You are on page 1of 33

้ ้นเกียวกั

“ ความรู ้เบืองต ่ บวินัยตารวจ”

พ.ต.ต. สุทน
ิ ขาวเรือง
สว.ฝอ.บก.สอ.บช.ตชด(ขว.)
ประวัติ
ผู บ
้ รรยาย
ตาแหน่ ง
พ.ต.ตสุทนิ ขาวเรือง
สารวัตรฝ่ ายอานวยการ(งานการข่าว)
กองบังคับการสนับสนุ นทาง อากาศ กองบัญชาการตารวจ
ตระเวนชายแดน
วุฒก ิ ารศึกษา - ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขา
ร ัฐประศาสนศาสตร ์
- ปริญญาโท ร ัฐประศาสนศาสตรมหาบัณ
ทิต
่ านการฝึ กอบรม
หลักสู ตรทีผ่
้ ญญาบัตรสายผูน้ าหน่ วย
- หลักสูตรนายตารวจชันสั
ตารวจตระเวนชายแดน
- หลักสูตรตารวจตระเวนชายแดนระดับผูบ้ งั คับหมวด
- หลักสูตรกระโดดร่มแบบกระตุกเอง
- หลักสูตรยุทธวิธต
ี ารวจสาหร ับหน่ วยป้ องกันปราบปราม
ยาเพดิด
- หลักสูตรการสืบสวนสอบสวนคดีอาญา จากศูนย ์
ฝึ กอบรมตารวจกลาง
วินย
ั คือ อะไร ?
พจนานุ กรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน
ให ้ความหมายของ “ วินัย”

วินย, [ วินะยะ-] น. ระเบียบแบบแผน


และข ้อบังคับ,ข ้อปฏิบต
ั ,ิ เช่น วินัยทหาร วินัย
ตารวจ
ทหารกับตารวจต ้องยึดมั่นในวินัย ...
่ ยวข้
กฎหมายและระเบียบทีเกี ่ อง
1. พ.ร.บ.ตารวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547
2. กฎ ก.ตร.
ี่ นความผิดทีปรากฏช
2.1 ว่าด ้วยกรณี ทเป็ ่ ัดแจ ้ง พ.ศ.2547
2.2 ว่าด ้วยการอุทธรณ์และการพิจารณาอุทธรณ์ พ.ศ.2547
2.3 ว่าด ้วยการร ้องทุกข ์ พ.ศ.2547
2.4 ว่าด ้วยวิธก ่ ยวกั
ี ารออกคาสังเกี ่ บการลงโทษ พ.ศ.2547
2.5 ว่าด ้วยอานาจการลงโทษ อัตราโทษ และการลงโทษ
ภาคทัณฑ ์ ทัณฑกรรม กักยาม กักขัง หรือตัดเงินเดือน พ.ศ.2547

3. ระเบียบ ก.ตร. ว่าด ้วย วิธก ี ารเสริมสร ้างและพัฒนาให ้ข ้าราชการตารวจ


มีวน
ิ ัย และป้ องกันมิให ้ข ้าราชการตารวจกระทาผิดวินัย พ.ศ.2549

4. คาสัง่ ตร.ที่ 436/2548 ลง 20 มิ.ย.2548

ฯลฯ
ประเภทของความผิดวิน ัย

1. ความผิดวินัยอย่างไม่ร ้ายแรง

2. ความผิดวินัยอย่างร ้ายแรง
ความผิดวินย
ั อย่างไม่ร ้ายแรง

มาตรา 78 แห่ง พ.ร.บ.ตารวจแห่งชาติ พ.ศ.2547

(1) – (17) ข ้อปฏิบต


ั แิ ละข ้อห ้าม
(18) ตามทีก ่ าหนดในกฎ ก.ตร.
มาตรา ๗๗ ข ้าราชการตารวจต ้องถือและ
ปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมาย ระเบียบของทางราชการ มติ
คณะร ัฐมนตรี และจรรยาบรรณของตารวจตามทีกา ่
หนดในกฎ ก.ตร. และต ้องร ักษาวินัยตามที่ บัญญัตไิ ว ้

ในหมวดนี โดยเคร่ งครดั กฎ ก.ตร. ตามวรรคหนึ่ ง ให ้

มีผลใช ้บังคับเมือพ้นก าหนดหกสิบวันนับแต่วนั
ประกาศใน ราชกิจจานุ เบกษา
มาตรา ๗๘ การกระทาผิดวินัยอย่างไม่
ร ้ายแรง ได ้แก่ การไม่ร ักษาวินัยตามทีบั่ ญญัติ เป็ นข ้อ
ปฏิบต ่ งต่อไปนี ้
ั แิ ละข ้อห ้ามในเรืองดั
๑) ต ้องปฏิบต ั ห ่
ิ น้าทีราชการด ้วยความซือสั ่ ตย ์ สุจริต

และเทียงธรรม เป็ นไปตาม กฎหมาย กฎ ระเบียบ
ของทางราชการ มติคณะร ัฐมนตรี จรรยาบรรณ
ของตารวจ และนโยบายของ ร ัฐบาลโดยไม่ให ้
เสียหายแก่ราชการ
๒) ต ้องปฏิบต ั ต ่
ิ ามคาสังของผู ่ งใน
บ้ งั คับบัญชาซึงสั ่

หน้าทีราชการโดยชอบด ้วยกฎหมาย และระเบียบ
ของทางราชการ โดยไม่ขด ั ขืนหรือหลีกเลียง ่ แต่ถ ้า
เห็นว่าการปฏิบต ั ต ่ ้นจะทาให ้ เสียหายแก่
ิ ามคาสังนั
ราชการ หรือจะเป็ นการไม่ร ักษาประโยชน์ของทาง
ราชการ จะเสนอความเห็นเป็ นหนังสือ ทันทีเพือให ่ ้
ผูบ้ งั คับบัญชาทบทวนคาสังนั ่ ้นก็ได ้ และเมือได่ ้เสนอ
ความเห็นแล ้ว ถ ้าผูบ้ งั คับบัญชา ยืนยันใหป้ ฏิบต ั ิ
ตามคาสังเดิ ่ ม ผูอ้ ยูใ่ ต ้บังคับบัญชาต ้องปฏิบต ั ติ าม
๓) ต ้องร ักษาระเบียบการเคารพระหว่างผูใ้ หญ่ ผูน้ อ้ ย
(๔) ต ้องอุทศ ิ เวลาของตนให ้แก่ราชการ จะละทิงหรื ้ อ
ทอดทิงหน้้ าทีราชการมิ
่ ได ้
(๕) ต ้องปฏิบต ั ริ าชการโดยมิให ้เป็ นการกระทาการ
ข ้ามผูบ้ งั คับบัญชาเหนื อตน เว ้นแต่ ผูบ้ งั คับบัญชา

เหนื อขึนไปเป็ ่ ้กระทา หรือได ้ร ับอนุ ญาตเป็ น
นผู ้สังให
พิเศษชวคร ่ ั งคราว
้ั
(๖) ต ้องร ักษาความลับของทางราชการ
(๗) ต ้องสุภาพเรียบร ้อย ร ักษาความสามัคคี และไม่
กระทาาการอย่างใดทีเป็ ่ นการ กลันแกล
่ ้งกัน และ
ต ้องช่วยเหลือกันในการปฏิบต ั ริ าชการระหว่าง
ข ้าราชการด ้วยกันและผูร้ ว่ มปฏิบต ั ิ ราชการหน้าที่
ของตน
(๘) ต ้องต ้อนร ับ ให ้ความสะดวก ให ้ความเป็ นธรรม และให ้การสงเคราะห ์แก่
ประชาชน ผูต้ ด ิ ต่อราชการ หรือในการปฏิบต ่
ั ริ าชการเกียวกั ่
บหน้าทีของตน
โดยไม่ช ักช ้าและด ้วยความ สุภาพเรียบร ้อยโดยห ้ามมิให ้ดูหมิน ่ เหยียดหยาม
่ อข่มเหงประชาชนผูต้ ด
กดขีหรื ิ ต่อราชการหรือในการ ปฏิบต ่
ั ริ าชการ เกียวกั

(๙) ต ้องปฏิบต ั ห ่
ิ น้าทีราชการด ้ อุตสาหะ เพือให
้วยความตังใจ ่ ้เกิดผลดีหรือ
ความ ก ้าวหน้าแก่ราชการ เอาใจใส่ ระมัดระวังร ักษาผลประโยชน์ของทาง
ราชการ และต ้องไม่ประมาท เลินเล่อในหน้าทีราชการ่
(๑๐) ต ้องไม่กระทาการอันเป็ นเหตุให ้แตกความสามัคคีระหว่างข ้าราชการ
ตารวจ

(๑๑) ต ้องไม่รายงานเท็จต่อผูบ้ งั คับบัญชา การรายงานโดยปกปิ ดข ้อความซึง่


ควรต ้อง แจ ้ง ถือว่าเป็ นการรายงานเท็จด ้วย (๑๒) ต ้องไม่ใช ้กิรยิ าวาจาหรือ
ประพฤติตนในลักษณะทีไม่ ่ สมควร

่ าเป็ นผูป้ ระพฤติชว่ ั


(๑๓) ต ้องไม่กระทาการอันได ้ชือว่
(๑๔) ต ้องไม่กระทาด ้วยประการใดๆในลักษณะทีเป็่ นการบังคับ
ผูบ้ งั คับบัญชาเป็ นทาง ให ้เสียระเบียบแบบแผนวินัยตารวจ
(๑๕) ต ้องไม่กระทาหรือละเว ้นการกระทาใดๆ อันเป็ นเหตุให ้
เสียหายแก่ราชการหรือ ทาให ้เสียระเบียบแบบแผนของตารวจ

ื่
(๑๖) ต ้องไม่กระทาการหรือยอมให ้ผูอ้ นกระท าการหาผลประโยชน์

อันอาจทาให ้เสีย ความเทียงธรรมในการปฏิ บตั ห ่
ิ น้าทีราชการหรื


เสือมเสียเกียรติศก ์
ั ดิของต ่
าแหน่ งหน้าทีราชการของตน

(๑๗) ต ้องไม่เป็ นกรรมการผูจ้ ด


ั การ หรือผูจ้ ด
ั การ หรือดารง

ตาแหน่ งอืนใดที ่ ลก
มี ั ษณะ งานคล ้ายคลึงกันนั้นในห ้างหุนส่
้ วนหรือ
บริษท

่ าหนดในกฎ ก.ตร.
(๑๘) กระทาการหรือไม่กระทาการตามทีก
ความผิดวิน ัยอย่างร้ายแรง

มาตรา 79 แห่ง พ.ร.บ.ตารวจแห่งชาติ


พ.ศ.2547

(1) – (6) ข ้อห ้าม


(7) ตามทีก ่ าหนดในกฎ ก.ตร.
มาตรา ๗๙ การกระทาผิดวินัยอย่าง
ร ้ายแรง ได ้แก่การกระทาดังต่อไปนี ้
(๑) ปฏิบต ั ห
ิ รือละเว ้นการปฏิบต ิ น้าที่
ั ห
ราชการโดยมิชอบเพือให ่ ้ตนเองหรือผูอ้ น ื่
ได ้ร ับ ประโยชน์ทมิ ี่ ควรได ้
(๒) ละทิงหรื้ อทอดทิงหน้ ้ าทีราชการโดย

ไม่มเี หตุอน ั สมควร เป็ นเหตุให ้เสียหายแก่
ราชการอย่างร ้ายแรง หรือละทิงหน้ ้ าที่
ราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็ นเวลา
เกินสิบห ้าวันโดยไม่มี เหตุอน ั สมควร หรือ
โดยมีพฤติการณ์อน ั แสดงถึงความจงใจ
ไม่ปฏิบต ั ต
ิ ามระเบียบของทางราชการ
(๓) เหยียดหยาม กดขี่ ข่มเหง หรือทา
(๕) กระทาการอันได ้ชือว่ ่ าเป็ นผู ้
ประพฤติชวอย่ ่ ั างร ้ายแรง
(๖) กระทาหรือละเว ้นการกระทาใด ๆ

รวมทังการกระท าผิดตามมาตรา ๗๘
อันเป็ น เหตุให ้เสียหายแก่ราชการ
อย่างร ้ายแรง
(๗) กระทาการหรือไม่กระทาการ
ตามทีก ่ าาหนดในกฎ ก.ตร.
โทษทางวินย

มี 7 สถาน
1. ภาคทัณฑ ์
2. ทัณฑกรรม
3. กักยาม
4. กักขัง
5. ตัดเงินเดือน
6. ปลดออก
7. ไล่ออก
ความแตกต่าง ระหว่างความผิดวินย ั
อย่างไม่ร ้ายแรง กับ อย่างร ้ายแรง

1. ความผิดวินัยอย่างไม่ร ้ายแรง
ภาคทัณฑ ์
ทัณฑกรรม กักยาม กักขัง ตัดเงินเดือน

2. ความผิดวินัยอย่างร ้ายแรง
ปลดออก ไล่ออก
ความผิดวินย
ั แตกต่างกับ
ความผิดอาญา ?

1. โทษ
2. อายุความ
3. ผลอันเกิดจากความตาย
ของผูก้ ระทาความผิด
ระด ับการลงโทษข้าราชการตารวจของ
1. ตร.

2. ก.ตร.
ผู ม
้ อ
ี านาจลงทัณฑ ์
กฎ ก.ตร. ว่าด ้วยอานาจการลงโทษ อัตราโทษ และ
การลงโทษ ภาคทัณฑ ์ ทัณฑกรรม กักยาม กักขัง
หรือตัดเงินเดือน พ.ศ.2547

ข ้อ 2 ผูบ้ งั คับบัญชาจะลงโทษ ..เพียงใดให ้เป็ นไปตาม


ตารางกาหนดอานาจและอัตราการลงโทษข ้าราชการ
ตารวจที่ ก.ตร.กาหนด
การคานวณระยะเวลา
การลงโทษก ักยามและก ักข ัง

คาถาม?
1. วันแรกจะนับอย่างไร? หากเริม ่ รับโทษเวลา 23.00 น.
2. นับติดต่อกันหรือไม่?
กักยาม กักขัง 7 วัน
จะขอรับโทษจันทร์ถงึ ศุกร์ และจันทร์,อังคาร ถัดไป
ได ้หรือไม่ โดยขอเว ้นวันหยุด เสาร์อาทิตย์
การคานวณระยะเวลา
การลงโทษกักยามและกักขัง

กฎ ก.ตร. ว่าด ้วยอานาจการลงโทษ


อัตราโทษ และการลงโทษ

ภาคทัณฑ ์ ทัณฑกรรม กักยาม กักขัง


หรือตัดเงินเดือน พ.ศ.2547
ข้อ 3
ผู ร้ ับโทษกักยาม และผู ร้ ับโทษกักขัง

กักยาม เฉพาะ ผกก. ลงมา

้ั
กักขัง ตงแต่ รอง สว. ลงมา

กฎ ก.ตร. ว่าด ้วยอานาจการลงโทษ อัตราโทษ


และการลงโทษ ภาคทัณฑ ์ ทัณฑกรรม กัก
ยาม กักขัง หรือตัดเงินเดือน พ.ศ.25 ข้อ 6
คาสัง่ ตร.ที่ 436/2548
ลง 20 มิ.ย.2548


เรือง มอบอานาจการดาเนิ นการทางวินย

่ ขา้ ราชการตารวจ
การสังให้
ออกจากราชการ และกาหนด
แนวทางปฏิบต ั ิ
คาสัง่ ตร.ที่ 436/2548
ลง 20 มิ.ย.2548

• มอบอานาจการดาเนิ นการทางวินย ั
• วินย ่ ด เมือใด
ั ถึงทีสุ ่
- วินยั อย่างไม่ร ้ายแรง
- วินย ั อย่างร ้ายแรง
• การรายงานการดาเนิ นการทางวินย ั
การรายงานตนเมือ
่ ต้องคดี
1.ประเภทของคดี
คดีอาญา
คดีแพ่ง
คดีล ้มละลาย
2.กาหนดเวลาการรายงานตน
เมือ
่ ต้องคดี
ภายใน 3 วัน นับตัง้ แต่...
คดีอาญา 1. พงส.ดาเนินคดี
นับตัง้ แต่วันถูกจับกุม, ถูก พงส.
เรียกตัวไปสอบสวนหรือแจ ้งข ้อหา
ี หายฟ้ องเอง
2. ผู ้เสย
นับตัง้ แต่วันรับหมายศาล
คดีแพ่ง นับตัง้ แต่วันรับหมายศาล
คดีล ้มละลาย วันถูกยึดทรัพย์
ป.ระเบียบการตารวจไม่เกีย
่ วกับคดี ลักษณะที่ 1 บทที่ 13 ข ้อ 3
3. แบบของการรายงานเมือ
่ ต้องคดี

4. การรายงานความคืบหน้าของคดี
จนกว่าคดีถงึ ทีส
่ ด

รายงานตนพ้นคดี /
รายงานการต้องโทษทางอาญา,
การชดใชช ้ าระหนี้ ค่าสน
ิ ไหมทดแทน
บุคคลล้มละลาย
4. การเสนอรายงานตน
่ องหาคดีอาญา
เมือต้

ั ้ ต ้น
เสนอ ผู ้บังคับบัญชาชน
5. ผลจากการรายงานตนต้องคดีล่าช้า

ภาคทัณฑ์
การอุทธรณ์
มาตรา 105 พ.ร.บ.ตารวจแห่งชาติ พ.ศ.2547

มี 2 กรณี

1. ถูกสังลงโทษทางวินัย
่ ้ออกจากราชการ
2. ถูกสังให
การร ้องทุกข ์
มาตรา 106
พ.ร.บ.ตารวจแห่งชาติ พ.ศ.2547

มี 3 กรณี
1. ผู บ ่ บต
้ งั คับบัญชาใช้อานาจหน้าทีปฏิ ั ต
ิ อ

ตน โดยไม่ถูกต้อง

2. ผู บ
้ งั คับบัญชาไม่ปฏิบต
ั ต
ิ อ
่ ตนให้ถูกต้อง
ตามระเบียบกฎหมาย

3. ผู บ
้ งั ค ับบัญชาปฏิบต
ั ห ่
ิ น้าทีโดยมิ
ชอบต่อ
ตน
ขอขอบคุณ

You might also like