You are on page 1of 38

Storage Systems

Chapter 11

Storage System 1
Storage System
 to store materials for a period time and permit access to
those materials when required.
 Type of material
1. Raw material
2. Purchased parts
3. Work in process
4. Finished product
5. Rework and scrap
6. Refuse
7. Tooling
8. Spare parts
9. Offices Supplies
10. Plant records

Storage System 2
Storage system performance

 Various measure used to assess the performance


of a storage system include:
1) Storage capacity
2) Density
3) Accessibility
4) Throughput
5) Utilization
6) Reliability
(5) และ (6) ใชส้ ำหรับ เครือ
่ งจักรกล และ ระบบอัตโนมัต ิ

Storage System 3
Storage system performance

 Storage capacity สามารถวัดประสท ิ ธิภาพใน 2 แบบ


1. Total volumetric space available
2. Total number of storage compartment in the
system
โดยทัว่ ไปแล ้ว capacity ควรทีจ่ ะมากกว่า จำนวนมาก
ทีส
่ ด
ุ ของ loads ทีจ
่ ะต ้องเก็บ

Storage System 4
Storage system performance

 Storage density คือ ปริมาตรของพืน ้ บวัสดุ


้ ทีว่ า่ งทีใ่ ชเก็
จริง ซงึ่ สมั พันธ์กบ
ั ปริมาตรของพืน
้ ทีว่ า่ งโดยรวมใน
พืน
้ ทีเ่ ก็บวัสดุของโรงงาน
 บางครัง้ เราจะใช ้ Floor area เพือ
่ วัด Storage density เพราะว่า
เป็ นสามารถคำนวณได ้สะดวก
 Storage ทีด่ ค
ี วรถูกออกแบบเพือ ่ ให ้ได ้ high density
 Accessibility หมายถึง ค่าทีว่ ด
ั ความสามารถของระบบ
จัดเก็บเพือ
่ ให ้สามารถนำ load เข ้าไปในพืน
้ ทีจ
่ ัดเก็บได ้
สะดวกแค่ไหน

Storage System 5
Storage system performance

 System throughput หมายถึง ผลผลิตของระบบ


ซงึ่ วัดจากอัตรารับและเรียกคืนต่อชวั่ โมงของ
ระบบจัดเก็บ
1) Receives and puts loads into storage and/or
2) Retrieves and delivers loads to the output station
 Storage or Retrieval ประกอบด ้วย
1) Pick up load at input station
2) Travel to storage location
3) Place load into storage location
4) Travel back to input station

Storage System 6
Storage system performance

 Measures ทีใ่ ชกั้ บเครือ


่ งจักรกล และระบบจัดเก็บ
อัตโนมัต ิ คือ
 Utilization คือ สด ั สว่ นของเวลาทีร่ ะบบใชในการจั
้ ด
เก็บและเรียกคืนวัสดุ กับเวลาทัง้ หมดทีม ่ ี
 Availability ใชวั้ ดความน่าเชอ ื่ ถือของระบบ ซงึ่ เป็ น
ั สว่ นของเวลาทีร่ ะบบดำเนินการ (not broken
สด
down) เปรียบเทียบกับเวลาทีไ่ ด ้ถูกกำหนดไว ้
ทัง้ หมดเพือ
่ ให ้ระบบปฏิบต ั งิ าน (ชม.)

Storage System 7
Storage location strategies

 สามารถแบ่งได ้เป็ น 2 กลยุทธ์ คือ


1) Randomized storage; items จะจัดเก็บไว ้ในตำแหน่
งใดๆ ก็ได ้ใน storage system
2) Dedicate storage; กำหนดตำแหน่งเฉพาะให ้กับ
item

 จำนวนชนิดของวัสดุทเี่ ก็บใน Warehouse เราเรียก


ว่า “stock-keeping-unit (SKU)”

Storage System 8
Storage location strategies

 หลักการพืน ้ ฐานสำหรับตำแหน่งการเก็บวัสดุ คือ


1) Item ถูกเก็บใน part number หรือ product number
ตามลำดับ
2) Item ถูกเก็บตาม Activity Level

3) Item ถูกจัดเก็บตาม Activity to space ratios. ค่า


ratio ทีม
่ ค ี า่ สูง ตำแหน่งทีเ่ ก็บ item นัน
้ จะใกล ้ กับ
input/output station

Storage System 9
Storage location strategies
 Ex 11.1 Suppose that a total of 50 SKUs must be stored
in a storage system. For each SKU, average order
quantity = 100 cartons, average depletion rate = 2
cartons/day. And safety stock level = 10 cartons. Each
carton requires one storage location in the system. Based
on this data, each SKU has an inventory cycle that lasts
50 days. Since there are 50 SKUs in all, management the
scheduled incoming orders so that a different SKU arrives
each day.

Storage System 10
Storage location strategies
 Ex 11.1 (cont.) Determine the number of storage
locations required in the system under two
alternative strategies:
a) Randomized storage
b) Dedicated storage

Storage System 11
Automated storage system

 Mechanized and automated storage system


 มีจด
ุ ประสงค์เพือ
่ ลดปริมาณของคนงานหรือไม่ให ้มีคน
งานในระบบ
 Automation varies; less-automated systems
 ยังต ้องการคนงานในการนำ load เก็บ-เรียกคืน, high

automated ใชคอมพิ วเตอร์ควบคุม

Storage System 12
Automated storage/retrieval system

 วัตถุประสงคข์ องระบบอัตโนมัติ

Storage System 13
Automated storage/retrieval system
(AS/RS)
 AS/RS สามารถจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุ ด ้วยความ
เทีย
่ งตรง ถูกต ้อง และรวดเร็ว
 ้
Operations are totally automated ใชคอมพิวเตอร์
ควบคุม และเชอ ื่ มโยงโดยตรงกับ warehouse กับ
factory
 AS/RS ประกอบด ้วย rack structure ,
storage/retrieval mechanism (S/R)

Storage System 14
Automated storage/retrieval system

Storage System 15
Automated storage/retrieval system
(AS/RS)
 Characteristic of AS/RS
Feature Basic AS/RS
Storage structure Rack system to support pallets or
shelf system to support tote bins
Motions Linear motion of S/R machine
Storage/Retrieval operation S/R machine travels to
compartments in rack structure
Replication of storage capacity Multiple aisles, each consisting of
rack structure and S/R macine

Storage System 16
AS/RS types and applications

 Unit load AS/RS


 ระบบแบบ Unit load คือการขนถ่ายวัสดุทเี่ ป็ น Pallet,
ภาชนะบรรจุ, ถุง หรือกล่องต่างๆ (Package) ทีม ่ ขี นาด
มาตรฐาน
 ระบบ AS/RS แบบ Unit load จะทำงานทีน ่ ้ำหนักของ
วัสดุตอ
่ 1 หน่วย มีคา่ ตัง้ แต่ 1,000 ปอนด์ขนึ้ ไป
 ระบบประกอบไปด ้วยการควบคุมด ้วยคอมพิวเตอร์, S/R
Machine ทีจ่ ะเคลือ
่ นทีไ่ ปตามรางและมีระบบเลือ ่ น
สำหรับรับ-สง่ วัสดุ
 เป็ นระบบอัตโนมัตข
ิ นาดใหญ่
Storage System 17
Unit Load Automated Storage &
Retrieval Systems (AS/RS)

Storage System 18
Unit load AS/RS

Storage System 19
AS/RS types and applications
 Deep-lane AS/RS
 ระบบแบบ deep-lane ใชกั้ บการจัดเก็บทีม ่ คี วามหนาแน่นสูง มี
ปริมาณสน ิ ค ้าคงคลังสูง แต่ชนิดของสน ิ ค ้า (SKUs) น ้อย
 การทำงานค่อนข ้างเหมือนกับระบบ Unit-load แต่ใน 1 ชอ ่ งจัดเก็บ
มีความลึกสามารถจัดเก็บได ้มากกว่า 1 หน่วย
 ชนั ้ วางมีการออกแบบให ้น้ำหนักบรรทุกไหลเข ้าไป (Flow-Through
designed) โดยแต่ละ rack ออกแบบให ้ flow-through
 การจัดเก็บวัสดุทำงานด ้านหนึง่ สว่ นการรับวัสดุจะทำงานอีกด ้าน
หนึง่
 การออกแบบ S/R Machine สำหรับระบบ deep-lane เมือ ่ S/R
Machine เข ้าไปยังจุดจัดเก็บโดยการสง่ พาหนะเข ้าไปในชน ั ้ วาง
ตามความลึกทีต ่ ้องการ (Rack-entry Vehicle) วางวัสดุลง และกลับ
มายัง S/R Machine
 สามารถเก็บ load ได ้ 10 หรือมากกว่า ใน single rack

Storage System 20
Deep-Lane AS/RS

Storage System 21
AS/RS types and applications
 Miniload AS/RS
 ระบบแบบ miniload ใชส้ ำหรับการขนถ่ายวัสดุทม ี่ ข
ี นาดบรรทุก
น ้อยๆ เชน่ ชน ิ้ สว่ นจะมีการบรรจุวส ั ดุหรือสน ิ ค ้าหลายชนิดใน 1
ภาชนะบรรจุ (Container)
 ใชกั้ บ load ขนาดเล็กซงึ่ บรรจุในถังเก็บภายในระบบจัดเก็บ
 น้ำหนักของวัสดุตอ ่ หนึง่ ภาชนะบรรจุ มีคา่ ต่ำกว่า 750 ปอนด์ มี
ความหนาแน่นของการจัดเก็บสูง
 และโดยทั่วไปจะติดตัง้ ในอาคารทีส ่ ร ้างอยูก ่ อ่ นแล ้ว มีขนาดทีค ่ วาม
สูงไม่เกิน 30 ฟุต ลักษณะและขนาดของภาชนะบรรจุ ขึน ้ อยูก่ บ
ั การ
จัดเก็บในแต่ละสถานที่
 ระบบการทำงาน S/R Machine จะทำการเคลือ ่ นทีร่ ับ-สง่ ลังหรือ
กล่องไปทีจ ุ รับ-สง่ (P/D station) และชน
่ ด ิ้ สว่ นหรือสงิ่ ของทีอ ่ ยูใ่ น
ลังจะสามารถหยิบออกไปเพียงบางชน ิ้ หรือทัง้ หมดก็ได ้
 ในระบบ miniload ทีจ ุ รับ-สง่ มีคนงานทีท
่ ด ่ ำหน ้าทีก ่ ารรับและสง่
วัสดุจาก S/R Machine

Storage System 22
Mini Load Automated Storage &
Retrieval Systems (AS/RS)

Storage System 23
AS/RS types and applications
 Man-on-board AS/RS
 ระบบแบบ man-on-board หรือทีเ่ รียกว่า man-aboard
เป็ นการแก ้ปั ญหาความต ้องการการรับวัสดุแบบเจาะจง
จากการจัดเก็บ
 ในระบบนีผ ้ ู ้ทำงานจะควบคุมอยูบ ่ น S/R Machine ใช ้
คนในการขับเคลือ ่ น S/R machine มีการหยิบวัสดุแต่ละ
ชนิ้ จากตำแหน่งทีเ่ ก็บได ้โดยตรง
 ความแตกต่างกับระบบ miniload คือ ไม่จำเป็ นต ้องนำลัง
หรือกล่องออกมายังจุดรับ-สง่ แล ้วนำเข ้าไปเก็บ แต่ผู ้
ทำงานสามารถหยิบสงิ่ ทีต ่ ้องการออกมาจากจุดจัดเก็บ
ได ้ในทันที ซงึ่ หมายถึงการเพิม ่ ประสทิ ธิภาพเวลาการ
ทำงาน
Storage System 24
Man-On-Board AS/RS

Storage System 25
AS/RS types and applications

 Automated item retrieval system


 ระบบแบบ Automated item retrieval มีการออกแบบให ้

สามารถรับวัสดุเฉพาะ โดยใชการทำงานออกแบบช ั ้ วาง

แบบ Flow-through ให ้การจัดเก็บวัสดุทางด ้านหลัง และ
รับวัสดุออกทางด ้านหน ้า ด ้วยการผลักบนชน ั ้ วางแบบ
flow-through ให ้วัสดุไหลไปบนสายพานลำเลียง
 การจัดเก็บสามารถทำงานได ้แบบ FIFO
 ใชส้ ำหรับวัสดุเป็ นชน
ิ้ ๆ หรือ load ทีม
่ ข
ี นาดเล็กทีเ่ ก็บใน
กล่อง

Storage System 26
AS/RS types and applications
 Vertical lift storage modules (VLSM)
 ระบบแบบ Vertical lift storage systems หรือ Vertical lift
automated storage/retrieval systems (VL-AS/RS) แตกต่างจาก
AS/RS ทั่วๆไปทีอ ่ อกแบบไปตามแนวขวาง
 แต่ VL-AS/RS ออกแบบให ้ระบบมีความสูงมาก โดยทั่วไปสูงตัง้ แต่
10 เมตร (30 ft) หรือมากกว่า
 ทำให ้สามารถจัดเก็บได ้ปริมาณมาก แต่ใชพื ้ น
้ ทีน
่ ้อย
 ้ กการเหมือนแบบอืน
ใชหลั ่ ๆ คือ เข ้าไปรับ load ตามชอ ่ งทางตรง
กลาง
 ยกเว ้นมันมีชอ่ งทางในแนวตัง้
 สามารถเก็บพัสดุขนาดใหญ่ได ้
 ระบบนีช้ ว่ ยประหยัดพืน
้ ทีว่ า่ งบนพืน
้ โรงงาน

Storage System 27
AS/RS types and applications

 AS/RS ใชใน้ warehousing และ distribution


operation
 ้ บ raw material และ WIP
AS/RS ถูกใชเก็
 ้
สามารถแยกการใชงานออกเป็ น 3 ประเภท
 Unit load storage and handling
 Order picking
 WIP storage systems

Storage System 28
AS/RS types and applications

 Unit load storage


 พบในระบบ Unite load AS/RS และ Deep-Lane
storage system
 ้
ใชในระบบ warehouse, distribution center สำหรับ
เก็บ finish good
 Order picking
 เพือ
่ จัดเก็บและเรียกคืนในจำนวนทีน
่ ้อยกว่าจำนวน
ของ unit load
 Miniload, man-on-board
Storage System 29
AS/RS types and applications

 WIP storage
 เหมาะกับ batch และ job shop production

 เหตุผลสนั บสนุนให ้ติดตัง


้ AS/RS เพือ ่ เก็บ WIP
 Buffer storage in production ถูกใชเมื ้ อ
่ อัตราการ
ผลิตในแต่ละ station มีความแตกต่างกัน
 Support of just-in-time delivery เพือ ่ ให ้สง่ มอบ
part ได ้ตรงเวลา บางครัง้ ต ้องมีการติดตัง้ ระบบ
อัตโนมัต ิ

Storage System 30
AS/RS types and applications
 Kitting of parts for assembly
 ใชส้ ำหรับเก็บชุดเครือ
่ งมือสำหรับประกอบ เมือ
่ มีการ
้ ง่ มอบไปทีพ
เรียกใชจะส ่ น
ื้ ทีก
่ ารผลิต
 Compatible with automatic identification system
 ้
ใชงานร่
วมกับระบบ barcode
 Computer control and tracking of material
 สามารถระบุตำแหน่งของวัสดุได ้
 Support of factory-wide automation
 เป็ นสว่ นสำคัญของระบบอัตโนมัตท
ิ งั ้ โรงงาน

Storage System 31
Components and operating features of an
AS/RS
 AS/RS ประกอบด ้วย
1. Storage structure ซงึ่ ก็คอื rack framework ทำมา
จาก steel ใชส้ ำหรับรองรับ load ทีบ ่ รรจุใน
AS/RS การออกแบบ จะต ้องสามารถรองรับ
Storage modules ทีบ ่ รรจุวส
ั ดุทจ
ี่ ะจัดเก็บได ้
2. The S/R machine จะจัดสง่ load จากสถานีป้อน
่ หล่งเก็บ หรือเรียกคืน load เพือ
เข ้าสูแ ่ สง่ ไปยัง
P&D station

Storage System 32
Components and operating features of an
AS/RS
 The carriage includes a shuttle mechanism ใชเพื ้ อ

หยิบ load เอาเข ้าไปในทีเ่ ก็บหรือเอาออกจากที่
เก็บ
 Storage modules เป็ น unit load containers ของ
วัสดุทจี่ ะจัดเก็บ ต ้องมีขนาดมาตรฐาน
 The pick-and-deposit station (P&D station) เป็ นที่
ซงึ่ load จะเข ้าหรือออกจาก AS/RS โดยมีวธิ ก ี าร
ขนสง่ load/unload คือ ใชคน, ้ fork lift truck,
conveyor และ AGVs.
Storage System 33
Carousel storage systems

 ประกอบด ้วย series ของ bins หรือ baskets ซงึ่


แขวนอยูก ่ บ
ั overhead chain conveyor
 Chain conveyor คือ ตำแหน่งของ bins ที่
load/unload station ซงึ่ มีลกั ษณะวงรี
 จะมีคนงานประจำอยูท ่ ี่ load/unload station เพือ่ ให ้
สง่ มอบ bins ไปที่ station
 Automated จะใช ้ mechanism ในการเคลือ ่ นย ้าย ที่
load/unload station ไปยัง carousel

Storage System 34
Carousel storage systems

Storage System 35
Carousel technology

 ประกอบด ้วยโครงกรอบ welded steel ซงึ่ มีระบบ


สนับสนุนคือ oval rail system
 สามารถเป็ นได ้ทัง้ overhead system หรือ floor-
mounted system(อาจเรียกว่า bottom driven unit)
 การควบคุม carousel storage system จาก manual
call control ไปจนถึง computer control.

Storage System 36
Carousel Applications

 ้
การใชงานระบบ carousel มีดงั ต่อไปนี้
1) Storage and retrieval operations เมือ ิ้ สว่ นย่อย
่ ชน
จะต ้องถูกเลือกออกมาจากกลุม ่ ทีจ
่ ัดเก็บ บางครัง้
เรียกว่า “pick and load”
2) Transport and accumulation ตัวอย่าง
workstation อยูร่ อบ carousel คนงานจะเข ้ามา
หยิบชน ิ้ สว่ นในถึงเก็บของ carousel ไปทีส ่ ถานี
ประกอบ

Storage System 37
Carousel Applications

3) Work in process เป็ นทีจ ่ ัดเก็บชวั่ คราว ซงึ่


carousel มักใชกั้ บ electronics industry
4) Unique applications เกีย ้
่ วกับการใชงานลั กษณะ
เฉพาะของ ระบบ carousel เชน ่ electrical testing
of components ทีซ ่ งึ่ carousel ถูกใชเพื ้ อ
่ จัดเก็บ
item ระหว่าง testing สำหรับชว่ งเวลาเฉพาะ

Storage System 38

You might also like