You are on page 1of 76

่ ยวข้

กฎหมายทีเกี ่ องกับเด็ก
เยาวชนและครอบคร ัว
“นิ ยามความหมาย”
 นิ ยามตามอนุ สญ
ั ญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
(CRC)

“เด็กหมายถึง มนุ ษย ์ทุกคนทีอายุ ่
ตากว่

สิบแปดปี เว้นแต่ จะบรรลุนิตภ ิ าวะก่อนหน้า

นันตามกฎหมายที ใช้ ้
่ บงั คับแก่เด็กนัน”

 นิ ยามตามพระราชบัญ ญัต ิคุ ม


้ ครอง
เด็ก พ.ศ.๒๕๔๖ ม.๔
“เด็ก หมายความว่า บุ คคลซึงมี่ อายุ ต่า
กว่าสิบแปดปี บริบูรณ์ แต่ไม่รวมถึงผู ท ี่
้ บรรลุ
เด็กไทย ร ักใสหรือร ักเซ็กส ์
วัยรุน ่ อไปนี ้
่ ไทยครองแชมป์ ในเรืองต่
 ยอมร ับการมีคู่นอนมากกว่า ๑ คน ค่าเฉลีย ่
"สู ง ทีสุ่ ดในโลก" คือ มีร อ้ ยละ ๕๒ (ค่า เฉลีย ่

ทัวโลกคื อ ร ้อยละ ๓๔)
 ่
เริมเรี ่ กษา "ช้าทีสุ
ยนรู เ้ รืองเพศศึ ่ ดในโลก"

คือเมืออายุ
๑๓.๕ ปี (ค่าเฉลียทั ่ วโลกคื
่ อ ๑๒.๒ ปี )
 มีการใช้ถุงยางอนามัยเมือมี ่ เ ซ็กส ์คร งแรก
้ั
"น้อยทีสุ ่ ดในโลก"
เพียงรอ้ ยละ ๒๓ (ค่าเฉลียทั ่ วโลกคื
่ อ รอ้ ย
ละ ๕๗)
 พ่อแม่ไทยมีบทบาทในการสอนเรืองเพศแก่ ่
่ น
สถิตเิ ด็กและเยาวชนทีเป็
ผู ก้ ระทาความผิด
ปี พ.ศ.
จานวนคดี
๒๕๔๔
๓๑,๔๔๘
๒๕๔๕
๓๕,๒๘๕
๒๕๔๖
๒๙,๙๑๕
๒๕๔๗
๓๓,๓๐๘
สถิตก
ิ ารดาเนิ นการมู ลนิ ธศ
ิ ู นย ์
พิทก
ั ษ ์สิทธิเด็ก
บุคคลนอกครอบครัว ผูกระท
้ ากรณีล่วงเกินทางเพศ
41%

บุคคในครอบครัว
บุคคลนอกครอบครัว

บุคคในครอบครัว
59%

รายงานการวิจ ัยเรืองความ
รุนแรงในครอบคร ัว
 งานวิจ ย ั ของมหาวิท ยาลัย มหิด ล/มู ลนิ ธิ
ผู ห
้ ญิง
๑.จังหวัดกรุงเทพฯ
- ไม่เคยถูกกระทา ร ้อยละ ๕๙
- เคยถูกกระทา ร ้อยละ ๔๑
๒.จังหวัด ข.
- ไม่เคยถูกกระทา ร ้อยละ ๕๓
- เคยถูกกระทา ร ้อยละ ๔๗
่ งประเทศ
เฉลียทั ้
- ไม่เคยถูกกระทา ร ้อยละ ๕๖
ในเด็กและสตรี

ทีมาร ับบริการที ่
ปี

ศู นย ์พึงได้
จานวน
โรงพยาบาล
จานวนเด็กและสตรีท ี่
ถู กกระทารุนแรง

เฉลียการถู
ร ้าย
กทา

๒๕๔๖ ๑๗ ๑,๘๒๕ ๕ ราย/วัน

๒๕๔๗ ๗๒ ๖,๙๕๑ ๑๙ ราย/วัน

๒๕๔๘ ๑๐๙ ๑๑,๕๔๒ ๓๒ ราย/วัน

๒๕๔๙ ๙๑ ๑๔,๓๘๒ ๓๙ ราย/วัน

๒๕๕๐ ๒๕๐ ๑๗,๑๗๐ ๔๗ ราย/วัน


ภาพรวมสถานการณ์ความ
รุนแรงต่อเด็กและสตรี
 ปี ๒๕๔๘ มีเ ด็ ก ถู ก ละเมิด ทางเพศจ านวน
๓,๘๒๕ คนและเพิ่มเป็ น ๕,๒๑๑ คนในปี
๒๕๔๙
 มกราคม-ธ น ั วาคม ๒๕๔๙ มีค ดีเ กี่ยวกับ
ค ว า ม ผิ ด ท า ง เ พ ศ ๕ , ๒ ๒ ๘ ค ดี แ ต่ จั บ
ผู ก
้ ระทาความผิดได้เพียง ๒,๑๗๐ คดี
 ประมาณการณ์ค รอบคร วั ไทย ๑๘.๑ ล้า น
ครอบคร ัว จะมีการใช้ความรุนแรง ๕.๒ ล้าน
ค ร อ บ ค ร ัว คิ ด เ ป็ น ค ว า ม สู ญ เ สี ย ท า ง
เศรษฐกิจ ๓๖,๖๘๗ ล้านบาทต่อปี
ตัวเลขการค้ามนุ ษย ์ (อย่างไม่
เป็ นทางการ)
 มีเด็กและหญิงชาวพม่าประมาณ ๒-๓ หมืน ่
คน ถู กน ามาค้า ประเวณี ในประเทศไทย
(สตช. ๒๕๔๕)
 มี เ ด็ ก และหญิ งไทยมากกว่ า ๓ หมื่ นคน
ทางานในอุต สาหกรรมทางเพศในประเทศ
ญีปุ่่ น (Asian Migration News, ๑๙๙๙)
 มีชาวกัมพู ชาลักลอบเข้าประเทศไทย (ส่วน
ใหญ่ ม ี ก ระบวนการค้า มนุ ษย พ ์ าเข้า มา )
ประมาณ ๘๘,๐๐๐ คน (IOM, ๒๕๔๒)
 มีช าวลาวลัก ลอบเข้า ประเทศไทย (ส่ ว น
ใหญ่ ม ี ก ระบวนการค้า มนุ ษย พ ์ าเข้า มา )
ประมาณ ๔๕,๐๐๐ คน (IOM, ๒๕๔๒)
อนุ สญ
ั ญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
ส มั ช ช า ใ ห ญ่ ส ห ป ร ะ ช า ช า ติ ไ ด้ ร ับ ร อ ง
อ นุ สั ญ ญ า ด้ ว ย สิ ท ธิ เ ด็ ก เ มื่ อ วั น ที่ ๒๐
พฤศจิกายน ๒๕๓๒ และมีผลบังคบ ่ นที่
ั ใช้เมือวั
๒ กันยายน ๒๕๓๓
ข ณ ะ นี ้ มี ป ร ะ เ ท ศ เ ป็ น ภ า คี ส ม า ชิ ก ๑ ๙ ๕
ประเทศ
ั ญานี ้โดยการ

ประเทศไทยเข้าเป็ นภาคีอนุ สญ
ภาคยานุ วต ั รเมือวั่ นที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕๓๕ และ

มีผลบังค ับใช้เมือวันที ่ ๒๖ เมษายน ๒๕๓๕
มีการตงข้้ั อสงวนไว้ ๒ ข้อ
- ข้อ ๗ ่
เรืองการจดทะเบี
ยนเด็ก
อนุ สญ
ั ญาว่าด้วยสิทธิเด็ก

 ิ (Survival Rights)
สิทธิในการดารงชีวต

้ั
ถือ เป็ นสิท ธิข นพื ้
นฐานโดยทั ่วไป เช่ น
สิทธิในการมีชวี ต ี่
ิ อยู ่ สิทธิทจะได้ ร ับบริการ
ส า ธ า ร ณ สุ ข ขั้ น พื ้ น ฐ า น สิ ท ธิ ที่ จ ะ มี
มาตรฐานความเป็ นอยู ่ทดี ี่ เป็ นต้น

 สิทธิในการได้ร ับการปกป้ องคุม


้ ครอง
(Protection Rights)
คือ สิทธิในการไม่ถูกเอาเปรียบทางเพศ

การใช้แรงงานทีอาจก่ อให้เ กิด อน
ั ตรายต่อ
อนุ สญ
ั ญาว่าด้วยสิทธิเด็ก

 สิท ธิท ี่จะได้ร บ


ั การพัฒ นา (Development
Rights)
ี่
เช่น สิทธิทจะได้ ร ับการศึกษา เป็ นต้น

 สิ ท ธิ ใ น ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ( Participation
Rights)
เช่น สิท ธิใ นการแสดงความคิด เห็ นได้

อย่ า งอิ ส ระในเรืองที ่ จะส่ ง ผลกระทบต่ อ
ตนเอง สิทธิในการได้ร ับข้อมู ลข่าวสาร เป็ น
ต้น
อนุ สญ
ั ญาว่าด้วยการขจัดการ
เลือกปฏิบต ั ต
ิ อ
่ สตรี
ในทุกรู ปแบบ
 สมัช ชาใหญ่ แ ห่ ง สหประชาชาติไ ด้ใ ห้ก าร
รบ ่ น ที่ ๑๘ ธ น
ั รองเมือวั ั วาคม ๒๕๒๒ และมี
ผลบังคับใช้ ๓ กันยายน ๒๕๓๔
 ประเทศไทยเป็ นภาคีสมาชิกโดยการภาคยานุ
่ นที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๒๘ และมีผลใช้
วัตร เมือวั
บังคบ ่ นที่ ๘ กันยายน ๒๕๒๘ เดิมได้ตง้ั
ั เมือวั
ข้อสงวนไว้ ๗ ข้อ
 ข้อสงวนปั จจุบน ั

- ข้อ ๑๖ เรืองเกี ่ยวกับ การสมรสและ
อนุ สญ
ั ญาว่าด้วยการขจัดการ
เลือกปฏิบต ั ต
ิ อ
่ สตรี
ในทุกรู ปแบบ
 ฐานะของประเทศไทยในการปฏิ บ ตั ิ ต าม
อนุ สญั ญา
- มี ก ารแก้ก ฎหมายที่ เลื อ กปฏิ บ ต ั ิ ต่ อ
ผู ห
้ ญิง
- มีห ลัก สู ตรเรืองสิ่ ท ธิม นุ ษยชน และ
สิท ธิม นุ ษยชนของสตรีใ นการศึก ษาทุ ก
ระด ับ
- ใ ห้ ผู ้ ห ญิ ง มี ส่ ว น ร่ ว มใ น ง า น ร ะ ดับ
บริหาร ในทุกส่วนของสังคม
- ในการออกกฎหมาย โดยเฉพาะ
ข้อ ก าหนดเกียวกั ่ บ ผู ห้ ญิง ต้อ งให้ผู ห้ ญิง มี
ร ัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจกั รไทย
พุทธศ ักราช ๒๕๕๐
 มาตรา ๕๒
“เด็ก และเยาวชน มีส ท ิ ธิในการอยู ่ ร อด
และได้ร บ ั การพัฒ นาด้า นร่า งกาย จิตใจ
แ ล ะ ส ติ ปั ญ ญ า ต า ม ศ ั ก ย ภ า พใ น
สภาพแวดล้อมทีเหมาะสม ่ โดยคานึ งถึงการ
มีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนเป็ นสาคญ ั
เ ด็ ก เ ย า ว ช น ส ต รี แ ล ะ บุ ค ค ลใ น
ครอบคร ัว มีสท ิ ธิได้ร ับความคุม ้ ครองจากร ัฐ
ให้ป ราศจากการใช้ค วามรุ น แรงและการ
ปฏิบ ตั ิอ น
ั ไม่ เ ป็ นธรรม ทังมี ้ ส ิท ธิไ ด้ร บ
ั การ
บาบัดฟื ้ นฟู ในกรณี ทมี ี่ เหตุด ังกล่าว
ร ัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจกั รไทย
พุทธศ ักราช ๒๕๕๐
 มาตรา ๔๐
“บุ ค คลย่ อ มมีส ิท ธิใ นกระบวนการยุ ต ิธ รรม
ดังต่อไปนี ้
(๖) เด็ก เยาวชน สตรี ผู ส ้ ู ง อายุ หรือ ผู พ
้ ิก าร
หรือ ทุ พพลภาพ ย่ อ มมีส ท ิ ธิไ ด้ร ับความคุ ม้ ครอง
ในการดาเนิ นกระบวนพิจารณาคดีอย่างเหมาะสม
และย่ อ มมีส ท ิ ธิไ ด้ร บ
ั การปฏิบ ต ี่
ั ิท เหมาะสมในคดี

เกียวก ับความรุนแรงทางเพศ”
 มาตรา ๘๐
“ร ฐั ต้อ งด าเนิ นการตามแนวนโยบายด้า น
สังคม.... ดงั ต่อไปนี ้
(๑) คุ ้ม ครองและพัฒ นาเด็ ก และเยาวชน
สนั บ สนุ น การ อบร มเลี ้ยงดู และ ให้ก ารศึ ก ษ า
กฎหมายทีเกี ่ ยวข้
่ องกับกรณี เด็ก/หญิงที่
ประมวลกฎหมายอาญา/
ถู ก ทารุ ณ กรรม
ประมวลกฎหมายแพ่งฯ กฎหมายเฉพาะ เช่น กม.
ประมวลกฎหมายวิธ ี คุม
้ ครองเด็ก หรือ กม.
พิจารณาความอาญา คุม้ ครองผู ถ
้ ู กกระทาด้วย
ความรุนแรงในครอบคร ัว

เป้ าหมายหลักในการนา จัดความสัมพันธ ์ทาง ้


กาหนดการเลียงดู เด็กตาม
ตัวผู ก
้ ระทาความผิดมาร ับ กฎหมายระหว่างเด็กและ มาตรฐาน ปกป้ องคุม้ ครอง
โทษ ครอบคร ัว ่ ง
ให้การช่วยเหลือเด็กทีพึ
คุม
้ ครองความสงบสุขทาง จ ัดความสัมพันธ ์ทาง ได้ร ับการสงเคราะห ์/
สังคม กฎหมายระหว่างสามี คุม
้ ครอง
กาหนดมาตรการวิธก ี าร ภริยา แก้ไขเยียวยาความรุนแรง
ดาเนิ นการทางกฎหมายที่ การเรียกร ้องค่าเสียหาย ในครอบคร ัว
้ ับเด็ก
เอือก ในทางแพ่ง
สถานภาพทางกฎหมาย
ี่ ผลบังคับใช้แล้ว
กฎหมายใหม่ทมี
 พระราชบัญญัตค ิ ม
ุ ้ ครองเด็ก พ.ศ.๒๕๔๖
 พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ต ิ ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร จั ด ก า ร
สว ัสดิการสังคม พ.ศ.๒๕๔๖
 พระราชบัญ ญัต ิ สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ พ .ศ.
๒๕๕๐
 พระราชบัญ ญัต ิคุ ม ้ ครองผู ถ ้ ู ก กระท าด้ว ย
ความรุนแรงในครอบคร ัว พ.ศ.๒๕๕๐
 พระราชบัญ ญัต ิ แ ก้ไ ขเพิ่ มเติ ม ประมวล
กฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๐ และ ๒๑) พ.ศ.
๒๕๕๐ และ ๒๕๕๑
ี่ ผลบังคับใช้
กฎหมายใหม่ทมี
(ต่อ)
 พระราชบัญญัตป ิ ้ องกันและปราบปรามการ
ค้าประเวณี พ.ศ.๒๕๓๙
 พระราชบัญ ญัต ิป้ องกัน และปราบปราม
การค้ามนุ ษย ์ พ.ศ.๒๕๕๑
 พระราชบัญญัตค ิ วบคุมเครืองดื ่ ม่
แอลกอฮอล ์ฯ
 พระราชบัญญัตส ิ ุขภาพจิต พ.ศ.๒๕๕๐
 พระราชบัญญัตป ิ ้ องกันและปราบปราบการ
ฟอกเงิน พ.ศ.๒๕๔๒
 พระราชบัญญัตค ิ ม ุ ้ ครองพยาน พ.ศ.๒๕๔๖
ความผิดตามประมวลกฎหมาย
อาญา
มาตรา๒๙๕ “ผู ใ้ ดท ารา้ ยร่า งกายผู อ ื่
้ น
จนเป็ นเหตุให้เ กิด อ น
ั ตรายแก่ร า
่ งกายหรือ
จิตใจของผู อ ื่ น
้ นนั ้ ผู น ้ั
้ นกระท าความผิดฐาน
ทาร ้ายร่างกาย ต้องระวางโทษ....”

มาตรา ๒๘๘ “ผู ใ้ ดฆ่ า ผู อ ื่ ต้อ งระวาง


้ น
โทษ....”

มาตรา ๓๙๑ “ผู ใ้ ดใช้กาลังทารา้ ยผู อ ื่


้ น
โดยไม่ ถ ึ ง กับ เป็ นเหตุให้เ กิ ด อ น
ั ตราย แก่
ร่างกายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษ....”
ความผิดตามประมวลกฎหมาย
อาญา
มาตรา ๒๗๖ “ผู ใ้ ดข่มขืนกระทาชาเรา
ผู อ้ ื่นโดยขู่ เ ข็ ญ ด้ว ยประการใด ๆ โดยใช้
กาลังประทุษรา้ ย โดยผู อ ื่ ้นอยู ่ในภาวะที่
้ นนั
ไม่สามารถขัดขืนได้ หรือโดยทาให้ผูอ ื่ น
้ นนั ้
เข้าใจผิดว่าตนเป็ นบุคคลอืน ่ ต้องระวางโทษ
....
การกระท าชาเราหมายความ
ว่ า ก า ร ก ร ะ ท า เ พื่ อ ส น อ ง ค ว า มใ ค ร่ ข อ ง
ผู ก
้ ระทาโดยการใช้อวัยวะเพศของผู ก ้ ระทา
กระท ากับ อวัย วะเพศ ทวารหนัก หรือ ช่อ ง
ความผิดตามประมวลกฎหมาย
อาญา
มาตรา ๒๗๗ “ผู ใ้ ดกระท าช าเราเด็ ก
่ ใช่ภริยาหรือสามี
อายุยงั ไม่เกินสิบห้าปี ซึงมิ
ของตน โดยเด็กนั้นจะยินยอมหรือไม่ก็ตาม
ต้องระวางโทษ....
ความผิ ด ตามที่ บัญ ญัต ิ ไ ว้ใ น
วรรคหนึ่ ง ถ้าเป็ นการกระทาโดยบุคคลอายุ
ไม่เกินสิบแปดปี กระทาต่อเด็กซึงมี ่ อายุกว่า
สิบ สามปี แต่ย งั ไม่ เ กิน สิบ ห้า ปี โดยเด็ก นั้น
ยินยอม และภายหลังศาลอนุ ญาตให้ทงสอง ้ั
ฝ่ายสมรสกัน ผู ก ้ ระทาผิดไม่ตอ ้ งร ับโทษ ถ้า
ศาลอนุ ญาตให้ส มรสในระหว่า งทีผู ่ ก
้ ระท า
หลักการสาคัญตามประมวล
กฎหมายอาญา
 อายุและความร ับผิดทางอาญา

มาตรา ๗๓ “เด็กอายุยงั ไม่เกิน


สิบปี กระท าการอน ั กฎหมายบัญญัต ิ
เป็ นความผิด เด็กนันไม่ ้ ตอ
้ งร ับโทษ”
“ ใ ห้ พ นั ก ง า น
สอบสวนส่งตัวเด็กตามวรรคหนึ่ งให้

พนักงานเจ้าหน้าทีตามกฎหมายว่ า
ด้ ว ย ก า ร คุ ้ ม ค ร อ ง เ ด็ ก เ พื่ อ
ดาเนิ นการคุม ้ ครองสวัส ดิภาพตาม
หลักการสาคัญตามประมวล
กฎหมายอาญา (ต่อ)
 อายุและความร ับผิดทางอาญา
มาตรา ๗๔ “เด็ก อายุ ก ว่า สิบ ปี แต่ ย งั ไม่
เกินสิบห้าปี กระทาการอน ั กฎหมายบัญ ญัต ิ
เป็ นความผิด เด็ ก นั้นไม่ ต อ ้ งร บ
ั โทษ แต่ ใ ห้
ศาลมี อ านาจที่ จะด าเนิ นการด งั ต่ อไปนี ้
.............”
- ว่ากล่าวตักเตือนเฉพาะเด็กหรือ
้ ป
ทังผู ้ กครองด้วย
- วางข้อกาหนดกับบิดามารดาไม่
เกินสามปี และอาจกาหนดเงิ นไม่เกินครงละ ้ั
๑๐๐๐ บาท เมือเด็ ่ กก่อเหตุร ้ายอีก
หลักการสาคัญตามประมวล
กฎหมายอาญา (ต่อ)
 อายุและความร ับผิดทางอาญา
มาตรา ๗๔ (ต่อ)

- ศาลมีค าสังมอบให้ เ ด็ กไปอยู ่ ก บั
บุ ค คลหรือ องค ก ์ รตามที่เห็ น สมควรตาม
ระยะเวลาทีศาลก่ าหนด
- ส่งต ัวเด็กไปยังโรงเรียนหรือสถาน
ฝึ กและอบรมหรือ สถานที่ที่จัด ตังขึ ้ นเพื
้ ่อ
การฝึ กและอบรมเด็ก ตามทีศาลก ่ าหนด แต่
ห้า มไม่ เ กิน อายุ ส ิบ แปดปี หรือ มอบให้แ ก่
พนักงานเจ้าหน้าทีตาม ่ พรบ.คุม ้ ครองเด็กฯ
ป.กฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความ
อาญา ่
มาตรา ๑๓๓ ทวิ “ในคดีความผิดเกียวกับเพศ
ความผิด เกียวกั่ บ ชีว ิต และร่า งกายอ น ั มิใ ช่
ความผิด ที่เกิด จากการชุล มุ น ต่ อ สู .้ .... การ
ถามปากค าผู เ้ สีย หายหรือ พยานที่เป็ นเด็ ก
อายุไม่ เ กิน สิบ แปดปี ให้พ นั ก งานสอบสวน
แยกกระทาเป็ นส่วนสัดในสถานทีที ่ เหมาะสม

ส าหร บั เด็ ก และให้ม ี นั ก จิ ต วิ ท ยาหรือ นั ก
สัง คมสงเคราะห ์ บุ ค คลที่เด็ ก ร อ ้ งขอ และ
พนัก งานอ ย ั การเข้า ร่ว มในการถามปากค า
นั้นด้วย ในกรณี ทนั ี่ กจิตวิทยาหรือนักสังคม
สงเคราะห เ์ ห็ น ว่ า การถามปากค าเด็ ก คนใด
หรือ ค าถามใด อาจจะมีผ ลกระทบกระเทือ น
ป.กฎหมายวิธพ
ี จ
ิ ารณาความ
อาญา
มาตรา ๑๗๒ ตรี “…ในการสืบพยานในคดี
่ นเด็กอายุยงั ไม่เกินสิบแปด ให้ศาลจัดให้
ทีเป็
พยานอยู ่ใ นสถานทีที ่ เหมาะสมส
่ าหร ับเด็ก
แ ล ะ ศ า ล อ า จ ป ฏิ บ ั ต ิ อ ย่ า งใ ด อ ย่ า ง ห นึ่ ง
ด ังต่อไปนี ้
(๑) ศาลเป็ นผู ถ ้ ามพยานเองโดย
แ จ้ งใ ห้ พ ย า น นั้ น ท ร า บ ป ร ะ เ ด็ น แ ล ะ
ข้อเท็จจริงซึงต้ ่ องการสืบ แล้วให้พยานเบิก
ควา มใ นข้อ นั้ น ๆ ห รือ ศ า ล จะถา ม ผ่ า น
นักจิตวิทยาหรือนักสังคมสงเคราะห ์ก็ได้”
(๒) ให้คู่ค วามถาม ถามค้า น หรือ
ถ า ม ติ ง ผ่ า น นั ก จิ ต วิ ท ย า ห รื อ นั ก สัง ค ม
บุคลากรตามกฎหมายคุม
้ ครอง
 ใคร ?
เด็
ก ม.๒๔
ปลัด กร ะ ท ร วง ผู ้ว่ า ร าช กา ร จัง ห วัด
ผู อ
้ านวยการเขต นายอาเภอ ปลัดอาเภอผู ้
่ าเภอ หรือ ผู บ
เป็ นหัว หน้ า ประจ ากิงอ ้ ริห าร
องค ์กรปกครองส่วนท้องถิน ่

 ่
อานาจหน้าทีและบทบาทหน้ าที่ (โดยย่อ) ?
- คุ ม้ ครองสวัส ดิภ าพเด็ ก ที่อยู ่ ใ นเขต
้ ที
พืนที ่ ร่ ับผิดชอบ
- ดู แ ลและตรวจสอบสถานฯ ต่ า ง ๆ ๖
ประเภทและรายงานคณะกรรมการหรือ
อนุ กรรมการแล้วแต่ละกรณี
พระราชบัญญัตค
ิ ม
ุ ้ ครองเด็ก
พ.ศ.๒๕๔๖
หัวใจหลักของพระราชบัญญัตค ิ ม
ุ ้ ครอง
เด็ก
มาตรา ๒๓
ผู ป
้ กครองต้องให้การอุปการะเลียงดู ้
อบรมสั่งสอนและพัฒ นาเด็ ก ที่อยู ่ ใ น
ความปกครองดู แลของตนตามสมควร
แ ก่ ข น บ ธ ร ร ม เ นี ย ม ป ร ะ เ พ ณี แ ล ะ
วัฒนธรรมแห่งท้องถิน ่ แต่ทงนี ้ั ้ต้องไม่
ต่ากว่ามาตรฐานขันต ้ ่าตามทีก ่ าหนด

ข้อห้ามของบุคคลทัวไปตาม
มาตรา ๒๖
• กระทาหรือละเว้นการกระทาอ ันเป็ นการ
ทารุณกรรมต่อร่างกาย/จิตใจ
• จงใจ/ละเลยไม่ให้สงจ ิ่ าเป็ นแก่การดารงชีวต ิ
จนน่ าจะเกิดอ ันตราย
• บังคับ ขู่เข็ญ ช ักจูง ให้เด็กประพฤติตนไม่

สมควรหรือเสียงต่ อการทาผิด
• โฆษณาทางสือหรื ่ อเผยแพร่เพือร ่ ับเด็กหรือ
ยกเด็กให้บุคคลอืน ่
• บังคับ ขู่เข็ญ ช ักจูง ให้เด็กเป็ นขอทาน
เร่รอ
่ น หรือแสวงหาประโยชน์จากเด็ก

ข้อห้ามของบุคคลทัวไปตาม
มาตรา ๒๖ (ต่อ)
• บังคับ ช ักจู ง ขู่เข็ญ หรือยินยอมให้เด็ก
เล่นกีฬาหรือการอืนใดอ ่ ันเป็ นการ
แสวงหาประโยชน์ทางการค้าอัน
ขัดขวางการเจริญหรือทารุณกรรมเด็ก
• ใช้หรือยินยอมให้เด็กเล่นการพนัน
หรือเข้าไปในสถานทีเล่ ่ นการพนัน
สถานค้าประเวณี
• บังคับ ช ักจู ง ขู่เข็ญ หรือยินยอมให้เด็ก
แสดงหรือกระทาการอ ันเป็ นการลามก
อนาจาร
กลไกดู แลติดตามสภาวะของเด็กและ
ครอบคร ัว
่ บริการด้านต่างๆ
หน่ วยงานทีให้ แก่เด็กและ
ครอบคร ัวในชีวต
ิ ประจาว ัน

ใช้เครืองมื
อ ๔ ชิน้ จาแนกกลุ่มเด็ก

๑. มาตรฐานการเลียงดู ้ั า
ขนต ่ มาตรา ๒๓

ี ้ ดปั จจ ัยเสียง
๒.ด ัชนี ชวั ่ มาตรา ๒๘

๓.ข้อบ่งชีการถู กกระทา มาตรา ๔๑

๔. ข้อบ่งชีสภาวะเสี ่
ยงต่ อการกระทาความผิดของเด็ก
มาตรา ๔๔

เด็ก ่
เด็กเสียง ่
เด็กเสียง เด็กกระทา
เด็ก เด็ก
ต้องการ ่
ทีจะตก ต่อการ ความผิด
ปกติ ถูก
อยู ่ใน กระทา กระทา
บริการ
อ ันตราย ผิด
เป็ น
การแบ่งกลุ่มประเภทเด็กตาม
กฎหมาย
 ่ งได้ร ับการสงเคราะห ์
เด็กทีพึ
- เด็กเร่รอ ่ นหรือเด็กกาพร ้า
่ กทอดทิงหรื
- เด็กทีถู ้ อพลัดหลง
่ ป
- เด็กทีผู ้
้ กครองไม่สามารถเลียงดู เช่น ถูก
จาคุก พิการ เจ็บป่ วย
- เด็กทีผู่ ป ้ กครองประกอบอาชีพไม่เหมาะ
อ ันอาจส่งผลต่อเด็ก
- เด็กทีได้่ ร ับการเลียงดูโดยมิ
้ ชอบฯ อ ันเป็ น
ผลให้เด็กมีความ
ประพฤติเสือมเสี ่ ย
การแบ่งกลุ่มประเภทเด็กตาม
กฎหมาย (ต่อ)
 ่ งได้ร ับการคุม
เด็กทีพึ ้ ครองสวัสดิภาพ
่ กทารุณกรรม
- เด็กทีถู
่ ยงต่
- เด็กทีเสี ่ อการกระทาผิด
- เด็กทีอยู่ ่ในสภาพต้องได้ร ับการ
คุม
้ ครองสวัสดิภาพตามทีก ่ าหนดใน
กฎกระทรวง
๑.เด็กทีพ้ ่ นจากการกระทาผิดแล้ว
การแจ้งมาตรา ๒๙ วรรคแรก
ผู ใ้ ด

พบเห็นเด็กตกอยู ่ในสภาพ
่ าต้องได้ร ับการสงเคราะห ์
ทีจ
หรือคุม
้ ครองสวัสดิภาพ
ตามหมวด ๓ และหมวด ๔

ให้การช่วยเหลือ แจ้ง

เบืองต้

พนักงาน พนักงานฝ่าย ตาร ผู ม ี น้าที่
้ ห
เจ้าหน้าที่ ปกครอง วจ คุม้ ครองสวัสดิ
ภาพเด็กตาม
โดยมิ มาตรา ๒๔
ช ักช้า
การรายงานมาตรา ๒๙ วรรค ๒
แพทย ์ พยาบาล ครู อาจารย ์ หรือ
นักจิตวิทยา นักสังคม
่ นายจ้าง
สงเคราะห ์ หรือเจ้าหน้าที
สาธารณสุข ่
เป็ นทีปรากฎช ัด หรือ
น่ าสงสัย
เด็กถู กทารุณกรรมหรือเจ็บป่ วย
เนื่องจากการเลียงดูโดยมิ
้ ชอบ
ต้อง
รายงาน
พนักงาน พนักงานฝ่าย ตาร ผู ม้ หี น้าที่
เจ้าหน้าที่ ปกครอง วจ คุม้ ครอง
โดยมิ สวส ั ดิภาพ
ช ักช้า เด็กตาม
กลไกมาตรา
๔๑ พนักงานเจ้าหน้าที่
ผู ใ้ ด
พนักงานฝ่ายปกครองหรือ
ตารวจ หรือผู ม้ หี น้าที่
พบเห็นหรือ คุม
้ ครองสวัสดิภาพเด็ก
ประสบ ตามมาตรา ๒๔า
มีอานาจเข้
พฤติการณ์น่า ตรวจค้น
่ ามีการ
เชือว่ มีอานาจแยกตัวเด็กจาก
ทารุณกรรม ครอบคร ัวของเด็กเพือ ่
ต่อเด็ก คุม้ ครองสวัสดิภาพเด็ก
่ ด
โดยเร็วทีสุ
การให้การสงเคราะห ์
ให้ความช่วยเหลือใดๆทีท ่ าให้
ผู ป
้ กครองสามารถอุปการะเลียงดู ้ เด็กได้ตาม

มาตรา ๒๓ รวมทังการให้ คาแนะนาปรึกษา
การบาบัดฟื ้ นฟู การฝึ กทักษะทีจ ่ าเป็ นต่อการ

อุปการะเลียงดู เด็ก การฟื ้ นฟู ครอบคร ัว จัด
กลุ่มช่วยเหลือ ฯลฯ
มอบเด็ กให้ผู เ้ หมาะสมอุ ป การะเลียงดู ้
แทนไม่เกิน ๑ เดือน
กรณี เด็กกาพร ้า ดาเนิ นการเพือให้ ่ เด็ก
เป็ นบุตรบุญธรรมตามกฎหมายว่าด้วยการร ับ
เด็กเป็ นบุตรบุญธรรม
การคุม
้ ครองสวัสดิภาพ ๔๑ และ
๔๒
เพื่อไม่ ใ ห้เ ด็ ก ตกอยู ่ ใ นอ น ั ตราย พนัก งาน
เจ้า หน้ า ที่มีอ านาจน าตัว เด็ ก มาไว้ใ นอาร ก ั ขาได้
ทัน ที เพีย งแต่ เ กิด หรือ มีพ ฤติก ารณ์ท ีน่ ่ าเชือว่
่ า มี
การกระทาทารุ ณกรรมต่อเด็ก ไม่จาเป็ นจะต้องมี
พยานหลัก ฐานช ด ั เจนยื น ยัน ว่ า เด็ ก ถู กกระท า
ทารุณกรรมหรือใครเป็ นผู ล ้ งมือกระทาก็ได้
จัพนั
ดให้กเด็
งานเจ้ า หน้ า ที่มีักษาทางร่
กร ับการตรวจร อ านาจตรวจค้ น ตาม
างกายและ
จิมาตรา
ตใจทัน๓๐
ที และมีอ านาจแยกตัวเด็กจากครอบคร ัว
ของเด็กเพือไว้่ ในอาร ักขาโดยเร็วทีสุ ่ ด
อาจส่งตัวเด็กไปสถานแรกร ับ หรือไปร ับการ
สงเคราะห ์ตาม ม.๓๓
อ านาจของพนั ก งานเจ้า หน้ า ที่ กรณี นี ้ มี
เงื่อนเวลาจากด ั ไม่เกิน ๗ วัน หรือรอ้ งขอศาลเพือ ่
ขยายได้รวมไม่เกิน ๓๐ ว ันเท่านัน ้
การคุม
้ ครองสว ัสดิภาพเด็ก ตาม
มาตรา ๔๓ วรรค ๒
 กรณี ที่ สงสัย ว่ า เด็ ก จะถู กกระท าทารุ ณ
กรรม แต่ ไ ม่ ส ามารถน าตัว เด็ ก มาไว้ใ น
อาร ก ั ขาได้ โดยไม่ ม ี ก ารฟ้ องคดีอ าญา
หรือไม่ ฟ้ องคดีอ าญา พนั ก งานเจ้า หน้ า ที่
สามารถยื่นค าขอให้ศ าลออกค าสั่งมิ ใ ห้
บุ ค คลแวดล้อ มกระท าทารุ ณ กรรมแก่ เ ด็ ก
อีก โดยกาหนดมาตรการคุมความประพฤติ
และเรียกประกันด้วยก็ได้ นอกจากนั้นหาก
ศาลเห็นว่ามีเหตุจาเป็ น ศาลมีอานาจออก
่ จบ
คาสังให้ ั กุมตวั บุคคลผู น ้ั
้ นมากักขังไว้ครง้ั
ละไม่เกินสามสิบวันตามมาตรา ๔๓ วรรค ๓
การคุม ้ ครองสวัสดิภาพเด็กเสียง ่
ต่ อ การกระท
่ ่ าผิ ด
 ก ร ณี พ บ เ ด็ ก ที เ สี ย ง ต่ อ ก า ร ก ร ะ ท า ผิ ด
พ นั ก ง า น เ จ้า ห น้ า ที่ ต้อ ง ด า เ นิ น กา ร ห า

ข้อเท็จจริงเกียวกับตัวเด็ กก่อน
 พนั ก ง า น เ จ้า ห น้ า ที่ อ า จมอ บ ต ัว เ ด็ ก แ ก่
ผู ป
้ กครองหรือบุคคลทียิ ่ นยอมร ับเด็กนั้นไป
ปกครองดู แล โดยอาจแต่ ง ตังผู ้ ค ้ ุม
้ ครอง
สวัสดิภาพแก่เ ด็กตามมาตรา ๔๘ หรือไม่ ก็
ได้ และปรึกษาหารือกับบุคคลทีร่ ับตวั เด็กไป
ว า ง ข้ อ ก า ห น ด ห รื อ ข้ อ ป ฏิ บั ต ิ ใ น ก า ร
ปกครองดูแลเด็กของบุคคลนัน ้ ๆ
 หากผู ้น้ั นไ ม่ ป ฏิ บ ัต ิ ต า มข้อ ก าห นด ที่ ว่ า
พนักงานเจ้าหน้าทีจะร ่ ับเด็กกลับไปดู แลและ
ประเด็นในการสืบเสาะและพินิจ

การแพทย ์ สังคมสงเคราะห ์/การศึกษา


กฎหมาย

ค้นหาและรวบรวมข้อเท็จจริง

วิเคราะห ์และวินิจฉัยสาเหตุ

สภาวะ มู ลเหตุ
ความต้องการ
ประเด็นในการสืบค้นข้อเท็จจริง
มาตรา ๕๖ (๒) สื บ เสาะและพิ นิ จ
เกียวกั ่ บ อายุ ประวัต ิ ความประพฤติ
สติปัญญา การศึกษาอบรม ภาวะแห่ ง
จิต นิ ส ย ั อาชีพ และฐานะของเด็ก ที่
จ า ต้ อ งไ ด้ ร ับ ก า ร ส ง เ ค ร า ะ ห ์ห รื อ
คุ ้ ม ค ร อ ง ส วั ส ดิ ภ า พ ร ว ม ทั้ ง ข อ ง
ผู ป ้ กครอง หรือ บุ ค คลที่เด็ ก อาศ ย ั อยู ่
ด้ว ย ต ลอ ด จ น สิ่ งแว ดล้อ ม ทั้ง ปว ง

เกียวกั บเด็ก และมู ลเหตุทท ี่ าให้เด็กตก
อยู ่ในสภาวะจาต้องได้ร ับการสงเคราะห ์
หรือคุม ่
้ ครองสวัสดิภาพ เพือรายงานไป
การส่งเสริมความประพฤติ
นักเรียนนักศึกษา
 มาตรา ๖๓

“โรงเรียนและสถานศึกษาต้องจัดให้
มีระบบงานและกิจกรรมในการแนะแนว
ให้คาปรึกษาและฝึ กอบรมแก่นักเรียน
นัก ศึก ษา และผู ป ้ กครอง เพือส่ ่ ง เสริม
ค ว า ม ป ร ะ พ ฤ ติ ท ี่ เ ห ม า ะ ส ม ค ว า ม
ร ั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ สั ง ค ม แ ล ะ ค ว า ม
ปลอดภัยแก่นก ั เรียนและนักศึกษา ตาม
กระบวนการดาเนิ นการตาม
หมวด ๗
 ่
บทบาทหน้าทีของสถานศึ กษาตาม
มาตรา ๖๓
 บ ท บ า ท ห น้ า ที่ ข อ ง นั ก เ รี ย น แ ล ะ
นักศึกษาต้องประพฤติตนตามระเบียบ
ข อ งโ ร ง เ รีย น ห รือ ส ถ า น ศึ ก ษ า แ ล ะ
ตามทีก ่ าหนดในกฎกระทรวง มาตรา
๖๔
 พนัก งานเจ้า หน้ า ที่ที่ร ฐั มนตรีว่ า การ
กระทรวงศึก ษาธิก ารแต่ ง ตัง้ ร่ว มกับ
ผู บ
้ ริหารสถานศึกษาและสถานศึกษามี
ข้อพึงระวัง
 มาตรา ๒๗ พระราชบัญญัตค
ิ ม
ุ ้ ครอง
เด็กฯ

“ห้ามมิให้ผูใ้ ดโฆษณาหรือเผยแพร่
ทางสื่ อมวลชนหรือ สื่ อสารสนเทศ
ประเภทใด ซึงข้่ อ มู ลเกี่ยวกับ ตัว เด็ ก
้ กครอง โดยเจตนาที่จะท าให้
หรือ ผู ป
เกิด ความเสีย หายแก่ จ ิ ตใจ ชื่อเสี ย ง
เกีย รติคุ ณ หรือ สิท ธิป ระโยชน์อ ื่นใด

หัวใจหลักสุดท้ายของ
พระราชบัญญัตค ิ ม
ุ ้ ครองเด็ก
พ.ศ.๒๕๔๖
 มาตรา ๒๒

“การปฏิบต ั ต
ิ อ
่ เด็กไม่วา
่ กรณี ใด ให้
คานึ งถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็ น
สาคัญและไม่ให้มก ี ารเลือกปฏิบต ั โิ ดย
ไม่เป็ นธรรม”
สถานการณ์/สภาพปั ญหาความ
รุนแรง
ต่อเด็ก สตรี และการค้ามนุ ษย ์
 นิ ยามความรุนแรงในครอบคร ัว
อรอนงค ์ อินทรวิจต ิ ร และ นรินทร ์ กรินช ัย
“ความรุ น แรง หมายถึง พฤติก รรมและ
การกระท าใด ๆ ทีเป็ ่ นการละเมิด สิท ธิส่ ว น

บุ ค คลทังทางร่ า งกาย จิตใจ ทางเพศ โดย
การบัง คับ ขู่ เ ข็ ญ ท าร า้ ย ทุ บ ตี เตะต่ อย
ตล อดจน คุ ก คา ม จ า กัด แล ะกี ด กัน สิ ท ธิ
เ ส รีภ า พ ทั้งใ น ที่ ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ ใ น ก า ร
่ นผลหรือ อาจจะ
ด าเนิ น ชีว ิต ส่ ว นตัว ซึงเป็
เป็ นผลให้เ กิ ด ความทุ ก ข ท ์ รมานทังทาง้
นิ ยาม-ความหมาย
* การกระทาใด ๆ โดยมุ่งประสงค ์ให้เกิด
อ ันตรายแก่รา่ งกาย / จิตใจ/ สุขภาพ
* การกระทาโดยเจตนาในลักษณะทีน่ ่ าจะ
ก่อให้เกิด
อ ันตรายแก่รา่ งกาย/ จิตใจ/ สุขภาพ
* การกระทาโดยบังคบ ั หรือใช้อานาจ
ครอบงาผิดคลองธรรมให้บุคคลในครอบคร ัว
ต้อง
กระทาการอย่างหนึ่งอย่างใดโดยมิชอบ
ไม่ ก ระท าการอย่ า งหนึ่ งอย่ า งใดโดยมิ
ชอบ
นิ ยาม “บุคคลในครอบคร ัว”
 หมายความว่า
“คู ่สมรส คู ่สมรสเดิม ผู ท ี่ ่ ก น
้ อยู ิ หรือเคย
อยู ่ ก ิน ฉั น สามี ภ ริย าโดยมิไ ด้จ ดทะเบี ย น
ส ม ร ส บุ ต ร บุ ต ร บุ ญ ธ ร ร ม ส ม า ชิ กใ น
ครอบคร วั รวมทังบุ ้ ค คลใด ๆ ทีต้ ่ อ งพึงพา

อาศ ัยและอยู ่ในคร ัวเรือนเดียวกัน”

 โทษ
“ผู ้ก ระท าความผิ ด ฐานกระท าความ
รุ นแรงในครอบคร ัว ต้องระวางโทษจาคุกไม่
เกิน หกเดือ น หรือ ปร บั ไม่ เ กิน หกพัน บาท
หรือ ทังจ ้
้ าทังปร บ
ั แต่ ไ ม่ ล บล้า งความผิด
การแจ้ง/การรายงาน
 การแจ้งเหตุตามกฎหมาย ตามมาตรา ๕
“ผู ้ ถู ก ก ร ะ ท า ด้ ว ย ค ว า ม รุ น แ ร งใ น
ครอบคร วั หรือ ผู ท ้ ี่พบเห็ น หรือ ทราบการ
กระท าด้ว ยความรุ น แรงในครอบคร วั มี
ห น้ า ที่ แ จ้ ง ต่ อ พ นั ก ง า น เ จ้ า ห น้ า ที่ เ พื่ อ
ดาเนิ นการ”

 วิธก
ี ารแจ้งเหตุ ตามมาตรา ๖

“การแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที….อาจ
กระทาโดยวาจา เป็ นหนังสือ ทางโทรศพ ั ท์

อานาจของพนักงานเจ้าหน้าที่
๑. เข้าไปในเคหะสถาน หรือสถานทีที ่ ่
เกิดเหตุ เพือ ่
- สอบถามผู ก ้ ระทา
- สอบถามผู ถ ้ ูกกระทา
- ส อ บ ถ า ม บุ ค ค ล อื่ น ที่ อ ยู ่ ใ น
สถานทีนั ่ น้
๒. จัดให้ผู ถ้ ู ก กระท าเข้า ร บ ั การตรวจ
รกั ษ า จ า ก แ พ ท ย ์ แ ล ะ ขอ ร บ ั ค า ป รึก ษ า
แนะนาจากจิตแพทย ์ นักจิตวิทยา หรือ นัก
สังคมสงเคราะห ์
๓ . จัดใ ห้ ผู ้ ถู ก ก ร ะ ท า ร ้อ ง ทุ ก ข เ์ พื่ อ
ด า เ นิ น ค ดี ต า ม ค ว า ม ป ร ะ ส ง ค ์ ข อ ง
อานาจของพนักงานเจ้าหน้าที่
(ต่อ)
๕. ออกค าสั่งก าหนดมาตรการหรือ
วิธก ่
ี ารเพือบรรเทาทุ กข ์แก่ผูถ ้ ู กกระทาเป็ น
่ั
การชวคราว

๖. ออกคาสังใดๆ เท่าทีจ ่ าเป็ นและสมควร
รวมถึง
- การให้ผูก
้ ระท าเข้าร ับการตรวจ
ร ักษาจากแพทย ์
- ก า รใ ห้ ผู ้ ก ร ะ ท า ช ดใ ช้ เ งิ น
ช่วยเหลือบรรเทาทุกข ์
- การห้า มผู ้ก ระท าเข้า ไปในที่
พานักของครอบคร ัวหรือเข้าใกล้ตวั บุ คคล
ใดในครอบคร ัว
การสอบสวนของตารวจ
- พ นั ก ง า น ส อ บ ส ว น ท า ก า ร
สอบสวนโดยเร็ว
- ก า ร ส อ บ ป า ก ค า ต้ อ ง จั ดใ ห้ ม ี
จิ ต แ พ ท ย ์ นั ก จิ ต วิ ท ย า นั ก สัง ค ม
สงเคราะห ์ หรือบุคคลทีผู ่ ถ
้ ู กกระทาร ้อง
ขอร่วมอยู ่ในขณะสอบปากคา
- กรณี จ าเป็ นเร่ง ด่ ว น ไม่ อ าจรอ
บุ ค คลดัง กล่ า วได้ ให้ส อบปากค าไป
ก่ อ นโดยไม่ ต อ้ งมี บุ ค คลที่ ว่ า ร่ ว มอยู ่
ด้ว ย แต่ ต อ
้ งบัน ทึก เหตุท ีไม่่ อ าจรอไว้
ในสานวนการสอบสวน
การฟ้องคดีของอ ัยการ
- พ นั ก ง า น ส อ บ ส ว น ส่ ง ตัว ผู ้ ก ร ะ ท า
พร อ้ มความเห็ นไปยัง พนักงานอย ั การเพือ ่
ฟ้องคดีต่อศาล ภายใน ๔๘ ชวโมง ่ั นับแต่ได้
ตัวผู ก
้ ระทาความรุนแรงในครอบคร ัว
- หากจ าเป็ น ขอผัด ฟ้ องต่ อ ศาลได้ไ ม่
เกิน ๓ คราว คราวละไม่เกิน ๖ วัน
- ถ้ า เ ป็ น ค ว า ม ผิ ด ก ร ร ม เ ดี ย ว กั บ
ความผิด ตามกฎหมายอืน ่ ให้ด าเนิ น คดีนี้
ต่อศาลรวมกับความผิดตามกฎหมายอืน ่
- ถ้า ความผิด ตามกฎหมายอืนมี ่ อต ั รา
โทษสู งกว่า ให้ดาเนิ นคดีต่อศาลทีมี ่ อานาจ
การพิจารณาพิพากษาของศาล
๑. ศาลเยาวชนและครอบคร ัวเป็ นศาลที่
มี อ า น า จ พิ จ า ร ณ า พิ พ า ก ษ า ค ดี ต า ม
พระราชบัญญัตน ิ ี้
๒. ออกค าสั่งก าหนดมาตรการหรือ
วิธ ีก ารเพื่อบรรเทาทุ ก ข ์ ในระหว่ า งการ
สอบสวนหรือการพิจารณาคดี
๓. ออกคาสังใด่ ่ นสมควร
ๆ ตามทีเห็

๔. แก้ไข เพิมเติ ่
ม เปลียนแปลง หรือเพิก
ถอนค าสั่งก าหนดมาตรการหรือ วิธ ีก าร
หรือกาหนดเงื่อนไขเพิมเติ ่ ม
๕. ในกรณี ที่ พิ พ ากษาว่ า ผู ้ก ระท ามี
ค ว า ม ผิ ด อ า จ ก า ห น ดใ ช้ว ิ ธ ี ก า ร ฟื ้ น ฟู
การพิจารณาคดีของศาล(ต่อ)
๕ . จัดใ ห้ ม ี ก า ร ท า บั น ทึ ก ข้ อ ต ก ล ง

เบืองต้ นก่อนการยอมความ หรือถอนฟ้อง
๖. พยายามเปรียบเทียบให้ได้ยอมความ
กัน โดยมุ่ ง ถึ ง ความสงบสุ ข และการอยู ่
ร่ ว มกันในครอบคร วั เป็ นส าคัญ โดยให้
คานึ งถึงหลัก
- การคุม ้ ครองสิทธิผูถ ้ ูกกระทา
- ก า ร ส ง ว น แ ล ะ คุ ้ ม ค ร อ ง
สถานภาพของการสมรส หากจาเป็ นต้อง
หย่ า ก็ ใ ห้เ ป็ นไปด้ว ยความเป็ นธรรมและ
เสียหายน้อยทีสุ ่ ด
- ก า ร คุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ช่ ว ย เ ห ลื อ
ข้อพึงระวัง
 มาตรา ๙ พระราชบัญญัตค ิ ม
ุ ้ ครอง
ผู ถ้ ู กกระทาความรุนแรงฯ
่ การแจ้ง....หรือมีการร ้องทุกข ์
“เมือมี
.... แล้ว ห้ามมิให้ผู ใ้ ดลงพิมพ ์โฆษณา
หรือเผยแพร่ต่อสาธารณชนด้วยวิธ ใี ด
ๆ ซึงภาพ ่ ่
เรืองราว หรือข้อมู ลใด ๆ อน ั
น่ า จ ะ ท า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม เ สี ย ห า ย แ ก่
ผู ก ้ ระท าความรุ น แรงในครอบคร วั หรือ
ผู ้ ถู ก ก ร ะ ท า ด้ ว ย ค ว า ม รุ น แ ร งใ น
ครอบคร ัวในคดีตามพระราชบัญญัตน ิ ี ”้
นิ ยามการ “ค้ามนุ ษย ์” มาตรา ๖
 ่
ม.๖ ผู ใ้ ดเพือแสวงหาประโยชน์ โดยมิช อบ
กระทาอย่างใดด ังต่อไปนี ้
(๑) เป็ นธุระจัดหา ซือ้ ขาย จาหน่ าย พา
มาจากหรือส่งไปยังทีใด ่ หน่ วงเหนี่ ยวกักขัง
จัดให้อ ยู ่ อ าศ ยั หรือ ร บ ึ่ ค คลใด โดย
ั ไว้ซ งบุ
ข่ ม ขู่ ใ ช้ก า ลัง บัง คับ ลัก พ า ตัว ฉ้ อ ฉ ล
หลอกลวง ใช้อานาจโดยมิชอบ หรือโดยให้
เงินหรือผลประโยชน์อย่างอืนแก่ ่ ผูป
้ กครอง
หรือผู ด ้ ู แลบุคคลนั้น เพือให้
่ ผูป
้ กครองหรือ
ผู ด
้ ู แลให้ความยินยอมแก่ผูก ้ ระทาความผิด
ในการแสวงหาประโยชน์จ ากบุ ค คลที่ตน
ดูแล หรือ
นิ ยามการ “ค้ามนุ ษย ์” มาตรา ๔

จากการค้าประเวณี
ก า ร ผ ลิ ต ห รือ เ ผ ย แ พ ร่

วัตถุหรือสือลามก
การแสวงหาประโยชน์
ทางเพศ
การแสวงหาประโยชน์
โดยมิชอบ การเอาคนลงเป็ น
ทาส
การนาคนมาขอทาน

การดาเนิ นคดีก ับผู เ้ กียวข้
อง
สนับสนุ น อุปการะ ช่วยเหลือ
ตระเตรียม ม๘
เรียก ร ับทร ัพย ์สิน ช ักชวนคน ม.๗

เป็ น เจ้าพนง. ่
ความผิดเกียวกับ

ผู เ้ กียวข้
อง เป็ น สส. สว.
ม.๑๒ อปท.
องค ์กร
อิสระ ม.๑๓
มาตรการทางอาญา

 เป็ นกฎหมายทีมี ่ โ ทษทางอาญา แยก


อ อ ก จ า ก ค ว า ม ผิ ด ต า ม ป ร ะ ม ว ล
ก ฎ ห ม า ย อ า ญ า เ ป็ น อี ก ห นึ่ ง ฐ า น
ความผิด (ม.๖)
 เพิ่มเติม หลัก การลงโทษทางอาญา
เช่ น ผู ส
้ นั บ สนุ นหรือ พวกนายหน้ า
การค้ามนุ ษย ์ ต้องร ับโทษเช่นเดียวกับ
้ ระทาความผิด(ตัวการ) ผู ส
ผู ก ้ มคบตก

ลงกันตังแต่ ้
สองคนขึนไป (ม.๗)
มาตรการทางอาญา

 ก าหนดโทษส าหร บ ั การกระท าตังแต่ ้



สองคนขึ นไปและการกระท ้
าตังแต่
ส า ม ค น ขึ ้ นไ ป ที่ เ ป็ น อ ง ค ์ ก ร
อาชญากรรม(Crime Organ) (ม.๙,
ม.๑๐)
 ก า ห น ด ใ ห้ ต้ อ ง ร ั บ โ ท ษ ใ น
ราชอาณาจัก รแม้ก ระท าความผิด นี ้
นอกราชอาณาจักร (ม.๑๑)
 เ พิ่ มโ ท ษ ต่ อ บุ ค ล า ก ร ข อ ง ร ฐ
ั หาก
กระทาความผิดนี ้ (ม.๑๒,ม.๑๓)

อานาจหน้าทีของพนั กงาน
เจ้าหน้าที่
มาตรา ๒๗ อานาจหน้าที่
(๑) มีห นังสือเรียกให้บุค คลใดมาถ้อยคา/
ส่งเอกสาร/หลักฐาน
(๒) ตรวจต ัวบุคคลทีมี ่ เหตุอ ันควรเชือได้
่ วา ่
เป็ นผู เ้ สียหาย
(เมื่อผู น ้ ้ั นยิน ยอม) ถ้า เป็ นผู ห้ ญิง จะต้อ งให้
หญิงอืนตรวจ่
(๓) ตรวจค้นยานพาหนะใด ๆ ทีมี ่ เหตุอนั
ควรสงสัย ตามสมควรว่ า มีพ ยานหลัก ฐาน
หรือบุคคลทีตกเป็ ่ นผู เ้ สียหายอยู ่
(๔) เข้าไปในเคหสถาน เพือตรวจค้ ่ น ยึด
การขอให้มก
ี ารสืบพยานไว้กอ
่ น
มาตรา ๓๑
ก่อนฟ้องคดีตอ ่ ศาล พนักงานอ ัยการจะนา
ผู เ้ สีย หายหรือ พยานบุ ค คลมายืนค ่ าร อ ้ งต่ อ
ศาล โดยระบุ ก ารกระท าที่ อ้า งได้ว่ า มี ก าร
ก ร ะ ท า ผิ ด แ ล ะ เ ห ตุ จ า เ ป็ น ที่ จ ะ ต้อ ง มี ก า ร
สืบพยานไว้กอ ่ น
กรณี ผู เ้ สีย หายหรือ พยานจะให้ก ารต่ อ
ศาลเอง เมื่ อผู ้เ สี ย หายหรือ พยานแจ้ง แก่
พนักงานอ ย ั การแล้ว ให้พนักงานอย ั การยืน ่
คาร ้องต่อศาลโดยไม่ช ักช้า
ให้ศาลสืบพยานทันทีทได้ ี่ ร ับคารอ้ ง หาก

การช่วยเหลือและคุม ้ ครองสวัสดิ
ภาพผู เ้ สียหาย
 ให้ พม. จัด เรืองที ่ ่พัก การร ก ั ษาพยาบาล
การฟื ้ นฟู การให้การศึกษา ฝึ กอบรม ทาง
กฎหมาย การส่ ง กลับ การด าเนิ น คดีเ พื่อ
เรีย กร อ ้ งค่ า สินไหม โดยค านึ ง ถึง ศ ก ์
ั ดิศรี
ความเป็ นมนุ ษย ์
 ให้ พนักงานสอบสวนหรือพนักงานอย ั การ

แจ้ง สิท ธิท ีจะเรี ย กค่ า สินไหมทดแทน หาก
ผู ้เ สี ย หายประสงค ์ ให้พ นั ก งานอ ย ั การ
ดาเนิ นการแทนผู เ้ สียหาย ตามทีได้ ่ ร ับแจ้ง
จากปลัดกระทรวง พม.
 ให้ พนักงานเจ้าหน้าทีจั ่ ดให้มกี ารคุม
้ ครอง
การช่วยเหลือและคุม ้ ครองสวัสดิ
ภาพผู เ้ สียหาย (ต่อ)
 กรณี ตามมาตรา ๔๑

เว้นแต่จะได้ร ับอนุ ญาตเป็ นหนังสือจาก


ร ัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุตธ ิ รรม ห้ามมิให้
พนัก งานสอบสวนดาเนิ น คดีก บ ั ผู เ้ สีย หาย
ในความผิด ด ังนี ้
- ฐ า น เ ข้ า ม า อ อ กไ ป ห รื อ อ ยู ่ ใ น
ราชอาณาจ ักร โดยไม่ได้ร ับอนุ ญาต
- ฐานแจ้ง ความเท็ จ ต่ อ เจ้า พนั ก งาน
ปลอมหรือใช้ซงหนัึ่ งสือเดินทางปลอม
- ฐานความผิด ตามกฎหมายเกี่ยวกับ
การค้าประเวณี บางประเภท
ระบบการตรวจสอบติดตาม
 พนักงานเจ้าหน้าที/พนั ่ กงาน
สอบสวน/พนักงานอ ัยการ
 คณะทางานสหวิชาชีพระดับจังหวัด/
นักวิชาชีพ
 ศู นย ์ปฏิบต
ั ก
ิ ารป้ องกันและปราบปราม
การค้ามนุ ษย ์จังหวัด
(ศป.คม.)
 คณะกรรมการป้ องกันและปราบปราม
การค้ามนุ ษย ์ (ปคม.)
ข้อพึงระวัง
ม . ๕ ๖ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ต ิ ป้ อ ง กั น แ ล ะ
ปราบปรามการค้ามนุ ษย ์ฯ
“ผู ใ้ ดกระท าการหรือ จัดให้ม ีก ารกระท า
การ....ต้อ งระวางโทษจ าคุ กไม่ เ กิน หกเดือ น

หรือปร ับไม่เกินหกหมืนบาท หรือทังจ ้ าทังปร
้ ับ
(๑) บัน ทึก ภาพ แพร่ภ าพ พิม พ ร์ ู ป หรือ
บัน ทึก เสีย ง แพร่เ สีย งหรือ สิ่งอืนที
่ สามารถ

แสดงว่าบุคคลใดเป็ นผู เ้ สียหาย...
(๒) โฆษณาหรือ เผยแพร่ข อ ้ ความ ซึง่
ปรากฏในทางสอบสวนของพนักงานสอบสวน
หรือในทางพิจ ารณาของศาลทีท ่ าให้บุ คคล
่ จ
อืนรู ้ ก ่ วั ชือสกุ
ั ชือต ่ ล ของผู เ้ สีย หาย...หรือ
ระบบเครือข่ายทีมสหวิชาชีพ
 ผู ป
้ ระกอบวิชาชีพด้านการแพทย ์และ
สาธารณสุข
 ผู ป้ ระกอบวิชาชีพด้านสังคมสงเคราะห ์
และสวัสดิการสังคม
 ผู ป ้ ระกอบวิชาชีพด้านกฎหมายและ
การปกครอง
 ผู ป ้ ระกอบวิชาชีพด้านการศึกษาและ
การฝึ กอาชีพ
 ผู ป ้ ระกอบวิชาชีพในด้านองค ์กร
กระบวนการทางานแบบสห
วิชาชีพ
 การประสานงานภายในและภายนอกองค ์กร
- ภายในองค ก ์ ร คือ ทุ ก ฝ่ ายในองค ก ์ ร
ต้องมีขอ้ มู ลทีน่ ามาใช้รว่ มกัน
- ภ า ย น อ ก อ ง ค ์ก ร คื อ ก ร ณี ก า ร
ประสานงาน ๒ องค ์กรขึนไป ้
 การร่วมปรึกษาหารือ
- องค ก ์ รต่ า ง ๆ ที่ ร บั ผิ ด ชอบต้อ งหา
ข้อเท็จจริงนามาปรึกษาหารือกันจากแง่ มุม
ของแต่ละวิชาชีพ
 การร่วมปฏิบต ่ ดการคุม
ั งิ านเพือเกิ ้ ครองเด็ก
- เ ป็ น กา ร ร่ ว ม กัน ท า ง า น ทั้ง กา ร ห า

บทบาทของท้องถินกับการ
ป้ องกันปั ญหาสังคม
๑.ดู แ ลและตรวจสอบสถานร บ ้
ั เลียงเด็ ก
สถานแรกร ับ สถานสงเคราะห ์ สถานคุม ้ ครอง
สวัสดิภาพ สถานพัฒนาและฟื ้ นฟู และสถาน
่ งอยู
พินิจทีต ้ั ่ในเขตอานาจ และรายงานผลต่อ
คณ ะ กร ร มกา ร คุ ้ม คร อ ง เ ด็ ก แห่ งชา ติ ห รือ
คณะกรรมการคุ ม ่
้ ครองเด็ ก จัง หวัด เพือทราบ
(ในกรณี เด็ก)

๒.ให้ค วามรู เ้ พื่อให้ป ระชาชนในชุ ม ชน


แจ้ง กรณี พบเห็ น เด็ ก ตกอยู ่ ใ นสภาพจ าต้อ ง
ได้ร ับการสงเคราะห ์และคุม ้ ครองสวัสดิภาพเด็ก
่ าหน้าที่
๓.สร ้างเครือข่ายอาสาสมัคร เพือท
เฝ้าระว ัง ปั ญหาด้านต่าง ๆ ในชุมชน

๔ . ป้ อ ง กัน มิ ใ ห้ ม ี ก า ร น า บุ ค ค ลไ ป แ ส ว ง
ประโยชน์รูปแบบต่างๆ

๕.จัดกิจกรรมให้เด็กและเยาวชน บุคคลและ

ครอบคร ัวในชุมชน เพือให้ ทุกคนได้ใช้เวลาว่าง
ให้เกิดประโยชน์และพัฒนาการเป็ นไปตามวัย
ตลอดจนเป็ นการสร า ้ งความสัม พัน ธ อ
์ น
ั ดี
ระหว่างกัน

๖.ให้ความรู พ ้ ่อแม่ ผู ป ่
้ กครอง เกียวกั
บการ

เลียงดู บุ ต รที่มีปั ญหาความประพฤติป ระเภท
๗.ควรจัดสรรงบประมาณให้แผนงานหรือ
กิจกรรมในการสร ้างระบบคุม ้ ครองเด็ก ระบบ
เ ฝ้ า ร ะ วัง ปั ญ ห า เ ด็ กใ น ชุ ม ช น ร ว ม ทั้ ง
กิจ กรรมทีส่ ่ ง เสริม ความประพฤติเ ด็ ก และ
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันครอบคร ัว
๘.มี ก ารรวบรวมข้อ มู ลเกี่ยวกับ เด็ กใน
ชุ ม ช น เ ด็ ก ที่ ค ว รไ ด้ ร บ ั การสงเคราะห์
ช่วยเหลือกลุ่มต่างๆ เพือให้ ่ ทราบภารกิจใน
การคุม ้ ครองเด็ก และข้อมู ลกลุ่มบุคคลด้าน
ต่ า ง ๆ เพื่อประโยชน์ใ นการเฝ้ าระวัง และ
จัดการปั ญหา
๙ . ป ร ะ ส า น กับ ห น่ ว ย ง า น ภ า ค ร ฐ
ั และ
เอกชนทีปฏิ ่ บต ั ด ่
ิ า้ นเด็ก ครอบคร ัว เพือเป็ น
เครือ ข่ า ยคุ ม ้ ครองเด็ ก ครอบคร วั และน า
การป้ องกันปั ญหาเด็กและสตรีใน
ภาวะต่าง ๆ
 ระด ับปฐมภู ม ิ คือ บุคคลทุกคนต้องปลอดภัย
 ระด บ ั ทุ ต ิย ภู มิ คือ บุ ค คลที่ตกอยู ่ ใ นภาวะ

เสียงต่ อการถู กทารุ ณกรรม การเลียงดูโดย ้
มิช อบ การละเลยทอดทิ ง้ ต้อ งได้ร บ ั การ
ช่วยเหลือ
 ระด บ ั ตติย ภู ม ิ คือ บุ ค คลที่ถู ก ทารุ ณ กรรม

ถู กเลียงดูโดยมิ ชอบ ถู กละเลยทอดทิง้ ต้อง
ได้ร ับการช่วยเหลือและบาบัดฟื ้ นฟู บุคคลที่
มี ปั ญหาพฤติ ก รรม ต้อ งได้ร บ ั การแก้ไ ข
ปร ับเปลียน ่
 ระดบ ่
ั จตุรภู ม ิ คือ บุคคลทีตกเป็ นผู ถ
้ ู กกระทา

You might also like