You are on page 1of 81

การสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์พืช

(Seed Sampling)
การฝึกอบรมตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์พืชควบคุม
วันที่ 9 กรกฎาคม 2561

นางสาวกัณทิมา ทองศรี นักวิชาการเกษตรชานาญการ


ศูนย์วิจัยพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชพิษณุโลก กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตร
การสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ (Seed Sampling)

 ซึ่งเป็นงานที่ต้องทาควบคู่กับการผลิตเมล็ดพันธุ์
สามารถดาเนินการตั้งแต่การปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์
การเก็บรักษา การขนส่ง การจาหน่าย จ่ายแจกเมล็ดพันธุ์
ตลอดจนถึงการควบคุมการนาเข้า และส่งออก เป็นต้น
การสุ่มตัวอย่างตามขั้นตอนการผลิตเมล็ดพันธุ์
3 4 5
กะเทาะและทาความสะอาด ลดความชื้นเบื้องต้น ทาความสะอาด+เกรดเมล็ด
(Threshing-Cleaning) (Pre-drying) (Cleaning & grading)

2 8 เก็บรักษา 6
ตาก ลดความชื้น
(Sun drying) (Storage) (Drying)
9
ขนส่ง 7
1 ฝักจากแปลง บรรจุถุง
(Shipping)
(Pod from the field) (Packaging-weighing-labeling)
10
เมล็ดพันธุ์ควบคุมเพื่อการค้า
(Export-Import )
การสุ่มตัวอย่างตามขั้นตอนการผลิตเมล็ดพันธุ์
3 4 5
กะเทาะและทาความสะอาด ลดความชื้นเบื้องต้น ทาความสะอาด+เกรดเมล็ด
(Threshing-Cleaning) (Pre-drying) (Cleaning & grading)

2 8 เก็บรักษา 6
ตาก ลดความชื้น
(Sun drying) (Storage) (Drying)
9
ขนส่ง 7
1 ฝักจากแปลง บรรจุถุง
(Shipping)
(Pod from the field) (Packaging-weighing-labeling)
10
เมล็ดพันธุ์ควบคุมเพื่อการค้า
(Export-Import )
การสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ (Seed Sampling)

 เป็นการสุ่มเก็บตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ที่เป็นตัวแทนของเมล็ดพันธุ์ทั้งหมด
ที่มีจานวนอยู่มาก เมื่อเทียบกับเมล็ดพันธุ์ทั้งกอง (Lot) เพื่อให้ได้ผลการ
ตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ที่ถูกต้องแม่นยามากที่สุด
 เป็นการสุ่มตัวแทนของเมล็ดภายในกองเมล็ดพันธุ์
เพื่อส่งตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์
การสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ (Seed Sampling)
 เพื่อให้ได้ปริมาณเมล็ดพันธุ์ที่พอเหมาะและเป็นตัวแทนของเมล็ดพันธุ์
(Seed Lot) สาหรับตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ของกองนั้นได้อย่างชัดเจน
 เพื่อที่จะให้ได้ผลการตรวจสอบคุณภาพที่ถูกต้องแม่นยามากที่สุด
จึงจาเป็นที่จะต้องได้ตัวแทนเมล็ดพันธุ์ที่ถูกต้อง ที่มีลักษณะเช่นเดียวกับ
เมล็ดพันธุ์ทั้งหมด
การสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ (Seed Sampling)

 เพื่อที่จะให้ผลการตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์มีค่าใกล้เคียงและแน่นอนยิ่งขึ้น
เก็บตัวอย่างเมล็ดพันธุ์อย่างรอบคอบและปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่วางไว้
สมาคมทดสอบเมล็ดพันธุ์นานาชาติ
(https://www.seedtest.org/en/home.html)
การสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ตามมาตรฐาน ISTA

รับรองเฉพาะตัวอย่างเมล็ดพันธุ์
(Just only sample)

รับรองตัวอย่างกองเมล็ดพันธุ์ (Lot)
(Just sample lot)
วิธีการสุ่มเก็บตัวอย่างเมล็ดพันธุ์
 ตัวอย่างขั้นต้น (primary sample) หมายถึง
เมล็ดพันธุ์ที่สุ่มจาก 1 จุด แผนผังขั้นตอนการสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์
 ตัวอย่างรวม (composite sample) หมายถึง
ตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ที่ได้จากการรวมตัวอย่าง ขั้นต้น ภายในอาคาร
ทั้งหมด ตัวอย่างที่รวมนี้จะมีจานวนมากกว่าที่จะใช้ใน เก็บรักษาเมล็ดพันธุ์
การตรวจสอบคุณภาพฯ จึงจาเป็นต้องลดจานวนลง
 ตัวอย่างนาส่ง (submitted sample) หมายถึง
ตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ที่นาส่งห้องปฏิบัติการ โดยอาจส่ง
ทั้งหมดหรือบางส่วนของตัวอย่างรวมก็ได้
 ตัวอย่างซ้า (duplicate sample) หมายถึง
ตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ซ้าเป็นชุดเดียวกันกับตัวอย่างรวม
(composite sample) ใช้สาหรับอ้างอิงตัวอย่าง
 ตัวอย่างทดสอบ (working sample) หมายถึง
ตัวอย่างที่ถูกแบ่งออกจากตัวอย่างนาส่ง แผนผังขั้นตอนการสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์
เพื่อให้มีปริมาณที่เหมาะสมสาหรับการตรวจสอบ
ภายในห้องปฏิบัติการ
ตรวจสอบคุณภาพฯ
ขั้นตอนการสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ตามมาตรฐาน ISTA
1. ก่อนดาเนินการสุ่ม พิจารณคาร้องของการสุ่ม
เพื่อไปตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์
 เจ้าหน้าที่สุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ต้องได้รับเอกสารใบคาร้องขอดาเนินการสุ่ม
และตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์
 โดยพิจารณาและทบทวนข้อมูลของลูกค้าในใบคาร้องก่อนดาเนินการออกไปสุ่ม
เช่น ชื่อบริษัท ชนิดพืช ชนิดพันธุ์ หมายเลขกอง ขนาดกองเมล็ดพันธุ์
จานวนภาชนะบรรจุ การคลุกเมล็ดพันธุ์ วิธีการตรวจสอบ และการส่งตัวอย่าง
ให้ห้องปฏิบัติการใดตรวจสอบ เป็นต้น
2. การพิจารณาขนาดและน้าหนักกองเมล็ดพันธุ์

 กองเมล็ดพันธุ์ (Lot) ต้องมีขนาดหรือน้าหนักกองที่กาหนด


ตาม Chapter 2: Sampling Table 2A Part 1. Lot size: agricultural
and vegetable seeds
นา้ หน ักสูงสุด นา้ หน ักขนต
ั้ า
่ นา้ หน ักขนตั้ า

ื่ พืช
ชอ ของกองเมล็ ดพ ันธุ ์ ของต ัวอย่างนาสง ่ ของต ัวอย่างทดสอบ
(กิโลกร ัม) (กร ัม) (กร ัม)

กะหลา
่ ปลี (Cabbage) 10,000 100 10
คะน้า (Chinese kale) 10,000 100 10
ผ ักกาดกวางตุง้ (Edible rape) 10,000 70 7
ผ ักกาดขาว (Chinese cabbage) 10,000 70 7
้ นู (Bird chill)
พริกขีห 10,000 150 15
แตงกวา (Cucumber) 10,000 150 70
แตงโม (Watermelon) 20,000 1,000 250
มะเขือเทศ (Tomato) 10,000 15 7
มะเขือยาว (Eggplant) 10,000 150 15
มะเขือเปราะ (Round eggplant) 10,000 15 7
ข้าว (Rice) 30,000 700 70
ถวเหลื
่ั อง (Soy Bean) 30,000 1,000 500
ถวเขี
่ ั ยว (Mung Bean) 30,000 1,000 120
ข้าวโพด (Maize, Corn) 40,000 1,000 900
นา้ หน ักสูงสุด นา้ หน ักขนต
ั้ า
่ นา้ หน ักขนตั้ า

ื่ พืช
ชอ ของกองเมล็ ดพ ันธุ ์ ของต ัวอย่างนาสง ่ ของต ัวอย่างทดสอบ
(กิโลกร ัม) (กร ัม) (กร ัม)

กะหลา
่ ปลี (Cabbage) 10,000 100 10
คะน้า (Chinese kale) 10,000 100 10
ผ ักกาดกวางตุง้ (Edible rape) 10,000 70 7
ผ ักกาดขาว (Chinese cabbage) 10,000 70 7
้ นู (Bird chill)
พริกขีห 10,000 150 15
แตงกวา (Cucumber) 10,000 150 70
แตงโม (Watermelon) 20,000 1,000 250
มะเขือเทศ (Tomato) 10,000 15 7
มะเขือยาว (Eggplant) 10,000 150 15
มะเขือเปราะ (Round eggplant) 10,000 15 7
ข้าว (Rice) 30,000 700 70
ถวเหลื
่ั อง (Soy Bean) 30,000 1,000 500
ถวเขี
่ ั ยว (Mung Bean) 30,000 1,000 120
ข้าวโพด (Maize, Corn) 40,000 1,000 900
นา้ หน ักสูงสุด นา้ หน ักขนต
ั้ า
่ นา้ หน ักขนตั้ า

ื่ พืช
ชอ ของกองเมล็ ดพ ันธุ ์ ของต ัวอย่างนาสง ่ ของต ัวอย่างทดสอบ
(กิโลกร ัม) (กร ัม) (กร ัม)

กะหลา
่ ปลี (Cabbage) 10,000 100 10
คะน้า (Chinese kale) 10,000 100 10
ผ ักกาดกวางตุง้ (Edible rape) 10,000 70 7
ผ ักกาดขาว (Chinese cabbage) 10,000 70 7
้ นู (Bird chill)
พริกขีห 10,000 150 15
แตงกวา (Cucumber) 10,000 150 70
แตงโม (Watermelon) 20,000 1,000 250
มะเขือเทศ (Tomato) 10,000 15 7
มะเขือยาว (Eggplant) 10,000 150 15
มะเขือเปราะ (Round eggplant) 10,000 15 7
ข้าว (Rice) 30,000 700 70
ถวเหลื
่ั อง (Soy Bean) 30,000 1,000 500
ถวเขี
่ ั ยว (Mung Bean) 30,000 1,000 120
ข้าวโพด (Maize, Corn) 40,000 1,000 900
2. การพิจารณาขนาดและน้าหนักกองเมล็ดพันธุ์

 กองเมล็ดพันธุ์ (Lot) อาจมีน้าหนักมากกว่าที่กาหนดไว้เล็กน้อย


สามารถมีน้าหนักมากกว่าจานวนน้าหนักสูงสุดที่กาหนดไว้ไม่เกิน 5%
 ส่วนกองเมล็ดที่มีขนาดเล็กควรมีน้าหนักเท่ากับจานวนน้าหนักสูงสุดที่กาหนด
ไว้หรือน้อยกว่าน้าหนักสูงสุดที่กาหนดไว้ 1%
น้าหนักสูงสุด น้าหนักขั้นต่า น้าหนักสูงสุด
ชื่อพืช ของกองเมล็ดพันธุ์ ของตัวอย่างนาส่ง ของกองเมล็ดพันธุ์
(กิโลกรัม) (กรัม) (กิโลกรัม+5%)
กะหล่าปลี (Cabbage) 10,000 100 10,500
แตงโม (Watermelon) 20,000 1,000 21,000
ข้าว (Rice) 30,000 700 31,500
ข้าวโพด (Maize, Corn) 40,000 1,000 42,000
2. การพิจารณาขนาดและน้าหนักกองเมล็ดพันธุ์

 ถ้าหากกองเมล็ดพันธุ์มีขนาดใหญ่มาก มีน้าหนักมากเกินกว่ากาหนดไว้
ให้แบ่งกองเมล็ดพันธุ์ออกเป็นหลายกองแต่ละกองไม่เกินที่กาหนด
และต้องทาเครื่องหมายหรือกาหนดรหัสกองเมล็ดพันธุ์ (Seed Lot Number)
ระบุกองเมล็ดพันธุ์ให้ทราบว่ามาจากกอง (Lot) เดียวกัน
3. การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการสุ่ม

 หลาวสาหรับแทงกระสอบ 2 ชนิด คือ


1) หลาวแทงกระสอบ ชนิด Nobbe Trier
สาหรับภาชนะบรรจุ ตั้งแต่ 30-50 kg
2) หลาวแทงกระสอบ ชนิด Sleeve Trier
สาหรับภาชนะบรรจุ ตั้งแต่ 50 kg เป็นต้นไป
3. การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการสุ่ม

หลาวแทงกระสอบ ชนิด Nobbe Trier


3. การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการสุ่ม

หลาวแทงกระสอบ ชนิด Sleeve Trier


3. การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการสุ่ม
3. การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการสุ่ม
เบอร์หลาว/ Probe No.
 ขนาดเบอร์หลาว Probe No. ขนาด 8, 10 mm.
สาหรับเมล็ดพันธุ์ขนาดเล็ก เช่น เมล็ดพันธุ์ผัก เมล็ดพันธุ์ธัญพืช ข้าว เป็นต้น
 ขนาดเบอร์หลาว Probe No. ขนาด 15, 20 mm.
สาหรับเมล็ดพันธุ์ขนาดปานกลางถึงใหญ่ เช่น เมล็ดพันธุ์ถั่วเขียว ถั่วเหลือง
ข้าวโพด เป็นต้น
3. การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการสุ่ม

 ภาชนะรองรับเมล็ดพันธุ์ และถังรองรับเมล็ดพันธุ์ 2 ใบ
 เครื่องชั่ง
 ถุงพลาสติกฟอยด์ซิปล็อค ใส่ตัวอย่าง
 ปากกาเขียนถุงใส่ตัวอย่าง/กรรไกร
 สติ๊กเกอร์ระบุผ่านการสุ่มตัวอย่าง และกระดาษกาวย่น
3. การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการสุ่ม

 Security clip lock และ Cable tie


3. การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการสุ่ม

 เครื่องแบ่งตัวอย่าง และ Spirit Level


3. การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการสุ่ม
 Seed Sampling Card
 ใบรายงานผลการสุ่มตัวอย่าง
Seed Sampling Report
4. ก่อนทาการสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์

 ดาเนินการตรวจสอบสภาพแวดล้อม สถานที่วางกองเมล็ดพันธุ์ต้องสะดวกใน
การเข้าไปสุ่ม แสงไฟส่องถึงสามารถมองเห็นได้ชัดเจน
4. ก่อนทาการสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์
 - เมล็ดพันธุ์ที่จะสุ่มต้องเป็น Lot เดียวกัน สถานะของตัวอย่าง Lot ที่จะสุ่มตัวอย่าง
ชัดเจน และตรงกับใบคาร้องขอสุ่มและตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ์ เช่น
- กระสอบไม่ฉีกขาดหรือมีรูรั่ว และเป็น Lot เดียวกันทั้งหมด
- Tag ระบุ Lot ติดกระสอบชัดเจนไม่ฉีกขาดและตรงกับตัวอย่าง
 ข้อสังเกต ถ้าพบวามไม่เหมาะสมและสิ่งผิดปกติของสภาพแวดล้อมที่ดาเนินการให้แจ้ง
ผู้ยื่นคาขอทราบให้ดาเนินการเคลื่อนย้ายกอง แก้ไขปรับปรุง ถ้าไม่เป็นไปตามที่ร้องขอ
ให้แจ้งยกเลิกการสุ่ม และเขียนรายงานความบกพร่องลงในรายงานผลการสุ่มตัวอย่าง
5. คานวณวิธีการสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์
(Sampling Intensity)
 วิธีดาเนินการสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ตามมาตรฐาน ISTA
การสุ่มต้องคานวณวิธีการสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ (Sampling Intensity)
โดยคานวณจานวนตัวอย่างขั้นต้น (primary sample)
จากตารางแบ่งได้ 3 ประเภท
5. คานวณวิธีการสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์
(Sampling Intensity)
 1) ภาชนะบรรจุ มีน้าหนักระหว่าง 15-100 กิโลกรัม
 ภาชนะบรรจุ เช่น กระสอบพลาสติก กระสอบพลาสติกสานเคลือบ
โดยใช้หลาวแทงสุ่มตัวอย่าง ด้านข้างของกระสอบ
จากส่วนบน ส่วนกลาง และส่วนล่างของกระสอบ
(ภาชนะบรรจุ) โดยมีอัตราในการสุ่มตัวอย่างดังนี้
1) ภาชนะบรรจุ มีน้าหนักระหว่าง 15-100 กิโลกรัม
จานวนภาชนะบรรจุ วิธีการสุ่มตัวอย่าง
1 - 4 ภาชนะบรรจุ สุ่ม 3 จุด หรือ 3 ตัวอย่างขั้นต้นจากทุกภาชนะบรรจุ
5 - 8 ภาชนะบรรจุ สุ่ม 2 จุด หรือ 2 ตัวอย่างขั้นต้นจากทุกภาชนะบรรจุ
9 - 15 ภาชนะบรรจุ สุ่ม 1 จุด หรือ 1 ตัวอย่างขั้นต้นจากทุกภาชนะบรรจุ
16 - 30 ภาชนะบรรจุ สุ่มทั้งหมด 15 จุด หรือ 15 ตัวอย่างขั้นต้น และภาชนะบรรจุที่ถูกสุ่มต้องไม่ซ้ากัน
31 - 59 ภาชนะบรรจุ สุ่มทั้งหมด 20 จุด หรือ 20 ตัวอย่างขั้นต้น และภาชนะบรรจุที่ถูกสุ่มต้องไม่ซ้ากัน
มากกว่า 60 ภาชนะบรรจุ สุ่มทั้งหมด 30 จุด หรือ 30 ตัวอย่างขั้นต้น และภาชนะบรรจุที่ถูกสุ่มต้องไม่ซ้ากัน
5. คานวณวิธีการสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์
(Sampling Intensity)
 2) ภาชนะบรรจุ มีน้าหนัก > 100 กิโลกรัม
 เมล็ดพันธุ์ที่บรรจุกระสอบขนาดใหญ่
หรือเป็นกองไม่ได้บรรจุภาชนะ
ให้สุ่มตัวอย่างตามน้าหนักเมล็ดพันธุ์ ดังนี้
2) ภาชนะบรรจุ มีน้าหนักระหว่าง > 100 กิโลกรัม
จานวนภาชนะบรรจุ วิธีการสุ่มตัวอย่าง
ไม่เกิน 500 กิโลกรัม สุ่มอย่างน้อย 5 จุด หรือ 5 ตัวอย่างขั้นต้น
สุ่ม 1 จุด หรือ 1 ตัวอย่างขั้นต้นจากทุกๆ 300 กิโลกรัม
501 - 3,000 กิโลกรัม
และ ต้องไม่น้อยกว่า 5 จุด หรือ 5 ตัวอย่างขั้นต้น
สุ่ม 1 จุด หรือ 1 ตัวอย่างขั้นต้นจากทุกๆ 500 กิโลกรัม
3,001 - 20,000 กิโลกรัม
และ ต้องไม่น้อยกว่า 10 จุด หรือ 10 ตัวอย่างขั้นต้น
สุ่ม 1 จุด หรือ 1 ตัวอย่างขั้นต้นจากทุกๆ 700 กิโลกรัม
มากกว่า 20,001 กิโลกรัม
และ ต้องไม่น้อยกว่า 40 จุด หรือ 40 ตัวอย่างขั้นต้น
เมื่อภาชนะบรรจุจานวน น้อยกว่า 15 ภาชนะบรรจุ ไม่ว่าจะขนาดเท่าไรก็ตาม
ต้องดาเนินการสุ่มตัวอย่างขั้นต้นทุกๆ ภาชนะบรรจุ และให้มีความสม่าเสมอทุกจานวนของภาชนะบรรจุ
5. คานวณวิธีการสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์
(Sampling Intensity)
 3) ภาชนะบรรจุ มีน้าหนัก < 15 กิโลกรัม
 เมล็ดพันธุ์บรรจุในภาชนะขนาดเล็ก
เช่น กระป๋องหรือซอง
3) ภาชนะบรรจุ มีน้าหนัก < 15 กิโลกรัม

 รวมกระป๋องหรือซองให้ได้น้าหนัก 100 กิโลกรัม และคิดเป็น 1 หน่วย หรือ 1 ภาชนะบรรจุ


และสุ่มตามอัตราการสุ่มตามภาชนะบรรจุ มีน้าหนักระหว่าง 15-100 กิโลกรัม
เช่น ให้ใช้น้าหนัก 100 กิโลกรัม เป็นเกณฑ์ในการสุ่มโดยรวมภาชนะขนาดเล็กเข้าด้วยกัน
 เมล็ดพันธุ์ 20 กล่องๆ ละ 5 กิโลกรัม เท่ากับ 100 กิโลกรัม และคิดเป็น 1 หน่วย
 เมล็ดพันธุ์ 33 กล่องๆ ละ 3 กิโลกรัม เท่ากับ 99 กิโลกรัม และคิดเป็น 1 หน่วย
 เมล็ดพันธุ์ 100 กล่องๆ ละ 1 กิโลกรัม เท่ากับ 100 กิโลกรัม และคิดเป็น 1 หน่วย
วิธีการคานวณการสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์
ตามมาตรฐาน ISTA (Sampling Intensity)
1. มีเมล็ดพันธุ์แตงกวาขนาด 500 กรัม บรรจุถุงขนาด 2 กรัม จานวน 250 ถุง
วิธีการคานวณการสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขั้นต้น (Primary Sample) อย่างไร
1) รวมถุงให้ได้น้าหนัก 100 กิโลกรัม และคิดเป็น 1 หน่วย หรือ 1 ภาชนะบรรจุ
2) ภาชนะบรรจุอยู่ระหว่าง 1 - 4 ภาชนะบรรจุ ทาการสุ่มตัวอย่างขั้นต้น (Primary Sample)
ทั้งหมด 3 ตัวอย่างขั้นต้น
3) แต่น้าหนักตัวอย่างนาส่ง (Submitted Sample) ของเมล็ดพันธุ์แตงกวา 150 กรัม
ต้องทาการสุ่มตัวอย่างขั้นต้น ทั้งหมด 75 ถุง (ตัวอย่างขั้นต้น)
วิธีการคานวณการสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์
ตามมาตรฐาน ISTA (Sampling Intensity)
2. มีเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลืองขนาด 3,000 กิโลกรัม บรรจุกระสอบขนาด 30 กิโลกรัม จานวน
100 กระสอบ วิธีการคานวณการสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขั้นต้น (Primary Sample) อย่างไร
1) อยู่ในเกณฑ์ภาชนะบรรจุ มีน้าหนักระหว่าง 15-100 กิโลกรัม
2) กองเมล็ดพันธุ์ถั่วเหลือง (100 กระสอบ) มีภาชนะบรรจุมากกว่า 60 ภาชนะบรรจุ
3) ทาการสุ่มตัวอย่างขั้นต้น (Primary Sample)
ทั้งหมด 30 จุด หรือ 30 ตัวอย่างขั้นต้น
การคานวณการสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์
ตามมาตรฐาน ISTA (Sampling Intensity)
3. มีเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดขนาด 1,500 กิโลกรัม บรรจุกระสอบขนาด 500 กิโลกรัม จานวน
3 กระสอบ วิธีการคานวณการสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขั้นต้น (Primary Sample) อย่างไร

500 kg 500 kg 500 kg


แบบฝึกหัดวิธีการคานวณการสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์
ตามมาตรฐาน ISTA (Sampling Intensity)
1) อยู่ในเกณฑ์ภาชนะบรรจุ มีน้าหนัก > 100 กิโลกรัม
2) น้าหนักเมล็ดพันธุ์อยู่ระหว่าง 501 - 3,000 กิโลกรัม
3) ทาการสุ่มตัวอย่างขั้นต้น (Primary Sample) สุ่ม 1 จุด หรือ 1 ตัวอย่างขั้นต้น
จากทุกๆ 300 กิโลกรัมและต้องไม่น้อยกว่า 5 จุด หรือ 5 ตัวอย่างขั้นต้น
4) แต่เมื่อภาชนะบรรจุจานวนน้อยกว่า 15 ภาชนะบรรจุ ไม่ว่าจะขนาดเท่าไรก็ตาม
ต้องดาเนินการสุ่มตัวอย่างขั้นต้น ทุกๆ ภาชนะบรรจุ และให้มีความสม่าเสมอ
ทุกจานวนของภาชนะบรรจุ และทาการสุ่มตัวอย่างขั้นต้น (Primary Sample)
ทั้งหมด 6 จุด หรือ 6 ตัวอย่างขั้นต้น
แบบฝึกหัดวิธีการคานวณการสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์
ตามมาตรฐาน ISTA (Sampling Intensity)

1 2 3
4 5 6
500 kg 500 kg 500 kg
6. การสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์

หลาวแทงกระสอบ ชนิด Nobbe Trier


6. การสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์
โดยใช้หลาวชนิด Nobbe Trier
6. การสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์

หลาวแทงกระสอบ ชนิด Sleeve Trier


6. การสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์

หลาวแทงกระสอบ ชนิด Sleeve Trier


6. การสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์

การสุ่มตัวอย่างด้วยมือ (Sampling by Hand)


6. การสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์

การสุ่มตัวอย่างจากภาชนะบรรจุ น้าหนัก < 15 กิโลกรัม


6. การสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์

การสุ่มตัวอย่างจากภาชนะบรรจุ น้าหนัก < 15 กิโลกรัม


7. การตรวจเช็คความสม่าเสมอของเมล็ดพันธุ์
(uniformity of lot)
 ระหว่างการสุ่ม เมล็ดพันธุ์ควรมีความสม่าเสมอ
Homogeneity ระหว่างตัวอย่างขั้นต้น (primary sample)
เช่น ลักษณะสี ขนาด และเป็นเมล็ดพันธุ์ชนิดเดียวกันทั้งกอง
 ถ้าเจอความผิดปกติของเมล็ดพันธุ์ที่ดาเนินการ
ให้แจ้งหัวหน้าสุ่ม และผู้ยื่นคาขอว่าขอยกเลิกการสุ่ม
และเขียนรายงานความผิดปกติของเมล็ดพันธุ์
ลงในรายงานผลการสุ่มตัวอย่าง
8. การเตรียมตัวอย่างนาส่ง (submitted sample)

 ทาการรวมตัวอย่างขั้นต้น (primary sample) ให้เป็นตัวอย่างรวม (composite


sample) จากการสุ่มตัวอย่างขั้นต้นหลายๆ จุดมาคลุกเคล้า
 นาตัวอย่างรวม (composite sample) มาแบ่งตัวอย่าง
ด้วยอุปกรณ์แบ่งตัวอย่าง หรือ แบ่งด้วยมือ
 ชั่งน้าหนักตัวอย่างเพื่อพิจารณาว่าปริมาณเพียงพอกับการตรวจสอบคุณภาพหรือไม่
โดยอาจใช้ตัวอย่างได้ทั้งหมด หรือต้องแบ่งตัวอย่างให้ได้น้าหนักที่เพียงพอกับ
การตรวจสอบคุณภาพเพื่อเป็น ตัวอย่างนาส่ง (submitted sample)
วิธีการแบ่งด้วยเครื่องแบ่งตัวอย่าง

Conical/Boerner divider Riffle/Soil divider centrifugal divider


Conical/Boerner divider Riffle/Soil divider
วิธีการแบ่งด้วยเครื่องแบ่งตัวอย่าง

 อุปกรณ์แบ่งตัวอย่างก่อนใช้งานทุกครั้งต้องวัดระดับลูกน้าให้โต๊ะ
หรือฐานสม่าเสมอ และอุปกรณ์ต้องผ่านการสอบเทียบ (calibrate)
อุปกรณ์อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
 ทาการแบ่งคลุกเคล้าประมาณ 3 ครั้ง
เพื่อเป็นตัวอย่างนาส่ง
(submitted sample)
วิธีการแบ่งตัวอย่างเมล็ดพันธุ์
ด้วยเครื่อง Riffle Divider
วิธีการแบ่งด้วยมือ
1 2 3 4

1 2 3 4
5 1 6 2 7 3 8 4
วิธี Spoon Method
การสอบเทียบ (calibrate) เครื่องแบ่งตัวอย่าง
8. การเตรียมตัวอย่างนาส่ง (submitted sample)
แบ่งตัวอย่างให้น้าหนักเพียงพอสาหรับเป็นตัวอย่างนาส่ง (submitted sample)
Chapter 2: Sampling Table 2A Part 1. Lot size: agricultural and
vegetable seeds
8. การเตรียมตัวอย่างนาส่ง (submitted sample)

 บรรจุใส่ถุงพลาสติกฟอยด์ซิปล็อคไล่อากาศภายในถุงออก
 ผนึกให้แน่นป้องกันถุงฉีกขาด และเขียนระบุหรือติดสติ๊กเกอร์
Seed Sampling Card ระบุรายละเอียด
 เจ้าหน้าที่สุ่มตัวอย่างเซ็นต์ชื่อกากับ
และติดไปกับถุงตัวอย่างนาส่ง (submitted sample)
ส่งห้องปฏิบัติการตรวจสอบคุณภาพ
ตัวอย่าง

วิธีการคานวณการสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขั้นต้น (Primary Sample)


ตามมาตรฐาน ISTA (Sampling Intensity)
1. ขนาดกองเมล็ดพันธุ์ข้าวเปลือก จานวน 2,500 กิโลกรัม บรรจุในกระสอบ
25 กิโลกรัม จานวน 100 กระสอบ ต้องสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขั้นต้น
ตามมาตรฐาน ISTA (Sampling Intensity) อย่างไร

- ตามข้อกาหนด ภาชนะบรรจุขนาด 15-100 กิโลกรัม

- เปิดตาราง มากกว่า 60 ภาชนะบรรจุ = สุ่มทั้งหมด 30 จุดหรือ 30 ตัวอย่างขั้นต้น

ดังนั้น ต้องสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขั้นต้น 30 primary sample


2. ขนาดกองเมล็ดพันธุ์ถั่วเขียวจานวน 105 กิโลกรัม บรรจุในกระสอบ 15 กิโลกรัม
จานวน 7 กระสอบ ต้องสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขั้นต้น ตามมาตรฐาน ISTA
(Sampling Intensity) อย่างไร

- ตามข้อกาหนด ภาชนะบรรจุขนาด 15-100 กิโลกรัม

- เปิดตาราง 5 - 8 ภาชนะบรรจุ = สุ่ม 2 จุด หรือ 2 ตัวอย่างขั้นต้น จากทุกภาชนะบรรจุ

ดังนั้น ต้องสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขั้นต้น 14 primary sample


(7 กระสอบ x 2 จุดต่อกระสอบ)
3. ขนาดกองเมล็ดพันธุ์ทานตะวันจานวน 900 กิโลกรัม บรรจุในกระสอบ
50 กิโลกรัม จานวน 18 กระสอบ ต้องสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขั้นต้น
ตามมาตรฐาน ISTA (Sampling Intensity) อย่างไร

- ตามข้อกาหนด ภาชนะบรรจุขนาด 15-100 กิโลกรัม

- เปิดตาราง 16 - 30 ภาชนะบรรจุ = สุ่มทั้งหมด 15 จุดหรือ 15 ตัวอย่างขั้นต้น

ดังนั้น ต้องสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขั้นต้น 15 primary sample


4. ขนาดกองเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดจานวน 1,500 กิโลกรัม บรรจุในกระสอบ
500 กิโลกรัม จานวน 3 กระสอบ ต้องสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขั้นต้น
ตามมาตรฐาน ISTA (Sampling Intensity) อย่างไร
- ตามข้อกาหนด ภาชนะบรรจุขนาด >100 กิโลกรัม

- เปิดตาราง 501 - 3,000 กิโลกรัม = สุ่ม 1 จุด หรือ 1 ตัวอย่างขั้นต้นจากทุกๆ


300 กิโลกรัม และต้องไม่น้อยกว่า 5 จุด
หรือ 5 ตัวอย่างขั้นต้น

ดังนั้น ต้องสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขั้นต้น 6 primary sample


ดังนั้น ต้องสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขั้นต้น 6 primary sample
เมื่อภาชนะบรรจุจานวนน้อยกว่า 15 ภาชนะบรรจุ ไม่ว่าจะขนาดเท่าไรก็ตาม
ต้องดาเนินการสุ่มตัวอย่างขั้นต้นทุกๆ ภาชนะบรรจุ และให้มีความสม่าเสมอทุก
จานวนของภาชนะบรรจุ

1 2 3

4 5 6
5. ขนาดกองเมล็ดพันธุ์แตงโมจานวน 7,620 กิโลกรัม บรรจุในกระสอบ
1,270 กิโลกรัม จานวน 6 กระสอบ ต้องสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขั้นต้น
ตามมาตรฐาน ISTA (Sampling Intensity) อย่างไร
- ตามข้อกาหนด ภาชนะบรรจุขนาด >100 กิโลกรัม
- เปิดตาราง 3,001 - 20,000 กิโลกรัม = สุ่ม 1 จุด หรือ 1 ตัวอย่างขั้นต้นจากทุกๆ
500 กิโลกรัม และต้องไม่น้อยกว่า 10 จุด
หรือ 10 ตัวอย่างขั้นต้น

ดังนั้น ต้องสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขั้นต้น 12 primary sample


ดังนั้น ต้องสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขั้นต้น 12 primary sample
เมื่อภาชนะบรรจุจานวนน้อยกว่า 15 ภาชนะบรรจุ ไม่ว่าจะขนาดเท่าไรก็ตาม
ต้องดาเนินการสุ่มตัวอย่างขั้นต้นทุกๆ ภาชนะบรรจุ และให้มีความสม่าเสมอทุก
จานวนของภาชนะบรรจุ

1 2 3

7 8 9

4 5 6

10 11 12
6. ขนาดกองเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดจานวน 30,000 กิโลกรัม บรรจุในกระสอบ
1,000 กิโลกรัม จานวน 30 กระสอบ ต้องสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขั้นต้น
ตามมาตรฐาน ISTA (Sampling Intensity) อย่างไร
- ตามข้อกาหนด ภาชนะบรรจุขนาด >100 กิโลกรัม

- เปิดตาราง มากกว่า 20,001 กิโลกรัม = สุ่ม 1 จุด หรือ 1 ตัวอย่างขั้นต้น


จากทุกๆ 700 กิโลกรัม และต้องไม่น้อยกว่า
40 จุด หรือ 40 ตัวอย่างขั้นต้น

ดังนั้น ต้องสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขั้นต้น 40 primary sample


7. ขนาดกองเมล็ดพันธุ์ผักบุ้งจีนจานวน 1,500 กิโลกรัม บรรจุในกระสอบ
1 กิโลกรัม จานวน 1,500 ถุง ต้องสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขั้นต้น
ตามมาตรฐาน ISTA (Sampling Intensity) อย่างไร

- ตามข้อกาหนด ภาชนะบรรจุขนาด < 15 กิโลกรัม


- รวมถุงให้ได้น้าหนัก 100 กิโลกรัม และคิดเป็น 1 หน่วย หรือ 1 ภาชนะบรรจุ
ดังนั้น 1,500/100 = 15 หน่วย หรือ 15 ภาชนะบรรจุ
- สุ่มตามอัตราการสุ่มตามตาราง ในเกณฑ์ ภาชนะบรรจุขนาด 15 -100 กิโลกรัม
- เปิดตาราง 9 - 15 ภาชนะบรรจุ = สุ่ม 1 จุด หรือ 1 ตัวอย่างขั้นต้น จากทุกภาชนะบรรจุ
ดังนั้น ต้องสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขั้นต้น 15 primary sample
8. ขนาดกองเมล็ดพันธุ์ผักชีจานวน 350 กิโลกรัม บรรจุในกระสอบ
10 กิโลกรัม จานวน 35 ถุง ต้องสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขั้นต้น
ตามมาตรฐาน ISTA (Sampling Intensity) อย่างไร
- ตามข้อกาหนด ภาชนะบรรจุขนาด < 15 กิโลกรัม
- รวมถุงให้ได้น้าหนัก 100 กิโลกรัม และคิดเป็น 1 หน่วย หรือ 1 ภาชนะบรรจุ
ดังนั้น 350/100 = 3.5 หน่วย หรือ 3.5 ภาชนะบรรจุ (4 หน่วย/ภาชนะบรรจุ)
- สุ่มตามอัตราการสุ่มตามตาราง ในเกณฑ์ ภาชนะบรรจุขนาด 15 -100 กิโลกรัม
- เปิดตาราง 1 - 4 ภาชนะบรรจุ = สุ่ม 3 จุด หรือ 3 ตัวอย่างขั้นต้น จากทุกภาชนะบรรจุ
ดังนั้น ต้องสุ่มตัวอย่างเมล็ดพันธุ์ขั้นต้น 12 primary sample
(4 หน่วย/ภาชนะบรรจุ x 3 จุดต่อหน่วย/ภาชนะบรรจุ )
ขอบคุณค่ะ

You might also like