You are on page 1of 11

พระราชบัญญัตศ ิ าลเยาวชนและ

ครอบคร ัวและวิธพ
ี จ
ิ ารณาคดีเยาวชน
และครอบคร ัว พ.ศ. 2553
• กฎหมายฉบับนี มุ ่ บการ
้ ่งเน้นเกียวกั
ให ้ความคุ ้มครองสิทธิ สวัสดิภาพ
และวิธปี ฏิบตั ต
ิ อ
่ เด็ก เยาวชน สตรี
และบุคคลในครอบคร ัว เพือให ่ ้
สอดคล ้องกับร ัฐธรรมนู ญ
อนุ สญ
ั ญาเด็ก และอนุ สญ ั ญาว่า
ด ้วยการขจัดการเลือกปฏิบต ั ต
ิ อ

อานาจหน้าที่
• ่
คดีอาญาทีโอนมาจากศาลธรรมดาใน
กรณี ทจ ี่ าเลยอายุยงั ไม่เกิน 20 ปี บริบ
รู ณ ์ เนื่ องจากศาลทีพิ ่ จารณาคดีนนได้
้ั
พิจารณาโดยคานึ งถึงร่างกาย
สติปัญญา สุขภาพ ภาวะแห่งจิตและ
นิ สย
ั แล้ว เห็นว่าบุคคลนันยั ้ งมีสภาพ
เช่นเดียวกันเด็กและเยาวชน
• คดีครอบคร ัว คดีคม ุ ้ ครองสวัสดิภาพ
และคดีอนที ื่ มี่ กฎหมายบัญญัตใิ ห้เป็ น

อานาจหน้าทีของศาลเยาวชนและ
เงื่อนไขเรืองอายุ

• คดีอาญาทีมี ่ ขอ ้ หาว่าเด็กหรือเยาวชนกระทา
ความผิด ให้ถอ ื อายุเด็กหรือเยาวชนนัน ้ ใน

วันทีการกระท าความผิดได้เกิดขึน้ โดย “เด็ก”
หมายความว่า บุคคลอายุยงั ไม่เกิน 15 ปี
บริบรู ณ์ จากแต่เดิม ทีก ่ าหนดให ้ “เด็ก”
หมายความว่า บุคคลอายุเกิน 7 ปี บริบรู ณ์ แต่ยงั ไม่
เกิน 14 ปี บริบรู ณ์ และ “เยาวชน” หมายความว่า
บุคคลอายุเกิน 15 ปี บริบรู ณ์ แต่ยงั ไม่ถงึ 18 ปี
บริบรู ณ์ จากแต่เดิม ทีก ่ าหนดให ้ “เยาวชน”
หมายความว่า บุคคลอายุเกิน 14 ปี บริบรู ณ์ แต่ยงั ไม่

การจับกุมเด็ก
• การออกหมายจับเด็กและเยาวชนให้ศาล
คานึ งถึงการคุม
้ ครองสิทธิเด็กหรือ
เยาวชนเป็ นสาคัญ โดยเฉพาะในเรือง ่
อายุ เพศ และอนาคตของเด็กหรือ
เยาวชนทีพึ่ งได้ร ับการพัฒนาและปกป้ อง
คุม
้ ครอง หากการออกหมายจับจะมี
ผลกระทบกระเทือนต่อจิตใจของเด็กหรือ
เยาวชนอย่างรุนแรงโดยไม่จาเป็ น ให้

พยายามเลียงการออกหมายจั บ โดยใช้
การจับกุมเด็ก(ต่อ)
• การจับกุมและควบคุมเด็กและ
เยาวชนต้องกระทาโดยละมุนละม่อม
์ ความเป็ นมนุ ษย ์
โดยคานึ งถึงศ ักดิศรี
และไม่เป็ นการประจานเด็กหรือ
เยาวชน
การจับกุมเด็ก(ต่อ)
• ห้ามมิให้เจ้าพนักงานผู จ ้ บ
ั กุมเด็กหรือ
เยาวชน หรือพนักงานสอบสวนจัดให้ม ี
หรืออนุ ญาตให้มห ี รือยินยอมให้มก ี าร
ถ่ายภาพหรือบันทึกภาพเด็กหรือเยาวชน
่ องหาว่ากระทาความผิด เว้นแต่เพือ
ซึงต้ ่
ประโยชน์ในการสอบสวน การสอบสวน
ต้องกระทาในสถานทีที ่
่ เหมาะสม โดยไม่
เลือกปฏิบตั แ
ิ ละไม่ปะปนกับผู ต ้ อ
้ งหาอืน ่
่ ไม่
หรือมีบุคคลอืนที ่ เกียวข้
่ องอยู ่ใน
มาตรการฟื ้ นฟู

• กฎหมายใหม่ได้เพิมมาตรการ
พิเศษแทนการดาเนิ นคดีอาญา
เข้ามา เป็ นการนามาตรการทางเลือก

อืนมาใช ้แทนการดาเนิ นคดีตาม
ช่องทางปกติ เปิ ดโอกาสให ้ผูเ้ สียหาย
หรือชุมชนมีสว่ นร่วมในการจัดทาแผน
แก ้ไขบาบัดฟื ้นฟูเด็ก
มาตรการฟื ้ นฟู
• ในกรณี ทเด็ ี่ กหรือเยาวชนสานึ กในการกระทาก่อนฟ้ อง
่ านึ งถึงอายุ ประวัติ ความประพฤติ สติปัญญา
คดีเมือค
การศึกษาอบรม สภาพร่างกาย สภาพจิต อาชีพ ฐานะ
และเหตุแห่งการกระทาความผิดแล ้ว หากผูอ้ านวยการ
สถานพินิจพิจารณาเห็นว่าเด็กหรือเยาวชนนั้นอาจกลับ
ตนเป็ นคนดีได ้โดยไม่ต ้องฟ้ อง ให ้จัดทาแผนแก ้ไขบาบัด
ฟื ้นฟูให ้เด็กหรือเยาวชนปฏิบต ้ ้ เพือแก
ั ิ ทังนี ่ ้ไข

ปร ับเปลียนความประพฤติ ของเด็กหรือเยาวชน บรรเทา
ทดแทน หรือชดเชยความเสียหายแก่ผูเ้ สียหายหรือ
่ ้เกิดความปลอดภัยแก่ชม
เพือให ุ ชนและสังคม แล ้วเสนอ
ความเห็นประกอบแผนแก ้ไขบาบัดฟื ้นฟูตอ ่ พนักงาน
อัยการเพือพิ ่ จารณา ทังนี ้ ้ การจัดทาแผนแก้ไข
บาบัดฟื ้ นฟู ต้องได้ร ับความยินยอมจากผูเ้ สียหาย
และเด็กหรือเยาวชนด้วย
มาตรการฟื ้ นฟู
• หากพนักงานอัยการเห็นว่าแผนแก ้ไขบาบัดฟื ้นฟูได ้

เป็ นไปเพือประโยชน์ สงู สุดของเด็กหรือเยาวชนแล ้ว

เพือประโยชน์ แห่งความยุตธิ รรมให ้พนักงานอัยการ
เห็นชอบกับแผนดังกล่าว และให ้มีการดาเนินการ
ตามแผนแก ้ไขบาบัดฟื ้นฟูดงั กล่าวได ้ทันที พร ้อมทัง้
ให ้รายงานให ้ศาลทราบ
ี่
• ในกรณี ทปรากฏข ้อเท็จจริงแก่ศาลว่ากระบวนการ
จัดทาแผนแก ้ไขบาบัดฟื ้นฟูน้ันไม่ชอบด ้วยกฎหมาย

ให ้ศาลพิจารณาสังตามที ่ นสมควร
เห็
การพิจารณาคดี
• การพิจารณาคดีในศาลทีมี ่ อานาจพิจารณาคดี
เยาวชนและครอบคร ัวให ้กระทาเป็ นการลับ และ
เฉพาะบุคคลทีเกี่ ยวข
่ ้องกับคดีเท่านั้นมีสทิ ธิเข ้าฟัง
การพิจารณาคดีได ้ ทังมี ้ อานาจใช ้วิธกี ารสาหร ับเด็ก
และเยาวชนแทนการลงโทษอาญาหรือวิธก ี ารเพือ่
ความปลอดภัยโดยการเปลียนโทษจ ่ าคุกหรือกักกัน
เป็ นการส่งตัวเด็กหรือเยาวชนไปควบคุมเพือ่
ฝึ กอบรมในสถานทีที ่ ก
่ าหนดไว ้ หรือสถานทีอื ่ ่
่ นที
้ นตามกฎหมายและศาลเห็
จัดตังขึ ้ นสมควร ตามเวลา

ทีศาลก าหนด แต่ต ้องไม่เกินกว่าเด็กหรือเยาวชนนั้น

โทษของผู ป
้ กครอง
่ กกระทาความผิดอาจเกิดจากบิดา
• การทีเด็
มารดาปล่อยปะละเลยหรือบุคคลอืนช ่ ักจูงหรือ
ส่งเสริม ตามพระราชบัญญัตค ิ ม
ุ ้ ครองเด็ก
พ.ศ. 2546 มาตรา 26 (3) กาหนด ห ้ามมิให ้ผูใ้ ด
บังคับ ขูเ่ ข็ญ ช ักจูง ส่งเสริม หรือยินยอมให ้เด็ก
(บุคคลทีมี ่ อายุยงั ไม่เกิน 15 ปี บริบรู ณ์) ประพฤติตน
ไม่สมควรหรือน่ าจะทาให ้เด็กมีความประพฤติเสียง ่
ต่อการกระทาความผิด ผูฝ ้ ่ าฝ่ าฝื นต ้องร ับผิดทาง
อาญาจาคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือปร ับไม่เกินสามหมืน ่
บาท หรือทังจ ้ าทังปร
้ ับ ดังนั้น บิดามารดาหรือบุคคล

You might also like