ดการตามหมายซึงตนได
่ ้ร ับนั้นก็ได ้
หมายจับ ผู จ้ ด
ั การตามหมาย ได้แก่

-ออกตามคาร ้องขอของ เจ้าพนักงาน ได้แก่ เจ


ผู ข
้ อให้ศาลออกหมายจับ

-ออกโดยศาลเห็นโดยพลการ
-ในกรุงเทพ ศาลจะมีถงึ ผู บ้ ญ
ั ชาการตา
-ในต่างจังหวัด ศาลจะมีถงึ ผู ก
้ ากับการต
อยู ่ในเขตอานาจศาล
ข้อความในหมายอาญา มาตรา 60

“หมายจับ หมายค้น หมายขัง หมายจาคุกหรือหม


ทาเป็ นหนังสือและมีขอ ้ ความด ังต่อไปนี ้
1. สถานทีที ่ ออกหมาย


2. วันเดือนปี ทีออกหมาย
3. เหตุทต้ี่ องออกหมาย
4. (ก) ในกรณี ออกหมายจับ ต้องระบุชอหรื ื่ อรู ปพ

บุคคลทีจะถู กจับ
(ข) ในกรณี ออกหมายขัง หมายจาคุก หรือหม
ื่ คคลทีจะถู
ระบุชอบุ ่ กขัง จาคุก หรือปล่อย
(ค) ในกรณี ออกหมายค้น ให้ระบุสถานทีที ่ ่

จะค้น และชือหรื อรู ปพรรณบุคคล หรือลักษณะ

สิงของที ่ องการค้นกาหนดวันเวลาทีจะท
ต้ ่ ากาค้น

และชือกับต าแหน่ งของเจ้าพนักงานผู จ้ ะทาการ

ค้นนัน
5. (ก) ในกรณี ออกหมายจับ หมายขัง หรือหม
ความผิด หรือวิธก ่
ี ารเพือความปลอดภั

(ข) ในกรณี ออกหมายขังหรือจาคุก ให้ระบ
ขังหรือจาคุก
(ค) ในกรณี ออกหมายขังหรือจาคุก ให้ระบ
ขังหรือจาคุก
(ง) ในกรณี ออกหมายปล่อย ให้ระบุเหตุท


6. ลายมือชือและประทั
บตราของศาล
เหตุในการออกหมายอาญา
ร ัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ.2560
มาตรา ๒๘ บุคคลย่อมมีสท ิ ธิและเสรีภาพใน
ชีวติ และร่างกาย
การจับและการคุมขังบุคคลจะกระทามิได ้ เว ้นแต่มค ี าสัง่
หรือหมายของศาลหรือมีเหตุอย่างอืนตามที ่ ่
กฎหมาย
บัญญัต ิ
การค ้นตัวบุคคลหรือการกระทาใดอัน
กระทบกระเทือนต่อสิทธิหรือเสรีภาพในชีวต ิ หรือ

ร่างกายจะกระทามิได ้ เว ้นแต่มเี หตุตามทีกฎหมาย
บัญญัต ิ
มาตรา ๓๓ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในเคหสถาน
การเข ้าไปในเคหสถานโดยปราศจากความ
ป.วิ.อ.ม.58 “ศาลมีอานาจออกคาสังหรื่ อ
หมายอาญาได้ภายในเขตอานาจตามหลักเกณฑ ์
และวิธกี ารทีก่ าหนดในข้อบังค ับของประธานศาล
ฎีกข้
า”อบังคับประธานศาลฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ ์
และวิธก ่
ี ารเกียวกับการออกค ่
าสังหรื
อหมาย
อาญา
ข้อ 8. การร ้องขอให้ออกหมายจับ ให้ร ้อง
ขอต่อศาลทีมี่ เขตอานาจชาระคดี หรือศาลทีมี ่
เขตอานาจเหนื อท้องทีที่ จะท
่ าการจับ ส่วนการ
่ เขต
ร ้องขอให้ออกหมายค้น ให้ร ้องขอต่อศาลทีมี
่ จะท
อานาจเหนื อท้องทีที ่ าการค้น
เหตุในการออก
หมายจับ

ป.วิ.อ. มาตรา 59 วรรคสอง กาหนดให้ผูม


้ ี
อานาจออกหมายจับ “จะต้องสอบให้ปรากฏ

เหตุผลสมควรทีจะออกหมายนั ้ ยก่อน”
นเสี
ี่
ป.วิ.อ. มาตรา 66 “เหตุทจะออกหมายจั
บได้ม ี
ดังต่อไปนี ้
่ หลักฐานตามสมควรว่าบุคคล
(1) เมือมี
ใดน่ าจะได้กระทาความผิดอาญาซึงมี่ อตั รา
โทษจาคุกอย่างสู งเกินสามปี หรือ
่ หลักฐานตามสมควรว่าบุคคล
(2) เมือมี
ใดน่ าจะได้กระทาความผิดอาญาและมีเหตุอน ั
่ าจะหลบหนี หรือจะไปยุ่งเหยิงกับ
ควรเชือว่
พยานหลักฐาน หรือก่อเหตุอน ั ตรายประการ

อืน
้ มท
ถ้าบุคคลนันไม่ ี ่ ่เป็ นหลักแหล่ง หรือไม่
ี อยู
มาตามหมายเรียกหรือตามนัดโดยไม่มข ี อ้ แก้ตวั อน

ควรให้สน ้
ั นิ ษฐานว่าบุคคลนันจะหลบหนี ”
เหตุในการออกหมายจับ จึงมีด ังต่อไปนี ้
1. เหตุร ้ายแรงแห่งโทษ
-กระทาความผิดทีมี ่ อ ัตราโทษจาคุกอย่าง
2. เหตุเกรงว่าจะหนี
-ไม่มท ี่ ่เป็ นหลักแหล่ง
ี อยู
-ไม่มาตามหมายเรียก
-ไม่มาตามกาหนดนัด
3. เหตุยุ่งเหยิงกับพยานหลักฐาน


4. เหตุจะไปก่อเหตุอ ันตรายประการอืน
เหตุในการออกหมายค้น

ร ัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ.2560
มาตรา 33 บุคคลย่อมมีเสรีภาพใน
เคหสถาน
การเข ้าไปในเคหสถานโดยปราศจากความ
ยินยอมของผูค้ รอบครอง หรือการค ้นเคหสถาน

หรือทีรโหฐานจะกระท ามิได ้ เว ้นแต่มค ่ อ
ี าสังหรื

หมายของศาลหรือมีเหตุอย่างอืนตามที ่
กฎหมาย
บัญญัติ
ี่
ป.วิ.อ. ม.69 “เหตุทจะออกหมายค้ ี งั ต่อไปนี ้
นได้มด

(1) เพือพบและยึ ่
ดสิงของซึ ่
งจะเป็ นพยานหลัก
การสอบสวน ไต่สวนมู ลฟ้องหรือพิจารณา

(2) เพือพบและยึ ่
ดสิงของซึ ่ ไว้เป็ นความผิด
งมี
โดยผิดกฎหมาย หรือมีเหตุอน ั ควรสงสัยว่าได้ใช้ ห
การกระทาความผิด

(3) เพือพบและช่ วยบุคคลซึงได้ ่ ถูกหน่ วงเหนี ย

โดยมิชอบด้วยกฎหมาย
(4) เพือพบบุ ่ ่ หมายให้จบั
คคลซึงมี

(5) เพือพบและยึ ่
ดสิงของตามค าพิพากษา หร
ศาล ในกรณี ทจะพบหรื ี่ อจะยึดโดยวิธอ ื่
ี นไมได้ แล้ว”
เหตุในการออกหมายขัง
• มาตรา 71 ให้นาเหตุในการออกหมายจับ มาตรา 66 มาใช้เป็ น
เหตุในการออกหมายขังโดยอนุโลม
้ ศาลออกหมายขัง จึงมีดงั ต่อไปนี ้
• ด ังนันเหตุในการขอให้

• เหตุกระทาความผิดร ้ายแรง
• เหตุเกรงว่าจะหลบหนี
• เหตุเกรงว่าจะยุ่งเหยิงกับพยานหลักฐาน
• เหตุเกรงว่าจะก่อเหตุร ้าย
เหตุในการออกหมายปล่อย
• การปล่อยมี 2 กรณี
• ปล่อยตัว (กาหนดเหตุในการออกหมายปล่อย
ไว้ตาม มาตรา 72)
่ั
• ปล่อยชวคราว
เหตุในการออก
หมายจาคุก
เหตุในการออกหมายจาคุกกาหนดไว้ตาม
มาตรา 74
มาตรา ๗๔ ภายใต้บงั คับแห่งมาตรา ๗๓ และ ๑๘๕
่ ใ้ ดต้องคาพิพากษาให้จาคุกหรือ
วรรค ๒ เมือผู
ประหารชีวต ิ หรือจะต้องจาคุกแทนค่าปร ับ ให้ศาล
ออกหมายจาคุกผู น ้ั
้ นไว้
5. การจับตามหมายจับ การจับโดยไม่ม ี

หมายจับ การกระทาความผิดซึงหน้ า และ
กรณี ราษฎรจับ ตลอดจนข้อปฏิบต ั ใิ นการจับ
การจับ
่ หลักฐานตามสมควร
(1) เมือมี
ว่าบุคคลใด
น่ าจะได้ก ระท าความผิ ด
่ อ ัตรา
อาญา ซึงมี
โทษจาคุกอย่างสู งเกิน 3 ปี
หรือ
เหตุออกหมายจับ
(มาตรา 66) ่ หลักฐานตาม
(2) เมือมี
สมควรว่าบุคคลใด
น่ าจะได้ก ระท าผิด อาญา
เหตุยกเว้นไม่ตอ้ ง
มีหมายจับ ( 1 ) เ มื่ อ บุ ค ค ล นั้ น ท า
ความผิด(มาตรา

ซึงหน้ า 78)
ตามมาตรา 80
ฝ่ายปกครองหรือตารวจ ( 2 ) เ มื่ อ พ บ
บุคคลมีพฤติการณ์อ ันควร
จะจับโดยไม่มหี มายจับหรือ สงสัย ว่ า น่ าจะก่ อ
เหตุร ้าย

คาสังศาลไม่ ได้เว้นแต่ ( 3 ) เ มื่ อ มี เ ห ตุ ที่ จ ะ
ออกหมายจับตาม
ม า ต ร า 6 6 ( 2 ) แ ต่ มี
ความจาเป็ น

(1) ความผิ ด ซึงเห็ น ก าลัง
กระทาหรือพบ

ในอาการใดซึงแทบจะไม่
มีความสงสัย

ความผิดซึงหน้ า เลยว่าเขาได้กระทา
ผิดมาแล้วสดๆ
(มาตรา 80)

(2) ความผิดอาญาด ังทีระบุไว้
ในบัญชีทา้ ย
ป . อ . ใ ห้ ถื อ ว่ า เ ป็ น

ความผิดซึงหน้ า
ในกรณี ท ี่
การจับ

การจับ คือการควบคุมความเคลือนไหวของบุ ่ คคล


โดยเจ า้ พนั ก งานเพื่อให เ้ ขาให ก้ ารตอบขอ้ กล่า วหาทาง

อาญา ซึงจะต อ้ งมีก ารยึด ตัว บุ ค คลไว ้ ไม่ ใ ช่เ พีย งการ

จากัดเสรีภาพในการเคลือนไหวเท่ านั้น
ร ัฐธรรมนู ญฯ พ.ศ. 2560
มาตรา ๒๘ บุคคลย่อมมีสท ิ ธิและเสรีภาพ
ในชีวติ และร่างกาย
การจับและการคุมขังบุคคลจะกระทามิได ้
้ แต่ มีค าสั่งหรือ หมายของศาลหรือ มีเ หตุ
เว น

อย่างอืนตามที ่
กฎหมายบั ญญัติ
เหตุในการออกหมายจับ (มาตรา 66)
ี่
เหตุทจะออกหมายจั บได ้มีดงั ต่อไปนี ้
(1) เมื่อมี ห ลัก ฐานตามสมควรว่ า บุ ค คลใดน่ าจะได ้
กระทาความผิดอาญาซึงมี ่ อต ั ราโทษจาคุกอย่างสูงเกินสาม
ปี หรือ
(2) เมื่อมี ห ลัก ฐานตามสมควรว่ า บุ ค คลใดน่ าจะได ้
กระทาความผิดอาญา และมีเหตุอน ่ ้ว่าจะหลบหนี
ั ควรเชือได
หรือจะไปยุ่งเหยิงกับพยานหลักฐาน หรือก่อเหตุอน ั ตราย
ประการอืน ่
ถ า้ บุ ค คลนั้ นไม่ มีที่อยู่ เ ป็ นหลัก แหล่ ง หรือไม่ ม าตาม
หมายเรีย กหรือ ตามนั ดโดยไม่ มี ข อ้ แก ต ้ ัว อัน ควร ให ้
สันนิ ษฐานว่าบุคคลนั้นจะหลบหนี
การจัดการตามหมายจับ (มาตรา 77)
- จะจัดการตามเอกสารหรือหลักฐานอย่างหนึ่ งอย่างใด
เช่น สาเนาก็ได ้
ฎ. 3031/2547 สาเนาทีท ่ าขึนเองโดยการพิ
้ มพ ์ และ

มีเจ ้าหน้าทีลงลายมื ่ บั รองสาเนาถูกตอ้ ง ใช ้ได ้ แม้จะ
อชือร

ไม่ได ้ถ่ายจากต ้นฉบับ และผูล้ งลายมือชือออกหมายไม่ ได ้
เป็ นผูร้ ับรองนั้น

มาตรา ๖๘ หมายจับคงใช ้ได ้อยู่จนกว่าจะจับได ้ เวน้


แต่ความผิดอาญาตามหมายนั้นขาดอายุความหรือศาลซึง่
ออกหมายนั้นได ้ถอนหมายคืน
มาตรา ๖๕ ถ า้ บุ ค คลที่ถูก จับ ตามหมายหลบหนี
การจับโดยไม่ ต อ ้ งมีห มายจับ ของศาล (มาตรา
78)
พนั ก งานฝ่ ายปกครองหรือ ต ารวจจะจับ ผู ใ้ ดโดยไม่ มี

หมายจับหรือคาสังของศาลนั ้นไม่ได ้ เว ้นแต่
่ คคลนั้นได ้กระทาความผิดซึงหน้
(1) เมือบุ ่ าดังได ้บัญญัต ิ
ไว ้ในมาตรา 80

(2) เมือพบบุ คคลโดยมีพฤติการณ์อน ั ควรสงสัยว่าผูน ้ ้ัน
น่ าจะก่อเหตุร ้ายให ้เกิดภยันตรายแก่บค ุ คลหรือทรพ ั ย ์สินของ
ื่ โดยมีเครืองมื
ผูอ้ น ่ อ อาวุธหรือวัตถุอย่างอืนที ่ อาจใช
่ ้ในการ
กระทาความผิด
(3) เมื่อมีเ หตุทีจะออกหมายจั
่ บ บุค คลนั้ นตามมาตรา
66 (2) แต่มีค วามจ าเป็ นเร่ง ด่ว นทีไม่ ่ อ าจขอให ศ ้ าลออก
หมายจับบุคคลนั้นได ้
มาตรา ๘๐ ทีเรี ่ ยกว่าความผิดซึงหน้ ่ านั้น ได ้แก่
ความผิดซึงเห็ ่ นกาลังกระทา หรือพบในอาการใดซึงแทบ ่
จะไม่มคี วามสงสัยเลยว่าเขาได ้กระทาผิดมาแล ้วสดๆ
อย่างไรก็ด ี ความผิดอาญาดังระบุไว ่ ้ในบัญชีท ้ายประมวล
กฎหมายนี ้ ให ้ถือว่าความผิดนั้นเป็ นความผิดซึงหน้ ่ าใน
กรณี ดงั นี ้
(๑) เมือบุ่ คคลหนึ่ งถูกไล่จบั ดังผู่ ก้ ระทาโดยมีเสียงร ้อง
เอะอะ
(๒) เมือพบบุ ่ คคลหนึ่ งแทบจะทันทีทน ั ใดหลังจากการ
กระทาผิดในถินแถวใกล ่ ่ ดเหตุน้ันและมีสงของ
้เคียงกับทีเกิ ิ่
่ ้มาจากการกระทาผิด หรือมีเครืองมื
ทีได ่ อ อาวุธหรือวัตถุ
่ นสันนิ ษฐานได ้ว่าได ้ใช ้ในการกระทาผิด หรือมี
อย่างอืนอั
ร่องรอยพิรธ ่ อผ้
ุ เห็นประจักษ ์ทีเสื ้ าหรือเนื อตั
้ วของผูน้ ้ัน
หรือ
1. ความผิ ด ซึ่่
งหน้ าตาม ป.วิ อาญา
1.2 พบในอาการซึงแทบจะไม่มค
ี วามสงสัยเลยว่าเขาได้
มาตรา 80
กระทาผิดมาแล้วสดๆ เช่น

่ นคนร ้ายใช ้อาวุธมีดแทงทาร ้าย ขณะนั้นยังถือมีดทีใช


 เมือเห็ ่ ้ทาร ้าย

่ ดเหตุ โดยไม่มข
อยู่ในทีเกิ ่
ี ้อสงสัยเลยว่าเขาเพิงกระท าผิดมาสดๆ =


ความผิดซึงหน้
า!

ี นร ้ายฆ่าคนตาย และในขณะนั้นเห็นคนร ้ายวิงถื


 กรณี มค ่ อมีดเปื ้ อน

่ ดเหตุ แม้ไม่เห็นขณะทาก็ตาม = ถือว่าเหตุซงึ่


เลือดออกมาจากทีเกิ

หน้า

๒. ความผิดทีระบุไว้ แนบท้ายใน ป.วิ
อาญาความผิดในกฎหมายลักษณะอาญา ทีมาตรา
่ 79 อ ้างถึง

ซึงราษฎรมี
อานาจจับได ้โดยไม่ต ้องมีหมาย
-----------------

ประทุษร ้ายต่อพระบรมราชตระกูล • กระทาให้สาธารณชนปราศจากความ



ขบถภายในพระราชอาณาจักร
• สะดวก
ขบถภายนอกพระราชอาณาจักร
• ในการไปมาและการส่งข่าวและของถึง
ความผิดต่อทางพระราชไมตรีก ับ
• กัน
ต่างประเทศ และกระทาให้สาธารณชนปราศจาก

• ทาอ ันตรายแก่ธง หรือเครืองหมายของ ความสุขสบาย
ต่างประเทศ • ปลอมแปลงเงินตรา
• ความผิดต่อเจ้าพนักงาน • ข่มขืนกระทาชาเรา *
• หลบหนี จากทีคุ ่ มขัง • ประทุษร ้ายแก่ชวี ต ิ *
• ความผิดต่อศาสนา • ประทุษร ้ายแก่รา่ งกาย *
• ความผิดฐานกระทาให้เสือมเสี ่ ย
• ก่อการจลาจล
หมายเหตุ
• กระทาให้เหั
กิวดข
ภยั้อที
นมี่ตรายแก่

เครืองหมาย* คือเหตุอิท สรภาพ
เกิ ้ * อย ควรจดจาและ
ี่ ดขึนบ่
สาธารณชน • ลักทร ัพย ์ *
นาไปปฏิบตั ใิ ห ้ถู• กตวิงราว
้อง
่ ชิงทร ัพย ์ ปล้นทร ัพย ์ และโจร
ข้อควรรู ้ !
่ ใช่ความผิดซึงหน้
๑. การจะจับหลังเกิดเหตุ ซึงไม่ ่ า ย่อมไม่
อานาจจับตาม กม. ผูถ้ ก ่ องกัน
ู จับจึงสามารถป้ องกันเพือป้
การจับกุม อันไม่เกินกว่าเหตุได ้
๒. หากจับไม่ชอบ ( ไม่ถก ู ต ้องตาม กม. ข ้างต ้น ) อาจเป็ น
ความผิดตาม ป.อ. ฐานกักขังหน่ วงเหนี่ ยว หรือ กระทาให ้
ื่
ผูอ้ นปราศจากเสรี ภาพในร่างกายได ้ ( อาจถูกแจ ้งความ
กลับ )
๓. ความผิดฐานลักลอบเล่นการพนัน ไม่ใช่ความผิดตามทา้ ย
่ า จับไม่ได ้
ประมล กม. แมเ้ ห็นซึงหน้
๔. การเห็นคนร ้ายกระทาความผิดผ่านกล ้องวงจรปิ ดแบบ
Real-Time (ไม่ใช่ดย ู ้อนหลัง) ถือเป็ นความผิดซึงหน้่ า
สามารถจับได ้ แต่คนเห็นผ่านกล ้องขณะเกิดเหตุต ้องไปจับ
หลัก ตาม ป.วิ . อ. มาตรา 57 วรรคหนึ่ ง ค้นในที่
รโหฐาน
คน ้ ในที่รโหฐานหาตัวคนหรือสิงของต ่ อ้ งมีคาสั่งหรือ หมายค น ้
ข อ ง ศ า ล
ี่
เหตุทจะออกหมายค้ น มาตรา 69

(1) เพือพบหรื ่
อยึดสิงของซึ ่
งจะเป็ นพยานหลักฐาน
ประกอบการสอบสวน ไต่สวนมูลฟ้ อง หรือพิจารณา
(2) เพื่ อพบหรือ ยึด สิ่งของ ซึงมี ่ ไ ว เ้ ป็ นความผิ ด
หรือไดม้ าโดยผิดกฎหมาย หรือมีเหตุอน ั ควรสงสัยว่าได ใ้ ช ้หรือ

ตังใจจะใช ้ในการกระทาความผิด
(3) เพื่อพบและช่ว ยบุ ค คล ซึงได ่ ถ้ ูก หน่ วงเหนี่ ยว
ห รื อ กั ก ขั ง
มาตรา ๙๒ ห้ามมิให้คน ่
้ ในทีรโหฐานโดยไม่ มห
ี มาย
ค้นหรือคาสังของศาล่ เว้นแต่พนักงานฝ่ายปกครองหรือ
ตารวจเป็ นผู ค ้ และในกรณี ดงั ต่อไปนี ้
้ น
่ เสียงร ้องให้ชว
(๑) เมือมี ่ ยมาจากข้างในทีรโหฐาน่
หรือมีเสียงหรือพฤติการณ์อน ื่
ใดอ ันแสดงได้วา ้
่ มีเหตุร ้ายเกิดขึนในที ่
รโหฐานนั ้


(๒) เมือปรากฏความผิ ่
ดซึงหน้ ากาลังกระทาลงในที่
รโหฐาน
(๓) เมือบุ่ คคลทีได้ ่ กระทาความผิดซึงหน้ ่ า ขณะทีถู ่ ก
ไล่จบ ั หนี เข้าไปหรือมีเหตุอ ันแน่ นแฟ้นควรสงสัยว่าได้
เข้าไปซุกซ่อนตัวอยู ใ่ นทีรโหฐานนั ่ ้

่ พยานหลักฐานตามสมควรว่าสิงของที
(๔) เมือมี ่ ่ ไว้
มี
เป็ นความผิดหรือได้มาโดย
(๕) เมือที่ รโหฐานนั
่ ้นผู จ ้ ะต้อ งถู ก จับ เป็ นเจ้า บ้า น และ
การจับ นั้ นมี ห มายจับ หรือ จับ ตามมาตรา ๗๘ การใช้
อานาจตาม (๔) ให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจผู ค ้ น

ส่งมอบสาเนาบันทึกการตรวจค้นและบัญชีทร ัพย ์ทีได้ ่ จาก
การตรวจค้น รวมทังจั ้ ด ท าบัน ทึก แสดงเหตุ ผ ลที่ท าให้
สามารถเข้าค้นได้เป็ นหนังสือให้ไว้แก่ผูค ้ รอบครองสถานที่
่ ก ตรวจค้น แต่ถ า้ ไม่ มผ
ทีถู ี ูค ้ รอบครองอยู ่ ณ ทีนั ่ ้น ให้ส่ง
มอบหนังสือดังกล่า วแก่บุค คลเช่นว่า นั้นในทันทีทกระท ี่ า
ได้ และรีบรายงานเหตุผลและผลการตรวจค้นเป็ นหนัง สือ
ต่อผู บ ้
้ งั คับบัญชาเหนื อขึนไป
มาตรา ๙๖ การค้นในทีรโหฐานต้ ่ องกระทาระหว่างพระ

อาทิตย ์ขึนและตก มีขอ้ ยกเว้นดังนี ้

(๑) เมือลงมื อค้นแต่ในเวลากลางวัน ถ้ายังไม่เสร็จจะ
ค้นต่อไปในเวลากลางคืนก็ได้
(๒) ในกรณี ฉุ กเฉิ นอย่ า งยิ่ง หรือ ซึงมี ่ ก ฎหมายอื่น
- ที่รโหฐาน หมายความถึง ที่ต่ า งๆ ที่มิ ใ ช่
สาธารณสถานดังทีบั ่ ญญัตไิ ว้ในกฎหมายลักษณะอาญา
ป.วิ.อ. มาตรา 2 (13)
- สาธารณสถาน หมายความว่ า สถานที่ใดๆ

ซึงประชาชนมี ค วามชอบธรรมที่ จะเข้า ไปได้ ป.อ.
มาตรา 1 (3)
- เคหสถาน หมายความว่า ทีซึ ่ งใช้
่ เป็ นทีอยู
่ ่อาศยั
เช่นเรือน โรง เรือ แพ ซึงคนอยู่ ่อาศย ั รวมถึงทางรถไฟ
และทางรถรางทีมี ่ รถเดินสาหร ับปชช.(ป.อ.1(4))
ตัว อย่ า ง - โรงหญิ ง นครโสเภณี วัด วาอาราม ศาล
ยุ ติ ธ ร ร ม โ ร ง ล ะ ค ร โ ร ง แ ร ม ต า ม ป ก ติ เ ป็ น
สาธารณสถาน แต่ บ างส่ ว นของสถานที่เหล่ า นี ้ ซึง่
ประชาชนไม่มส ี ท ี่
ิ ธิจะเข้าไปไม่ใช่ทสาธารณสถาน (ฎ.
- หอ้ งโถงในสถานการคา้ ประเวณี ผิดกฎหมาย เวลา
แ ข ก ม า เ ที่ ย ว

เป็ นสาธารณสถานซึงประชาชนมี ความชอบธรรมทีจะเข ่ า้ ไป
ได ้ พลตารวจมีอานาจคน ้ โดยไม่ตอ้ งมีหมายคน ้ ตาม ป.วิ.อ.
มาตรา 93 จาเลยขัดขวางเป็ นความผิดตาม ป.อ.มาตรา 140
พลตารวจจับได ้ (ฎ.883/2520 ประชุมใหญ่)
ข้ อ สั ง เ ก ต ต า ม ฎี ก า ข ้ า ง ต ้ น นี ้ ถื อ ว่ า เ ป็ น
ส า ธ า ร ณ ส ถ า น เ ฉ พ า ะ เ ว ล า ที่ เ ปิ ด
ใหแ้ ขกเขา้ ไปใช ้บริการ ในช่วงเวลานี จึ ้ งไม่เป็ นทีรโหฐาน
่ เจา้
พนักงานตารวจจึงค ้นตัวจาเลยได ้โดยไม่ต ้องมีหมายคน้
โจทก ์ใช ้ห อ้ งพักในบ า้ นเกิด เหตุเ ป็ นที่ส าหร บั ให ห้ ญิง
คาพิพากษาศาลฎีกาที่ 6557/2547
จาเลยเห็นเหตุการณ์ทคนร ี่ ้ายผูล้ ก
ั รถจักรยานยนต ์ของผูเ้ สียหายนารถจักรยานยนต ์
ของผูเ้ สียหายเขา้ มาในบา้ นของจาเลยและถอดชินส่ ้ วนรถจักรยานยนต ์ของผูเ้ สียหายในยาม
่ นเรืองที
วิกาล ซึงเป็ ่ คนร
่ ้ายเคยกระทามาแลว้ และจาเลยก็รบั รู ้โดยถือเป็ นเรืองปกติ ่ ้ ความ
ทังที ่
จริงการซ่อมรถ การถอดชินส่ ้ วนรถควรจะกระทาในเวลากลางวันอันเป็ นเวลาทาการงานของ
คนทั่วไป การดาเนิ นการถอดชินส่ ้ วนรถจักรยานยนต ์ในเวลากลางคืนย่อมส่อแสดงถึงความ
ผิดปกติ เมือถู่ กเจา้ พนักงานตารวจจับกุม จาเลยก็นาเจ ้าพนักงานตารวจไปชีจุ้ ดทีน ่ าชินส่
้ วน
รถจัก รยานยนต ์ไปทิงได ้ ถ้ ูก ตอ้ ง แสดงว่าจาเลยน่ าจะมีส่วนร่วมหรือรู ้เห็ นในการนาชินส่ ้ วน
รถจัก รยานยนต ข ์ องผู ้ เสีย หายไปทิง้ ส าหร บ ้ ว นรถจัก รยานยนต ข
ั ชินส่ ์ องผู เ้ สีย หายที่เจ า้
พนักงานตารวจยึดไดจ้ ากบา้ น ของจาเลยวางอยู่ดา้ นหน้าของบา้ นลักษณะเป็ นหอ้ งร บ ั แขก
บางส่วนอยู่ในกล่องไม่มอ ี ะไรปิ ดบัง แม้จะเป็ นการวางไวอ้ ย่างเปิ ดเผยและบ้านของจาเลยยัง
ไม่มป ้ั
ี ระตู รวกับประตู บ้านทังยั ้ งสร ้างไม่เสร็จ แต่โดยสภาพของบ้านทีพั ่ กอาศ ัยย่อม

ถือเป็ นทีรโหฐาน บุคคลภายนอกไม่มส ี ท
ิ ธิเข้าไปโดยมิได้ร ับอนุ ญาต การเก็บชินส่ ้ วน
รถจักรยานยนต ์ไว ้ในบ ้านของจาเลยในลักษณะดังกล่าว ไม่พอให ้ร ับฟังได ้ว่าเป็ นการกระทาโดย
เปิ ดเผยและโดยสุจริตของจาเลยซึงเป็ ่ น ผูค้ รอบครองบ ้าน น่ าเชือว่่ าจาเลยรู ้ว่ารถจักรยานยนต ์
ที่น าไปถอดชินส่ ้ ว นที่บ า้ นของจ าเลยเป็ น รถจัก รยานยนต ท ์ ี่คนร ้ายได ม้ าจากการกระท า
ความผิดฐานลักทรพ ั ย ์ การกระทาของจาเลยเป็ นการช่วยซ่อนเร ้น หรือรบั ไวด้ ว้ ยประการใด ๆ
้ วนของรถจัก รยานยนต ์ของผูเ้ สียหายที่ถูก คนร ้ายลัก มา โดยจาเลยรู ้อยู่แลว้ ว่าเป็ น
่ นส่
ซึงชิ
่ ้มาจากการกระทาความผิดฐานลักทร ัพย ์ จาเลยย่อมมีความผิดฐานร ับของโจร
ทร ัพย ์ทีได
้ั
-โรงค ้าไม้มีรวรอบขอบชิ ่
ด นอกจากเป็ นสถานทีประกอบการค ้า

แล ้ว ยังเป็ นทีอาศั ่
ยด ้วยในยามทีโรงค ้าหยุดดาเนิ นกิจการ ภายใน
บริเวณโรงค ้าไม้ ด ้านหน้าและหลังย่อมไม่ใช่สาธารณสถาน แต่

เป็ นทีรโหฐาน (ฎ.2914 /2537)

• “ทีรโหฐาน” ่ ่
หมายถึง สถานทีที
บุคคลภายนอกไม่มอ ี านาจเข ้าไปได ้
ตามอาเภอใจ โดยต ้องได ้ร ับอนุ ญาตจากเจ ้าของ
่ ยก่อน เช่น ทีอยู
สถานทีเสี ่ ่อาศัย ซึงในกรณี
่ ท ี่
เจ้าพนักงานตารวจจะทาการจับผู ใ้ ดในที่
รโหฐาน ตารวจจะต้องมีอานาจถึง 2
ประการ คือ
• 1. อานาจในการจับ กล่าวคือ มีหมายจับ
หรือมีอานาจจับได ้โดยไม่ต ้องมีหมายจับ
• 2. อานาจในการค้นในทีรโหฐาน ่
• ่ ้าพนักงานตารวจมีทง้ั 2 อานาจนี ้
เมือเจ

• การจับกรณี ความผิดซึงหน้ า(มาตรา78(1))
• ตัวอย่างกรณี ถอ ่
ื ว่าเป็ นความผิดซึงหน้ า

• - เห็นกาลังจาหน่ ายยาเสพติด ถือว่าเป็ นความผิดซึงหน้ ่ า


• ฎีกาที่ 7454/2544 เจ ้าพนักงานตารวจผูร้ ว่ มจับกุมจาเลยได ้
แอบซุม ี่ าบา้ นจาเลยห่างประมาณ 30 เมตร ชุดหนึ่ ง และ 20
่ ดูอยู่ทหน้
เมตรอีกชุดหนึ่ ง เห็นสายลับมอบธนบัตรให้จาเลย แล้วจาเลยไป

นาสิงของที ่ กซ่อนมามอบให้สายลับซึงเป็
ซุ ่ นเมทแอมเฟตามีน
4 เ ม็ ด
่ ้าพนักงานตารวจเห็ นการกระทาดังกล่าวของจาเลยเป็ นการเห็น
การทีเจ
จาเลยกาลังกระทาความผิดฐานจาหน่ ายเมทแอมเฟตามีน การกระทา

ของจาเลยจึงเป็ นความผิดซึงหน้ า
ตัวอย่างกรณี ถอ ่
ื ว่าเป็ นความผิดซึงหน้ า
- เห็นกาลังจาหน่ ายยาเสพติด ถือว่าเป็ นความผิดซึง่
หน้า
ถ ้าความผิดซึงหน้ ่ านั้นกระทาในทีรโหฐาน
่ ตารวจเข ้าไปค ้นใน
ที่รโหฐานได โ้ ดยไม่ ต อ้ งมีหมายค น ้ (มาตรา 92 (2)) และถ า้ เป็ น
กรณี ฉุกเฉิ นอย่างยิงอาจท่ าการคน้ ในเวลากลางคืนได ้ (มาตรา 96
(2))
ฎีกาที่ 4461/2540 จ่าสิบตารวจ ส. และร ้อยตารวจเอก ป.
จับจาเลยไดข ้ ณะทีจ่ าเลยกาลังขายวัตถุออกฤทธิให ์ แ้ ก่จ่าสิบตารวจ
ส. ผูล้ ่อซือ้ ถือว่าเป็ นความผิดซึงหน้่ า ขณะนั้นธนบัตรทีใช ่ ้ล่อซืออยู
้ ่
ทีจ่ าเลยและจาเลยดินรนต่ ้ อสู ้ ถา้ ปล่อยใหเ้ นิ่ นช ้ากว่าจะนาหมายจับ
และหมายค ้นมาได ้จาเลยอาจหลบหนี และพยานหลักฐานอาจสูญหาย

ตารวจจับคนหนึ่ งไดข ้
้ ณะล่อซือยาเสพติ ด ถือเป็ นความผิดซึง่
หน้า แลว้ พาตารวจไปจับกุมผูร้ ว่ มกระทาผิดในเวลาต่อเนื่ องทันที ถือ

ว่าเป็ นการจับกุมผูก้ ระทาผิดซึงหน้ าเช่นกัน ตารวจจึงจับกุมผูก้ ระทา
ผิ ด คนหลังในห อ้ งพัก อัน เป็ นที่ รโหฐานได โ้ ดยไม่ ต อ้ งมี ห มายจับ
(มาตรา 78 (1) ประกอบมาตรา 81 (1) และไม่ ต อ้ งมีห มายค น ้
(มาตรา 92 (2))
ฎีกาที่ 1259/2542 จาเลยที่ 1 เป็ นตัวการร่วมกระทาผิด
กับ จ าเลยที่ 2 ในการกระท าความผิด ฐานขายเมทแอมเฟตามีน
การทีจ ่ าเลยที่ 2 ขายเมทแอมเฟตามีนใหแ้ ก่จ่าสิบตารวจ ส. เป็ น
ความผิดซึงหน้่ า เมื่อจาเลยที่ 2 ถูกจับกุมแลว้ ไดน
้ าจ่าสิบตารวจ ส.
ไปจับกุมจาเลยที่ 1 เป็ นการต่อเนื่ องกันทันที ถือไดว้ ่าจ่าสิบตารวจ
ส. จับกุมจาเลยที่ 1 ในการกระทาผิดซึงหน้ ่ าดว้ ยเช่นกัน เพราะหาก
ล่าช ้าจาเลยที่ 1 ก็ อาจหลบหนี ไปได ้ และการตรวจคน ้ จาเลยที่ 1

- ต ารวจเห็ น จ าเลยซือขายยาเสพติ ดให โ้ ทษให แ้ ก่
สายลับ จึง เข า้ ตรวจจับ กุ ม จ าเลย พบยาเสพติดให โ้ ทษอี ก
จ านวนหนึ่ ง การตรวจค น ้ ระท าต่ อ เนื่ องกัน เป็ น
้ จับ กุ มได ก
ความผิด ซึงหน้่ ้
า ทังสองข อ้ หา ต ารวจจึง มีอ านาจค น ้ และจับ
จ าเลยได โ้ ดยไม่ ต อ้ งมีห มายจับ และหมายค น ้ ตามมาตรา 78
(1), 92 (2) ดูฎก ี าที่ 2848/2547, 1328/2544 (มาตรา
78 (1), 92 (2) ทังบทบั ้ ญญัติเดิม และทีแก ่ ไ้ ขใหม่ ปี 2547 มี

เนื อความตรงกั น จึงคงเป็ นบรรทัดฐานได ้)
- เห็ น จ าเลยโยนยาเสพติด ออกไปนอกหน้า ต่ า ง เป็ น

ความผิดซึงหน้ าและได ้กระทาลงในทีรโหฐาน่ เจ ้าพนักงานย่อม
มีอานาจจับจาเลยได ้โดยไม่ต ้องมีหมายจับหรือหมายคน ้ ตาม ป.
วิ.อ. มาตรา 78 (1), 92 (2) (ฎีกา 1164/2546)
- ตารวจแอบดู เห็นคนเล่นการพนันอยู ่ในบ้าน ถือว่าเป็ น
ความผิดซึงหน้่ า ดูฎก ี าที่ 698/2516 (ประชุมใหญ่)
- ออกหมายค ้นเพือยึ ่ ดยาเสพติดให ้โทษ เมือพบยาเสพติ
่ ดให ้
โทษอยูใ่ นครอบครองของจาเลย เป็ นความผิดซึงหน้ ่ า เจ ้า
พนักงานจับได ้โดยไม่ต ้องมีหมายจับ (ฎีกาที่ 360/2542)

- การค ้นตัวบุคคลในทีสาธารณสถานสามารถกระท าได ้โดยไม่

ต ้องมีหมายค ้น เมือพบความผิ ่ าเจ ้าพนักงานก็จบ
ดซึงหน้ ั ได ้
โดยไม่ต ้องมีหมายจับ เช่น พบแผ่นซีดล ์
ี ะเมิดลิขสิทธิของ
ื่ (ฎีกาที่ 6894/2549)
ผูอ้ น
ฎีกาที่ 3751/2551 ร ้านก๋วยเตียวของจ ๋ าเลยขณะเปิ ด
บ ริ ก า ร มิ ใ ช่ ที่ ร โ ห ฐ า น แ ต่ เ ป็ น

ทีสาธารณสถาน เมื่อเจ า้ พนั ก งานต ารวจมีเ หตุ อ น
ั ควรสงสัย ว่า
จ าเลยมี เ มทแอมเฟตามี นไว ใ้ นครอบครองอัน เป็ นความผิ ด ต่ อ
กฎหมายย่อมมีอานาจค้นจาเลยได้โดยไม่ตอ ้ งมีหมายค้น ตาม
ประมวลกฎหมายวิธพ ี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๙๓ และเมือตรวจ ่
ค้นพบเมทแอมเฟตามีนอยู ่ในครอบครองจาเลย การกระทา
ของจ าเลยก็ เ ป็ นความผิ ด ซึงหน้ ่ า เจ า้ พนั ก งานต ารวจย่ อ มมี
อานาจจับจาเลยได ้โดยต ้องมีหมายจับตามมาตรา 78 (1)

ตัวอย่างกรณี ไม่เป็ นความผิดซึงหน้ า
่ ยุตล
การทะเลาะวิวาทซึงได้ ิ งไปก่อนแล้ว ไม่ใช่การ

กระทาผิดซึงหน้ ่
า เจ ้าพนักงานตารวจซึงมาภายหลั งเกิดเหตุ
ไม่มอ ี มายจับ (ฎีกาที่ 4243/2542)
ี านาจจับโดยไม่มห

- พบไม้ห วงห้า ม, สุร าเถือน ไม่ ถ อ
ื เป็ นความผิด

ซึงหน้ า โดยศาลฎีกาใหเ้ หตุผลว่า ไม่ใช่ความผิด ซึงเจ้ ่ า
พนักงานเห็นกาลังกระทา หรือพบในอาการซึงแทบจะไม่ ่ มี
ความสงสัยว่ากระทาความผิดมาแล ้วสดๆ (ฎีกาที่ 2535/2550
, 3743/2529 , 3227/2531)
คาพิพากษาที่ 2535/2550
บ. พบกองไม้กระยาเลยไม่มรี อยตราค่าภาคหลวงหรือรอย
ตราร ัฐบาลขายอันเป็ นไม้ผด ิ กฎหมายวางกองอยูข ่ ้างบ ้าน ว. และ
ว. ร ับว่ามีไม้หวงห ้ามยังไม่ได ้แปรรูปไว ้ในครอบครองโดยไม่ได ้ร ับ
อนุ ญาตจริง การกระทาของ ว. ไม่ใช่ความผิดซึงหน้ ่ า
เพราะไม่ใช่ความผิดทีเห็ ่ นกาลังกระทาหรือพบในอาการ

ใด ซึงแทบจะไม่ มคี วามสงสัยเลยว่าได้กระทาผิดมาแล้ว
สด ๆ ไม่เข้าข้อยกเว้นความผิดทีระบุไว้ ่ ในบัญชีทา้ ย ป.
วิ.อ. หรือเข้าหลักเกณฑ ์ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 80 วรรค
สอง (1) (2) ดังนั้น บ. ไม่มอ ่ บ ว. โดยไม่มห
ี านาจทีจะจั ี มายจับ
ได ้ การที่ ว. ตาม บ. มาทีหน่่ วยคุ ้มครองป่ าจึงไม่ใช่เป็ นการถูก
จับตัวมา แม้ในเวลาต่อมาจาเลยจะขับรถยนต ์มาทีหน่ ่ วย

คุ ้มครองป่ าและร ับ ว. ขึนรถยนต ์ของจาเลยขับออกจากหน่ วย
คุ ้มครองป่ าไป บ. ติดตามจาเลยไปจนทันและเกิดเหตุ
• การจับโดยมีเ หตุ จ าเป็ นเร่ง ด่ ว น (มาตรา 78
(3))
• การจับโดยไม่ตอ้ งมีหมายจับกรณี มเี หตุทจะออก ี่
หมายจับ บุ ค คลนั้ นตามมาตรา 66 (2) แต่ มี
ความจ าเป็ นอัน เร่ ง ด่ ว นที่ ไม่ อ าจขอให ศ ้ าลออก
หมายจับบุคคลนั้นได ้ (มาตรา 78 (3))
• เ มื่ อ มี ก า ร จั บ กุ มโ ด ย ช อ บ แ ล ว้ แ ม้จ ะ มี เ จ า้
พนักงานตารวจบางคนซึงไม่ ่ ไดร้ ว่ มจับกุมดว้ ยมาร่วม
ลงลายมือชือในบั่ นทึกการจับกุม ก็ไม่ทาให ้การจับกุม
กลายเป็ นไม่ชอบด ้วยกฎหมาย (ฎีกาที่ 2612/2543)
การจับกุมผู ก ่ ่ตอ
้ ระทาผิดทีอยู ่ หน้าพนักงาน
สอบสวน (มาตรา 134)
้ งมี ห มายจับ ทั้ง 4 กรณี ตามที่
• นอกจากการจับโดยไม่ ต อ
บัญญัตไิ ว ้ในมาตรา 78 แล ้ว
• ป.วิ.อ. มาตรา 134 วรรคห ้า ทีแก ่ ้ไขใหม่ ได ้บัญญัตถ ิ งึ กรณี
่ กงานสอบสวนพบว่าผูท
ทีพนั ี่ ่ต่อหน้าตนเป็ นผูต้ อ้ งหา เมือ
้ อยู ่
มีการแจ ้งข ้อกล่าวหาแลว้ ถ ้าผูน้ ้ันไม่ใช่ผูถ้ ูกจับและยังไม่มก ี าร
ออกหมายจับ และพนักงานสอบสวนเห็นว่ามีเหตุจะออกหมาย
ขัง ตามมาตรา 71 พนั กงานสอบสวนมีอานาจสั่งใหผ ้ ูต้ อ้ งหา

ไปศาลเพือขอออกหมายขั งโดยทันที ถา้ ผูน ้ ้ันไม่ปฏิบตั ต ิ ามให ้
พนั ก งานสอบสวนมีอ านาจจับ ผู ต ้ อ้ งหานั้ นได โ้ ดยถือว่า เป็ น
่ บผูต้ ้องหาโดยไม่มห
กรณี จาเป็ นเร่งด่วนทีจะจั ี มายจับ
• - การแจ ้งข ้อหาแก่จาเลยยังไม่ถอ ื ว่าจาเลยถูกจับ (ฎีกา
ที่ 8458/2551} 6635/2551 , 6208/2550 (ประชุมใหญ่) ,
่ รู ้จักชือ
ออกหมายจับบุคคลทีไม่ ่ มาตรา 67
่ าได ้ เช่น มีคน
ใช ้วิธรี ะบุรูปพรรณใหล้ ะเอียดเท่าทีจะท
เห็ น ผู ต ้ ระท าผิ ด แต่ ไ ม่ ท ราบชือ่ บอก
้ อ้ งสงสัย ว่ า เป็ นผู ก
รูปพรรณ หรือตาหนิ ตามร่างกายได ้
อายุหมายจับ มาตรา 68
ใช ้ได ้จนกว่าจะจับได ้ เว ้นแต่ความผิดตามหมายนั้นขาด

อายุความ หรือ ศาลซึงออกหมายนั ้นได ้ถอนหมายคืน
่ั
หมายจับใช้ได้ทวราชอาณาจักร มาตรา 77
ใช ้ได ้เฉพาะในอาณาเขตประเทศไทย

การจับในทีรโหฐาน มาตรา 81

ไม่วา่ จะมีหมายจับหรือไม่ก็ตาม ห ้ามมิให ้จับในทีรโหฐาน
การจับโดยราษฎร มาตรา 79
มาตรา ๗๙ ราษฎรจะจ ับผู อ ื่
้ นไม่ ได้เว้นแต่จะเข้าอยู ่ในเกณฑ ์
แห่งมาตรา ๘๒ หรือเมือผู ่ น ้ั
้ นกระท าความผิดซึงหน้ ่ า และ

ความผิดนันได้ ระบุไว้ในบัญชีทา้ ยประมวลกฎหมายนี ด้ ้ วย
โดยปกติร าษฎรไม่ มีอานาจจับผู ใ้ ด เวน ้ แต่เจา้ พนั กงาน ผู จ้ ด
ั การ
ตามหมายจับจะขอความช่ว ยเหลือให จ้ บ ั ตามหมายจับ (กรณี ตาม ม. 82)

หรือเป็ นความผิดซึงหน้ ่
าตามทีระบุไว ้ ในบัญชีท ้าย ป.วิ.อ. (มาตรา 79)

การขอความช่ ว ยเหลื อให้จ บ


ั ตามหมายจับ
มาตรา 82
เจ า้ พนั ก งานผู จ้ ัด การตามหมายจับ อยู่ จ ะขอความ
ช่วยเหลือจากบุคคลทีอยู่ ่ใกล ้เคียงเพือจั
่ ดการตามหมายนั้นได ้
แต่จะบังคับให ้ช่วยโดยอาจเกิดอันตรายแก่เขาไม่ได ้
้ ุ ค คลที่ อยู่
ข้อ สัง เกต เจ า้ พนั กงานจะขอให บ
่ ่ ่
• อานาจจับของราษฎรมาตรา 79
• ได ้แก่กรณี ดงั ต่อไปนี ้

• 1. เป็ นการกระทาความผิดซึงหน้ าตาม ป.วิ.อ. มาตรา

80 และความผิดซึงหน้ ้ ต้องได้ระบุไว้ในบัญชีทา้ ย
านัน
ประมวลกฎหมายวิธพ ี จ
ิ ารณาความอาญา (ป.วิ.อ.
มาตรา 79)
• ได ้แก่ ความผิดต่อเจ ้าพนักงาน, หลบหนี จากทีคุ ่ มขัง, ความผิด
ต่อศาสนา, ก่อจลาจล, ปลอมแปลงเงินตรา, ข่มขืนกระทาชาเรา,
ประทุษร ้านแก่ชวี ติ , ประทุษร ้ายแก่รา่ งกาย, ความผิดฐานทาให ้

เสือมเสี ่
ยอิสรภาพ, ลักทร ัพย ์, วิงราวทร ัพย ์, ชิงทรัพย ์, ปล ้นทร ัพย ์,
กรรโชก
• ข้อสังเกต
• อานาจในการจับของราษฎรนั้นเป็ นข ้อยกเว ้นจึงมีนอ้ ยกว่า
พนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจ ในกรณี ทเป็ ี่ นการกระทา
ความผิดซึงหน้ ่ าไม่วา่ จะเป็ นการกระทาความผิดซึงหน้ ่ าอย่าง
่ ่
• ตัวอย่าง นายราษฎรเห็นนายแดงขณะกาลังลัก
ทร ัพย ์นายดา นายขาวจับกุมนายแดงได ้โดยอาศัย
อานาจตาม ป.วิ.อ. มาตรา 79 ประกอบกับมาตรา 80
ี่
เป็ นกรณี ทนายขาวเห็ นนายแดงกาลังกระทา (ป.วิ.อ.
มาตรา 80 วรรคหนึ่ ง) และความผิดฐานลักทร ัพย ์นั้น
ระบุไว ้ในบัญชีท ้ายประมวลฯ ด ้วย
• ตัวอย่าง นายขาวราษฎรเห็นนายดาวิงไล่ ่ ตามหลัง
นายแดงพร ้อมกับร ้องว่า “ขโมย” นายขาวจับนายแดง
ได ้ โดยอาศัยอานาจตาม ป.วิ.อ. มาตรา 79 ประกอบ
ี่
กับมาตรา 80 เป็ นกรณี ทนายขาวเห็ นนายแดง “ถูกไล่
่ ก้ ระทา (ความผิด) โดยมีเสียงร ้องเอะอะ” (ป.
จับดังผู
วิ.อ. มาตรา 80 วรรคสอง (1)) และความผิดฐานลัก
ทร ัพย ์นั้นก็ระบุอยู่ในบัญชีท ้ายประมวลฯ ด ้วย
• 2.เจ้าพนักงานผู จ
้ ัดการตามหมายจับขอความ
ช่วยเหลือให้จ ับ (ป.วิ.อ. มาตรา 82) *จะบังคับ
โดยอาจเกิดอ ันตรายแก่เขาไม่ได้
• ตัวอย่าง ส.ต.ต. ขาวจะจับนายแดงตามหมายจับ
นายแดงทีวิ่ งหนี
่ ส.ต.ต. ขาวจึงขอความช่วยเหลือ
จากนายเหลืองให ้ช่วยจับ นายเหลืองจับนายแดงได ้
โดยอาศัยอานาจตาม ป.วิ.อ. มาตรา 82 ทังนี้ แม้
้ วา่ ใน
ตอนแรก ส.ต.ต.ขาวจะจับนายแดงในความผิดทีไม่ ่ อยู่
ในบัญชีท ้ายประมวล ฯ ก็ตาม
• ข้อสังเกต
• 1) ถ ้า ส.ต.ต. ขาวจับนายแดงขณะกาลังขายยา
่ า) และ ส.ต.ต.ขาวขอความ
เสพติด (ความผิดซึงหน้
่ ้าพนักงานผูจ้ ด
• 2) การทีเจ ั การตามหมายจับ “ขอความ
ช่วยเหลือ” ต ้องถือว่าเป็ น “หน้าที”่ ของราษฎรทีจะต ่ ้องช่วย
โดย ป.วิ.อ. มาตรา 82 ใช ้คาว่า “บังคับ” ซึงก็ ่ หมายความว่า
หากไม่เกิดอันตรายแก่ราษฎรแล ้ว ราษฎรต ้องช่วย หากไม่
ช่วยก็มค ี วามผิดฐานขัดคาสังของเจ ่ ้าพนักงานตาม ป.อ.
มาตรา 368 และเมือ ่ “ต ้องช่วย” แล ้วก็ได ้ร ับการคุ ้มครองทันที
ี่ อสู ้หรือขัดขวาง ก็มค
กล่าวคือ ผูท้ ต่ ี วามผิดตาม ป.อ. มาตรา
138 เพราะเป็ นการต่อสู ้ขัดขวาง “ผูซ ึ่ ้องช่วยเหลือ
้ งต
พนักงานตามกฎหมายในการปฏิบต ั กิ ารตามหน้าที”่ ผูท้ ท ี่ า
ร ้ายร่างกาย ก็มค ี วามผิดตาม ป.อ. มาตรา 296 (ประกอบกับ
มาตรา 289 (3)) ผูท้ ฆ่ ี่ าก็ผด
ิ ตาม ป.อ. มาตรา 289 (3)
เพราะเป็ นการกระทาต่อ “ผูช ้ ว่ ยเหลือเจ ้าพนักงาน”
• 3. นายประกันหรือผู เ้ ป็ นหลักประกันจับผู ต
้ อ
้ งหา
่ และจะหลบหนี ตามเงื่อนไขใน ป.
หรือจาเลยทีหนี
วิ.อ.มาตรา 117
• มาตรา ๑๑๗เมือผู ่ ต ้ อ ้ งหาหรือจาเลยหนี หรือจะหลบหนี
ให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจทีพบการกระท ่ า
ดังกล่าวมีอานาจจับผู ต ้ อ้ งหาหรือจาเลยนันได้ ้ แต่ในกรณี
่ คคลซึงท
ทีบุ ่ าสัญญาประกันหรือเป็ นหลักประกันเป็ นผู พ ้ บ
เห็นการกระทาดังกล่าว อาจขอให้พนักงานฝ่ายปกครอง

หรือตารวจทีใกล้ ทสุี่ ดจับผู ต ้ อ
้ งหาหรือจาเลยได้ ถ้าไม่
สามารถขอความช่วยเหลือจากเจ้าพนักงานได้ทน ั ท่วงที ก็
ให้มอี านาจจับผู ต
้ อ้ งหาหรือจาเลยได้เอง แล้วส่งไปยัง
พนักงานฝ่ายปกครองหรือตารวจทีใกล้ ่ ี่ ด และให้เจ้า
ทสุ
้ บจัดส่งผู ต
พนักงานนันรี ้ อ้ งหาหรือจาเลยไปยังเจ้าพนักงาน
หรือศาล โดยคิดค่าพาหนะจากบุคคลซึงท ่ าสัญญาประกัน
หรือเป็ นหลักประกันนัน ้

่ า ถ้าไม่สามารถขอความ
• สังเกตจากถ ้อยคาในมาตรา 117 ทีว่
ี่ าเลยแทงผูต้ าย
 ขณะเกิดเหตุทจ ผู ้เสียหาย
่ ดเหตุและไม่เห็นเหตุการณ์
ไม่ได ้อยูใ่ นทีเกิ
โดยผูเ้ สียหายยืนอยู่ห่างจากทีเกิ่ ดเหตุ
ประมาณ 50 เมตร มองไม่เห็นทีเกิ ่ ดเหตุ
เพราะมีร ้านค ้าบังอยู่ ผูเ้ สียหายซึงเป็่ น
ราษฎรจึงไม่มอ ี านาจจับตามกฎหมาย
เพราะมิใช่ความผิดซึงหน้ ่ า ตาม ป.วิ.อ.
มาตรา 79 (ฎ.4282/2555)
กรณี เจ้าพนักงานผู จ
้ ด
ั การตามหมายจับ
ขอความช่วยเหลือราษฎรให้ชว ่ ยจับกุม
(จาก ม.82 ป.วิ )
แต่ทงนี ้ าพนักงานผู น
้ั เจ้ ้ั
้ นจะบั
งคับราษฎรให้ชว
่ ยโดยอาจ
เกิดอ ันตรายแก่ราษฎรไม่ได้
องค ์ประกอบ
1. ต้องเป็ นกรณี เจ้าพนักงานจ ัดการตาม
หมายจับเท่านัน้
หากเป็ นกรณี เจ ้าพนักงานจับโดยไม่มห
ี มาย แม้จะ
ร ้องขอให ้ราษฎรช่วย ราษฎรก็ไม่มอ ี านาจ ดังนั้นจึง
เฉพาะการจับของเจ ้าพนักงานตามหมายจับเท่านั้น
โดยไม่มขี อบเขตจากัดว่าเป็ นความผิดฐานใดตาม
หมายจับ (ไม่ต ้องดูตามท ้ายประมวล )
2. ได้ร ับการร ้องขอให้ชว
่ ยเหลือจากเจ้า
พนักงานให้ชว ่ ยจับ
3. เจ้าพนักงานจะบังค ับให้ชว่ ยโดยอาจเกิด

ขันตอนการปฏิ
บตั ก
ิ รณี ราษฎรเป็ นผู จ
้ ับ

ี่ กจับว่า
1. แจ ้งแก่ผูท้ จะถู
“ เขาต้องถูกจับ ! ” หาก
สามารถแจ ้งได ้ แต่หากไม่
สามารถแจ ้งได ้ขณะนั้น เช่น
ผูก้ ระทาผิดต่อสู ้ขัดขวาง
ราษฎรผูจ้ บั สามารถจับได ้โดยไม่
ต ้องแจ ้งว่าเขาต ้องถูกจับ (ตาม
หลักฎีกา ที่ 319-320/2521)
่ ้ผูถ้ ก
2. สังให ู จับไปยังโรงพักแห่งท ้องทีที่ ถู
่ กจับ
แต่ถ ้าจาเป็ นก็สามารถจับตัวไปได ้ โดยวิธก ี ารเท่าที่
จาเป็ นแห่งพฤติการณ์แห่งการจับนั้น
ในทางปฎิบต ั ิ:
2.1 อาจจับตัวไว ้แล ้วแจ ้งให ้ตารวจไปรบั ตัว
ณ สถานทีจั ่ บกุม เมือต ่ ารวจไปถึงให ้ส่งตัวผูถ้ กู จับให ้

ตารวจ และให ้แจ ้งชือ-นามสกุ ล, อายุ ,อาชีพ ,ที่
อยู ่, เบอร ์โทรศ ัพท ์ ของราษฎรผู ้จับแก่เจ ้าหน้าที่
ตารวจผูไ้ ปร ับมอบตัว พร ้อมทังแจ ้ ้งข ้อความและ
พฤติการณ์แห่งการจับให ้ตารวจทราบ และหลังตารวจ
ทาบันทึกจับกุม ให ้ราษฎรผูจ้ บ ั ลงลายมือชือไว ่ ้ใน
บันทึกจับกุมด ้วย
๓. หากผูถ้ ก ู จับขัดขวางหรือจะ
ขัดขวางการจับ หรือ จะหลบหนี
หรือพยายามจะหลบหนี ผูจ้ บ ั มี
อานาจใช ้วิธห ี รือการป้ อง

ทังหลายเท่ ่
าทีเหมาะสมแก่
พฤติการณ์แห่งการเรืองในการ ่
จับนั้น
๔. ถ ้าผูถ้ ก
ู จับได ้ร ับบาดเจ็บ ให ้
จัดการพยายามก่อนนาตังส่ง
พนักงานสอบสวนหรือตารวจ

5. เมือมาถึ งโรงพักกรณี จบ ั
มาส่งโรงพักเอง หรือ กรณี จบ ั
แล ้วแจ ้งตารวจไปร ับตัวผูถ้ ก ู จับ
่ ดเหตุและเจ ้าหน้าที่
ยังทีเกิ
ตารวจไปถึงยังทีที ่ ราษฎร

ควบคุมตัวผูถ้ ก ู จับไว ้แล ้ว ให ้
ปฏิบต ั ต
ิ ามข ้อ 2.1 หรือ 2.2
แล ้วแต่กรณี
6. เมือส่่ งมอบตัวผูถ้ ก ู จับแก ้
ตารวจและปฏิบต ั ติ ามข ้อ 5

เรียบร ้อยแล ้ว จะเป็ นขันตอน
ของเจ ้าหน้าทีต ่ ารวจและ
ผลของการจับโดยราษฎรโดยมิชอบ

๑. ผูจ้ ะถูกจับโต ้ตอบกลับมาโดยอ ้างป้ องกันตาม ป.อ.


ม. 68 ได ้
๒. ผูจ้ บ ่
ั ไม่ชอบ ย่อมผิดฐานหน่ วงเหียวกั กขัง หรือ
ความผิดต่อเสรีภาพ ตาม ป.อ. ได ้
๓. หากจับไม่ชอบ ผูถ้ ก ู จับต่อสู ้ขัดขวางไม่มค
ี วามผิด
ตาม ป.อ. ม. 138

แต่ มาตรา 138 ผู ้ใดต่อสูหรื้ อขัดขวางเจ ้าพนักงานหรือผูซ้ งต้ึ่ องช่วยเจ้าพนักงาน


ตามกฎหมายในการปฏิบต ิ ารตามหน้าที่ ต ้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่ งปี หรือปร ับไม่เกินสอง
ั ก
้ าทังปร
พันบาท หรือทังจ ้ ับ
วิธกี ารจับ (มาตรา 83,84)
- ตอ้ งแจ ้งแก่ผูท ี่ กจับนั้นว่าเขาต ้องถูกจับ (มาตรา
้ จะถู
83 วรรคหนึ่ ง)
แต่ถ ้าผูก้ ระทาผิดต่อสูขั ้ ดขวาง ก็ไม่จาต ้องแจ ง้ ว่าเขาต ้องถูก
จับ(ฎ.ที่ 319-320/2521)
- ต ้องแจ ้งสิทธิแก่ผูถ้ ก
ู จับ (มาตรา 83 วรรคสอง)
แม้การจับกุมจะไม่ชอบดว้ ยกฎหมาย ก็ไม่ทาให ก ้ าร
สอบสวนทีชอบด ่ ว้ ยกฎหมายเสียไปดว้ ย เพราะถือว่าเป็ นคน
ล ะ ขั้ น ต อ น กั น ( ฎ . 1 5 4 7 / 2 5 4 0 , ฎ . 2 6 9 9 / 2 5 1 6 ,
ฎ.3238/2531ฎ1493/2550) รวมทังกรณี ้ การควบคุมตัว
เกินกาหนดด ้วย (ฎ.4113/2552)
วิธป
ี ฏิบต
ั ใิ นการจับกุม

ี่ กจับนั้นว่า “เขาต ้องถูกจับ”


1. การแจ ้งแก่ผูท้ จะถู
(ไม่ มี ห มายจับ ) หรือ แจ ง้ ข อ้ ความในหมายให ้
ทร า บ ห รือ ส่ ง ห มา ยนั้ นให เ้ ข า ต ร ว จ ดู ( มี
หมายจับ)
่ กขัดขวาง
2. การใช ้อานาจหรือป้ องกันเมือถู
3. เจา้ พนักงานผูจ้ บ
ั ตอ้ งแจ ้งขอ้ กล่าวหาใหผ
้ ูถ้ ูก
วิธป
ี ฏิบต
ั ใิ นการจับกุม (ต่อ)

4. แจ ง้ ให ผ ้ ูก จับ ทราบว่า มีส ิทธิที่จะไม่ ให ก


้ ูถ ้ าร
หรือให ก ้ ารก็ ไ ด แ้ ละถ อ้ ยค าของผู ถ้ ู ก จับ นั้ น
อาจใช ้เป็ นพยานหลักฐานในการพิจารณาคดี
ได ้
5. แจ ง้ ให ผ ้ ู ก จับ ทราบว่ า มี ส ิท ธิที่จะพบและ
้ ูถ
ป รึ ก ษ า ท น า ย ค ว า ม ห รื อ ผู ้ ซ ึ่ ง จ ะ เ ป็ น
ทนายความ
วิธป
ี ฏิบต
ั ใิ นการจับกุม (ต่อ)

6.ถา้ ผูถ้ ูกจับประสงค ์จะแจง้ ใหญ ้ าติหรือ ผูซ ึ่


้ งตน
ไว ้วางใจทราบถึงการจับกุมทีสามารถด่ าเนิ นการ
ไดโ้ ดยสะดวก และไม่เป็ นการขัดขวางการจับ
หรือการควบคุมผูถ้ ูกจับ หรือทาใหเ้ กิดความไม่
ปลอดภัยแก่บุคคลหนึ่ งบุคคลใด เจ ้าพนักงานก็
ต ้องอนุ ญาตใหผ ้ ูถ้ ก
ู จับดาเนิ นการได ้ตามสมควร
แก่กรณี
วิธป
ี ฏิบต
ั ใิ นการจับกุม (ต่อ)

7. เจ ้าพนักงานผูท้ าการจับต ้องเอาตัวผู ้ถูกจับไปยังที่


ทาการของพนักงานสอบสวนโดยทันที (ไม่มี
หมายจับ) หรือเจ ้าพนักงานผูท้ าการจับต ้องเอาตัวผู ้

ถูกจับไปยังศาล ซึงออกหมายหรื อเจ ้าพนักงาน
่ าหนดไว ้ในหมายโดยด่วน (มีหมายจับ)
ตามทีก
วิธป
ี ฏิบต
ั ใิ นการจับกุม (ต่อ)

่ งทีท
8. เมือถึ ่ าการของพนักงานสอบสวนแล ้ว
เจ ้าพนักงานผูจ้ บ ั ต ้องแจ ้งข ้อกล่าวหาและ
รายละเอียดเกียวกั่ บเหตุแห่งการจับ (ไม่มี
หมายจับ)
้ กครงเมื
(แจ ้งยาอี ้ั อถึ
่ งทีท่ าการของ
พนักงานสอบสวน) หรือแจ ้งหมายจับให ้ผูถ้ ก

จับทราบและอ่านหมายจับให ้ฟัง (มีหมายจับ)
วิธป
ี ฏิบต
ั ใิ นการจับกุม

9. การค ้นตัวผูต้ ้องหาและยึดสิงของที ่
อาจใช ้เป็ น
พยานหลักฐาน
10. การบัน ทึก รายละเอีย ดแห่ ง การจับ (บัน ทึก
การจับกุม) และมอบสาเนาบันทึกการจับกุ ม
ให ้แก่ผูถ้ ก ู จับ ม.83 วรรค 2
11. เจ า้ พนั กงานซึงมี ่ ผูถ
้ ูกจับ มาส่ง จะปล่อ ย ผู ้
่ั
ถูกจับชวคราวหรื อควบคุมผู ้ถูกจับไว ้ก็ได ้

You might also like