You are on page 1of 25

บทที่ 5

การดำเนินการในคลังเก็บสินคา
(Warehouse Operations)

การแขงขันทางธุรกิจปจจุบัน ผูประกอบการเนนที่การพัฒนาตนเองทั้งในดานการขนสง, การ


บริหารงาน, รวมไปถึงการจัดการกระบวนการผลิตแบบลีน (Lean manufacturing), ลีนในหวงโซอุปทาน,
การผลิตชิ้นสวนสินคาจากแหลงสนับสนุนกระบวนการผลิตทั่วทุกตำแหนงของโลก, ตอบสนองลูกคาอยาง
รวดเร็ว, ความตอเนื่องของการกระจายสินคา, เนนความพึงพอใจของลูกคาใหมากที่สุด, ความปลอดภัยของ
พนักงาน, ความสามารถของคลังสินคาที่มีสินคาเพียงพอไมเกิดการขาดสินคาขายและไมเก็บสินคามาก
เกินไป สำหรับกระบวนการผลิตแบบลีน (Lean manufacturing) หมายถึง การไมเกิดความสูญเปลาในการ
ผลิต เกิดการผลิตแบบผสมขนาดรุนสินคาขนาดเล็ก เพื่อใมใหมีการเก็บวัสดุ, พัสดุระหวางกระบวนการ
และผลิตภัณฑที่มากเกินไป และยังคงตอบสนองความตองการของลูกคาไดอยางรวดเร็ว การดำเนินการ
ทั้งหลายเหลานี้จะตองมีการปรับปรุงพัฒนาอยางตอเนื่องเพื่อใหบรรลุเปาหมายของธุรกิจทั้งระยะสั้นและ
ระยะยาว เพื่อบรรลุวัตถุประสงคของบริษัทที่กำไรสูงสุด
สำหรับการดำเนินการในคลังเก็บสินคา (Warehouse operation) มีพันธกิจเพื่อสนับสนุนการ
กระจายสินคาไปยังลูกคาและเพื่อใหการดำเนินการผลิตในหวงโซอุปทานของธุรกิจอุตสาหกรรมเปนไปดวย
ความราบรื่น อันไดแก การขนสงสินคาไปยังลูกคาไดอยางมีประสิทธิภาพ, สินคาไมเกิดความเสียหายตลอด
ทั้งหวงโซอุปทาน ดังนั้นในการดำเนินการในคลังเก็บสินคาที่เปนไปเพื่อใหไดผลดำเนินการที่ดีที่สุด เนนที่
คลังเก็บสินคาสามารถดำเนินการสงสินคาใหลูกคาไดอยางทันทวงที, แมนยำ และมีประสิทธิภาพ การ
ดำเนินการของบริษัทตองมีเทคนิคการจัดการขอมูลสินคาที่ดี, การกระจายสินคาไปยังลูกคาก็มีสวนสำคัญ
ทุกสวนในการดำเนินการในคลังสินคามีผลกระทบทั้งหมด อันไดแก การเบิกสินคาเมื่อมีคำสั่งซื้อเขามา,
การขนสงสินคาไปสงตามใบสั่งซื้อ, การดำเนินการใชชองเก็บสินคาและอุปกรณชวยจัดเก็บและขนสง
สินคาออกไดอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด จึงเปนสวนสำคัญที่จะทำใหเกิดการบรรลุตามเปาหมายของ
ธุรกิจเพื่อใหสามารถแขงขันในตลาดโลกได

5.1 การดำเนินการสำหรับการจัดเก็บสินคา (Storage operation)


จุดประสงคของการเก็บวัตถุดิบ, ชิ้นงานระหวางกระบวนการผลิต, ชิ้นสวนสนับสนุนกระบวนการ
ผลิต และ สินคาสำเร็จรูป คือ เพื่อใหมีการใชงานทรัพยากรไดมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ขณะที่
ลูกคามีความพึงพอใจสินคาในสถานการณที่มีทรัพยากรจำกัด สำหรับทรัพยากรในมุมมองของสถานที่
จัดเก็บ (Storage) และคลังเก็บสินคา (Warehouse) ไดแก พื้นที่หรือชั้นเก็บสินคา, เครื่องมือในการขน
ยาย ขนสง เพื่อเอาชิ้นสวนหรือสินคาออกจากสถานที่จัดเก็บสินคา และพนักงานที่ดูแลคลังเก็บสินคา เมื่อ
พิ จ ารณาความต อ งการของลู ก ค า ที ่ ม ี ต  อ หน า ที ่ ข องสถานที ่ จ ั ด เก็ บ (Storage) และคลั ง เก็ บ สิ น ค า
(Warehouse) แลวสวนใหญลูกคามีความตองการไดรับสินคาสำเร็จรูปอยางรวดเร็วในสถานะที่สินคาอยูใน
สภาพดีมาก ดังนั้นการดำเนินการในคลังสินคามีจุดประสงคดังตอไปนี้
1) ใชพื้นที่ใหเกิดประโยชนสูงสุด
2) ใชอุปกรณใหเกิดประโยชนสูงสุด
3) ใชแรงงานใหเกิดประโยชนสูงสุด
4) เพิ่มการเขาถึงวัสดุ, ชิ้นสวนระหวางกระบวนการผลิตและสินคาสำเร็จรูป ใหสามารถเขาถึงไดงาย
ที่สุด
5) การปองกันสินคาไมใหเกิดความเสียหายใหไดมากที่สุด
ดังนั้น การจัดการการดำเนินการในสถานที่จัดเก็บ (Storage) และคลังเก็บสินคา (Warehouse)
เปนการจัดเก็บ, การบรรจุสินคาสำเร็จรูปในรูปแบบทางกายภาพสำหรับการจัดเก็บสินคาสำเร็จรวมถึงวัสดุ
ชิ้นสวนที่ตองใชในกระบวนการการผลิต ซึ่งเมื่อมีการใชอุปกรณการขนยายที่สามารถบรรจุสินคาหรือวัสดุ
ในกระบวนการผลิตไดจำนวนไมมากยอมสงผลใหเกิดการใชจายที่สูงขึ้นตามมาเนื่องตองเพิ่มจำนวนรอบใน
การขนสงมากขึ้น แตอยางไรก็ตามหากมีการขนสงในปริมาณมากในแตละรอบ จะทำใหเกิดการเก็บชิ้นสวน
ระหวางกระบวนการที่มากเกินความจำเปน เกิดเปนความสูญเปลาในดานของเงินลงทุนสินคาคงคลังได
เชนกัน ดังนั้นการจัดการการดำเนินการสถานที่จัดเก็บ (Storage) และคลังเก็บสินคา (Warehouse) จึง
ควรใหความสำคัญกับปริมาณจัดสงที่เหมาะสม (Lot size) ที่ทำใหคาใชจายรวมต่ำสุด
5.1.1 หนวยการเก็บสินคา (Stock Keeping Unit (SKU))
หนวยการเก็ บสิ น คา (SKU) หมายถึง หนวยที่เล็กที่ส ุด ของบรรจุภั ณฑสิน คาที่ส ามารถตรวจ,
ติ ด ตามสถานที ่ จ ัดเก็ บ รวมทั ้ งกิ จ กรรมการรับ เขา- ส งออกไดตลอดเสน ทางการไหลของสิน คา นั้น ๆ
โดยทั่วไปบริษัทที่มีการเติบโตอยางรวดเร็วเกินไป มักจะเกิดผลกระทบกับการดำเนินการในคลังสินคาใน
เรื่องของการขาดพื้นที่วางสินคาที่เพียงพอในการจัดเก็บสินคา ปญหาในเรื่องของพื้นที่จัดเก็บมักจะถูกแกไข
ดวยการกำหนดขนาดสั่งผลิตขนาดเล็ก หรืออาจใชการรวมสินคาเปนกลุมสินคา เพื่อใหสามารถใชเพื่อที่
ร ว มกั น ได ไม มี พื ้ น ที ่ เ ฉพาะสำหรั บ สิน คาในกลุมเดีย วกัน การดำเนิน การในคลังเก็บ สิน คา จะมีการ
ดำเนินการโดยแตละหนวยการเก็บสินคา (SKU) จะประกอบไปดวยขอมูลหมายเลขชิ้นสวน ระบุชนิดสินคา
เพื่อใชในการติดตามตลอดขณะที่สินคานั้น ๆ อยูในคลังสินคา แตละสินคาบอยครั้งการกำหนด หนวยการ
เก็บสินคา (SKU) มักจะกำหนดอางอิงเชิงปริมาณ เชน ขนาดของสินคา, สีของสินคา หรือบรรจุภัณฑ การ
ดำเนินการเรื่องกระบวนการผลิตแบบลีน (Lean manufacturing) เนนไปที่ความพยายายามลดเวลาใน
การติดตั้งเครื่องจั กรเพื่ อใหกระบวนการผลิตสามารถผลิ ตในขนาดรุนสินคาขนาดเล็กสลับสับ เปลี ่ ย น
ประเภทสินคาได ที่ซึ่งเปนสวนหนึ่งที่ชวยลดการใชพื้นที่ในคลังเก็บสินคาได รวมทั้งลดชิ้นงานระหวาง
กระบวนการผลิตที่ตองเก็บในสถานที่เก็บระหวางกระบวนการได

5.1.2 การวางแผนเกี่ยวกับพื้นที่ในการจัดเก็บสินคา (Storage space planning)


การวางแผนเกี่ยวกับการกำหนดพื้นที่ในการจัดเก็บสิน คาในคลังสินคา ใชแผนภูมิชวยในการ
คำนวณพื้นที่สำหรับจัดเก็บแตละชนิดของวัสดุ, ชิ้นสวนระหวางกระบวนการ และสินคาสำเร็จรูป สามารถ
ใชเพื่ออำนวยความสะดวกในการเก็บขอมูลที่จำเปน การสรางแผนภูมิตองพิจารณาเรื่องของขอกำหนดของ
ลักษณะพื้นที่การจัดเก็บและลักษณะของคลังสินคาที่เหมาะสมกับสินคาที่จัดเก็บนั้นรวมดวย โดยแสดงเปน
คุณลักษณะชั้นเก็บสินคาที่เหมาะสม, การใชพื้นที่เก็บ, ความสูงของพื้นที่เปน เปนตน แสดงดังรูปที่ 5.1

122
แสดงแผนภูมิการวิเคราะหการจัดเก็บสินคา ขอมูลที่ใชประกอบดวยชนิดและลักษณะสินคาที่ตองการ
จัดเก็บ, หนวยการนับในการรับเขาสูคลังสิน คา เชน มัด, กลอง, และมวน เปนตน, จำนวน, น้ำหนัก,
ปริมาณที่เขาสูคลังสูงสุดและคาเฉลี่ย, วิธีการเก็บ, พื้นที่ที่ตองการของคลัง, พื้นที่ของสินคาที่เก็บ และความ
สูงของชองเก็บสินคา ผูออกแบบแผนผังตำแหนงจัดเก็บสินคาในคลังเก็บสินคาจะตองเริ่มตนที่การสำรวจ
ทางกายภาพของรายการที่เก็บไว ซึ่งประกอบไปดวย ปริมาณเฉลี่ยสูงสุดของสินคาหรือวัสดุที่เก็บไว ซึ่ง
ขอมูลดังกลาวเกี่ยวของโดยตรงกับวิธีการควบคุมสินคาคงคลัง จำนวนของสิ่งที่ตองจัดเก็บเปนไปตามแผน
สำหรับการจัดเก็บแตละวัสดุ ซึ่งอาจจะถูกกำหนดโดยการพิจารณาจากตารางการรับวัสดุเขาสูกระบวนการ
ผลิต หรือการรับชิ้นสวนจากโรงงานอื่น ๆ เพื่อนำมาประกอบเปนสินคาสำเร็จรูป
แผนภูมิวเิ คราะหคลังเก็บสินคา
วันที่ 14 ตุลาคม 64 วัตถุดิบ X
In-Precess Goods
บริษัท J.D.S.,Inc.
เตรียม โดย B.Huddock แผนภูมิ 1 จาก 1 ผูขายวัตถุดิบ
ผลิตภัณฑสำเร็จ
ความตองการพื้นที่วาง Unit Loads: ปริมาณของหนวยที่จัดเก็บในสโตร
ความ
ปริมาณ ปริมาณ ปริมาณ
แผน พื้นที่ตอ พื้นที่รวมที่ สูง
อธิบาย ชนิด ตอ น้ำหนัก เก็บสินคา เก็บสินคา วิธีการ
ขนาด (4) ผลิต หนวยที่เก็บ ตองการ เพดาน
(1) (2) หนวย (5) คงคลังมาก คงคลัง เก็บ (9)
(8) (10) เก็บ (11) ft2
(3) ที่สุด (6) เฉลี่ย (7)
(12)
Cantile Four-are
อะลูมิเนีย 18'x28'x 1250
มัด 50 ชิ้น 14 5 12 ver dual rack, 192 24
ม 288 288' lbs.
rack 4'x12'x6'
แกว, หนา
400 Pallet 4'x4'x22'
1/4', 4 Racks 4 แผน 8'x4'x4' 20 13 15 240 24
lbs. rack (4 ระดับ)
แผน

รูปที่ 5.1 แสดงแผนภูมิวิเคราะหการจัดเก็บสินคา (Storage analysis chart)


ประเภทของการจัดเก็บสินคามี 2 ประเภท ไดแก การกำหนดตำแหนงเฉพาะลวงหนากับแตละ
ชนิดสินคา (Dedicated storage) หรือการใหตำแหนงเก็บเมื่อมีสินคาสงเขามาถึงคลังสินคาซึ่งเปนสุม
ตำแหนงในการจัดวางในคลังเก็บสินคา (Random storage) สำหรับการวางแผนปริมาณพื้นที่หรือชองเก็บ
สินคาสำหรับแตละหนวยการเก็บสินคา (SKU) สัมพันธโดยตรงกับวิธีการใหตำแหนงเก็บสินคา ดังนั้น ถา
การกำหนดตามตำแหนงเฉพาะลวงหนากับแตละชนิดสินคา ปริมาณพื้นที่ที่ตองการเพื่อเก็บสินคาชนิดนั้น
ๆ จะตองการตำแหนงจัดเก็บจำนวนมาก หรือพื้นที่จัดเก็บสูงสุด ดังนั้นจึงพิจารณาคาปริมาณสินคาเก็บ
สูงสุด (Maximum quantity) ที่มีการขนสงสินคาเขามาเก็บในคลังสินคา เปนคาคำนวณเพื่อเตรียมพื้นที่ให
เพียงพอกับการจัดเก็บสินคาได สำหรับการกำหนดตำแหนงเก็บเมื่อมีสินคาสงเขามาถึงคลังสินคาเปนแบบ
สุมตำแหนงในการจัดวางสินคาในคลังเก็บสินคา จะพิจารณาความตองการตำแหนงจัดเก็บนอยกวาการ
จัดเก็บแบบกำหนดตำแหนงเฉพาะลวงหนา โดยพิจารณาคาปริมาณสินคาเก็บตลอดทุกชวงเวลาโดยเฉลี่ย

123
(Average quantity) ค า คำนวณนี ้ จ ะถูกใชในการกำหนดพื้น ที่ว างและชองเก็บ สำหรับ สิน คา สำหรับ
ตัวอยางที่ 5.1 แสดงการคำนวณปริมาณเก็บสูงสุดของสินคาตัวอยาง และปริมาณเก็บเฉลี่ยของสินคา
ตัวอยาง
ตัวอยาง 5.1 วิเคราะหปริมาณวัตถุดิบที่ตองจัดเก็บในคลังเก็บสินคา
บริษัท ABC เปนบริษัทผลิตลอรถยนต จากขอมูลที่ผานมาคาเฉลี่ยในการนำวัตถุดิบยายไปใชในการผลิต
เฉลี่ยวันละ 20 ตัน ตอวัน พัสดุคงคลังสำรองเพื่อความปลอดภัย (Safety stock) กำหนดนโยบายไวที่ 5 วัน
และชวงเวลานำในการสั่งวัตถุดิบเปน 10 วัน และบริษัทใชนโยบายปริมาณการสั่งซื้อแตละครั้ง ปริมาณการ
สั่งซื้อ (Order quantity) ใหเพียงพอกับความตองการ 45 วัน จงคำนวณคาปริมาณเก็บพัสดุคงคลังสูงสุด
และปริมาณการเก็บพัสดุคงคลังเฉลี่ยกี่ตัน?
จุดสั่งซื้อ (Reorder point) = ปริมาณพัสดุคงคลังสำรองเพื่อความปลอดภัย (Safety stock) * ความ
ตองการตอวัน (Demand/day) + ชวงเวลานำ (Lead time)*ความ
ตองการตอวัน (Demand/day)
= (5 วัน) * (20 ตันตอวัน) + (10 วัน) * (20 ตันตอวัน)
= 300 ตัน
ปริมาณวัตถุที่เก็บมากที่สุด = ปริมาณพัสดุคงคลังสำรองเพื่อความปลอดภัย (Safety stock :วัน) *
ความตองการตอวัน (Demand/day) + ชวงเวลานำ (Lead time:
วัน)*ความตองการตอวัน (Demand/day)
= (100 ตัน) + (45 วัน) * (20 ตันตอวัน)
= 1000 ตัน
ปริมาณวัตถุที่เก็บเฉลี่ย = (1/2) * ปริมาณการสั่งซื้อ (Order quantity: วัน) * ความตองการ
ตอวัน (Demand/day) + ปริมาณพัสดุคงคลังสำรองเพื่อความ
ปลอดภัย (Safety stock: วัน) * ความตองการตอวัน (Demand/day)
= (1/2) (900 ตัน) + (100 ตัน)
= 550 ตัน
การคำนวณจุดสั่งสินคาผลิต หรือจุดสั่งซื้อสินคาเขาคลังสินคา (Reorder point) หมายถึง ปริมาณ
ที่เมื่อสินคาลดลงถึงปริมาณนี้จะตองมีการออกใบสั่งผลิต หรือใบสั่งซื้อสินคาเพื่อนำมาเติมเขาคลังสินคา
คำนวณไดจากอัตราความตองการที่สามารถปองกันไมใหเกิดการขาดสินคาในชวงเวลาของพัสดุคงคลั ง
สำรองเพื่อความปลอดภัย (Safety stock) โดยสตอคปองกันในที่นี้จะกำหนดเปนจำนวนวัน รวมกับความ
ตองการที่เกิดขึ้นในชวงเวลานำ (Lead time) ซึ่งกำหนดเปนจำนวนวันเชนกัน สำหรับขอมูลตัวอยางขางตน
กำหนดสตอคปองกันเปน 5 วัน หมายความวา การจัดการคลังสินคาจะตองกำหนดใหมีสินคาไมต่ำกวา
ปริมาณของความตองการสินคาที่ตองการที่ 5 วัน ดังนั้นจากอัตราความตองการ 20 กลองตอวัน ดังนั้น
ปริมาณสตอคปองกัน จะเทากับ 20 คูณดวย 5 ซึ่งก็เปนจำนวน 100 กลอง สำหรับชวงเวลานำ 10 วัน
หมายความวา การจัดการคลังสินคาตองมีสินคาสำรองในชวงที่มีการสั่งผลิตหรือสั่งซื้อสินคาไปแลวแตสินคา

124
ยังไมเขาคลังสินคา ซึ่งจะเขาคลังสินคาในอีก 10 วัน ดังนั้นตองมีสินคาพอใชงานสำหรับ 10 วัน สำหรับ
ขอมูลตัวอยางขางตน จะไดปริมาณความตองการในชวงเวลานำ เปน 20 คูณดวย 10 ซึ่งก็เปนจำนวน 200
กลอง รวมแลวจุดสั่งสินคาผลิต (Reorder point) อยูที่ 300 กลอง
การคำนวณปริมาณสินคาสูงสุดที่เก็บในคลังเก็บสินคา (Maximum quantity) พิจารณาเฉพาะ
สินคาที่มีการขนสงเขามาเก็บในคลังสินคา คำนวณไดจากอัตราความตองการที่สามารถปองกันไมใหเกิดการ
ขาดสินคา ในชวงเวลาของสตอคปองกัน (Safety stock) โดยสตอคปองกันในที่นี้จะกำหนดเปนจำนวนวัน
รวมกับปริมาณสั่งผลิตหรือสั่งซื้อเพื่อใหเพียงพอกับความตองการที่เกิดขึ้น ตามชวงเวลากำหนด (Order
quantity) ในที่นี้กำหนดเปนวัน สำหรับขอมูลตัวอยางขางตน จะไดปริมาณสั่งผลิตหรือสั่งซื้อ ที่ตอง
ตอบสนองความตองการ 45 วัน เปน 20 คูณดวย 45 ซึ่งก็เปนจำนวน 900 กลอง รวมกับปริมาณสตอค
ปองกัน 100 กลอง เปน 1000 กลอง
ปริมาณสินคาเก็บตลอดทุกชวงเวลาโดยเฉลี่ย (Average quantity) คำนวณไดจากอัตราความ
ตองการที่สามารถปองกันไมใหเกิดการขาดสินคาในชวงเวลาของพัสดุคงคลังสำรองเพื่อความปลอดภัย
(Safety stock) โดยสตอคปองกันในที่นี้จะกำหนดเปนจำนวนวัน รวมกับเฉลี่ยของสินคาที่เก็บในคลัง ซึ่ง
คำนวณไดจากปริมาณเฉลี่ยของสินคาคงคลังที่จุดต่ำสุดและจุดสูงสุด ซึ่งก็คือ ครึ่งหนึ่งของปริมาณสั่งผลิต
หรือสั่งซื้อเพื่อใหเพียงพอกับความตองการที่เกิดขึ้น ตามชวงเวลากำหนด (Order quantity) สำหรับขอมูล
ตัวอยางขางตน จะไดปริมาณสั่งผลิตหรือสั่งซื้อ ที่ตองตอบสนองความตองการ 45 วัน เปน 900 กลอง
ดังนั้นครึ่งหนึ่งเปน 450 กลอง รวมกับปริมาณสตอคปองกัน 100 กลอง เปน 550 กลอง
ตัวอยางที่ 5.2
การกำหนดพื้นที่วางหรือชองเก็บสำหรับการจัดเก็บสินคา ทั้งสองประเภท
1) การกำหนดตำแหนงเฉพาะลวงหนากับแตละชนิดสินคา
2) การใหตำแหนงเก็บเมื่อมีสินคาสงเขามาถึงคลังสินคาซึ่งเปนสุมตำแหนงในการจัดวางในคลังเก็บ
สินคา
ผลิตภัณฑ
ชวงเวลา 1 2 3 4 5 6 รวม
1 24 12 2 12 11 12 73
2 22 9 8 8 10 9 66
3 20 6 6 4 9 6 51
4 18 3 4 24 8 3 60
5 16 36 2 20 7 24 105
6 14 33 8 16 6 21 98
7 12 30 6 12 5 18 83
8 10 27 4 8 4 15 68
9 8 24 2 4 3 12 53
10 6 21 8 24 2 9 70
11 4 18 6 20 1 6 55

125
ผลิตภัณฑ
ชวงเวลา 1 2 3 4 5 6 รวม
12 2 15 4 16 24 3 64
13 24 12 2 12 23 24 97
14 22 9 8 8 22 21 90
15 20 6 6 4 21 18 75
16 13 3 4 24 20 15 79
17 16 36 2 20 19 12 105
18 14 33 8 16 18 9 98
19 12 30 6 12 17 6 83
20 10 27 4 8 16 3 68
21 8 24 2 4 15 24 77
22 6 21 8 24 14 21 94
23 4 18 6 20 13 18 79
24 2 15 4 16 12 15 64

ระดับพัสดุคงคลังโดยรวมสูงสุด (Max of aggregae inventory level) = 105 พาเลท


ผลรวมของระดับพัสดุคงคลังสูงสุด แยกตามประเภทผลิตภัณฑ (Sum of individual max inventory levels) =140 พา
เลท
ระดับพัสดุคงคลังเฉลี่ย (Average inventory level) = 77.5 พาเลท
ระดับพัสดุคงคลังโดยรวมต่ำสุด (Min of aggregae inventory level) = 51 พาเลท

สำหรับการวางแผนพื้ นที ่จัด เก็บดว ยการกำหนดตำแหน งเฉพาะลวงหนากั บแตล ะชนิดสิ น ค า


(Dedicated storage) จะเทากับผลรวมของปริมาณสูงสุดที่เก็บ (Maximum quantity) ของสินคาที่มีการ
ขนสงสินคาเขามาเก็บในคลังสินคา โดยพิจารณาแตละประเภทหนวยการเก็บสินคา (SKU) จะเห็นวา สินคา
1 มีสินคาเขาสูงสุดที่ 24 หนวย, สินคา 2 อยูที่ 36 หนวย, … , สินคา 6 อยูที่ 24 ดังนั้นรวมจะไดพื้นที่ที่
ตองการสำหรับเก็บสินคาทั้งหมดเปน 140 หนวย
อยางไรก็ตามการวางแผนพื้นที่จัดเก็บดวยการใหตำแหนงเก็บเมื่อมีสินคาสงเขามาถึงคลังสินคา
เปนแบบสุมตำแหนงจัดวางสินคาในคลังเก็บสินคา (Random storage) พิจารณาไดวาทุกประเภทหนวย
การเก็บสินคา (SKU) จะไมมีการจั ดเก็ บที่ คาสูงสุด พรอมกันทุ กชนิ ดในชวงเวลาเดียวกัน การจัดวาง
ตำแหนงสามารถใชตำแหนงรวมกันได จากตัวอยางขางตนพบวา ผลรวมทุกสินคาในแตละชวงเวลาของ
ความตองการตามคอลัมภที่ 8 จะพบวาผลรวมที่ชวงเวลาที่ 5 มีผลรวมสูงที่สุด คือ 105 หนวย สำหรับวิธี
สุมตำแหนงจัดเก็บการเลือกใชที่ตัวเลข 105 หนวย เหมาะสมที่จะนำไปใชในการกำหนดพื้นที่วางที่เพียงพอ
สำหรับการวางตำแหนงสินคาแบบสุมได ดังนั้นวิธีนี้จะใหพื้นที่นอยกวาวิธีการกำหนดตำแหนงเฉพาะ
ลวงหนากับแตละชนิดสินคา (Dedicated storage) มีเหตุผลที่วิธีการสุมตำแหนงจัดวางจะใชพื้นที ่วาง
สินคานอยกวาวิธีการกำหนดตำแหนงเฉพาะ คือ เมื่อสินคาที่เคยมีอยูในคลัง เกิดสงออกไปใหลูกคา ทำให
ตำแหนงที่วางสินคาวาง (Out-of-stock) ตำแหนงที่วางจะโชววาสามารถนำสินคาที่เขามาใหมใสแทนที่ได

126
5.2 นโยบายสำหรับการจัดลำดับเสนทางการหยิบสินคาในคลังเก็บสินคา
การกำหนดลำดับการเลือกหยิบสินคาในคลังเก็บสินคาตามคำสั่งซื้อของลูกคา เปนกิจกรรมที่มี
ผลกระทบตอตนทุนการดำเนินงานของคลังเก็บสินคาเปนอยางมาก ตัวแปรที่มีผลกระทบตอการกำหนด
นโยบายลำดับของการหยิบสินคาในคลังเก็บสินคาที่มีผลกระทบตอตนทุนการดำเนินงาน ไดแก รูปแบบ
ความตองการสินคาแตละประเภท, ลักษณะการจัดวางสินคาในคลังเก็บสินคา, ตำแหนงของสินคาในคลัง
เก็บสินคา และวิธีการหรือนโยบายที่เลือกใชเพื่อกำหนดลำดับการหยิบสินคาในคลังเก็บสินคา รวมทั้ง
วิธีการกำหนดเสนทางเพื่อใชในการหยิบสินคาเปนลำดับในคลังเก็บสินคา จากงานวิจัยของ Petersen, C.G.
(1999) นำเสนอนโยบายสำหรับการจัดลำดับเสนทางการหยิบสินคาในคลังเก็บสินคา (Routing policies)
โดยที่นโยบายตาง ๆ มีการวิเคราะหโดยใชวิธีฮิวริสติก (Heuristics) ที่ซึ่ง ฮิวริสติก (Heuristics) หมายถึง
วิ ธ ี การ ขั ้ น ตอนเพื ่ อนำไปสู  การแก ป ญ หาตาง ๆ (Problem solving) โดยใชว ิธ ีการตามแนวทาง หรือ
ประสบการณของผูวิเคราะห ไมสามารถยืนยันไดวาผลเฉลยที่ไดจะเปนผลเฉลยที่ดีที่สุด หรือเปนผลเฉลยที่
ดีเยี่ยม แตอยางไรก็ตามวิธีการฮิวริสติก (Heuristics) มักเปนวิธีที่มีขอดีในสวนของการใชเวลานอยเพื่อ
นำไปสูผลเฉลยของปญหา ผูวิเคราะหจะตองพิสูจนไดวา วิธีการฮิวริสติก (Heuristics) ที่ออกแบบและสราง
มีประสิทธิภาพเพียงพอตอการประมาณคาผลเฉลยเพื่อนำไปสูการแกไขปญหานั้น ๆ กลยุทธของงานวิจัย
ดังกลาวอางอิงคลังเก็บสินคา แสดงดังรูปที่ 5.2 คลังเก็บสินคานี้ประกอบดวย ชั้นวางสินคาตามแนวตั้ง และ
ชองทางเดินทั้งดานหนา (Front aisle) และดานหลัง (Back aisle) คลังเก็บสินคา รวมทั้งชองทางเดินหยิบ
สินคา (Picking aisle) ที่กวางเพียงพอที่จ ะสามารถเดินเข าไป- กลับ (Two- way travel) ได การหยิ บ
สินคาสามารถหยิบสินคาไดทั้ง ซาย- ขวา (Both sides) ของชองทางเดิน กำหนดใหตำแหนงของจุด P/D
เปนจุดกึ่งกลางอยูที่ชองทางเดินดานหนา (Front aisle) ของคลังเก็บสินคา เปนจุดเขา – ออกของอุปกรณ
ขนยายที่จะเขามาหยิบสินคา และนำสงออกไปนอกคลังเก็บสินคา

ท ท
า า
ง ง
เ เ
ดิ ดิ
P/D น น
ห ห
น ลั
า ง

รูปที่ 5.2 แสดงผังคลังเก็บสินคาและชองทางเดินภายในคลังเก็บสินคา


5.2.1 นโยบายสำหรับการจัดลำดับเสนทางการหยิบสินคาในคลังเก็บสินคา (Routing policies)
เนื้อหาในสวนนี้นำเสนอนโยบายสำหรับการจัดลำดับเสนทางการหยิบสินคาในคลังเก็บสินคา 3
นโยบาย โดยวิ ธ ี การทั ้ ง 3 นโยบายนี ้ เปน วิธีการฮิว ริส ติก (Heuristics) ที่มีการประยุ กตใช กั น อย า ง
แพรหลายในการดำเนินการของคลังเก็บสินคาและพบวามีการใชในงานวิจัยเกี่ยวกับคลังเก็บสินคาในหลาย
งานวิจัย

127
(1) กลยุทธการแวะผาน (Transversal strategy)
กลยุทธการจัดลำดับเสนทางการหยิบสินคาในคลังเก็บสินคาที่งายที่สุด คือ กลยุทธการแวะผาน
(Transversal strategy) ที่ซึ่งอุปกรณขนยายที่จะเขามาหยิบสินคาจะเลือกเขาเฉพาะชองทางเดินที่มีสินคา
ที่ตองหยิบตามคำสั่งของลูกคาจากชั้นเก็บสินคาที่ตนทางไปจนสิ้นสุดทางของชองทางเดินนั้น ๆ และจะ
เลือกหยินสินคาตามชองทางออกจากคลังเก็บสินคาโดยผานออกชองทางอื่น ๆ
(2) กลยุทธระยะหางที่มากที่สุด (Largest gap strategy)
สำหรับกลยุทธระยะหางที่มากที่สุด (Largest gap strategy) อุปกรณขนยายที่จะเขามาหยิบสินคา
จะเริ่มตนเลือกเขาชองทางเดินที่มีสินคาที่ตองการหยิบอยูในตำแหนงคลังเก็บสินคาที่ระยะหางระหวางกันที่
มากที่สุดกอน โดยที่สินคานั้น ๆ อยูภายในชองทางเดินเดียวกัน กลยุทธนี้จะพิจารณาระยะหางที่มากที่สุด
คือ ระยะหางที่มากที่สุดระหวางสินคา 2 ประเภทที่ตองการหยิบลำดับติดกัน, หรือ ระยะหางที่มากที่สุด
ระหวางสินคาชิ้นแรกที่ตองการหยิบและชองทางเดินดานหนา (Front aisle), หรือ ระยะหางที่มากที่สุด
ระหวางสินคาชิ้นสุดทายที่ตองการหยิบและชองทางเดินดานหลัง (Back aisle)
(3) กลยุทธผสม (Composite strategy)
กลยุทธเสนทางการหยิบสินคาแบบผสม เปนกลยุทธที่รวมลักษณะที่โดดเดนที่สุดของกลยุทธ
ยอนกลับ (Return strategy) และกลยุทธแวะผาน (Transversal strategy) และคนหาลำดับการหยิบ ที่
ไกลที่สุดระหวางสินคา 2 ประเภทที่อยู 2 ชองทางที่อยูติดกันโดยมีจุดประสงคเพื่อใหระยะทางเดินเพื่อหยิบ
สินคา 2 ประเภทที่อยูชองทางเดิน 2 ชองทางเดินที่ติดกันนั้น ๆ มีระยะทางที่นอยที่สุด วิธีการเดินหยิบ
สินคาเปนการเลือกเขาชองทางเดินหนึ่ง และออกจากคลังสินคาโดยผานอีกชองทางเดินตามวิธี กลยุทธแวะ
ผาน (Transversal strategy)
(4) กลยุทธเสนทางที่ดีที่สุด (Optimal routing strategy)
นำเสนอโดย Ratliff, H.D. และ Rosenthal, A.S. (1983) ซึ ่ ง เป น ผู  พ ั ฒ นากลยุ ท ธ น ี ้ ทำให ไ ด
ขั้นตอนของการที่อุปกรณขนยายที่จะเขามาหยิบสินคามีเสนทางในการหยิบสินคาที่สั้นที่สุด เมื่อคลังเปน
สินคาเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก โดยขั้นตอนที่พัฒนานี ้รวดเร็ว แตอยางไรก็ตามตองรันหาผลเฉลยดว ย
คอมพิวเตอร ดังนั้นการเลือกใชวิธีฮิวริสติก (Heuristics) จึงยังเปนวิธีที่เหมาะสมกวาในดานของเวลาในการ
คนหาผลเฉลยที่สั้นกวา

5.3 วิธีการจัดวางผังการเก็บสินคา (Storage Layout Methods)


5.3.1 การกำหนดตำแหนงเฉพาะลวงหนากับแตละชนิดสินคา (Dedicate Storage or fixed-
location storage)
วิธีการจัดเก็บสินคาในคลังเก็บสินคา เริ่มตนที่การแยกสินคาตามความสำคัญมาก สำคัญนอยดวย
เทคนิค ABC โดยเทคนิคแลวประเภทของสินคากลุม A พิจารณาจากกิจกรรมการนำเขาสูคลัง/การนำออก
จากคลังสินคาเปน 80 เปอรเซ็นตของกิจกรรมในคลังสินคาทั้งหมด และมีจำนวนชนิดของสินคาเปน 20
เปอรเซ็นตของจำนวนชนิดสินคาทั้งหมดที่เก็บในคลังเก็บสินคา สำหรับสินคาประเภท B พิจารณาจาก
กิจกรรมการนำเขาสูคลัง/การนำออกจากคลังสินคาเปน 15 เปอรเซ็นตของกิจกรรมในคลังสินคาทั้งหมด
และมีจำนวนชนิดของสินคาเปน 30 เปอรเซ็นตของจำนวนชนิดสินคาทั้งหมดที่เก็บในคลังเก็บสินคา และ

128
สุดทายเปนสินคาประเภท C พิจารณาจากกิจกรรมการนำเขาสูคลัง/การนำออกจากคลังสินคาเปน 5
เปอรเซ็นตของกิจกรรมในคลังสินคาทั้งหมด และมีจำนวนชนิดของสินคาเปน 50 เปอรเซ็นตของจำนวน
ชนิดสินคาทั้งหมดที่เก็บในคลังเก็บสินคา นำมาเปนเกณฑในการจัดลำดับความสำคัญของสินคา โดยสินคา
ที่มีความสำคัญอยางเปนสินคาประเภท A เพราะมีการเขา/ออก บอยกวาประเภทอื่น พิจารณาจัดตำแหนง
เก็บในคลังสินคาใหเข า- ออกไดสะดวกก อนสิน คาประเภทอื่น ควรใหความสำคัญในการดูแล จัดการ
มากกวาสินคาประเภทอื่น ๆ รองลงมาเปน B และ C ตามลำดับ การจัดวางตำแหนงของสินคาทั้งสาม
ประเภทแสดงดังในรูปที่ 5.3 โดยวางสินคาประเภท A ไวรอบประตูทางเขา - ออก เปนรูปสามเหลี่ยมหรือ
ทำเปนรัศมีโคงครึ่งวงกลม แลวแตละกรณีในคลังสินคา

c B c

Dock

รูปที่ 5.3 แสดงแผนภาพการจัดวางตำแหนงของสินคาสำหรับการจัดตำแหนงแบบกำหนดตำแหนงเฉพาะ


5.3.1.1 นโยบายสำหรับการจัดวางสินคาในคลังเก็บสินคา (Storage policies)
จากงานวิจัยของ Petersen, C.G. (1999) นำเสนอนโยบายสำหรับการจัดวางสินคาในคลังเก็บ
สินคา (Storage policies) การจัดวางสินคาในคลังเก็บสินคาพิจารณาแยกความสำคัญของสินคาแบบ ABC
โดยวิเคราะหดวยปริมาณความตองการสินคา (Volume- based storage) สามารถแบงวิธีการจัดเรียง
สินคาเปน 2 รูปแบบ คือ รูปแบบสามเหลีย่ ม (Diagonal) และ รูปแบบชองทางดานในกอน (Within- aisle)
แสดงดังรูปที่ 5.4 แสดงการจัดเรียงสินคาทั้งสองรูปแบบตามความสำคัญของสินคาแตละประเภท นโยบาย
นี้มีจุดกึ่งกลางของทางเขาคลังสินคา เปนจุดเขา- ออกจากคลังเก็บสินคา (P/D point) ที่ซึ่งพื้นที่สีเทาเขม
แสดงพื้นที่เก็บสินคาประเภท A ที่มีปริมาณความตองการมาก สำคัญมากที่สุด และสีเทาเขมกลาง แสดง
พื้นที่เก็บสินคาประเภท B ที่มีปริมาณความตองการปานกลาง สำคัญปานกลาง และสุดทายเปนสีเทาออน
แสดงพื้นที่เก็บสินคาประเภท C ที่มีปริมาณความตองการนอย สำคัญนอย ในบางงานวิจัยการพิจารณาแยก
ประเภทความสำคัญสินคาแบบ ABC สามารถพิจารณามูลคาสินคา เนื่องจากบางประเภทสินคาอาจมีความ
ตองการไมมาก แตมีมูลคาสินคาตอหนวยสูง มีผลกระทบตอตนทุนสินคาคงคลังมาก ดังนั้นจึงมีความสำคัญ
มากตองการการดูแล ควบคุมที่เขมงวด พิจารณาเปนสินคาประเภท A ได อยางไรก็ตามจัดวางสินคาใน
คลังสินคา ตามรูปแบบ 2 รูปแบบขางตน สามารถเลือกใชวิธีการแยกประเภทความสำคัญของสินคาดวย
มูลคาสินคาไดเชนกัน

129
P/D P/D

รูปแบบสามเหลี่ยม (Diagonal) รูปแบบชองทางดานในกอน (Within- aisle)

รูปที่ 5.4 แสดงแสดงรูปแบบการจัดเรียงสินคาตามความสำคัญของสินคาแตละประเภท


(1) รูปแบบสามเหลี่ยม (Diagonal)
การจัดวางสินคาตามรูปแบบสามเหลี่ยม (Diagonal) มีการจัดเรียงสินคาที่มีความสำคัญมาก
สินคาประเภท A ใหอยูตำแหนงใกลจุด เขา- ออก (P/ D point) ของคลังเก็บสินคาใหมากที่สุด และสวน
สินคาที่มีความสำคัญนอยที่สุด สินคาประเภท C กำหนดใหอยูตำแหนงไกลจุด เขา- ออก (P/ D point)
ของคลังเก็บสินคาใหมากที่สุด

(2) รูปแบบชองทางดานในกอน (Within- aisle)


สำหรับการจัดวางสินคาในคลังเก็บสินคารูปแบบชองทางดานในก อน (Within- aisle) ได
นำเสนอในงานวิ จ ัย ของ Jarvis, J.M. และ McDowell, E.D. (1991) โดยการจัดคลังสิน คาในรูป แบบนี้
ประยุกตใช ในคลังเก็บสิน ค าประเภทช องทางเข า - ออกชองทางเดี ยว (One- way aisle travel) และ
เลื อกใช การจั ดลำดั บเสน ทางการหยิบ สินคาในคลังเก็บ สิน คาตามกลยุทธการแวะผาน (Transversal
strategy) การจัดเรียงสินคาที่มีความสำคัญมาก สินคาประเภท A ใหอยูพื้นที่ที่ซึ่งชองทางเขาถึงสินคาอยู
ใกลจุด เขา- ออก (P/ D point) ของคลังเก็บสินคาใหมากที่สุด และ สินคาที่มีความสำคัญนอยที่สุด สินคา
ประเภท C กำหนดใหอยูชองทางเขาที่ไกลจุด เขา- ออก (P/ D point) ของคลังเก็บสินคาใหมากที่สุด
5.3.2 การใหตำแหนงเก็บเมื่อมีสินคาสงเขามาถึงคลังสินคาเปนการสุมตำแหนงในการจัดวางในคลัง
เก็บสินคา(Randomized Storage or random-location storage)
การจัดเก็บสินคาแบบสุมเปนการจัดตำแหนงของสินคาไมคำนึงถึงประเภทสินคา สามารถวาง
ตำแหนงใดก็ได เพื่อใหมีพื้นที่วางที่มากเพียงพอสามารถวางสินคาได มักใชในกรณีพื้นที่จำกัด หรือตองการ
ใชประโยชนของพื้นที่ใหเกิดประโยชนสูงสุด ดังนั้นระบบการติดตามสินคาจะตองมีประสิทธิภาพสูง เพื่อให
สามารถติดตามประเภทสินคาและจำนวนที่จั ดเก็ บในคลั งสินคาไดทันที ขอดีของการวางแบบสุม คื อ
สามารถใชประโยชนของพื้นที่ไดสูงแตอยางไรก็ตามมีโอกาสที่ชิ้นงานจะรวมตัวกันอยูที่บริเวณใดบริเวณ
หนึ่งมากเกินไป ในการจัดเก็บแบบสุมไมมีความจำเปนตองเตรียมพื้นที่วางสำหรับจัดเก็บสินคาทีจ่ ำนวนชอง

130
เก็บมากเทาจำนวนสินคาสูงสุดที่จะเขามา สามารถจัดเตรียมพื้นที่วางสำหรับเก็บสินคาเพื่อรองรับสินคาที่
คาดวาจะเขาคลังสินคาที่คาเฉลี่ยได เพราะเมื่อสินคาถูกเบิกออกไป สินคาชนิดอื่นจะเขาแทนที่สินคาที่ถูก
เบิก เชน สินคา A1 ถูกเบิกออกไป จะมีที่วางและสามารถจัดสินคา B1 เขาแทนที่ชองวางนั้นได ทำใหการ
เตรียมพื้นที่ดวยจำนวนชองเก็บเฉลี่ยเพียงพอตอความตองการพื้นที่เก็บสินคาได

Unused space

Randomized storage
A,B,ang C

Dock

รูปที่ 5.5 แสดงแผนภาพการจัดวางตำแหนงของสินคาสำหรับการจัดตำแหนงแบบสุมตำแหนง


5.3.3 การกำหนดตำแหนงอางอิงระดับความสำคัญของสินคา (Class-based storage)
เปนวิธีการจัดเก็บสินคาแบบผสมระหวาง การกำหนดตำแหนงเฉพาะลวงหนาสำหรับแตละชนิด
สินคา (Dedicate Storage) และ การใหตำแหนงเก็บเมื่อมีสินคาสงเขามาถึงคลังสินคาเปนไปแบบสุม
ตำแหนงการวางในคลังเก็บสินคา (Randomized Storage) สามารถทำใหเกิดการใชพื้นที่ไดมีประสิทธิภาพ
มากขึ้น และชวยลดโอกาสในการหาสินคาไมพบ สวนใหญมักจะถูกใชในการเก็บวัสดุที่ ใชในการผลิ ต
ชิ้นสวนประกอบ หรืออุปกรณรวมถึงเครื่องมือตาง ๆ ที่ตองทำการเบิกเพื่อเขาสูกระบวนการผลิต วิธีการ
จัดเก็บสินคาขั้นแรกจะตองทำการแบงบริเวณในการจัดเก็บสินคาแตละประเภทกอน จากนั้นจึงทำการ
จัดเก็บแบบสุมในแตละบริเวณที่ทำการแบงตามชนิดของสินคา โดยการแบงพื้นที่เฉพาะใชเทคนิคการแบง
พื้นที่สำหรับ 3 ประเภทของสินคาตามระดับความสำคัญกลุม A, B และ C ยกตัวอยาง การจัดวางสินคาของ
พื้นที่ที่แบงไวสำหรับกลุม A จะใหความสำคัญของแตละประเภทสินคาเทากัน นั่นคือ ไววาจะเปนสินคา
ประเภทใด ถาเปนสินคาที่อยูในประเภท A เหมือนกันสามารถวางตำแหนงใดก็ได เปนไปแบบเขาก อน
สามารถวางตำแหนงใกลทางออกไดมากกวาเปนไปแบบสุมตำแหนง ไมกำหนดเฉพาะวาสินคาชนิดใด
จะตองวางตำแหนงใด เมื่อสินคาถูกเบิกออกไป สินคาชนิดอื่นจะเขาแทนที่สินคาที่ถูกเบิกได เชน สินคา A1
ถูกเบิกออกไป จะมีที่วางและสามารถจัดสินคา A2 เขาแทนที่ชองวางนั้นได ทั้งนี้สินคาประเภท B และ C
ใด ๆ ไมสามารถวางในพื้นที่ที่จัดเตรียมใหกับสินคาประเภท A ได

5.4 การวางแผนตำแหนงและพื้นที่ในการจัดเก็บสินคา (Storage layout planning)


5.4.1 หลักการใชพื้นที่วางใหไดประโยชนมากที่สุด สามารถเขาถึงสินคาที่เก็บไดงาย (Principles-
space utilization (accessibility))
วิธีการเก็บสินคาที่ดี แสดงดังรูปที่ 5.6 ตามหลักการใชพื้นที่วางใหไดประโยชนมากที่สุด (สามารถ
เขาถึงสินคาที่เก็บไดงาย) มีเงื่อนไขดังนี้

131
1) ทางเดินไมควรอยูติดแนวกำแพงที่ปราศจากประตู เมื่อมีการเบิกสินคาจะสามารถนำสินคาออกได
อยางสะดวกเนื่องจากใกลกับทางออก
2) แตละชองเก็บจะตองมีทางออกที่สามารถเขาถึงได เพราะจะสามารถเบิกจายสินคาเขาออกไดสอง
ทาง
3) พื้นที่คลังควรจะวางชั้นเก็บสินคาในแนวยาวของพื้นที่จะสามารถทำใหเกิดการใชพื้นที่ไดอยางมี
ประสิทธิภาพ หากทำการวางชั้นเก็บสินคาในแนวขวางจะเปนการลดประสิทธิภาพของพื้นที่

Majority of items should be


Aisles should not be placed Each storage face should stored along the long axies of
along walls without doors have an aisle access the area

รูปที่ 5.6 แสดงหลักการใชพื้นที่วางใหไดประโยชนมากที่สุด (สามารถเขาถึงสินคาที่เก็บไดงาย)


การจัดเก็บสินคาหรือวัสดุที่ไมมีชั้นวางจะทำใหเกิดปญหาที่ไมสามารถนำสินคาที่อยูดานลางสุดที่มี
การถูกซอนทับออกไดและไมควรจัดเก็บวัสดุติดกำแพงที่ไมมีทางเขาออก ทำใหสงผลกระทบตอการเบิกจาย
วัสดุออกจากที่สถานที่ในการจัดเก็บ ตัวอยางการจัดวางสินคาแสดงดังรูปที่ 5.7 แสดงการจัดวางสินคาที่
สามารถเขาถึงไดงายและยาก ทั้งการจัดวางตำแหนงแบบแนวตั้งและแนวนอน
Ceiling Aisle

A A

A A

A A A A
Floor Outside wall
Vertical honeycombing Horizontal honeycombing

รูปที่ 5.7 แสดงหลักการการเขาถึงสินคาไดงายสำหรับการวางสินคาทั้งแนวตั้งและแนวนอน


5.4.2 หลักการจัดตำแหนงวางสินคา คำนึงถึงสินคาที่มีความนิยมมากวางในตำแหนงที่ใกลทางเขา-
ออก (Principles-popularity)
การจัดวางตำแหนงสินคาตามเทคนิคที่คำนึงถึงความนิยมของสินคา หมายความวา สินคาที่มีความ
นิยมสูง มักพบวามีจำนวนรอบของการเขา-ออกจากคลังจัดเก็บบอย ๆ นั่นคือสินคาประเภท A เปนสินคาที่
มีความสำคัญในระดับ 85 เปอรเซ็นตแรก ควรจัดวางอยูในบริเวณที่สามารถนำออกหรือนำเขาไดอยาง
รวดเร็ว นั่นคือ จัดวางตำแหนงใกลประตูทางเขา-ออก เพราะเปนการชวยในเรื่องของการกระชับเวลาใน

132
กระบวนการผลิต เปนการลดเวลาทั้งในขั้นตอนการขนยายและขั้นตอนการเบิกจาย เพราะการเคลื่อนไหว
ของสินคามีความจำเปนตองคำนึงถึงเวลาในการขนยายเปนประเด็นสำคัญ ดังนั้นจึงจำเปนที่จะตองทำการ
จัดเรียงสินคาตามลำดับความสำคัญและความถี่ในการเบิกจาย รูปที่ 5.8 แสดงการเปรียบเทียบการจัดวาง
สินคาใชพื้นที่แนวลึก (ตามแกน x) การจัดวางสินคาที่นิยมมากไวหนา (Deep storage areas for popular
items) ระยะทางในการเขา-ออกไปยังสินคาที่เก็บจะนอยกวาการวางตามแนวตื้น จากรูปที่ 5.8 (a) แสดง
การจัดวางที่ความลึก 3 หนวย, รูปที่ 5.8 (b) ความลึก 2 หนวย และรูปที่ 5.8 (c) ความลึก 1 หนวย
B1 B2

Outside wall B3 B4 ASisle


B5 B6
B1 B2 B5
A1 A2
Outside wall B4 B5 B6 ASisle
A3 A4
A1 A2 A3
A5 A6
A4 A5 A6
Reference point Reference point
Storage depth Storage depth

B1

Outside wall B2 Aisle

B3

B4

B5

B6

A1

A2

A3

A4

A5

A6

Reference point

Storage depth

รูปที่ 5.8 แสดงการเปรียบเทียบการจัดวางสินคาใชพื้นที่แนวลึก (ตามแกน x) วางสินคาที่นิยมมากไวหนา


(Deep storage areas for popular items)

133
ตารางที่ 5.1 แสดงเปรียบเทีย บระยะทางจากจุด อ างอิง ไปยังสินคาที่เ ก็บตามความลึ กในการจั ดวาง
คลังสินคาแตละแบบ
ระยะทางจากจุด ความลึกของคลังเก็บสินคา
อางอิง 3 หนวย 2 หนวย 1 หนวย
ระยะทางถึง A6 2 2 2
ระยะทางถึง A1 5 5 7
ระยะทางถึง B6 4 5 8
ระยะทางถึง B1 7 8 13
ระยะเดินทางเฉลี่ย 4.5 5 7.5

จากตารางที่ 5.1 แสดงการเปรียบเทียบระยะทางจากจุดอางอิง ไปยังตำแหนงวางสินคาที่เก็บตาม


ความลึกในการจัดวางสินคาในแตละรูปแบบ เปนการนับระยะการเคลื่อนที่เพื่อเปนการนำสินคาออก โดย
เริ่มจากจุดอางอิง เพื่อหาวิธีการวางที่สามารถชวยลดระยะทาง และลดระยะเวลาในการเดินไปหาตำแหนง
ที่ตองการเบิกจาย ซึ่งการวางที่ไมเหมาะสมคือ การวางในลักษณะที่เปนแนวยาวและมีระยะทางในการเดิน
คอนขางไกล เพราะจะทำใหเกิดความลาชาในกระบวนการผลิต พบวาการจัดวางแบบกำหนดความลึก 3
หนวยใหระยะทางสั้นกวา แบบกำหนดความลึก 2 หนวย และแบบที่กำหนดจัดวางตามความลึก 1 หนวย
ใหระยะทางไกลกวาแบบอื่น ๆ
5.4.3 การจั ด วางตำแหน ง สิ น ค า อ า งอิ ง อั ต ราส ว นจำนวนรอบรั บ สิ น ค า ต อ จำนวนรอบส ง สิ น ค า
(Position based on the Receiving/Shipping Ratio)
เปนการจัดเรียงตำแหนงสินคา ที่ซึ่งเปนไปตามความสำคัญของอัตราสวนจำนวนรอบรับสินคาตอ
จำนวนรอบสงสินคา จะตองมีขอมูลประกอบการพิจารณาดังนี้ จำนวนรอบการเขาออกของสินคาแตละ
ประเภทที่จัดในคลังเก็บสินคา เริ่มตนที่การเก็บขอมูลปริมาณสินคารับเขาทั้งหมด คำนวณจำนวนรอบ
ทั้งหมดของการรับเขา และเก็บขอมูลปริมาณขนาดสั่งของลูกคาเฉลี่ยเพื่อนำไปใชในการคำนวณจำนวนรอบ
เฉลี่ยของการเบิกสินคา คำนวณคาอัตราสวนระหวางจำนวนรอบรับสินคาตอจำนวนรอบสงสินคา ในการจัด
แผนผังในคลังจัดเก็บสินคาประเภทที่ไดคาอัตราสวนระหวางจำนวนรอบรับสินคาตอจำนวนรอบสงสินคา
ผลลัพธการคำนวณถามากกวา 1 ควรทำการจัดวางใกลกับตำแหนงที่มีการรับสินคาเขา (Receiving) และ
สินคาที่มีคาอัตราสวนระหวางจำนวนรอบรับสินคาตอจำนวนรอบสงสินคานอยกวา 1 ควรวางใกลกับ
ตำแหนงที่มีการสงสินคาออกจากคลังจัดเก็บ (Shipping)
ตัวอยาง 5.3
จงกำหนดตำแหน งวางผลิ ตภั ณฑ A-H โดยมีส มมติฐ านวา 1 ช อง สามารถกำหนดประเภทสิน คาวาง
ตำแหนงได 1 ประเภทสินคา และมีชองวางสินคาทั้งหมด 8 ชอง โดยสินคาจะถูกจัดวางลงในแผนผังคลัง
เก็บสินคาตามรูปที่ 5.9กำหนดใหขอมูลการรับเขา – และการเบิกออกของสินคามีขอมูลตามตารางที่ 5.2

134
H F D B

Receive Main Aisle Ship

G A C E

รูปที่ 5.9 แสดงผังคลังเก็บสินคาที่มีพื้นที่วางจำนวน 8 ชอง


การวิเคราะหปญหา เมื่อทำการคำนวณหาคาอัตราสวนอัตราสวนจำนวนรอบรับสินคาตอจำนวน
รอบสงสินคา (Receiving/shipping Ratio) ตามแสดงการคำนวณในตารางที่ 5.3 เรียบรอยแลวจากนั้นทำ
การจัดเรียงตำแหนงของสินคาดังนี้ ตัวเลขผลลัพธการคำนวณที่มีคานอย สินคาประเภทนั้น ๆ จะจัดวางใน
ตำแหนงใกลกับทางออก และในสวนของตัวเลขผลลัพธการคำนวณที่มีคามาก สินคาประเภทนั้น ๆ จะจัด
วางในตำแหนงใกลกับทางเขา มีลักษณะการวางเปนไปตามแผนผังดังรูปที่ 5.10
ตารางที่ 5.2 แสดงขอมูลนำเขาสำหรับปริมาณสินคาแตละประเภทที่รับเขา และความตองการเฉลี่ยที่ลูกคา
สั่งเบิกสินคาตอรอบ
ปริมาณตอ การรับ จำนวนรอบรับ จำนวนรอบ
ผลิตภัณฑ สินคา สินคา คาเฉลี่ยลูกคาสั่งสินคา ขนสงออก
A 40 pallets 40 1.0 pallet 40
B 100 pallets 100 0.4 pallets 250
C 800 cartons 200 2.0 cartons 400
D 30 pallets 30 0.7 pallets 43
E 10 pallets 10 0.1 pallets 100
F 200 cartons 67 3.0 cartons 67
G 1000 cartons 250 8.0 cartons 125
H 1000 cartons 250 4.0 cartons 250

ตารางที ่ 5.3 แสดงการคำนวณค า อั ต ราส ว นจำนวนรอบรั บ สิ น ค า ต อ จำนวนรอบส ง สิ น ค า (the


Receiving/Shipping Ratio)
ปริมาณตอการรับ จำนวนรอบ จำนวนรอบ อัตราสวน รับสินคา/
ผลิตภัณฑ สินคา รับสินคา คาเฉลี่ยลูกคาสั่งสินคา ขนสงออก สงออก
A 40 pallets 40 1.0 pallet 40 1.0
B 100 pallets 100 0.4 pallets 250 0.4
C 800 cartons 200 2.0 cartons 400 0.5
D 30 pallets 30 0.7 pallets 43 0.7
E 10 pallets 10 0.1 pallets 100 0.1
F 200 cartons 67 3.0 cartons 67 1.0
G 1000 cartons 250 8.0 cartons 125 2.0

135
H 1000 cartons 250 4.0 cartons 250 1.0

H F D B

Receive Main Aisle Ship

G A C E

รูปที่ 5.10 แสดงการจัดวางผังคลังเก็บสินคาของสินคาประเภท A – H


5.5 แบบจำลองการจัดวางสินคาในคลังเก็บสินคา (Warehouse layout model)
การออกแบบผังการจัดวางสินคาดวยอัลกอริทึ่ม สำหรับรูปแบบการจัดวางสินคาแบบการกำหนด
ตำแหนงเฉพาะลวงหนากับแตละชนิดสินคา (Dedicate Storage) สำหรับการจัดวางสินคาที่มีทางเขา-ออก
มากกวาหนึ่งชองทาง การวิเคราะหการจัดวางที่ดีขึ้นอยูกับระยะทางรวมในการเขา – ออกของสินคาคงคลัง
ดังนั้นแนวคิดของอัลกอริ ทึ่มอาศัยการกำหนดลำดับ ความสำคัญของสิน คาและการกำหนดตำแหนง ที่
เหมาะสมเพื่อที่จะเขาใกลทางเขา-ออกใหมากที่สุด สำหรับขั้นตอนการจัดวางสินคาของอัลกอริทึ่มเปน
วิธีการระบุตำแหนงของแตละสินคาอยางชัดเจน โดยขั้นแรกจะตองทำการคำนวณระยะทางจากตำแหนง
ชองทางเขา - ออกแตละชองทาง ไปยังทุกตำแหนงของชองวางสินคา โดยการวัดระยะทางใหคำนวณ
ระยะทางไปยังตำแหนงที่กี่งกลางของแตละชองเก็บสินคา การอธิบายอัลกอริทึ่มแสดงดวยตัวอยางผั ง
คลังสินคาดังรูปที่ 5.11 ที่ซึ่งแตละชองตารางแทนชองวางสินคา สมมติฐานใหมีชองทางเขา – ออก เปน Pi
ที่ซึ่ง i = 1, 2, .., i จากตัวอยางในรูปที่ 5.11 มีจำนวนชองวางสินคาทั้งหมด 4 ชองทาง ไดแก P1, P2, P3
และ P4 การคำนวณระยะระหวางชองทางเขาออก Pi ไปถึงชองวางสินคา k พิจารณาตำแหนงที่ชองสินคา k
ทีต่ ำแหนงกึ่งกลางกลางของชองเก็บสินคา ยกตัวอยางเชน ระยะทางจากชองทางเขา-ออก P1 ไปยังชองวาง
สินคา k = 1 เปนระยะทางเทากับ 2 ชอง และ ระยะทางจากชองทางเขา-ออก P1 ไปยังชองวางสินคา k =
4 เปนระยะทางเทากับ 6 ชอง เปนตน
คำจำกัดความและพารามิเตอร
N จำนวนตำแหนงเก็บสินคาทั้งหมด
J จำนวนสินคาทั้งหมด
i จำนวนทางเขา - ออกทั้งหมด
k ตำแหนงเก็บสินคา แทนดวย k = 1, 2, 3, …, N
j ชนิดผลิตภัณฑ แทนดวย j = A, B, C, …
i ชองทางเขา - ออก แทนดวย i = 1, 2, 3, … I

136
ระยะทางจากเซลล 1 (k = 1) to p1 ระยะทางจากเซลล 4 (k = 4) to p1
ตำแหนง เขา/ออก

Sn storage P3
P1 bays for
product N
ตำแหนง เขา/ออก
P2 P4
S1 storage bays for
product 1

รูปที่ 5.11 แสดงผังคลังเก็บสินคาสำหรับการจัดวางสินคาแบบเฉพาะสัมพันธกับระยะทางจากทางเขา –


ออกของสินคาไปยังตำแหนงจัดเก็บสินคาชองตางๆ
นอกจากขอมูลระยะทางจากชองทางเขา – ออก ไปยังชองวางสินคาแตละชองเก็บสินคาแลว
อัลกอริทึ่มนี้ยังตองการขอมูลการวิเคราะหที่ตองประกอบไปดวยความถี่ในการเขา-ออก ของสินคาแตละ
ประเภท รวมถึงความตองการของพื้นที่วางที่ตองการของแตละประเภทสินคา จุดประสงคของการจัด
คลังสินคาเพื่อใหไดผลรวมระยะทางที่นอยที่สุดของระยะทางจากทางเขา- ออกไปยังแตละตำแหนงเก็บ
สินคา fk ที่ซึ่ง การคำนวณคาน้ำหนักของชองวางสินคาแตละชองวางสินคา k คำนวณจากผลรวมของระยะ
ทางเขา-ออก สำหรับชองเก็บสินคา k เมื่อมีชองทางเขา – ออกมากกวาหนึ่งชองทาง โดยที่ระยะทางจาก
ชองทางเขา-ออก i ไปยังชองเก็บสินคา k เปน dik คูณกับคาความถี่ในการเขา - ออกจากชองทาง i คิดเปน
อัตราสวน pi จากจำนวนการเขา-ออกทุ กช องทางเขา-ออก จะไดสมการจุดประสงคในการคำนวณค า
น้ำหนักของแตละชองวางสินคา k แสดงดังสมการที่ 5.1
m
f k = ∑ pi dik (5.1)
i =1

จากรูปที่ 5.12 แสดงตัวอยางการกำหนดตัวแปรสำหรับการวิเคราะหคาน้ำหนักของแตละชองวาง


สินคา k ซึ่งตองมีการคำนวณระยะทาง dik โดยในรูปยกตัวอยางการคำนวณระยะระหวางชองทางเขาออก
P2 ไปถึงชองวางสินคา k เปนตัวแปร d2k ที่ซึ่งผลลัพธการคำนวณมีคาเทากับ 3 ชอง
Location k

P1 P3
P2 P4

d2k : Distance from p2 to Lacation k

137
รูปที่ 5.12 แสดงการคำนวณระยะทาง dik ไปถึงชองวางสินคา k
ขั้นตอนในการออกแบบการจัดวางผังในคลังสินคามีดังตอไปนี้ แบงเปน 3 ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 1: จัดเรียงความสำคัญของสินคา มี 2 ขั้นตอน
T
1) คำนวณคาน้ำหนักความสำคัญของสินคาแตละประเภท j โดยใชคาน้ำหนัก j ที่ซึ่ง Tj คือ ความ
Sj
ตองการสินคา j ที่ตองการการเขา-ออกทั้งหมดตอเดือน (Loads per month) และ Sj คือ ความ
ตองการพื้นที่วางหรือชองวางสินคาของสินคา j
2) ทำการจัดเรียงลำดับของสินคา j โดยทำการจัดเรียงจากคาน้ำหนักจากมากไปหานอย ตามอสมการที่
(5.2) ที่ซึ่งเราจะใหความสำคัญกับสินคา j ที่มีคาน้ำหนักมากจัดเรียงกอน
T1 T2 Tn
≥ ≥. . . . . . ≥ (5.2)
S1 S2 Sn

ขั้นตอนที่ 2: จัดเรียงความสำคัญของตำแหนงชองวางสินคา มี 2 ขั้นตอน


1) คำนวณคาน้ำหนักความสำคัญของตำแหนงชองวางสินคา k โดยใชสมการที่ (5.1) ซึ่งแตละชองวาง
สินคามีคาน้ำหนักเทากับผลรวมของระยะจากทุกชองทางเขา-ออก i ไปยังชองเก็บสินคา k คูณกับคา
สัดสวนการใชงานชองทางเขา- ออก pi นั้น ๆ
2) ทำการจัดเรียงลำดับของตำแหนงชองวางสินคา k โดยทำการจัดเรียงจากคาน้ำหนักจากช องวาง
สินคาที่มี fk นอยที่สุดกอน จัดเรียงไปยังชองวางสินคาที่มี fk มากตามลำดับ
T
ขั้นตอนที่ 3: ทำการจัดวางสินคาที่มีคาน้ำหนักความสำคัญมากกอน นั่นคือ สินคาที่มีคา j มากที่สุด โดย
Sj
จัดวางลงในตำแหนงชองวางสินคาที่มีคาน้ำหนักนอยที่สุดกอน นั่นคือ ชองวางสินคาที่มีคา fk นอยที่สุด
หากวางไมพอใหวางที่ชองวางสินคาที่มีคาน้ำหนักนอยรองลงมา และเรียงสินคาถัดไปที่มีคาน้ำหนักมากใน
ลำดับถัดไป ทำการเรียงไปเรื่อย ๆ จนกระทั้งทุกสินคา j ถูกจัดวางตำแหนงที่ชองวางสินคาทั้งหมด ซึ่ง
เปนไปไดวาชองวางสินคา k บางชองอาจจะไมถูกจัดวางสินคา เราจะเก็บไวเปนชองวางสินคาเผื่อสำหรับ
กรณีจัดวางไมเพียงพอ
ตัวอยางที่ 5.4
วิศวกรตองการออกแบบการจัดวางสินคาในคลังสินคา กำหนดใหภายในคลังสินคามีชองทางเขา - ออก
ทั้งหมด 4 ชองทาง คือ ชองทาง P1 และ P2 ใชอุปกรณขนสงเขา – ออกดวยรถเข็น คิดเปนสัดสวน 60%
ของการขนสินคาเขา - ออก ทั้งหมด โดยที่การใชงานของชองทางเขา - ออก P1 และ P2 มีการใชงานเทา ๆ
กัน ขณะทีอ่ ีก 2 ชองทางเขา - ออก นั่นคือ คือ ชองทาง P3 และ P4 ใชอุปกรณขนสงเขา – ออกดวยรถราง
คิดเปนสัดสวน 40% ของการขนสินคาเขา - ออก ทั้งหมด โดยที่การใชงานของชองทางเขา - ออก P3 และ
P4 มีการใชงานเทา ๆ กัน วิศวกรตองการจัดวางสินคาจำนวน 3 ประเภท ไดแก สินคาประเภท A ซึ่ง
ตองการพื้นที่วางสินคา 3600 ft2 และมีจำนวนความตองการการเขา-ออกทั้งหมดตอเดือน 750 ชิ้นงานตอ
เดือน (Loads per month), สินคาประเภท Bซึ่งตองการพื้นที่วางสินคา 6400 ft2 และมีจำนวนความ
ตองการการเขา-ออกทั้งหมดตอเดือน 900 ชิ้นงานตอเดือน (Loads per month), และ สินคาประเภท C
ซึ่งตองการพื้นที่วางสินคา 4000 ft2 และมีจำนวนความตองการการเขา-ออกทั้งหมดตอเดือน 800 ชิ้นงาน

138
ตอเดือน (Loads per month) พื้นที่ชองวางสินคาในคลังเก็บสินคามีลักษณะตามรูปที่ 5.13 ซึ่งมีความ
กวาง 160 ft คิดเปนชองวางสินคาจำนวน 8 ชองวางสินคา แตละชองกวาง 20 ft ขณะที่ความยาว 100 ft
คิดเปนชองวางสินคาจำนวน 5 ชองวางสินคา แตละชองกวาง 20 ft จงแสดงวิธีการของอัลกอริทึ่มของ
แบบจำลองการจัดวางสินคาในคลังเก็บสินคา (Warehouse layout model)

P1 P3
P2 P4

20'
20'

รูปที่ 5.13 แสดงพื้นที่ของชองวางสินคาในคลังเก็บสินคา


ขั้นตอนที่ 1 :จัดเรียงความสำคัญของสินคา
1) คำนวณจำนวนชองวางสินคาที่ตองการของสินคา j หาได ดังนี้
3600
=
SA = 9
400
6400
=
SB = 16
400
4000
=
SC = 10
400
3600
=
SA = 9
400

คำนวณคาน้ำหนักความสำคัญของสินคา j จากสมการ Tj/Sj ของแตละผลิตภัณฑ ไดผลการ


คำนวณดังนี้
TA 750
= = 83.33
SA 9
TB 900
= = 56.25
S B 16
TC 800
= = 80
SC 10

2) จัดเรียงคาน้ำหนักความสำคัญของสินคาทั้ง 3 ประเภทโดยเรียงจากมากไปหานอย โดยใชอสมการ


ที่ (5.2) เรียงลำดับความตองการเปนดังนี้ สินคา A ตองการมากที่สุดจากนั้นตามดวยสินคา B และ
สินคา Cตามลำดับ
TA TC TB
≥ ≥
S A SC S B

139
ขั้นตอนที่ 2: จัดเรียงความสำคัญของตำแหนงชองวางสินคา
1) คำนวณคาน้ำหนักของแตละตำแหนงชองวางสินคา k โดยใชสมการที่ (5.1) จะไดคาน้ำหนักแตละ
ตำแหนง fk ในที่นี้จะแสดงการคำนวณโดยการยกตัวอยาง คาน้ำหนักของตำแหนงชองวางสินคา
ตำแหนงที่ 1 (k= 1) และตำแหนงชองวางสินคาตำแหนงที่ 29 (k=29)
m
f k = ∑ pi d ik
i=1

f1 = 0.3* 40 + 0.3* 60 + 0.2 *180 + 0.2 * 200 = 106


f 29 = 0.3*120 + 0.3*100 + 0.2 *100 + 0.2 *80 = 102

ผลของการคำนวณ คาน้ำหนักของแตละตำแหนงชองวางสินคา fk ทุกชองวางสินคาแสดงดังรูปที่ 5.14

1061 1102 1143 1184 1225 1266 1307 1348


W1=0.3P1 869 9010 9411 9812 10213 10614 11015 11416 P3W3=0.2
W2=0.3P2 7617 8018 8419 8820 9221 9622 10023 10424 P4W4=0.2
8625 9026 9427 9828 10229 10630 11031 11432
10633 11034 11435 11836 12237 12638 13039 13440
รูปที่ 5.14 แสดงน้ำหนักคะแนนของแตละชองเก็บสินคาในคลังเก็บสินคา
2) จัดเรียงความสำคัญของตำแหนงชองวางสินคาโดยเรียงจากนอยไปหามาก จะไดวาชองวางสินคาที่
นอยที่สุดคือ ชองวางสินคาที่ 17 เรียงลำดับไปจนถึงชองวางสินคาที่มีคาน้ำหนักมากที่สุดคือ ชอง
วางสินคาที่ 40 จะไดผลการจัดเรียงดังนี้
17 ≤ 18 ≤ 19 ≤ 9 ≤ … ≤ 8 ≤ 40
ขั้นตอนที่ 3: ทำการจัดสรรวางสินคาที่มีคาน้ำหนักมาก ไปยังตำแหนงชองวางสินคาที่มีคาน้ำหนักนอยที่สุด
กอน เรียงลำดับไปเรื่อย ๆ ตามลำดับ โดยที่แตละประเภทสินคาจะตองการพื้นที่ของชองวางสินคาตาม
จำนวนที่คำนวณไดของคา Sj ซึ่งไดแก สินคา A ตองการ 9 ชองวางสินคา, สินคา B ตองการ 16 ชองวาง
สินคา และสินคา C ตองการ 10 ชองวางสินคา ตองที่จัดเรียงไวในขั้นตอนที่ 1 และขั้นตอนที่ 2 จะไดผล
การจัดเรียงตามตารางที่ 5.4 และไดผลลัพธการจัดวางสินคาแตละประเภท

140
ตารางที่ 5.4 แสดงการจัดสรรสินคาทั้ง 3 ประเภทไปยังตำแหนงชองวางสินคาตาง ๆ ในคลังเก็บสินคา
Cell# Fj Product Cell# Fj Product Cell# Fj Product Cell# Fj Product
17 76 A 11 94 C 14 106 B 38 126
18 80 A 27 94 C 30 106 B 7 130
19 84 A 22 96 C 33 106 B 39 130
9 85 A 12 98 C 2 110 B 8 134
25 86 A 28 98 C 15 110 B 40 134
20 88 A 23 100 C 31 110 B
10 90 A 13 102 C 34 110 B
26 90 A 29 102 C 3 114 B
21 12 A 24 104 C 16 114 B
1 106 C 32 114 B
35 114 B
4 118 B
36 118 B
5 122 B
37 122 B
6 126 B

C B B B B B
P1 A A C C C B B B P3
P2 A A A A A C C C P4
A A C C C B B B
B B B B B

รูปที่ 5.15 แสดงผลลัพธการจัดวางสินคาของตัวอยางที่ 5.4

141
แบบฝกหัด

1. จากการวิ เ คราะห การจั ดวางสิน คาในคลังสินคาและประเภทของการเก็บ สิน คา (Dedicated หรื อ


Randomized หรือ แบบผสม (Combination)) จงวิเคราะห และอภิปรายวิธีการกำหนดพื้นที่ในการ
จัดวางสินคาที่แบงประเภทความสำคัญดวยวิธีการ ABC และแนวทางในการกำหนดพื้นที่วางเพื่อจัดวาง
สินคาที่มีความสำคัญแตกตางกัน A, B และ C สัมพันธกับประเภทของการเก็บสินคา (Dedicated หรือ
Randomized หรือ แบบผสม (Combination))

2. จงอภิปรายเกณฑการวัดประสิทธิภาพของการจัดการคลังสินคาที่สัมพันธกับเกณฑระหวาง Utilization
และ เกณฑ Accessibility ?

3. จงอภิปรายการจัดวางสินคาโดยพิจารณาเกณฑ Popularity ที่เกี่ยวของกับ ผลกระทบของการจัดวาง


สินคาในแนวลึกและระยะทางในการเขาถึงสินคา มีผลกระทบที่สัมพันธกันอยางไร

4. ในการกำหนดพื้นที่วางสำหรับจัดวางสินคาในคลังสินคา เมื่อวิศวกรเลือกใชวิธีการกำหนดพื้นที่วางจาก
ปริมาณสินคาที่มากที่สุด (Maximum quantities of unit loads) วิศวกรตองเตรียมขอมูลนำเข าใน
การคำนวณพื้นที่วางของสินคาที่ตองการเก็บแตละประเภท อะไรบาง และสูตรที่ใชในการคำนวณทำ
อยางไร

5. เชนเดียวกันกับปญหาขอ (3) หากวิศวกรเลือกใชวิธีการกำหนดพื้นที่วางจากปริมาณสินคาเฉลี่ยเพื่อเก็บ


(Average quantities of unit loads) วิศวกรตองเตรียมขอมูลนำเขาในการคำนวณพื้นที่วางของสินคา
ที่ตองการเก็บแตละประเภท อะไรบาง และสูตรที่ใชในการคำนวณทำอยางไร

6. พิจารณาสินคา 3 ชนิด ที่สามารถขายไดปริมาณแตกตางกันดังตารางดานลาง


ความตองการทั้งป (หนวย) ปริมาณครั้งของการสั่งทั้งป ขนาดสินคา (Unit cube)
สินคา (Annual request)
A 100 หนวย 25 ครั้ง 1 ลูกบาศกฟุต
B 50 หนวย 5 ครั้ง 0.5 ลูกบาศกฟุต
C 200 หนวย 16 ครั้ง 2 ลูกบาศกฟุต

a จงคำนวณหาปริมาณความตองการพื้นที่เก็บเฉลี่ยของสินคาทั้ง 3 และพื้นที่ที่ตองเพื่อเก็บสินคาแต
ละชนิด (ลูกบาศกฟุต)
b จงคำนวณหาปริมาณความตองการพื้นที่เก็บมากที่สุดเทาที่เปนไปไดของสินคาทั้ง 3 และพื้นที่ที่ตอง
เพื่อเก็บสินคาแตละชนิด (ลูกบาศกฟุต)
c ถามีพื้นที่วาง 20 ลูกบาศกฟุต สำหรับเก็บสินคาประเภท C จงคำนวณหาจำนวนครั้งในการเติม
สินคาในหนึ่งป

142
7. กำหนดพื้นที่วางสินคาในคลังเก็บสินคาตามรูปที่ 5.7 จงออกแบบ ตำแหนงในการวางสินคาแตละ
ประเภทในคลังเก็บสินคานี้
ปริมาณ คาเฉลี่ยปริมาณ
ปริมาณสินคา ตอ จำนวนรอบการ จำนวนรอบการ
ผลิตภัณฑ ผลผลิต ลูกคาสั่งซื้อ
การรับ (pallets) รับสินคา (ครั้ง) สงสินคา (ครั้ง)
(pallets)
A สูง 300 300 2.0 150
B ต่ำ 200 50 4.0 50
C ต่ำ 10 10 0.2 50
D สูง 400 400 0.5 800
E สูง 6000 1000 10.0 600
F ต่ำ 40 40 2.0 20
G สูง 200 200 1.0 200
H สูง 9000 2250 5.0 1800
I ต่ำ 50 50 1.0 50
J สูง 500 500 0.7 715
K ต่ำ 80 80 2.0 40
L สูง 400 400 1.0 400
M สูง 7000 1167 3.0 2334
N ต่ำ 700 140 7.0 100

8. กำหนดให คลั ง เก็ บ สิ น ค า ด า นล า งมีช  อ งทางรั บ สิน คา เขา (Receive) 1 ช องทาง และช องทางส ง
สินคาออก (Ship) 1 ชองทาง แสดงดังรูปดานลาง ถาผลิตภัณฑนมมี 8 ผลิตภัณฑ แสดงรายละเอียดดัง
ตารางดานลาง ซึ่ง คอลัมภ 1 แสดงปริมาณรับเขาตอครั้ง (Quantity per receipt), คอลัมภ 2 แสดง
จำนวนรอบรับเขา (Trips to receive), คอลัมภ 3 แสดงปริมาณเฉลี่ยที่ลูกคาสั่ง (Average customers
order size) และ คอลัมภ 4 แสดงจำนวนรอบการสงสินคาออก (Trips to ship) จงออกแบบ ตำแหนง
ในการวางสินคาแตละประเภทในคลังเก็บสินคา (Warehouse Layout)

Receive

Main – Aisle

Ship

143
คาเฉลี่ยปริมาณ
ปริมาณสินคา ตอ จำนวนรอบการรับ จำนวนรอบการสง
ผลิตภัณฑ ลูกคาสั่งซื้อ
การรับ (แกลลอน) สินคา (ครั้ง) สินคา (ครั้ง)
(แกลลอน)
A1 700 140 10
A2 500 80 6
B1 400 80 10
B2 150 30 4
B3 470 50 10
C1 630 120 4
C2 500 60 4
D1 740 100 8

9. กำหนดใหคลังเก็บสินคา (Warehouse) ดานลางมีชองทาง 4 ชองทาง (4 docks) ซึ่งชองทาง (Docks)


P1 และ P2 เปนชองทางสงสิน ค าเขา-ออก ดวยรถ Truck (68% ของการขนยายทั้ งหมด (all the
movement) ที่แตละชองทาง P1 และ P2 มีการใชงานเทาๆ กัน) ขณะที่ชองทาง (Docks) P3 และ P4
ใชการขนสงแบบราง (Rail delivery ใชงาน 32% ของการยายทั ้งหมด โดยแบงเปนการขนยายที่
ชองทาง P3 และ P4 เทาๆ กัน) ถาผลิตภัณฑนมมี 3 ผลิตภัณฑ คือ Product A (2500 ft2 โดยมีจำนวน
70 loads ตอเดือน), Product B (1250 ft2 โดยมีจำนวน 80 loads ตอเดือน), และ Product C (625
ft2 โดยมีจำนวน 50 loads ตอเดือน) แตละผลิตภัณฑควรมีการจัดเก็บในคลังสินคาตำแหนงใด ให
ออกแบบการจั ดวางสิ น ค า ในคลั งเก็บ สิน คาโดยใช แบบจำลองการจัดวางสิน คาในคลังเก็บ สิน คา
(Warehouse layout model)
P1 P3
1 3 5 7

2 4 6 8 25 ft
P2 P4
25 ft
ระยะทางจาก ชองทาง 4 ชองทาง (4 docks) ไปยังจุดเก็บที่คลังเก็บสินคา ทั้ง 8 ชอง
ระยะทาง (Distances) ชองเก็บที่ คลังเก็บสินคา (inch)
ชองทาง (Docks ) 1 2 3 4 5 6 7 8
P1 1 2 2 3 3 4 4 5
P2 2 1 3 2 4 3 5 4
P3 4 5 3 4 2 3 1 2
P4 5 4 4 3 3 2 2 1

10.กำหนดใหคลังเก็บสินคาดานลางมีชองทาง 4 ชองทาง (4 docks) ซึ่งชองทาง (Docks) P1 และ P2


เป น ช อ งทางส ง สิ น ค า เข า -ออก ด ว ยรถบรรทุ ก (Truck) 56% ของการขนย า ยทั ้ ง หมด (All the
movement) ที่แตละชองทาง P1 และ P2 มีการใชงานเทาๆ กัน) ขณะที่ชองทาง (Docks) P3 และ P4
ใชการขนส งแบบราง (Rail delivery ใชงาน 44% ของการยายทั้ งหมด โดยแบงเปน การขนย ายที่
ชองทาง P3 และ P4 เทาๆ กัน) ถาผลิตภัณฑมี 4 ชนิด คือ ผลิตภัณฑ A (900 ft2 โดยมีจำนวน 30 ครั้ง

144
ตอเดือน), ผลิตภัณฑ B (4500 ตารางฟุต(ft2) โดยมีจำนวน 40 ครั้ง ตอเดือน), ผลิตภัณฑ C (1800
ตารางฟุต(ft2) โดยมีจำนวน 50 ครั้ง ตอเดือน) และ ผลิตภัณฑ D (3600 ตารางฟุต(ft2) โดยมีจำนวน
30 ครั้ง ตอเดือน) แตละผลิตภัณฑควรมีการจัดเก็บในคลังเก็บสินคาตำแหนงใด ๆ ใหออกแบบการจัด
วางสินคาในคลังเก็บสินคา (Warehouse layout) จากขอมูลขางลาง ใหจัดผังการจัดวาง ผลิตภัณฑทั้ง
4 ชนิดลงในผังตำแหนงของคลังเก็บสินคา (Warehouse)
P1 P3
1 3 5 7

2 4 6 8

9 10 11 12
30 ft
P2 P4
30 ft
ระยะทางจาก ชองทาง 4 ชองทาง (4 docks) ไปยังจุดเก็บที่ คลังเก็บสินคา ใหขอมูลครึ่งหนึ่งของขอมูล
ระยะทางทั้งหมด ดังนั้นให นศ. คำนวณหาระยะทางสวนที่เหลือ (30 ฟุต (ft) : 1)

ระยะทาง ชองเก็บที่ คลังเก็บสินคา


(Distances)
ชองทาง (Docks ) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
P1 1 2 2 3 3 4
P2 6 5 1 2 3 4
P3 4 5 3 4 2 3
P4 3 2 4 3 2 1

145

You might also like