You are on page 1of 28

ใบความรู้

เรื่อง การนำเสนอข้ อมูล

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนศึกษาใบความรู้เรื่ อง การนำเสนอข้อมูล

ระเบียบวิธีในการเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มูลและ


การแปลผล เพื่อช่วยในการตัดสิ นใจซึ่งเป็ นหลักการและวิธีการทางสถิติ โดยเป็ น
ประโยชน์อย่างมากในการตอบคำถามต่างๆ เมื่อต้องการศึกษาเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง

1. ประเภทของข้ อมูล

ข้ อมูลแบ่ งตามลักษณะ จำแนกได้ เป็ น 2 ประเภท คือ


1. ข้ อมูลเชิงคุณภาพ เป็ นข้อมูลที่ไม่สามารถวัดค่าออกมาเป็ นตัวเลขได้ แต่เป็ น
ข้อมูลที่บอกลักษณะที่แตกต่างกัน เช่น กลุ่มเลือดจำแนกเป็ นหมู่ A หมู่ O หมู่ B หมู่ AB
สี ผมจำแนกเป็ น ดำ น้ำตาล บรอนซ์ เพศจำแนกเป็ นหญิงและชาย เป็ นต้น
2. ข้ อมูลเชิงปริมาณ เป็ นข้อมูลที่วดั ค่าออกมาเป็ นตัวเลข เช่น ความสูง อายุ จำนวน
อุบตั ิเหตุ จำนวนคนที่ป่วยเป็ นโรคโลหิ ตจาง เป็ นต้น ค่าตัวเลขนี้ จะแปรเปลี่ยนได้มากมาย ดัง
นั้นจึงเรี ยกว่าตัวแปร ถ้าตัวแปรหรื อค่าตัวเลขที่วดั ออกมานั้นเป็ นค่าโดดๆ เป็ นเลขจำนวนนับ
หรื อจำนวนเต็ม เช่น จำนวนคน จำนวนห้องเรี ยน เรี ยกว่า ตัวแปรไม่ ต่อเนื่อง แต่ถา้ ค่าตัวเลขที่
ออกมาเป็ นค่าที่เกิดได้ทุกช่วงๆ ไม่มีช่วงว่างระหว่างตัวเลขจำนวนเต็ม เช่น ระหว่างค่า 1 กับ 2
ก็มีได้มากมายนับไม่ถว้ น ค่าเช่นนี้เรี ยกว่า ตัวแปรต่ อเนื่อง เช่น น้ำหนัก ความสูง ค่าใช้จ่าย
ต่อเดือน เป็ นต้น
การวิเคราะห์ขอ้ มูล หมายถึง การนำเอาข้อมูล (ข้อมูลดิบ) ที่เก็บรวบรวม
ได้มาวิเคราะห์ เพื่อหาคุณลักษณะต่างๆ ของข้อมูล โดยการเลือกใช้สถิติให้เหมาะสม
กับข้อมูลชุดนั้นๆ

2.การนำเสนอข้ อมูล

ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้เป็ นจำนวนมาก จะต้องนำมาจัดระเบียบให้อยูใ่ น


รู ปที่สามารถจะอ่านได้ง่ายและรวดเร็ ว การนำเสนอข้อมูลจำแนกได้เป็ น 4
ประเภท คือ

ประเภทที่ 1

การนำเสนอเป็ นบทความ

การนำเสนอเป็ นบทความ เป็ นการนำเสนอในรู ปของคำอธิบายลักษณะของข้อมูลที่


เราสนใจ เป็ นบทความต่อเนื่องกันไปในแบบของรายงาน วิธีนีม้ ีข้อเสี ย คือ ผูอ้ ่าน
จะต้องอ่านข้อความทั้งหมดจึงจะทราบข้อมูลที่ตอ้ งการเสนอ แม้ผอู้ ่านจะต้องการ
ทราบข้อมูลเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งเพียงบางเรื่ อง ก็ตอ้ งอ่านบทความทั้งหมดจึงจะทราบได้
แต่วิธีน้ ีกใ็ ช้ได้ดีเมื่อมีตวั เลขไม่มาก หรื อต้องการเน้นความสำคัญของตัวเลขบางตัว
หรื อเมื่อต้องการเปรี ยบเทียบกัน
ประเภทที่ 2

การนำเสนอเป็ นตาราง
การนำเสนอเป็ นตาราง เป็ นการนำเสนอที่กะทัดรัด สั้น และได้เนื้ อมาก เพราะตัวเลข
ได้จดั เรี ยงไว้เป็ นระเบียบเห็นได้ชดั อ่านได้ง่าย และผูอ้ ่านสามารถที่จะใช้เปรี ยบเทียบ
ตัวเลขได้ง่าย

ตัวอย่ าง ตารางบันทึกผลการทำสี ย้อมผ้ าจากพืช


สี ย้อมผ้ าจากพืชสู ตรที่ ผลที่เกิดจากการย้ อมผ้ า
1 จากรากยอผลที่ได้เป็ นสี น ้ำตาลแก่
2 จากขมิ้นชันผลที่ได้เป็ นสี เหลืองแกมน้ำตาล
3 จากใบหูกวางผลที่ได้เป็ นสี เขียวแกมเหลือง

ตัวอย่ าง ตาราง แสดงผลการประเมินคุณภาพของเชื้อเพลิงแต่ ละชนิด

เชื้อเพลิง เวลาที่ใช้ ในการเผาไหม้ จนน้ำ 100 cm3 เดือด (นาที)

1. กาบมะพร้าว 5
2. กะลามะพร้าว 7
3. กาบและกะลามะพร้าว 12
4. ไม้แดง 20
5. ไม้มะขามเทศ 15
ประเภทที่ 3

การนำเสนอเป็ นกราฟ
การนำเสนอเป็ นกราฟ เป็ นการนำเสนอในรู ปของกราฟ มักจะใช้กบั สถิติที่เกี่ยวกับเวลาหรื อ
ปริ มาณ กราฟทุกรู ปจะต้องมีชื่อ เพื่อเป็ นการบอกว่าเป็ นกราฟแสดงสถิติของอะไร ที่ไหน เมื่อไร
ให้ชดั เจน

1. การเสนอข้ อมูลสถิติโดยข้ อมูลที่จะนำเสนอนั้นมีเพียงชุดเดียว

1.1 แผนภูมิแท่ งเชิงเดียว (Simple Bar Chart)


ตัวอย่ างที่ 1 เป็ นการเสนอข้อมูลใช้แผนภูมิแท่งเชิงเดียวแบบแนวตั้งและแกนนอน
รู ปที่ 1 ที่อยูอ่ าศัยเปิ ดตัวใหม่ในเขตกทม. และปริ มณฑลเปรี ยบเทียบจำนวนที่อยูอ่ าศัยที่เปิ ดขาย
ตามระดับราคาต่าง ๆ ในเขตกรุ งเทพฯ และปริ มณฑลปี 2540
2. การนำเสนอข้ อมูลสถิติในเชิงเปรียบเทียบ เมื่อต้ องการนำเสนอในเชิงเปรียบเทียบ

เมื่อต้องการนำเสนอข้อมูลสถิติในเชิงเปรี ยบเทียบ เมื่อต้องการนำเสนอในเชิงเปรี ยบเทียบ


ข้อมูลตั้งแต่ 2 ชุดขึ้นไป ควรนำเสนอข้อมูลด้วยกราฟดังนี้

2.1แผนภูมิแท่ งเชิงซ้ อน (Multiple Bar Chart)


ข้อมูลสถิติที่จะนำเสนอด้วยแผนภูมิแท่งต้องเป็ นข้อมูลประเภทเดียวกันหน่วยของตัวเลข
เป็ นหน่วยเดียวกันและควรใช้เปรี ยบเทียบข้อมูลเพียง 2 ชุดเท่านั้น ซึ่งอาจเป็ นแผนภูมิในแนวตั้ง
หรื อแนวนอน ก็ได้สิ่งที่สำคัญต้องมีกญุ แจ (Key) อธิบายว่าแท่งใดหมายถึงข้อมูลชุดใดไว้ที่
กรอบ
ล่างของกราฟ
ตัวอย่ างจากรู ปที่ 2 เป็ นการเสนอข้อมูลใช้แผนภูมิแท่งเชิงซ้อน
รู ปที่ 2 แผนภูมิแท่งแสดงสิ นทรัพย์ หนี้ สินทุนของสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2.2 แผนภูมิเส้ นหลายเส้ น (Multiple Line Chart)
ถ้าต้องการเปรี ยบเทียบข้อมูลสถิติหลายประเภทพร้อมๆกันควรจะนำเสนอด้วยแผนภูมิ
เส้นซึ่งสามารถนำเสนอข้อมูลที่มีหน่วยเหมือนกันหรื อมีหน่วยต่างกันได้
ตัวอย่ างจากรู ปที่ 3 เป็ นการเสนอข้อมูลใช้แผนภูมิแท่งเชิงซ้อน
รู ปที่ 3 แผนภูมิเส้นแสดงการเปรี ยบเทียบสัดส่ วนประเภทที่อยูอ่ าศัยสร้างเสร็ จปี
2530 – ก.ย. 2541
ประเภทที่ 4

การนำเสนอเป็ นรู ปภาพ


การนำเสนอเป็ นรู ปภาพ เป็ นการเสนอข้อมูลที่ดึงดูดความสนใจได้มาก แต่อาจจะขาด
ความละเอียดเมื่อเทียบกับการนำเสนอโดยวิธีอื่น จากรู ปภาพผูอ้ ่านจะทราบได้ทนั ทีวา่ เป็ น
สถิติเกี่ยวกับอะไร เช่น เป็ นสถิติเกี่ยวกับรถยนต์ ก็จะเป็ นรู ปรถยนต์ เป็ นสถิติเกี่ยวกับ
ประชากร ก็จะเป็ นรู ปคน เป็ นสถิติเกี่ยวกับงบประมาณก็จะเป็ นรู ปธนบัตร เป็ นต้น
ตัวอย่ างจากรู ปที่ 4 เป็ นการเสนอข้อมูลเป็ นรู ปภาพ
รู ปที่ 4 แผนภูมิรูปภาพ ซึ่งแสดงปริ มาณที่ไทยส่ งสิ นค้าออกไปขายยังประเทศบรู ไน
สิ นค้าออกของไทยกับบรู ไนระหว่างปี 2526 - 2531

ตัวอย่างที่ ต่อไปนี้เป็นตั วอย่ างแผนภูมิรูปภาพ ซึ่งแสดงปริมาณที่ไทยส่งสินค้ าออกไปขายยั ง


ประเทศบรูไนสินค้ าออกของไทยกั บบรูไนระหว่ างปี 2526-2531

= 100 ล้ านบาท

2526 221

2527 237

2528 388

2529 388

2530 435

2531 529

ที่มา : กรมศุลกากร
จากข้ อมูลข้ างต้ น แสดงว่ าในปี 2526 ไทยส่งสินค้ าไปขายยั งประเทศบรูไน 221 ล้ านบาท
ในปี 2531 ส่งสินค้ าไปขาย 529 ล้ านบาท เป็นต้ น
3.การนำเสนอตามประเภทของข้ อมูล

การนำเสนอตามประเภทของข้อมูลนั้น ก่อนที่จะทำการจัดระเบียบข้อมูลจะต้อง
พิจารณาก่อนว่า ข้อมูลที่จะนำมาจัดระเบียบนั้นเป็ นข้อมูลประเภทใด เพื่อจะได้จดั กระทำ
กับข้อมูลให้สอดคล้องและเหมาะสมกับประเภทของข้อมูลนั้น

3.1. กรณีเป็ นข้ อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data)

เมื่อข้อมูลที่เก็บรวบรวมไม่ได้อยูใ่ นลักษณะที่เป็ นตัวเลข แต่อยูใ่ นลักษณะที่เป็ น


สมาชิกของพวกหรื อกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งในหลายๆ กลุ่ม ซึ่งข้อมูลเช่นนี้จะถูกจัดระเบียบให้
อยูใ่ นรู ปของตารางแสดงความถี่ คือจะนับดูวา่ ในแต่ละพวกมีความถี่เท่าไร และจะ
คำนวณดูวา่ ความถี่ในแต่ละพวกนั้นคิดเป็ นสัดส่ วนเท่าไหร่ ของความถี่ท้ งั หมด เรี ยกว่า
ความถี่สัมพัทธ์ (retative frequency) คำนวณจากสูตร

ผมเข้าใจแล้วครับ

เฮ้!! กลับมาก่อนเพื่อน
มีสูตรคำนวณ
มันไม่ยากอย่างที่คิด หนีก่อนดีกว่าเรา
ตัวอย่ างที่ 3.1
ผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนแห่งหนึ่งได้ออกแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรี ยน
300 คน เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงระเบียบของหอพัก นักเรี ยนแต่ละคนจะตอบว่า
เห็นด้วย หรื อไม่เห็นด้วย เมื่อนำแบบสอบถามทั้งหมด 300 ฉบับมาจัดระเบียบแล้ว
จะแสดงได้ดงั ตาราง

ความเห็น (1) ความถี่ (2) ความถี่สมั พัทธ์ (3)


เห็นด้วย 162

ไม่เห็นด้วย 87

ไม่มีความเห็น 51
รวม 300 1.000

จากตารางที่ 3.1 จะเห็นว่า สดมภ์ 2 แสดงความถี่ในแต่ละพวก และสดมภ์ 3 แสดง


ความถี่สมั พัทธ์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า 54% ของนักเรี ยน เห็นด้วย

ไม่ยากจริ งๆ ใช่ม้ ยั เด็กๆ


การนำเสนอข้ อมูลจากตารางดังกล่ าวด้ วยแผนภูมิแท่ ง แสดงดังรู ปที่ 3.2

การนำเสนอข้ อมูลจากตารางดังกล่ าวด้ วยแผนภาพวงกลม แสดงดังรู ปที่ 3.3

ง่ายจริ งงๆา่ ด้วย ล้าล่า


3.2 กรณีข้อมูลไม่ ต่อเนื่อง (Discrete data)
ในการจัดระเบียบและการนำเสนอข้อมูลไม่ต่อเนื่อง ทำได้เช่นเดียวกับข้อมูลเชิง
คุณภาพ คือแสดงในตารางความถี่ พร้อมทั้งคำนวณค่าความถี่สมั พัทธ์ดว้ ย

ตัวอย่างที่ 3.2 โรงงานแห่ งหนึ่ งได้เก็บข้อมูลเกี่ยวกับวันลากิจของพนักงาน 30 คน ได้


ข้อมูลแสดงในตารางซึ่งสดมภ์สุดท้ายแสดงการคำนวณความถี่สมั พัทธ์
ตาราง 3.2 จำนวนลากิจของพนักงาน
1 3 1 1 0 1 0 1 1 0
2 2 0 0 0 1 2 1 2 0
0 1 6 4 3 3 1 2 4 0

ตาราง 3.3 การแจกแจงความถี่สำหรับจำนวนวันหยุดของพนักงาน


จำนวนวันหยุด ความถี่ ความถี่สัมพัทธ์
(X)
0 9 0.300
1 10 0.333
2 5 0.167
3 3 0.100
4 2 0.067
5 0 0.000
6 1 0.033
รวม 30 1.000
3.3 กรณีข้อมูลต่ อเนื่อง (Continuous data)

การจัดระเบียบและการนำเสนอข้อมูลต่อเนื่อง ใช้วิธีการที่ยงุ่ ยากมากกว่าข้อมูล


เชิงคุณภาพ และข้อมูลที่ไม่ต่อเนื่อง การนำเสนอข้อมูล เช่น แผนภาพจุด การเรี ยงข้อมูล
และ การแจกแจงความถี่ เป็ นต้น
แผนภาพจุด นิยมใช้เมื่อจำนวนข้อมูลที่เก็บรวบรวมมามีจำนวนไม่มากนัก
ตัวอย่ างที่ 3.3 ในการเก็บสถิติจำนวนคนไข้ที่มารับบริ การรักษาตาที่โรงพยาบาลองครักษ์
จำนวน 25 คน พบว่ามี 6 คนที่พกั ในโรงพยาบาล 1 วัน 10 คนที่พกั ในโรงพยาบาล 2 วัน
5 คน ที่พกั ในโรงพยาบาล 3 วัน และ 4 คน ที่พกั ในโรงพยาบาล 4 วัน จากข้อมูลที่
รวบรวมได้ นำไปสร้างแผนภาพจุดได้ดงั นี้

 

  

   

   

   

   
จำนวนวันพัก
0 1 2 3 4

รู ปที่ 3.3 แผนภาพจุดแสดงจำนวนวันพักในโรงพยาบาล

การเรียงข้ อมูล เป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูลในรู ปของรายการต่างๆ เช่น ราคาสิ นค้า อายุ


คน รายได้ของประชากร ทำให้ไม่สามารถเห็นลักษณะหรื อข้อสรุ ปของข้อมูลชุดนั้นได้ดงั
นั้นจึงจัดระเบียบข้อมูลที่ได้เป็ นชุดใหม่ โดยเรี ยงลำดับข้อมูลจากค่าน้อยไปหาค่ามาก หรื อ
จากค่ามากไปหาค่าน้อย ซึ่งจะทำให้ทราบลักษณะต่างๆ ของข้อมูลได้ชดั เจนขึ้น
ตัวอย่างที่ 3.4 จากการสำรวจค่าแรงของคนงานในบริ ษทั แห่งหนึ่ง ปรากฏได้ขอ้ มูลดังตารางล่างนี้
ตารางที่ 3.4 ค่าแรงต่อสัปดาห์ของคนงาน
ค่ าแรงต่ อสัปดาห์
848 864 728 860 640 1100
540 656 448 480 880 700
800 672 570 916 464 700
720 758 480 768 640 1130
760 874 820 592 1194 1128
736 812 680 780 960 644
800 480 640 690 830 650

นำข้อมูลจากตารางที่ 3.4 มาเรี ยงจากค่าจากน้อยไปหาค่ามาก ได้ดงั นี้


คา่ แรงตอ
่ สั ปดาห์
448 464 480 480 480 540
570 592 640 640 640 644
650 656 672 680 690 700
700 720 728 736 758 760
768 780 800 800 812 820
830 848 860 864 874 880
916 960 1100 1128 1130 1194

จากการจัดเรี ยงข้อมูลในตารางที่ 3.4 จะทำให้ทราบลักษณะของข้อมูลชุดนี้ ได้ชดั เจนขึ้น


คือจะทราบข้อมูลเกี่ยวกับค่าแรงทันที คือ
1. ค่าแรงต่ำสุ ดเท่ากับ 448 บาท และค่าแรงสูงสุ ดเท่ากับ 1,194 บาท
2. ค่าแรงที่เกิดขึ้นบ่อยหรื อมีคนงานหลายคนได้รับคือ 480 บาท และ 640 บาท
การแจกแจงความถี่ (Frequency Distribution) ใช้เมื่อข้อมูลที่เก็บมามีจำนวนมาก การใช้แผนภาพ
จุดหรื อการเรี ยงข้อมูลอาจเสี ยเวลามาก โดยเฉพาะเมื่อมีจุดมากๆ ทำให้การอ่านข้อมูลไม่ชดั เจน ดัง
นั้นจึงควรจัดรวมข้อมูลเป็ นช่วง (interval) ซึ่ งต่างจากการจัดกลุ่มข้อมูลไม่ต่อเนื่อง ซึ่ งเป็ นการจัด
กลุ่มสำหรับค่าเดี่ยวโดดๆ
การแจกแจงความถี่ของข้ อมูลมี 2 วิธี คือ
1. การแจกแจงความถี่ สำหรับค่าแต่ละค่าที่เป็ นไปได้ท้ งั หมดของลักษณะที่ผทำ ู้ โครงงาน
ู ้ โครงงานต้องการศึกษา มีค่าที่เป็ นไปได้ท้ งั หมดของลักษณะที่น่า
สนใจ วิธีน้ ี ควรทำเมื่อข้อมูลที่ผทำ
สนใจไม่มากนัก เช่น จำนวนพื้นที่ที่ถือครองเพื่อการเกษตรของประเทศไทย ใน พ.ศ. ใด พ.ศ.หนึ่ง
จำแนกตามภาค
2. การแจกแจงความถี่ ของค่าในแต่ละช่วงหรื ออันตรภาคชั้น เช่น ราคาสิ นค้าชนิดหนึ่งแบ่ง
ราคาออกเป็ นช่วงๆ ดังนี้
1. 125 -129 อธิ บาย การเรี ยงราคาสิ นค้าออกเป็ นช่วงๆ แต่ละช่วงห่างกัน 5
2. 130 – 134 เรี ยงได้ท้ งั หมด 8 ช่วง ฉะนั้นอันตรภาคชั้นจึงเท่ากับ 8
3. 135 – 139
4. 140 – 144
5. 145 – 149
6. 150 – 154
7. 155 – 159
8. 160 - 164

ข้อควรพิจารณาในการแจกแจงความถี่ของข้อมูล มีดงั นี้


1. ถ้าข้อมูลมีจำนวนน้อย ผูทำ้ โครงงานไม่จำเป็ นต้องแจกแจงความถี่ของข้อมูล โยเฉพาะ
อันตรภาคชั้น ทำให้ผลการวิเคราะห์มีความน่าเชื่อถือได้นอ้ ยลง
2. การแจกแจงความถี่แต่ละค่าของข้อมูล ทำให้ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล มีความถูกต้องเชื่อถือ
ได้มากกว่าแจกแจงเป็ นช่วงหรื ออันตรภาคชั้น
3. ความกว้างของแต่ละอันตรภาคชั้นน้อย จะมีความถูกต้องน่าเชื่อถือได้มากกว่าความกว้าง
ของแต่ละอันตรภาคชั้นมาก
4. ค่าต่ำสุ ด ค่ากลาง และค่าสู งสุ ดของแต่ละอันตรภาคชั้น อาจมีค่าเป็ นลบ หรื อเป็ นทศนิยม
ก็ได้
 
2. มัธยฐาน (Median) คือ ค่าตรงกลางของข้อมูลชุด หรื ออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งได้วา่
ถ้านำชุดข้อมูลมาจัดเรี ยงลำดับจากค่าน้อยไปหาค่ามาก หรื อจากค่ามากไปหาน้อย มัธยฐานคือค่าที่
มีขอ้ มูลจำนวนร้อยละ 50 มากกว่า และอีกร้อยละ 50 ของชุดข้อมูลมีค่าน้อยกว่า เป็ นค่ากลางที่
นิยมใช้มากรองลงมาจากค่าเฉลี่ย
การหาค่ามัธยฐานมี 2 วิธี คือ การหาค่ามัธยฐานของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่
และการหาค่ามัธยฐานที่แจกแจงความถี่ของข้อมูลแล้ว ดังนี้

การหาค่ ามัธยฐานของข้ อมูลที่ไม่ ได้ แจกแจงความถี่


ตัวอย่างที่ 3.6 ค่าเฉลี่ยของผลิตภัณฑ์ขา้ วโพดเลี้ยงสัตว์ของประเทศต่างๆ เป็ นดังนี้
ประเทศ ผลิตภัณฑ์ (หน่ วยเป็ นพันตัน)
A 72,690
B 7,750
C 4,000
D 2,580
E 3,400
F 4,226
G 1,500

นำตัวเลขมาเรี ยงใหม่จะได้ 1,500 2,580 3,400 4,000 4,226 7,750 72,690


ค่ามัธยฐาน คือ 4,000
 

ราคานมผง (บาท) ความถี่ ความถี่สะสม


125 - 129 4 4
130 - 134 6 10
135 - 139 16 26
140 - 144.5 21 57.5 – 47 = 10.5
144 47
145 - 149 -144 = 32 49 – 47 - 32
5 149 79

150 - 154 18 97
155 - 159 9 106
160 - 164 9 115

146.14
 

ชว่ งขนาดของรองเทา้ ความถี่


3-4 10
4.5 - 5.5 21
6-7 = 6.5 37
7.5 – 8.5 15
9 - 10 2

6.5
กิจกรรมที่ 1

ฐานที่ 1

คำชี้แจง ให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันพิจารณาประโยค


ที่กำหนดให้วา่ ถูก หรื อ ผิด โดยใส่ เครื่ องหมาย
และ  หน้าประโยคที่ให้ ภายในเวลา
10 นาที
กลุ่มที่.............
1…………………………………………………………. เลขที่........
2…………………………………………………………. เลขที่........
3…………………………………………………………. เลขที่........
4…………………………………………………………. เลขที่........
ชั้น ม.2/…….

1. นิน่า ออกไปสำรวจกรุ๊ ปเลือดของประชาชนในเขตตำบล องครักษ์ แล้วมา จัดจำแนก


........... เป็ นหมวดหมู่ ซึ่ งสามารถจัดได้เป็ น หมู่ A B O และ AB ซึ้ งข้อมูลในลักษณะนี้
... จัดเป็ นข้อมูลเชิงปริ มาณ
2. โรงพยาบาลองครักษ์ได้สรุ ปยอดจำนวนผูป้ ่ วยที่มาเข้ารับการรักษา โรคไข้หวัด 2009
............ ในรอบ 6 เดือนที่ผา่ นมา มีจำนวน 300 คน ซึ้ งข้อมูลใน ลักษณะนี้ จัดเป็ นข้อมูล
..
เชิงปริ มาณ

3. สี ผมของคนเราแบ่งออกได้เป็ น สี ดำ น้ำตาล บรอน์ ซึ้ งการจำแนกข้อมูลในลักษณะ


............ นี้
..
จัดเป็ นข้อมูลเชิงคุณภาพ
4. โรงเรี ยนองครักษ์มีหอ้ งเรี ยนจำนวน 40 ห้อง ซึ้ งการจำแนกข้อมูลใน ลักษณะนี้
............ จัดเป็ นข้อมูลเชิงคุณภาพ แบบตัวแปรต่อเนื่อง
..
5. นักเรี ยนองครักษ์มีน ้ำหนักตัวอยูร่ ะหว่าง 45 - 80 กิโลกรัม ซึ้ งการจำแนกข้อมูลใน
............ ลักษณะนี้ จดั เป็ นข้อมูลเชิงปริ มาณ แบบตัวแปรไม่ต่อเนื่อง
..
6. การนำเสนอข้อมูลแบบที่ดีที่สุดสำหรับโครงงานวิทยาศาสตร์คือ การนำเสนอ
............ เป็ นบทความ
..

............ 7. สู ตรการหาค่าความถี่สมั พัทธ์ ใช้กบั ข้อมูลเชิงปริ มาณ แบบตัวแปรไม่ต่อเนื่อง


..
8. ญาญ่า ได้เก็บผลการทดลองในส่ วน การเจริ ญเติบโตของต้นผักบุง้ กับระยะเวลาที่ใช้
............ ในการปลุก จากข้อมูลที่ได้ ญาญ่าได้มานำเสนอในรู ปของกราฟเส้น
..
9. โตโน่ได้เก็บผลการกระโดดของตัก๊ แตนจำนวน 5 ครั้ง ได้ผลดังนี้ 17 cm , 17.4 cm ,
............ 16.9 cm , 17.1 cm และ 17.3 cm โดยตัก๊ แตนกระโดดได้ค่าเฉลี่ย 17.14 cm
..
ฐานที่ 2

คำชี้แจง จากข้อมูลที่กำหนด ให้นกั เรี ยนนำเสนอ


ข้อมูลในรู ปแบบของแผนภาพวงกลม
ภายในเวลา 10 นาที
ข้ อมูลที่กำหนดให้
จากการสำรวจอาชีพของคนในเขตอำเภอองครักษ์ จำนวน 1,000 คน พบ
ว่า รับราชการจำนวน 275 คน เกษตรกรจำนวน 350 คน ค้าขายจำนวน 100
คน และ รับจ้างจำนวน 275 คน

ทำได้ใช่ม้ ยั ..จ๊ะ

กลุ่มที่.............
1……………………………………………………………………. เลขที่........
2………………………………………….……….………………. เลขที่........
3……………………………………………….….………………. เลขที่........
4………………………………………………………..…………. เลขที่........
ชั้น ม.2/…….
ฐานที่ 3

คำชี้แจง จากข้อมูลที่กำหนด ให้นกั เรี ยนนำเสนอ


ข้อมูลในรู ปแบบของแผนภูมิรูปภาพ
ภายในเวลา 10 นาที
ข้ อมูลที่กำหนดให้
ถ้าปริ มาณผลผลิตของพืชผักและผลไม้ในปี พ.ศ. 2550 เป็ นดังนี้
ข้าว 3.25 ล้านตัน เงาะ 1.5 ล้านตัน ลำไย 1.75 ล้านตัน ส้มเขียวหวาน 2.25 ล้านตัน
ข้าวโพด 2.75 ล้านตัน ถัว่ เหลือง 1.25 ล้านตัน ยางพารา 3.00 ล้านตัน มันสำปะหลัง
2.75 ล้านตัน อ้อย 4.5 ล้านตัน

ง่าย..จังเลย

กลุ่มที่.............
1……………………………………………………………………. เลขที่........
2………………………………………….……….………………. เลขที่........
3……………………………………………….….………………. เลขที่........
4………………………………………………………..…………. เลขที่........
ชั้น ม.2/…….
ฐานที่ 4

คำชี้แจง จากข้อมูลที่กำหนด ให้นกั เรี ยนนำเสนอ


ข้อมูลในรู ปแบบของกราฟแท่ง ภายในเวลา
10 นาที
ข้ อมูลที่กำหนดให้
ถ้าปริ มาณผลผลิตของข้าวหอมมะลิในแต่ละปี เป็ นดังนี้
ปี พ.ศ. 2505 3.2 ล้านตัน ปี พ.ศ. 2510 2.8 ล้านตัน ปี พ.ศ. 2515 3.0 ล้านตัน
ปี พ.ศ. 2520 2.75 ล้านตัน ปี พ.ศ. 2525 3.5 ล้านตัน ปี พ.ศ. 2530 4.0 ล้านตัน
ปี พ.ศ. 2535 4.25 ล้านตัน ปี พ.ศ. 2540 3.75 ล้านตัน ปี พ.ศ. 2545 4.5 ล้านตัน

กลุ่มที่.............
1……………………………………………………………………. เลขที่........
2………………………………………….……….………………. เลขที่........
3……………………………………………….….………………. เลขที่........
4………………………………………………………..…………. เลขที่........
ชั้น ม.2/…….
ฐานที่ 5

คำชี้แจง จากข้อมูลที่กำหนด ให้นกั เรี ยนสามารถ


นำเสนอข้อมูลในรู ปแบบใดได้บา้ ง จงแสดง
รู ปแบบของการนำเสนอข้อมูลให้ได้มาก
ที่สุด ภายในเวลา 10 นาที
ข้ อมูลที่กำหนดให้
จากการสำรวจพฤติกรรมการใช้เครื่ องสำอางของนักศึกษาระดับปริ ญญาตรี ปี 2
สาขาครุ ศาสตร์ จำนวน 155 คน ของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง ซึ่งสรุ ปข้อมูลได้ดงั นี้
ด้ านสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม
1. เพศ
ชาย จำนวน 2 คน
หญิง จำนวน 153 คน
2. อายุ
น้อยกว่า 19 ปี จำนวน 2 คน
19 ปี จำนวน 49 คน
20 ปี จำนวน 96 คน
21 ปี จำนวน 5 คน
มากกว่า 21 ปี จำนวน 3 คน
ด้ านความคิด
1. จุดประสงค์ของการใช้เครื่ องสำอาง
เสริ มบุคลิก จำนวน 62 คน
สร้างความมัน่ ใจให้ตนเอง จำนวน 67 คน
ดึงดูดเพศตรงข้าม จำนวน 23 คน
อื่นๆ จำนวน 3 คน
2. เมื่อพูดถึงเครื่ องสำอางนักศึกษาจะนึกถึง
โลชัน่ จำนวน 31 คน
ครี มทาหน้า จำนวน 73 คน
น้ำหอม จำนวน 11 คน
แป้ งทาหน้า จำนวน 30 คน
ลิปสติก จำนวน 7 คน
ครี มบำรุ งผม จำนวน 1 คน
แชมพูสระผม จำนวน 1 คน
อื่น จำนวน 1 คน

You might also like