You are on page 1of 50

หุน้ ส่ วนและบริ ษทั

อ.จักรภพ ศิริภากรกาญจน์
• มาตรา ๑๐๑๒ อันว่าสัญญาจัดตังห้ ้ างหุ้นส่วนหรื อบริ ษัทนัน้ คือ
สัญญาซึง่ บุคคลตังแต่
้ สองคนขึ ้นไปตกลงเข้ ากันเพื่อกระทำกิจการร่วม
กัน ด้ วยประสงค์จะแบ่งปั นกำไรอันจะพึงได้ แต่กิจการที่ทำนัน้
• มาตรา ๑๐๑๓ อันห้ างหุ้นส่วนหรื อบริษัทนัน้ ท่านกำหนดเป็ นสาม
ประเภท คือ
• (๑) ห้ างหุ้นส่วนสามัญ
• (๒) ห้ างหุ้นส่วนจำกัด
• (๓) บริ ษัทจำกัด
ห้างหุน้ ส่ วนสามัญ
• มาตรา ๑๐๒๕ อันว่าห้ างหุ้นส่วนสามัญนัน้ คือห้ างหุ้นส่วนประเภทซึง่
ผู้เป็ นหุ้นส่วนหมดทุกคนต้ องรับผิดร่วมกันเพื่อหนี ้ทังปวงของหุ
้ ้ นส่วน
โดยไม่มีจำกัด
• มาตรา ๑๐๕๐ การใด ๆ อันผู้เป็ นหุ้นส่วนคนใดคนหนึง่ ได้ จดั ทำไปใน
ทางที่เป็ นธรรมดาการค้ าขายของห้ างหุ้นส่วนนัน้ ท่านว่าผู้เป็ นหุ้นส่วน
หมดทุกคนย่อมมีความผูกพันในการนัน้ ๆ ด้ วย และจะต้ องรับผิดร่วม
กันโดยไม่จำกัดจำนวนในการชำระหนี ้ อันได้ ก่อให้ เกิดขึ ้นเพราะจัดการ
ไปเช่นนัน้
• มาตรา ๑๐๒๖ ผู้เป็ นหุ้นส่วนทุกคนต้ องมีสงิ่ หนึง่ สิง่ ใดมาลงหุ้นด้ วยใน
ห้ างหุ้นส่วน
• สิง่ ที่นำมาลงด้ วยนัน้ จะเป็ นเงินหรื อทรัพย์สนิ สิง่ อื่นหรื อลงแรงงานก็ได้

• มาตรา ๑๐๔๔ อันส่วนกำไรก็ดี ส่วนขาดทุนก็ดี ของผู้เป็ นหุ้นส่วนทุก ๆ


คนนันย่
้ อมเป็ นไปตามส่วนที่ลงหุ้น
• มาตรา ๑๐๓๗ ถึงแม้ วา่ ผู้เป็ นหุ้นส่วนทังหลายได้
้ ตกลงให้ ผ้ เู ป็ นหุ้นส่วน
คนเดียวหรื อหลายคนเป็ นผู้จดั การห้ างหุ้นส่วนก็ดี ผู้เป็ นหุ้นส่วนทุกคน
นอกจากผู้จดั การย่อมมีสทิ ธิที่จะไต่ถามถึงการงานของห้ างหุ้นส่วนที่จดั
อยูน่ นได้
ั ้ ทกุ เมื่อ และมีสทิ ธิที่จะตรวจและคัดสำเนาสมุดบัญชี และ
เอกสารใด ๆ ของหุ้นส่วนได้ ด้วย
• มาตรา ๑๐๓๘ ห้ ามมิให้ ผ้ เู ป็ นหุ้นส่วนประกอบกิจการอย่างหนึง่ อย่าง
ใดซึง่ มีสภาพดุจเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับกิจการของห้ างหุ้นส่วน
นันไม่
้ วา่ ทำเพื่อประโยชน์ตนหรื อประโยชน์ผ้ อู ื่น โดยมิได้ รับความ
ยินยอมของผู้เป็ นหุ้นส่วนคนอื่น ๆ
• ถ้ าผู้เป็ นหุ้นส่วนคนใดทำการฝ่ าฝื นต่อบทบัญญัติมาตรานี ้ไซร้ ผู้เป็ นหุ้น
ส่วนคนอื่น ๆ ชอบที่จะเรี ยกเอาผลกำไรซึง่ ผู้นนหาได้ั้ ทงหมด
ั้ หรื อเรี ยก
เอาค่าสินไหมทดแทนเพื่อการที่ห้างหุ้นส่วนได้ รับความเสียหายเพราะ
เหตุนนั ้ แต่ทา่ นห้ ามมิให้ ฟ้องเรี ยกเมื่อพ้ นเวลาปี หนึง่ นับแต่วนั ทำการ
ฝ่ าฝื น
• มาตรา ๑๐๕๑ ผู้เป็ นหุ้นส่วนซึง่ ออกจากหุ้นส่วนไปแล้ วยังคงต้ องรับผิด
ในหนี ้ซึง่ ห้ างหุ้นส่วนได้ ก่อให้ เกิดขึ ้นที่ตนได้ ออกจากหุ้นส่วนไป
•  
• มาตรา ๑๐๕๒ บุคคลผู้เข้ าเป็ นหุ้นส่วนในห้ างหุ้นส่วนย่อมต้ องรับผิดใน
หนี ้ใด ๆ ซึง่ ห้ างหุ้นส่วนได้ ก่อให้ เกิดขึ ้นก่อนที่ตนเข้ ามาเป็ นหุ้นส่วนด้ วย
•  
• มาตรา ๑๐๔๗ ถ้ าชื่อของผู้เป็ นหุ้นส่วนซึง่ ออกจากหุ้นส่วนไปแล้ วยังคง
ใช้ เรี ยกขานติดเป็ นชื่อห้ างหุ้นส่วนอยู่ ท่านว่าผู้เป็ นหุ้นส่วนนันชอบที
้ ่จะ
เรี ยกให้ งดใช้ ชื่อของตนเสียได้
• มาตรา ๑๐๕๔ บุคคลใดแสดงตนว่าเป็ นหุ้นส่วนด้ วยวาจาก็ดี ด้ วยลาย
ลักษณ์อกั ษรก็ดี ด้ วยกิริยาก็ดี ด้ วยยินยอมให้ เขาใช้ ชื่อตนเป็ นชื่อห้ าง
หุ้นส่วนก็ดี หรื อรู้แล้ วไม่คดั ค้ านปล่อยให้ เขาแสดงว่าตนเป็ นหุ้นส่วนก็ดี
ท่านว่าบุคคลนันย่ ้ อมต้ องรับผิดต่อบุคคลภายนอกในบรรดาหนี ้ของห้ าง
หุ้นส่วนเสมือนเป็ นหุ้นส่วน
ห้างหุน้ ส่ วนสามัญนิติบุคคล
• มาตรา ๑๐๖๔ อันห้ างหุ้นส่วนสามัญนัน้ จะจดทะเบียนก็ได้

• มาตรา ๑๐๑๕ ห้ างหุ้นส่วนหรื อบริษัทเมื่อได้ จดทะเบียนตามบัญญัติ


แห่งลักษณะนี ้แล้ ว ท่านจัดว่าเป็ นนิติบคุ คลต่างหากจากผู้เป็ นหุ้นส่วน
หรื อผู้ถือหุ้นทังหลายซึ
้ ง่ รวมเข้ ากันเป็ นหุ้นส่วนหรื อบริ ษัทนัน้
• มาตรา ๑๐๖๖ ห้ ามมิให้ ผ้ เู ป็ นหุ้นส่วนคนหนึง่ คนใดในห้ างหุ้นส่วนจด
ทะเบียนประกอบกิจการอย่างหนึง่ อย่างใดอันมีสภาพเป็ นอย่างเดียวกัน
และเป็ นการแข่งขันกับกิจการของห้ างหุ้นส่วนนัน้ ไม่วา่ ทำเพื่อประโยชน์
ตนหรื อเพื่อประโยชน์ผ้ อู ื่น หรื อไปเข้ าเป็ นหุ้นส่วนไม่จำกัดความรับผิด
ในห้ างหุ้นส่วนอื่น ซึง่ ประกอบกิจการอันมีสภาพเป็ นอย่างเดียวกัน และ
แข่งขันกับกิจการของห้ างหุ้นส่วนจดทะเบียนนัน้ เว้ นไว้ แต่จะได้ รับ คำ
ยินยอมของผู้เป็ นหุ้นส่วนอื่นทังหมด้
• มาตรา ๑๐๖๗ ถ้ าผู้เป็ นหุ้นส่วนคนใดกระทำการฝ่ าฝื นต่อบทบัญญัติ
ในมาตราก่อนนี ้ไซร้ ท่านว่าห้ างหุ้นส่วนซึง่ จดทะเบียนนันชอบที ้ ่จะเรี ยก
เอาผลกำไรอันผู้นนหาได้
ั้ ทงหมดหรื
ั้ อเรี ยกเอาค่าสินไหมทดแทนเพื่อ
ความเสียหายซึง่ ห้ างหุ้นส่วนได้ รับเพราะเหตุนนั ้
• แต่ทงนี
ั ้ ้ท่านห้ ามมิให้ ฟ้องเรี ยกเมื่อพ้ นเวลาปี หนึง่ นับแต่วนั ทำการฝ่ าฝื น
• อนึง่ บทบัญญัติมาตรานี ้ไม่ลบล้ างสิทธิของผู้เป็ นหุ้นส่วนทังหลายนอก้
นันในอั
้ นจะเรี ยกให้ เลิกห้ างหุ้นส่วน
• มาตรา ๑๐๗๐ เมื่อใดห้ างหุ้นส่วนซึง่ จดทะเบียนผิดนัดชำระหนี ้ เมื่อนัน้
เจ้ าหนี ้ของห้ างหุ้นส่วนนันชอบที
้ ่จะเรี ยกให้ ชำระหนี ้เอาแต่ผ้ เู ป็ นหุ้นส่วน
คนใดคนหนึง่ ก็ได้
• มาตรา ๑๐๗๑ ในกรณีที่กล่าวไว้ ในมาตรา ๑๐๗๐ นัน้ ถ้ าผู้เป็ นหุ้น
ส่วนนำพิสจู น์ได้ วา่
• (๑) สินทรัพย์ของห้ างหุ้นส่วนยังมีพอที่จะชำระหนี ้ได้ ทงหมดหรื
ั้ อบาง
ส่วน และ
• (๒) การที่จะบังคับเอาแก่ห้างหุ้นส่วนนันไม่
้ เป็ นการยากฉะนี ้ไซร้
• ศาลจะบังคับให้ เอาสินทรัพย์ของห้ างหุ้นส่วนนันชำระหนี
้ ้ก่อนก็ได้
สุดแต่ศาลจะเห็นสมควร
•  
ห้างหุน้ ส่ วนจำกัด
• มาตรา ๑๐๗๗ อันห้ างหุ้นส่วนจำกัดนัน้ คือห้ างหุ้นส่วนประเภทหนึง่
ซึง่ มีผ้ เู ป็ นหุ้นส่วนสองจำพวก ดัง่ จะกล่าวต่อไปนี ้ คือ
• (๑) ผู้เป็ นหุ้นส่วนคนเดียวหรื อหลายคนซึง่ มีจำกัดความรับผิดเพียงไม่
เกินจำนวนเงินที่ตนรับจะลงหุ้นในห้ างหุ้นส่วนนันจำพวกหนึ
้ ง่ และ
• (๒) ผู้เป็ นหุ้นส่วนคนเดียวหรื อหลายคนซึง่ ต้ องรับผิดร่วมกันในบรรดา
หนี ้ของห้ างหุ้นส่วนไม่มีจำกัดจำนวนอีกจำพวกหนึง่
• มาตรา ๑๐๗๘ อันห้ างหุ้นส่วนจำกัดนัน้ ท่านบังคับว่าต้ องจดทะเบียน

• มาตรา ๑๐๗๙ อันห้ างหุ้นส่วนจำกัดนัน้ ถ้ ายังมิได้ จดทะเบียนอยูต่ ราบ


ใด ท่านให้ ถือว่าเป็ นห้ างหุ้นส่วนสามัญซึง่ ผู้เป็ นหุ้นส่วนทังหมดย่
้ อมต้ อง
รับผิดร่วมกันในบรรดาหนี ้ของห้ างหุ้นส่วนโดยไม่มีจำกัดจำนวนจนกว่า
จะได้ จดทะเบียน
• มาตรา ๑๐๘๑ ห้ ามมิให้ เอาชื่อของผู้เป็ นหุ้นส่วนจำพวกจำกัดความรับ
ผิดมาเรี ยกขานระคนเป็ นชื่อห้ าง

• มาตรา ๑๐๘๒ ถ้ าผู้เป็ นหุ้นส่วนจำพวกจำกัดความรับผิดคนใดยินยอม


โดยแสดงออกชัดหรื อโดยปริยายให้ ใช้ ชื่อของตนระคนเป็ นชื่อห้ างไซร้
ท่านว่าผู้เป็ นหุ้นส่วนคนนันจะต้
้ องรับผิดต่อบุคคลภายนอกเสมือนดังว่า
เป็ นหุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดความรับผิดฉะนัน้
• มาตรา ๑๐๘๓ การลงหุ้นของผู้เป็ นหุ้นส่วนจำพวกจำกัดความรับผิด
นัน้ ท่านว่าต้ องให้ ลงเป็ นเงินหรื อทรัพย์สนิ อย่างอื่น ๆ
•  
• มาตรา ๑๐๘๗ อันห้ างหุ้นส่วนจำกัดนัน้ ท่านว่าต้ องให้ แต่เฉพาะผู้เป็ น
หุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดความรับผิดเท่านันเป็
้ นผู้จดั การ
•  
• มาตรา ๑๐๘๘ ถ้ าผู้เป็ นหุ้นส่วนจำพวกจำกัดความรับผิดผู้ใดสอด
เข้ าไปเกี่ยวข้ องจัดการงานของห้ างหุ้นส่วน ท่านว่าผู้นนจะต้
ั ้ องรับผิด
ร่วมกันในบรรดาหนี ้ทังหลายของห้
้ างหุ้นส่วนนันโดยไม่
้ จำกัดจำนวน
• แต่การออกความเห็นและแนะนำก็ดี ออกเสียงเป็ นคะแนนนับในการตัง้
และถอดถอนผู้จดั การตามกรณีที่มีบงั คับไว้ ในสัญญาหุ้นส่วนนันก็ ้ ดี
ท่านหานับว่าเป็ นการสอดเข้ าไปเกี่ยวข้ องจัดการงานของห้ างหุ้นส่วน
นันไม่

• มาตรา ๑๐๙๐ ผู้เป็ นหุ้นส่วนจำพวกจำกัดความรับผิดจะประกอบการ
ค้ าขายอย่างใด ๆ เพื่อประโยชน์ตนหรื อเพื่อประโยชน์บคุ คลภายนอก
ก็ได้ แม้ วา่ การงานเช่นนันจะมี
้ สภาพเป็ นอย่างเดียวกันกับการค้ าขาย
ของห้ างหุ้นส่วนก็ไม่ห้าม
• มาตรา ๑๐๙๕ ตราบใดห้ างหุ้นส่วนจำกัดยังมิได้ เลิกกัน ตราบนันเจ้ ้ า
หนี ้ของห้ างย่อมไม่มีสทิ ธิจะฟ้ องร้ องผู้เป็ นหุ้นส่วนจำพวกจำกัดความรับ
ผิดได้
บริ ษทั จำกัด
• มาตรา ๑๐๙๖ อันว่าบริษัทจำกัดนัน้ คือบริษัทประเภทซึง่ ตังขึ ้ ้นด้ วย
แบ่งทุนเป็ นหุ้นมีมลู ค่าเท่า ๆ กัน โดยมีผ้ ถู ือหุ้นต่างรับผิด จำกัดเพียงไม่
เกินจำนวนเงินที่ตนยังส่งใช้ ไม่ครบมูลค่าของหุ้นที่ตนถือ
• มาตรา ๑๐๙๗] บุคคลใด ๆ ตังแต่ ้ สามคนขึ ้นไปจะเริ่ มก่อการและตัง้
เป็ นบริษัทจำกัดก็ได้ โดยเข้ าชื่อกันทำหนังสือบริคณห์สนธิ
• มาตรา ๑๐๙๘ หนังสือบริคณห์สนธินนั ้ ต้ องมีรายการดัง่ ต่อไปนี ้ คือ
• (๑) ชื่อบริ ษัทอันคิดจะตังขึ ้ ้น ซึง่ ต้ องมีคำว่า “จำกัด” ไว้ ปลายชื่อนัน้
ด้ วยเสมอไป
• (๒) ที่สำนักงานของบริษัทซึง่ บอกทะเบียนนันจะตั ้ งอยู
้ ่ ณ ที่ใดในพระ
ราชอาณาเขต
• (๓) วัตถุที่ประสงค์ทงหลายของบริ
ั้ ษัท
• (๔) ถ้ อยคำสำแดงว่า ความรับผิดของผู้ถือหุ้นจะมีจำกัด
• (๕) จำนวนทุนเรื อนหุ้นซึง่ บริษัทคิดกำหนดจะจดทะเบียนแบ่งออกเป็ น
หุ้นมีมลู ค่ากำหนดหุ้นละเท่าไร
• (๖) ชื่อ สำนัก อาชีวะ และลายมือชื่อของบรรดาผู้เริ่ มก่อการ ทังจำนวน ้
หุ้นซึง่ ต่างคนต่างเข้ าชื่อซื ้อไว้ คนละเท่าใด
• มาตรา ๑๑๐๐ ผู้เริ่ มก่อการทุกคนต้ องลงชื่อซื ้อหุ้น ๆ หนึง่ เป็ นอย่าง
น้ อย

• มาตรา ๑๑๐๒ ห้ ามมิให้ ชี ้ชวนประชาชนให้ ซื ้อหุ้น


• มาตรา ๑๑๐๔ จำนวนหุ้นทังหมดซึ ้ ง่ บริษัทคิดจะจดทะเบียนนัน้ ต้ องมี
ผู้เข้ าชื่อซื ้อหรื อออกให้ กนั เสร็จก่อนการจดทะเบียนของบริ ษัท

• มาตรา ๑๑๐๖ การที่เข้ าชื่อซื ้อหุ้นนันย่


้ อมผูกพันผู้เข้ าชื่อโดยเงื่อนไขว่า
ถ้ าบริษัทตังขึ
้ ้นแล้ วจะใช้ จำนวนเงินค่าหุ้นนัน้ ๆ ให้ แก่บริ ษัทตามหนังสือ
ชี ้ชวนและข้ อบังคับของบริษัท
• มาตรา ๑๑๐๗ เมื่อหุ้นชนิดซึง่ จะต้ องลงเงินนันได้ ้ มีผ้ เู ข้ าชื่อซื ้อหมดแล้ ว
ผู้เริ่มก่อการต้ องนัดบรรดาผู้เข้ าชื่อซื ้อหุ้นมาประชุมกันเป็ นการประชุม
ใหญ่โดยไม่ชกั ช้ า ประชุมอันนี ้ให้ เรี ยกว่าประชุมตังบริ
้ ษัท
• มาตรา ๑๑๑๐ เมื่อได้ ประชุมตังบริ ้ ษัทแล้ ว ให้ ผ้ เู ริ่มก่อการบริ ษัทมอบ
การทังปวงให้
้ แก่กรรมการของบริษัท
• เมื่อกรรมการได้ รับการแล้ ว ก็ให้ ลงมือจัดการเรี ยกให้ ผ้ เู ริ่ มก่อการและผู้
เข้ าชื่อซื ้อหุ้นทังหลายใช้
้ เงินในหุ้นซึง่ จะต้ องใช้ เป็ นตัวเงิน เรี ยกหุ้นหนึง่
ไม่น้อยกว่าร้ อยละยี่สบิ ห้ า ตามที่ได้ กำหนดไว้ ในหนังสือชี ้ชวนบอก
กล่าวป่ าวร้ องหรื อหนังสือชวนให้ ซื ้อหุ้น
• มาตรา ๑๑๑๑ เมื่อจำนวนเงินซึง่ ว่าไว้ ในมาตรา ๑๑๑๐ ได้ ใช้ เสร็ จแล้ ว
กรรมการต้ องไปขอจดทะเบียนบริษัทนัน้

• มาตรา ๑๑๑๔ เมื่อบริษัทได้ จดทะเบียนแล้ ว ผู้เข้ าชื่อซื ้อหุ้นจะร้ องฟ้อง


ขอให้ ศาลเพิกถอนการที่ตนได้ เข้ าชื่อซื ้อ โดยยกเหตุวา่ สำคัญผิดหรื อ
ต้ องข่มขู่ หรื อถูกลวงล่อฉ้ อฉลนันท่
้ านว่าหาอาจทำได้ ไม่
หุน้ และผูถ้ ือหุน้
• มาตรา ๑๑๑๗ อันมูลค่าของหุ้น ๆ หนึง่ นัน้ มิให้ ต่ำกว่าห้ าบาท

• มาตรา ๑๑๒๐ บรรดาเงินค่าหุ้นซึง่ ยังจะต้ องส่งอีกนัน้ กรรมการจะ


เรี ยกให้ ผ้ ถู ือหุ้นส่งใช้ เสียเมื่อใดก็ได้ เว้ นแต่ที่ประชุมใหญ่จะได้ วินิจฉัย
เป็ นอย่างอื่น
• มาตรา ๑๑๒๓ ถ้ าผู้ถือหุ้นคนใดละเลยไม่สง่ ใช้ เงินที่เรี ยกค่าหุ้นตามวัน
กำหนดกรรมการจะส่งคำบอกกล่าวด้ วยจดหมายส่งลงทะเบียน
ไปรษณีย์ไปยังผู้นนให้
ั ้ สง่ ใช้ เงินที่เรี ยกกับทังดอกเบี
้ ้ยด้ วยก็ได้
• ในคำบอกกล่าวอันนี ้ ให้ กำหนดเวลาไปพอสมควรเพื่อให้ ใช้ เงินที่เรี ยก
กับทังดอกเบี
้ ้ย และต้ องบอกไปด้ วยว่าให้ สง่ ใช้ ณ สถานที่ใด อนึง่ ในคำ
บอกกล่าวนันจะแจ้
้ งไปด้ วยก็ได้ วา่ ถ้ าไม่ใช้ เงินตามเรี ยก หุ้นนันอาจจะ

ถูกริบ
• มาตรา ๑๑๒๗ ให้ บริ ษัททำใบหุ้น คือใบสำคัญสำหรับหุ้นใบหนึง่ หรื อ
หลายใบมอบให้ เป็ นคูม่ ือแก่ผ้ ถู ือหุ้นจงทุก ๆ คน
• มาตรา ๑๑๒๙ อันว่าหุ้นนันย่ ้ อมโอนกันได้ โดยมิต้องได้ รับความ
ยินยอมของบริ ษัท เว้ นแต่เมื่อเป็ นหุ้นชนิดระบุชื่อลงในใบหุ้น ซึง่ มีข้อ
บังคับของบริ ษัทกำหนดไว้ เป็ นอย่างอื่น
• การโอนหุ้นชนิดระบุชื่อลงในใบหุ้นนัน้ ถ้ ามิได้ ทำเป็ นหนังสือและลง
ลายมือชื่อของผู้โอนกับผู้รับโอน มีพยานคนหนึง่ เป็ นอย่างน้ อยลงชื่อ
รับรองลายมือนัน้ ๆ ด้ วยแล้ ว ท่านว่าเป็ นโมฆะ อนึง่ ตราสารอันนันต้ ้ อง
แถลงเลขหมายของหุ้นซึง่ โอนกันนันด้ ้ วย
• การโอนเช่นนี ้จะนำมาใช้ แก่บริษัท หรื อบุคคลภายนอกไม่ได้ จนกว่าจะ
ได้ จดแจ้ งการโอนทังชื
้ ่อและสำนักของผู้รับโอนนันลงในทะเบี
้ ยนผู้ถือหุ้น
• มาตรา ๑๑๓๔ ใบหุ้นออกให้ แก่ผ้ ถู ือนัน้ จะออกได้ ก็แต่เมื่อมีข้อบังคับ
ของบริษัทอนุญาตไว้ และจะออกให้ ได้ แต่เฉพาะเพื่อหุ้นซึง่ ได้ ใช้ เต็มค่า
แล้ ว
• มาตรา ๑๑๓๕ หุ้นชนิดที่มีใบหุ้นออกให้ แก่ผ้ ถู ือนัน้ ย่อมโอนกันได้
เพียงด้ วยส่งมอบใบหุ้นแก่กนั  
• มาตรา ๑๑๓๖ ผู้ทรงใบหุ้นชนิดออกให้ แก่ผ้ ถู ือย่อมมีสทิ ธิจะมาขอ
เปลี่ยนเอาใบหุ้นชนิดระบุชื่อได้
กรรมการ
• มาตรา ๑๑๕๐ ผู้เป็ นกรรมการจะพึงมีจำนวนมากน้ อยเท่าใดและจะพึง
ได้ บำเหน็จเท่าใด ให้ สดุ แล้ วแต่ที่ประชุมใหญ่จะกำหนด
•  
• มาตรา ๑๑๖๘ ท่านห้ ามมิให้ ผ้ เู ป็ นกรรมการประกอบการค้ าขายใด ๆ
อันมีสภาพเป็ นอย่างเดียวกัน และเป็ นการแข่งขันกับการค้ าขายของ
บริษัทนัน้ ไม่วา่ ทำเพื่อประโยชน์ตนหรื อเพื่อประโยชน์ผ้ อู ื่น หรื อไปเข้ า
หุ้นส่วนไม่จำกัดความรับผิดในห้ างค้ าขายอื่นซึง่ ประกอบกิจการมีสภาพ
เป็ นอย่างเดียวกัน และแข่งขันกับกิจการของบริษัท โดยมิได้ รับความ
ยินยอมของที่ประชุมใหญ่ของผู้ถือหุ้น
• มาตรา ๑๑๖๙ ถ้ ากรรมการทำให้ เกิดเสียหายแก่บริษัท บริ ษัทจะฟ้อง
ร้ องเรี ยกเอาสินไหมทดแทนแก่กรรมการก็ได้ หรื อในกรณีที่บริ ษัทไม่
ยอมฟ้องร้ อง ผู้ถือหุ้นคนหนึง่ คนใดจะเอาคดีนนขึ
ั ้ ้นว่าก็ได้
ประชุมใหญ่
• มาตรา ๑๑๗๑ ให้ มีการประชุมผู้ถือหุ้นทัว่ ไปเป็ นประชุมใหญ่ภายใน
หกเดือนนับแต่วนั ที่ได้ จดทะเบียนบริษัท และต่อนันไปก็้ ให้ มีการประชุม
เช่นนี ้ครัง้ หนึง่ เป็ นอย่างน้ อยทุกระยะเวลาสิบสองเดือน
• การประชุมเช่นนี ้ เรี ยกว่าประชุมสามัญ
• การประชุมใหญ่คราวอื่นบรรดามีนอกจากนี ้ เรี ยกว่าประชุมวิสามัญ
• มาตรา ๑๑๗๒ กรรมการจะเรี ยกประชุมวิสามัญเมื่อใดก็ได้ สดุ แต่จะ
เห็นสมควร
• ถ้ าบริษัทขาดทุนลงถึงกึง่ จำนวนต้ นทุน กรรมการต้ องเรี ยกประชุม
วิสามัญทันที เพื่อแจ้ งให้ ผ้ ถู ือหุ้นทราบการที่ขาดทุนนัน้
•  
• มาตรา ๑๑๗๓ การประชุมวิสามัญจะต้ องนัดเรี ยกให้ มีขึ ้นในเมื่อผู้ถือ
หุ้นมีจำนวนหุ้นรวมกันไม่น้อยกว่าหนึง่ ในห้ าแห่งจำนวนหุ้นของบริ ษัท
ได้ เข้ าชื่อกันทำหนังสือร้ องขอให้ เรี ยกประชุมเช่นนัน้ ในหนังสือร้ องขอ
นันต้
้ องระบุวา่ ประสงค์ให้ เรี ยกประชุมเพื่อการใด
• มาตรา ๑๑๗๖ ผู้ถือหุ้นทัว่ ทุกคนมีสทิ ธิจะเข้ าประชุมในที่ประชุมใหญ่
ได้ เสมอไม่วา่ จะเป็ นประชุมชนิดใดคราวใด

• มาตรา ๑๑๘๔ ผู้ถือหุ้นคนใดยังมิได้ ชำระเงินค่าหุ้นซึง่ บริ ษัทได้ เรี ยก


เอาแต่ตนให้ เสร็ จสิ ้น ท่านว่าผู้ถือหุ้นคนนันไม่
้ มีสทิ ธิออกเสียงเป็ น
คะแนน
• มาตรา ๑๑๘๖ ผู้ทรงใบหุ้นชนิดออกให้ แก่ผ้ ถู ือหาอาจออกเสียงเป็ น
คะแนนได้ ไม่ เว้ นแต่จะได้ นำใบหุ้นของตนนันมาวางไว้
้ แก่บริ ษัทแต่ก่อน
เวลาประชุม
 
• มาตรา ๑๑๘๗ ผู้ถือหุ้นทุกคนจะมอบฉันทะให้ ผ้ อู ื่นออกเสียงแทนตน
ก็ได้ แต่การมอบฉันทะเช่นนี ้ต้ องทำเป็ นหนังสือ
• มาตรา ๑๑๙๐ ในการประชุมใหญ่ใด ๆ ข้ อมติอนั เสนอให้ ลงคะแนน
ท่านให้ ตดั สินด้ วยวิธีชมู ือ เว้ นแต่เมื่อก่อนหรื อในเวลาที่แสดงผลแห่งการ
ชูมือนัน้ จะได้ มีผ้ ถู ือหุ้นสองคนเป็ นอย่างน้ อยติดใจร้ องขอให้ ลงคะแนน
ลับ

• มาตรา ๑๑๘๒ ในการลงคะแนนโดยวิธีชมู ือนัน้ ท่านให้ นบั ว่าผู้ถือหุ้น


ทุกคนที่มาประชุมเองหรื อมอบฉันทะให้ ผ้ อู ื่นมาประชุมแทนมีเสียงหนึง่
เป็ นคะแนน แต่ในการลงคะแนนลับ ท่านให้ นบั ว่าผู้ถือหุ้นทุกคนมี
คะแนนเสียง เสียงหนึง่ ต่อหุ้นหนึง่ ที่ตนถือ
• มาตรา ๑๑๙๓ ถ้ าคะแนนเสียงเท่ากัน จะเป็ นในการชูมือก็ดี หรื อใน
การลงคะแนนลับก็ดี ให้ ผ้ เู ป็ นประธานในที่ประชุมมีคะแนนอีกเสียงหนึง่
เป็ นเสียงชี ้ขาด

You might also like