You are on page 1of 16

โครงงาน

เรื่อง
อารยธรรมตะวันตกสมัยโบราณ
จัดทําโดย
1.นางสาวณิชา โตเร็ว เลขที่ 15 ม.6.3
2.นางสาวตวงรัตน ประภาวัฒนเวช เลขที่ 18 ม.6.3
3.นางสาวธารรวี งามศิริอุดม เลขที่ 21 ม.6.3
4.นางสาวพรรณพร พุทธาพร เลขที่ 23 ม.6.3
5.นางสาววราภรณ วองไวพิจารณ เลขที่ 32 ม.6.3
6.นางสาวอรุณรัตน อุตตรอัตถากร เลขที่ 39 ม.6.3

เสนอ
อาจารยปรางคสุวรรณ ศักดิ์โสภณกุล
รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของวิชา ส43105 สังคมศึกษา
ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551
โรงเรียนสตรีวิทยา
บทคัดยอ
งานวิจยั มีจดุ มุง หมายเพื่อศึกษาเกีย่ วกับอารยธรรมตะวัยตกสมัยโบราณและบูรณาการกับ 8
กลุมสาระการเรียนรู เนื่องจากโลกของเรามีแหลงอารยธรรมที่สําคัญมากมายและอารยธรรม
ตะวันตกสมัยโบราณเปนอารยธรรมหนึ่งที่มีการถายทอดภูมิปญญาและความเปนอยูข องผูคนมา
จนถึงปจจุบันมีหลักฐานมากมายที่แสดงถึงความเจริญรุงเรืองในยุคนัน้ ทางคณะผูจดั ทําวิจยั จึงจัดทํา
สื่ออิเล็กทรอนิกส เพื่อเสนอรูปแบบในการศึกษาประวัตศิ าสตรดวยตนเอง และไดทาํ การวิจยั สื่อที่
จัดทําขึ้นยืนยันวามีประสิทธิภาพ สามารถนําไปศึกษา คนควาและอางอิงไดจริง โดยใชแบบ
ประเมินความพึงพอใจ ในการใชสื่ออิเล็กทรอนิกสสํารวจความคิดเห็นของกลุมตัวอยางที่ไดใชงาน
กลุมตัวอยางไดแก นักเรียน จํานวน 80 คน อาจารยจํานวน 1 คน และผูปกครองจํานวน 6 คน โดย
ใชตัวแปรตนคือ สื่ออิเล็กทรอนิกสและเนือ้ หา ตัวแปรตามคือ ความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงพอใจ
ในการใชสื่ออิเล็กทรอนิกสและเนื้อหา ผลสรุปแสดงใหเห็นวา สื่อที่จัดทําขึ้นมีประสิทธิภาพ
สามารถใชงานไดจริงและสรางความดึงดูดใจใหกับผูใ ช รวมถึงในการตั้งถิ่นฐานที่อยูอาศัยของ
ชาวตะวันตกในสมัยโบราณนั้น มีความสัมพันธกับปจจัยทางภูมิศาสตร เชน ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ
อาณาเขต การติดตอ เปนตน เปนอยางมาก ทั้งนี้ลกั ษณะการอยูอาศัยและถิ่นที่อยูอาศัยนั้นยังสงผล
ถึงการประกอบอาชีพ วิวฒ ั นาการ และการคิดคนสิ่งแปลกใหมทางคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร
มากมาย
Abstract

The purposes of this research were to produce a Historical Electronic-book and


Material Media for self-studies: Ancient Western History (3500 B.C. – 476 A.D.) and
integrate 8 subjects together. The information in the e-book may alleviate the
problems. More understanding about ancient Western history can be made by
integrating the information in the e-book. The findings of the research reveal that there
are interacting factors in ancient Western history in several aspects. This study will be
useful for students to develop systematic thinking about ancient Western history
because it attempts to integrate the history knowledge based on the historical content
and educational materials. The instrument was a questionnaire. The sample group was
80 students, a teacher and students’ parent in Satriwithaya. The independent variable
was electronic book and content. The dependent variable was opinions in electronic
book and content. The place was Satriwithaya School. Data analyzing by was
percentage. The result were electronic book is an effective media that can be use as
teaching media. It also attracts the user since it has a lot of feather e.g. sound and
colorful picture. And the environment has effected with historic life and living in
historic era. Also there are effects with career, business, evolution, invention in science
and mathematic, and so on.
According to limitation of time and great details of the ancient Western history
in the first century (3500 B.C. – 476 A.D.), as much as possible only some important
details can be shown in the e-book. People can use the e-book as a studies guideline.
บทที่ 1
บทนํา
ความเปนมา
เนื่องจากอารยธรรมตะวันตกนั้นมีอิทธิพลตอโลกยุคปจจุบันมาก แสดงใหเห็นวาตะวันตก
นั้นมีประวัติศาสตร และพัฒนาการที่ยาวนานหลายพันปกอนคริสตศักราช อารยธรรมตะวันตก
สมัยโบราณนัน้ ไดแบงออกเปนหลายอารยธรรมของในแตละกลุม แตละยุค เชน อารยธรรมเมโส
โปเตเมีย อารยธรรมลุมแมน้ําไนล อารยธรรมกรีก และอารยธรรมโรมัน ซึ่งอารยธรรมเหลานี้ตาง
เปนตนกําเนิดของสถาปตยกรรม ประติมากรรม และวรรณกรรมที่มีอิทธิพลอยางมาใหปจจุบัน
และการเรียนการสอนในปจจุบัน มีสื่อการสอนที่เปนหนังสือ จึงขาดความนาสนใจใน
การศึกษา เปนสาเหตุหนึ่งที่จะทําใหมีผูเรียนเกิดความเบื่อหนาย จึงไดมีการศึกษาคนควาเพื่อนํา
ขอมูลในเรื่องอารยธรรมตะวันตกในสมัยโบราณมารวบรวม วิเคราะหขอมูล และจัดเรียงเปนสื่อ
เทคโนโลยีที่นา สนใจ โดยไดบูรณาการงานวิจยั ชิ้นนี้กับ 8 กลุมสาระการเรียนรู เพือ่ ใหเกิด
ประโยชนสูงสุด

วัตถุประสงคของการวิจยั
1. เพื่อนําเสนออารยธรรมตะวันตกสมัยโบราณ และศึกษาอารยธรรมตะวันตกสมัยโบราณในเชิง
บูรณาการ
2. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยทางภูมิศาสตร กับการตั้งถิ่นฐาน อาณาจักรของอารย
ธรรมตะวันตกสมัยโบราณ
3. เพื่อบูรณาการ 8 กลุมสาระการเรียนรูกบั สื่อการเรียนการสอนเทคโนโลยี เรื่อง อารยธรรม
ตะวันตกสมัยโบราณ

ขอบเขตของการวิจัย
ขอบเขตการศึกษาอารยธรรมตะวันตกสมัยโบราณในงานวิจยั นี้ ไดกําหนดชวงเวลา
ระหวาง 3,500 ปกอน ค.ศ. จนถึงกระทั่งจักรวรรดิโรมันลมสลาย ในป ค.ศ. 476 ซึ่งอยูในชวง
อารยธรรมเมโส-โปเตเมีย อารยธรรมลุมแมน้ําไนล อารยธรรมกรีก และอารยธรรมโรมัน ศึกษา
เกี่ยวกับปจจัยทางภูมิศาสตรกับการตั้งถิ่นฐาน และชาวพืน้ เมืองในแตละอารยธรรม ซึ่งจะเห็นการ
พัฒนาของมนุษย จะทําใหเกิดความเขาใจและการเรียนรูพ ฒ ั นาของมนุษย

ความสําคัญของการวิจัย
เพื่อเปนสื่อการเรียนการสอน โดยจะนําเสนอผานทางสื่อเทคโนโลยีที่นาสนใจ ซึง่ ทําให
งายตอการศึกษาสําหรับผูที่ตองการศึกษาและผูที่สนใจ และสามารถนําไปใชไดอยางมี
ประสิทธิภาพ

ขอบเขตวิจัย
กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียน อาจารย และผูปกครอง โรงเรียนสตรีวทิ ยา
นักเรียน จํานวน 80 คน
อาจารย จํานวน 1 คน
ผูปกครอง จํานวน 6 คน

ตัวแปร
ตัวแปรตน เนื้อหาและสื่ออิเล็กทรอนิกส
ตัวแปรตาม ความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อหาและสื่ออิเล็กทรอนิกส

สมมติฐานของการวิจัย
สื่อเทคโนโลยีและมัลติมีเดีย จะมีความนาสนใจตอผูที่ตอ งการศึกษามากกวาสื่อการเรียน
การสอนในรูปแบบของหนังสือทั่ว ๆ ไป ผูศึกษาจะมีความเขาใจใจเนือ้ เรื่องมากยิ่งขึน้ และเกิด
ประโยชนไดในหลากหลายทาง
บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฏี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ
ความหมายของอารยธรรม
คําวา Civilization นั้น มีรากศัพทมาจากภาษาลาติน คือ Civitas หมายถึง City หรือ นคร(1)
เหตุผลที่ใชคํานี้ก็คงจะเปนเพราะวาแหลงอารยธรรมใหญๆนั้น สวนใหญมักจะมีนครใหญๆ และ
คุณลักษณะเบือ้ งตนของคําวา อารยธรรม นั้น ก็สังเกตไดจากสภาพทัว่ ๆ ไป ภายในเมืองอารยธรรม
นั้นจัดไดวาเปนการแสดงออกซึ่งความรวมมือกันในระยะแรกเริ่มที่สุดกลาวคือ คนมารวมงานกันก็
เพื่อสนองความตองการทางวัตถุและทางจิตใจของตน ความรวมมือนี้ ตองอาศัยการจัดระเบียบแบบ
แผน เพราะในทันทีที่คนมารวมมือกันทํางานก็จําเปนตองมีการจัดแบงระบบสังคมการเมืองและ
เศรษฐกิจเพื่อดําเนินกิจกรรมนั้นๆ มีการสงเสริมในสาขาตางๆ แลวเกณฑผูชํานาญเหลานั้นมา
รวมกัน ทั้งนี้และทั้งนั้นก็เพือ่ วามนุษยจะไดไมตองทําทุกสิ่งทุกอยางดวยตนเองตามลําพัง

ความเชื่อเกี่ยวกับมัมมี่
เสถียร พันธรังสี กลาววา ชาวอียิปตมีความเชื่อวา มนุษยประกอบไปดวยสิ่งสองสิ่ง คือ
รางกายเละวิญญาณ (body and ka) เมื่อตายลงวิญญาณจะไมดับสูญ เพราะวิญญาณเปนสิ่งอมตะ ตัว
นั้นจะมีตัวแทน (double) เกิดขึ้น เขาจึงพยายามคนหาวิธที ี่จะรักษาศพไวไมใหเนาเปอยไดสําเร็จ
ศพที่รักษาไวนี้ เรียกวา มัมมี่ (Mummy) ปราชญชาวกรีกเชื่อวา เฮโรโดตุส เลาเรื่องวิธีอาบน้ํายาศพ
ของชาวอียิปต
เสถียร พันธรังสี ศาสนาโบราณเลม1 หนา 44-45

กําจร กลาววา สิ่งสําคัญในงานสถาปตยกรรมของอียิปตที่วิวัฒนาการมาโดยตลอด คือการ


สรางเสา (Columns) และหัวเสา (Capital) ซึ่งมีความสัมพันธกับตัวอาคารเปนอยางยิง่ สมัย
อาณาจักรเกานิยมสรางหัวเสาแบบงายๆ เชน เปนตนกก หรือตนปาลมมัดรวมกัน สมัยอาณาจักร
กลาง ใชศีรษะเทพีฮาเธอรเปนหัวเสา สมัยอาณาจักรใหม ใชหัวเสาเปนรูปดอกบัว
กําจร ตุนพงษรังศรี ประวัติศาสตรศิลป ชุดที่ 2 หนา 39
วไล ณ ปอมเพชร ไดแปลวา โฮรัส (Horus) คือ โอรสของโอซิริสและไอซิส มีศีรษะเปน
เหยีย่ ว ถือเครือ่ งหมายของชีวิตฟาโรหนนั้ ถือวาเปนองคเดียวกับเทพโฮรัส และฟาโรหก็อางอีกวา
เปนโอรสของเทพเจารา สภาพอันไรเหตุผลนี้ เปนลักษณะเฉพาะของความคิดเกีย่ วกับศาสนาของ
อียิปต ซึ่งเปนความเจริญงอกงามทางจินตนาการที่ฟุงซาน เต็มไปดวยขอขัดแยงที่เห็นไดอยาง
เดนชัด
วไล ณ ปอมเพชร (แปล) รากฐานของวัฒนธรรมตะวันตก หนา 23

สมบูรณ ธรรมครองอาตม กลาวถึง งานศิลปกรรมวามีขอนาสังเกตที่ควรสนใจดังนี้


1. ศิลปกรรมสวนใหญสรางขึ้นเพื่อเพิ่มพูนบารมีของฟาโรหและเทพเจาตางๆ ดังจะเห็นไดจากการ
กอสรางที่คํานึงถึงขนาดที่ใหญโตมหึมา เพื่อฝงศพและประกอบพิธีกรรม
2. นายชางผูสราง แสดงใหเห็นถึงความเชีย่ วชาญในการแกะสลัก และพลังมหัศจรรยในการใชหิน
แทงใหญในการกอสราง ชางชาวอียิปตสามารถตัดหินแกรนิตเปนแทงเดียวหนักนับพันๆตัน แลว
ขนจากเมืองทีห่ างไกลออกไป มายังบริเวณที่กอสราง
3. ทั้งจิตรกรรมและประติมากรรม ถูกสรางขึ้นตามกฎเกณฑอยางเครงครัด ถึงอยางนั้นก็ตาม ดวง
หนาของมนุษยที่เขียนและแกะสลักก็ดมู ีชวี ิตชีวาคลายกับมีวิญญาณแอบซอนอยู
4. โดยปกติบนผนังวิหาร นอกจากจะเขียนและแกะสลักเปนเรื่องราวตางๆแลว ยังนิยมเขียนและ
แกะสลักอักษรไฮเออโรกลิฟคเต็มไปหมด ยอมเปนทีแ่ นนอนวา จุดมุงหมายสําคัญตองการที่จะ
ตกแตงประดับประดาใหสวยงาม แตเมื่อตกทอดมาถึงปจจุบัน งานเหลานั้นกลายเปนแหลงความรู
ทางประวัติศาสตรอันมีคายิ่ง
สมบูรณ ธรรมครองอาตม ประวัติศาสตรอารยธรรมของโลก หนา 87

Atthur E.R. Boak กลาววา การปกครองในระยะแรกๆของซูเมอเรียน แตละนครรัฐจะ


จัดการปกครองตนเอง โดยมีพระและนักบวชมีอํานาจสูงสุดแลวเขาปกครองดูแลทั้งหมด เรียกวา
ปะเตชี (Patesi) พวกเขาเหลานี้กลาววา เขาปกครองประเทศในนามของเทพเจา
Atthur E.R. Boak, History of Our World. P.64
หนา 9-10

อารยธรรม เมโสโปเตเมีย

ปจจัยทางภูมิศาสตรกบั การตั้งถิ่นฐาน

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อยูระหวางแมน้ําไทกรีสและแมน้ํายูเฟรตีส (Tigris and


Euphrates) เปนแหลงอารยธรรมแรกของโลก คําวา เมโสโปเตเมีย (Mesopotamia) หมายถึง
ดินแดนที่อยูระหวางแมน้ํา (meso = กลาง, potamia = แมน้ํา) แมนา้ํ ไทกรีสมีตนกําเนิดมาจาก
เทือกเขาซากรอส ในประเทศอิหราน และแมน้ํายูเฟรตีส บริเวณที่ราบสูงอารมีเนีย (Armenia) ใน
เขตประเทศตุรกี แลวไหลมารวมกันบริเวณตอนลางของเมโสโปเตเมียแลวจึงไหลลงอาวเปอรเซีย
ซึ่งปจจุบันเปนสวนหนึง่ ของประเทศซีเรียและอิรัก
โดยทั่วไปบริเวณเมโสโปเตเมียมีสภาพอากาศที่แหงแลง มีแตทราย แตในฤดูรอน
หิมะบนเทือกเขาอารมีเนียจะละลาย น้าํ จึงไหลลงมาทําใหบริเวณทั้งสองฝงอุดมสมบูรณ แตระดับ
น้ําจะสูงขึ้นมากทําใหเกิดน้ําทวมในเขตที่ราบต่ํา แตก็เปนแรงดึงดูดใหชนหลายกลุมเขามาหากิน
บริเวณนี้
บริเวณเมโสโปเตเมียทางดานเหนือจดทะเลดําและทะเลแคสเปยน ทางตะวันตกเฉียงใต
จดคาบสมุทรอาระเบีย ซึ่งลอมรอบ
ดวยทะเลแดงและคาบสมุทรอินเดีย ทางตะวันตกจดที่ราบซีเรียและปาเลสไตน สวนทาง
ตะวันออกจดที่ราบสูงอิหราน

หนา 11-12
เมโสโปเตเมียเปนดินแดนที่ครอบคลุมอาณาเขตกวางขวาง โดยแบงออกเปนสอง
สวน พืน้ ที่ตอนบน เรียกวา แอสสิเรีย (Assyria) มีลักษณะเปนที่ราบทีส่ ูงกวาทางตอนใต และจะ
ลาดต่าํ ลงมายังพื้นที่ราบลุมตอนลาง ซึ่งมีที่ราบดินดอนที่อุดมสมบูรณ เพราะเกิดจากตะกอนดิน
ของแมนา้ํ ทั้งสองพัดมาทับถมไวบริเวณปากน้ํา บริเวณนี้เรียกวา
บาบิโลเนีย (Babylonia) มีชอื่ เรียกในสมัยหนึ่งวาชินาร (Shina) บริเวณทั้งสองแหงมีการรบกันอยู
เสมอ ผลัดเปลี่ยนกันยึดครองอํานาจทําใหมีการผสมชาติพันธุเกิดขึ้น และยังเปนยุทธภูมิระหวาง
ตะวันตกกับตะวันออกตลอดสมัยประวัติศาสตร
สภาพภูมิอากาศเปนดินแดนที่มีฝนตกนอยมากเพราะมีลักษณะภูมิอากาศแบบ
ทะเลทราย และ กึ่งทะเลทราย ความชื้นไมเพียงพอสําหรับการเพาะปลูก ทรัพยากรธรรมชาติที่
สําคัญไดแก ดินเหนียวซึ่งนํามาทําอิฐในการกอสรางบานเรือนและศาสนสถาน สวนแรธาตุคือ
เหล็กและเกลือ แตมีไมมากนัก
ปจจัยดังกลาวทําใหชุมชนตองรวมมือกันปรับปรุงพืน้ ที่ดวยการ ควบคุมระบบ
ชลประทาน ขยายพื้นทีท่ างการเกษตร จึงจะทําใหสามารถเพิ่มผลผลิตและขยายตัวเปนชุมชนเมือง
ในเวลาตอมา โดยตองมีหัวหนาควบคุมกําลังคนเพื่อรวบรวมแรงงาน จึงเกิดการตัง้ ระบบการ
ปกครองขึ้น
ลักษณะชุมชนที่มาตัง้ ถิ่นฐานในเมโสโปเตเมีย เปนชนหลาย
กลุมผลัดกันมาเนื่องจาก ความรอนของอากาศกลายเปนเครื่องบัน่ ทอนกําลังของผูคนที่อาศัยอยูให
ขาดความกระตือรือรน เมื่อมีผูอื่นมารุกราน จึงยอมหลีกทางใหโดยไมคิดตอตาน ครั้นอยูน านวัน
เขาก็ประสบภาวะแบบเดียวกัน พวกทีเ่ ขามารุกรานสวนใหญมักจะมาจากบริเวณหุบเขาที่ราบสูง
ทางภาคเหนือ และตะวันออกซึ่งสวนใหญเปนเขาหินปูนไมอุดมสมบูรณเทาเขตลุมแมน้ํา และยังมี
พวกที่มาจากทะเลทรายซีเรียและอาระเบีย ทําใหพัฒนาการของอารยธรรมมีความหลากหลาย มี
ลักษณะการผสมผสานของกลุมชนที่เขามาอยูใหมกับชุมชนดั้งเดิม
หนา 13-14
สมัยกอนสุเมเรียน (Pre-Sumerian)
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย มีหลักฐานยืนยันทางโบราณคดีวา เกาแกนานนับ 8000-
7000 B.C. เชนการขุดคนพบหมูบา นที่เมืองจารโม (Jarmo) ในอิรักใกลแมน้ําไทกรีส เมืองซาทาล
ฮือยึค (Catal Huyuk) ภายใตของ อนาโตเลีย (ประเทศตุรกี) ซึง่ มีความเกาแกกวาอียิปตมาก
ตัวอักษรของเมโสโปเตเมียก็ปรากฏวาใชมานานแลว อาจจะกอนอียิปตหลายรอยปอีกดวย
ชนกลุมแรกที่มอี ายุในยุคหิน อยูระหวางหุบเขาริมแมน้ําจอรแดน ประเทศอิรัก
เรียกวา เจริโค (Jericho) มีอายุราว 8000 B.C. ซึ่งพบหลักฐานทางโบราณคดีเปนกําแพงหินยาว สูง
12 ฟุตหนา 5 ฟุต และพบซากหอคอยมีความสูงถึง 30 ฟุต
ชนกลุมตอมาคือ ซาทาล ฮือยึค (Catal Huyuk) มีอายุราว 7000-5000 B.C. นักโบราณคดีขุด
พบเมืองตางๆที่ทับถมเปนชั้นๆ ถึง 12 ชั้น และชั้นที่ 4 พบซากเมืองคลายเมืองใหญ แตไมมีถนน
ตัวอาคารเปนหองโถง มีภาพเขียนบนผนัง และตกแตงประติมากรรมที่ทํามาจากเขาสัตว

หนา 15-16

แมพวกเจริโค และ ซาทาล ฮือยึค จะเปนชนชาติที่ปรากฏหลักฐานวาเกาแกที่สุดในเมโสโปเต


เมีย แตยังไมมีอารยธรรมใดจะเปนเครื่องยืนยันวามีความเจริญหลุดพนจากยุคหินหรือยุคโลหะมา
ได ชนชาติที่เกาแกและปรากฏหลักฐานแสดงความเจริญรุงเรือง และมีอารยธรรมที่เกาแกทสี่ ุดใน
เมโสโปเตเมียคือ ชนชาติซูเมอร และ บาบิโลเนีย

รูปลักษณะการอยูอาศัยของชาวเมืองซาทาล ฮือยึค (Catal Huyuk)

ชาวสุเมเรียน (Sumerian) ประมาณ 3500 B.C.

ลักษณะทั่วไป
พวกสุเมเรียนเปนชาวเขาทางตอนเหนือ เขามาตั้งหลักแหลงในเมโสโปเตเมียตั้งแต
4000-3500 B.C. โดยอาศัยใกลกับอาวเปอรเซีย พวกสุเมเรียนเขามาสรางหมูบา นและเจริญรุง เรือง
ขึ้นอยางรวดเร็ว จนกลายเปนนครรัฐ (City State) นครรัฐแตละแหงเปนอิสระ ปกครองตนเอง
นครรัฐที่มีชื่อเสียงคือ อูร (Ur) ลากาส (Lagash) บาบิโลน (Babylon) เออรุค (Uruk) นิปเปอร
(Nippur) การปกครองในระยะแรก แตละนครรัฐปกครองตนเอง โดยมีพระและนักบวชมีอํานาจ
สูงสุด เรียกวา ปะเตซี (Patesi) โดยพวกเขากลาววา เขาปกครองประเทศในนามของเทพเจา เมื่อ
เกิดสงครามขึ้นระกวางนครรัฐ ผูชนะก็จะยึดรวมนครรัฐเขาดวยกัน และตั้งตนเปนกษัตริย เรียกวา
ลูกาล (Lugal)
จากปจจัยทางภูมิศาสตร ทําใหชาวสุเมเรียนตองหาทางเอาชนะธรรม-
ชาติดวยการสรางทํานบขนาดใหญสองฟากฝง แมนา้ํ สรางคลองระบายน้ํา เขื่อนกั้นน้ํา ประตูน้ํา
และ อางเก็บน้ํา เพื่อระบายน้ําไปยังบริเวณที่แหงแลงและอยูไกลออกไป ชาวสุเมเรียนจึงเปนพวก
แรกที่ทําระบบชลประทานได

หนา 17-18
ศาสนาและความเชื่อ

เนื่องจากสภาพภูมอิ ากาศที่เลวราย ชาวสุเมเรียนจึงมีความเชือ่ วา ในธรรมชาติตา งๆ


ลวนมีเทพเจาผูทรงอํานาจสิงสถิตอยู ทําใหชาวสุเมเรียนเชื่อวาตนเองเปนทาส หรือของเลนของ
เทพเจา ที่พวกเขาเกิดมาก็เพือ่ รับใชตามความพอใจของเทพเจาเทานัน้
สังคมของชาวสุเมเรียนจึงยกยองและเกรงกลัวเทพเจา และถือเปนหนาที่ของทุกคนที่
ตองรับใชเทพเจาอยางซื่อสัตย พระจึงกลายเปนตัวแทนของเทพเจา และขึ้นมามีอาํ นาจปกครอง
ประเทศโดยอางในนามของพระเจา

เมื่อวัดกลายเปนศูนยกลางของการปกครอง งานศิลปกรรมตางๆจึงถูกสรางขึ้นดวย
แรงศรัทธาตอศาสนาและไดพัฒนาขึ้นอยางเต็มที่ จากชุมชนวัดจึงกลายเปนชุมชนเมืองและเปนรัฐ
ตอมา เทพเจาที่สําคัญ คือ

- เอน ลิล (En-lil)


เทพเจาผูสราง ผูครองพิภพ และเทพเจาแหงพายุ ประจําเมือง นิปเปอร ถือวาเปนเทพที่
ยิ่งใหญกวาเทพทั้งปวง
- อนู (Anu)
เทพีแหงทองฟา อากาศ และลม
- เอหรือเอนกิ (Ea or Enki)
เทพเจาแหงพืน้ ดินและแมน้ํา เทพเจาแหงความดี ผูทรงปญญา ผูสรางสิ่งมีชีวิต
- แนนนาหรือสิน (Nannar or Sin)
เทพีแหงดวงจันทร ธิดาของเทพเจาเอน ลิล
- อะดัด (Adad)
เทพเจาแหงพายุและกระแสลม
- ชามาช (Shamash)
เทพเจาแหงดวงอาทิตยพระเจาฮัมมูราบียกยองเปนมหาเทพแหงชีวิตประจําพระองคตลอด
รัชกาล
- แทมมุซ (Tammuz)
เทพเจาแหงพืชพันธุธัญญาหารและการเพาะปลูก
- มารดุค (Marduk)
เทพเจาประจําเมืองบาบิโลน เทพแหงชีวติ และแสงสวาง คอยปราบปรามเทพที่ชั่วราย เดิม
เขาใจวาคือเทพ เอน ลิล หลังจากกรุงบาบิโลนเปนเมืองหลวง พระเจาฮัมมูราบีเรียกวา เทพเจามาร
ดุค
- กิลกาเมซ (Gilgamesh)
เทพเจาผูทรงพลัง
- อิสตาร (Ishtar)
เทพีแหงความรัก ความอุดมสมบูรณและพระแมธรณี ผูน ับถือเทพีอิสตารจะไดรับการ
ประทานความเปนอมตะ ไมมีดับสูญ เทพีอิสตารเปนที่นับถือกันใน ชนเผาเซมิติคอื่นๆ อยาง
กวางขวางจนถึงดินแดนทางตะวันออกดวย

หนา 19-20

ศิลปกรรมสุเมเรียน

สถาปตยกรรม
สถาปตยกรรมสรางดวยอิฐ ซึ่งชาวสุเมเรียนไดชื่อวาเปนชาติแรกที่ใชอิฐในการ
กอสราง โดยอิฐทําจากดินเหนียวที่จากแหง เรียกวาอิฐตากแหง (sun dired brick) แตอิฐชนิดนี้หอง
กันความชื้นไมได จึงไดสรางอิฐอีกชนิดหนึง่ เรียกวา อิฐเผา (baked brick) อิฐชนิดนี้นิยมสรางใน
บริเวณชวงลางของสถาปตยกรรม โดยยกพื้นใหสงู ขึ้นเพื่อใหคงทนถาวร การใชอิฐกอสรางของ
ชาวสุเมเรียนถือเปนการวางรากฐานสถาปตยกรรมแบบโคงกลม (round arch) เปนครัง้ แรก
สถาปตยกรรมที่สําคัญไดแก ซิกกูรัต ที่เมืองอูร (Ziggurat of Ur) สรางดวยอิฐตกแตงดวย
กระเบื้องเคลือบ ยกฐานขึ้นสูง ดานบนสรางเปนวิหารของเทพเจา เรียกวา วิหารขาว (White
Temple) สูงราว 50 ฟุต ฐานยาวประมาณ 200 ฟุต กวางประมาณ 150 ฟุต มีทางขึ้น 3 ทางแตละ
ทางทําเปนขึ้นบันไดประมาณ 100 ขั้น ทางขึน้ ทั้งสามทางมาบรรจบกันตรงประตูหอคอยสูง ซิกกู
รัตมีลักษณะคลายภูเขาขนาดใหญ เพือ่ จะไดไปประกอบพิธีทางศาสนา
หนา 21-22
อักษรลิ่ม (Cuneiform)

คําวา Cuneiform มาจากภาษาละตินวา cuneus ซึ่งแปลวา ลิ่ม ชาวสุเมเรียนเปนชนชาติ


แรกที่ประดิษฐอักษรชนิดนี้ขึ้นใช ตัง้ แตกอน 3000 B.C. ตัวอักษรเขียนดวยกานออ หรือไม
ตัดปลายแหลมเปนเหลีย่ ม แลวกดลงไปบนแผนดินเหนียวที่ยังออนตัว จากนัน้ นําเอาไปเผา
หรือตากแดดใหแหง ตัวอักษรที่ไดจะมีรูปรางคลายลิ่ม

การประดิษฐอักษรลิ่มก็เพื่อใชประโยชนทางศาสนกิจ และการบันทึกของพวกพระ ซึ่ง


นับวาเปนหลักฐานที่เปนลายลักษณอักษรที่เกาแกที่สุดในทางประวัตศิ าสตร

การประดิษฐอักษรลิ่มนับวาเปนพัฒนาการที่สําคัญอยางยิ่งตอการสรางอารยธรรมของ
เมโสโปเตเมีย เนื่องจากความคิดสรางสรรคของมนุษยไดรับการถายทอดและศึกษาใน
ชวงเวลาตอมา และกอใหเกิดการเขียนวรรณกรรม วรรณกรรมที่สําคัญคือ มหากาพย กิลกา
เมช (Epic of Gilgamesh) เปนเรือ่ งการผจญภัยของวีรบุรุษที่แสวงหาชีวิตอันเปนอมตะ ซึ่งใน
เรื่องมีเรื่องเกี่ยวกับน้ําทวมโลกดวย

พวกสุเมเรียนมีความเจริญทางดานคณิตศาสตร ปฏิทิน และการชัง่ ตวง วัด รูจักการ


แบงเปนสวนยอยๆ เชน การแบงวันออกเปน 24 ชั่วโมง การแบงชั่วโมงออกเปน 60 นาที
การแบงมุมรอบจุดเปน 360 องศา มุมฉาก 90 องศา การแบงองศาเปน 60 ลิปดา นอกจากนีย้ ัง
รูวิธีคูณ หาร ยกกําลัง ถอดรากกําลังที่สองและสาม การคํานวณพืน้ ที่วงกลม การกําหนด
มาตรา ชัง่ ตวง วัด และการนับวันเดือนปทางจันทรคติ เปนตน

หนา 23-24

อาณาจักรบาบิโลเนีย (Babylonia)

ราว 3000 B.C. พวกเซไมท (Semite) อพยพมาจากทะเลทรายอาระเบียทางตะวันตก


ไดเขามาในดินแดนของพวกสุเมเรียน และเขามาอาศัยอยูดวยราว 2750 B.C. กษัตริยเซไมท ชื่อ
พระเจาซากอนที่ 1 (Sargon I) ทําการรวบรวมอํานาจโดยเขาปกครองพวกสุเมเรียนทัง้ หมด แลว
สรางเมืองขึ้นใหมชอื่ อักกาด (Akkad) ทาง
ตอนเหนือของบาบิโลน โดยมีเมืองหลวงชื่อ ซูเมอร-อักกาด (Sumer-Akkad) ทานจึงไดรบั พระ
นามวา พระเจาซากอน แหงอักคาเดียน (Akkadian Dynasty) ความเจริญทางดานอักษรศาสตรถึง
ขีดสูงสุด พระองคทรงสรางหอสมุดขึ้น และเปนหอสมุดที่เกาแกที่สุดในสมัยโบราณ

ตอมาสมัยพระเจามานิชตูชู (Manishtusu) อาณาจักรซูเมอรและอักกาดถึงกาล


อวสานในราว 1900 B.C. ก็มีอีกชนพวกหนึ่งคือ อะมอไรท เขายึดครองเมืองอูร ซูเมอร และอัก
กาดไดทั้งหมด

อะมอไรท (Amorite) สืบเชื้อสายมาจากชาวฮิบรู อพยพมาจากทะเลทรายเขามามี


อํานาจในบาบิโลเนียทัง้ หมด ทําใหอาณาจักรบาบิโลเนียเปนปกแผนเปนครั้งแรกในเมโสโปเต
เมีย จักรวรรดิยิ่งใหญแหงแรกนี้มีกษัตริยปกครองหลายพระองค โดยมีการปกครองแบบรวมศูนย
(centralization) มีการเก็บภาษีอากร และเกณฑทหาร
รัฐควบคุมการคาตางๆอยางใกลชิด
พระเจาฮัมมูราบี (Hammurabi 1728-1686 B.C.) กษัตริยองคที่ 6 ในราชวงศบาบิโลเนีย
ทรงเปนกษัตริยที่มีความสามารถในการปกครองทรงเปนนักปกครองที่เขมแข็ง พระองคไดชอื่ วา
เปนกษัตริยผูรวบรวม “ดินแดนแหงแมน้ําทัง้ สอง” (Land of the Two Rivers) โดยปกครอง
ภายใตราชอํานาจของพระองคเพียงผูเดียว ซึง่ พระองคตงั้ เมืองบาบิโลน ริมฝงแมน้ํายูเฟรตีส ขึ้น
เปนเมืองหลวง และเนนทางดานศาสนาใหเปนพื้นฐานของการปกครอง เพราะเมื่อประชาชนมี
ความศรัทธาในศาสนา ระบบการปกครองก็จะเปนระเบียบงายขึ้น

เมื่ออาณาจักรบาบิโลเนียเปนปกแผน ก็ทรงออกกฎหมายขึ้นปกครองประเทศ
เรียกวา ประมวลกฎหมายของพระเจาฮัมมูราบี (Hammurabi’s Code of Law) ถือวาเปนประมวล
กฎหมายที่เกาแกที่สุด โดยจารึกบนแผนหินไดโอไรท สูงประมาณ 7 ฟุต 4 นิ้ว ตอนบนของแผน
หินแกะสลักเปนรูปเทพเจาชามาสกําลังประทานประมวลกฎหมายใหพระเจาฮัมมูราบี กฎหมาย
จารึกดวยอักษรลิ่ม ตัวกฎหมายมีบทลงโทษอยางรุนแรงมากโดยอาศัย เล็กซ ตาลิโอนิส (Lex
talionis) หรือ ตาตอตา ฟนตอฟน (an eye for an eye, and a tooth far a tooth) ภายในกฎหมายยัง
ยกยองฐานะของสตรีเปนอยางดี โดยอาศัยรากฐาน ขนบธรรมเนียม และการปฏิบตั ิตนของชน
ชาติสุเมเรียนเปนสําคัญ ปจจุบันกฎหมายฉบับนี้หลงเหลืออยูประมาณ 282 มาตรา

หนา 25-26

ขณะที่อียิปตและบาบิโลเนียเจริญรุงเรือง มีจักรวรรดิใหญอีกแหงหนึง่ ที่เจริญควบคูมาดวย


คือ จักรวรรดิฮิตไตท (Hittite) ซึ่งอยูในเอเชียนอย (Asia Minor) ทางตอนเหนือของประเทศ ซีเรีย
ตั้งแต 3000 B.C. พวกฮิตไตทถูกเรียกวา พวกอยูบนหลังมา เนือ่ งจากใชชีวิตสวนใหญบนหลังมา
เที่ยวรุกราน ขยายอาณาจักรเรื่อยไป ในราว 1400-1200 B.C. จักรวรรดิฮิตไตทเขมแข็งที่สุดใน
ภูมิภาคตะวันออกกลาง

ประมาณ 1600 B.C. พวกฮิตไตท ไดยกกําลังเขามารุกรานอาณาจักรบาบิโลเนีย และทําลาย


กรุงบาบิโลนพินาศ แตไมไดเขายึดครอง ตอมามีชนอีกพวกหนึ่ง คือ แคสไซต (Kassite) ซึ่งเปน
ชนเผาอินโดยุโรเปยนไดอพยพมาจากเทือกเขาทางดานตะวันออกของแมน้ําไทกรีส ถือโอกาส
เขายึดครองกรุงบาบิโลน นับเปนเวลาหลายศตวรรษ ในสมัยนี้เองการใชมาและรถเทียมมา เริ่ม
แพรหลายในเมโสโปเตเมีย
หนา 27-28
ศิลปกรรมบาบิโลเนีย

การทําตรายางจากรูปทรงกระบอก เปนวิวัฒนาการที่สําคัญอยางหนึง่ ของสุเมเรียนและบา


บิโลเนีย ตรายางทําจากไม ดินเผา หรือโลหะ เปนภาพหรือตัวอักษรลิม่ ยาวรอบสวนโคงของ
รูปทรงหระบอก แลวนําไปกลิ้งบนแผนดินเหนียวที่ยังนุมอยู ก็จะไดลวดลายที่ซ้ําๆกันเปนแถว
ยาวจึงนําไปเผาแลวกลายเปนอิฐ

ประติมากรรม
ประติมากรรมของบาบิโลเนีย นิยมแกะสลักแบบนูนสูงและแบบลอยตัว เรื่องราว
สวนใหญเกี่ยวกับนักรบ กษัตริย และเทพเจา การแกะสลักมีความชํานาญและนุมนวล จะเนน
สวนของกลามเนื้อ โครงสรางของรูปคนในลักษณะหนาตรง ไมมีการบิดเอี้ยวกาย หรือหันศีรษะ
ไปดานขาง นิยมสรางดวงตาใหใหญกวาปรกติ แสดงถึงความรอบรูในการสังเกตและการพบเห็น
มาก ตกแตงดวงตาดวยเปลือกหอยสีดําใหดูคลายของจริง นอกจากนี้ยงั สรางใหมีจมูกใหญ ไหล
กวาง รูปรางแข็งทื่อ มือทั้งสองยกขึ้นประสานกันไวที่ทรวงอกแสดงถึงความศรัทธามั่นคงที่มีตอ
เทพเจา ประติมากรรมที่สําคัญคืองานแกะสลักรูป ชัยชนะของพระเจานาราม สิน (Victory Stele
of Naram Sin) ซึ่งเปนโอรสของพระเจาซากอนที่ 1 สรางราว 2300-2200 B.C. สูง 6 ฟุต 6 นิว้ ถือ
วาเปนประติมากรรม ชิน้ เยี่ยมชิ้นหนึง่ ในสมัยโบราณและเปนงานศิลปกรรมที่เดนที่สุดชิน้ หนึ่ง
ของเซมิติคประติมากรรม ที่สําคัญอีกชิน้ หนึง่ คือ ศิลาจารึกของพระเจาฮัมมูราบี (Stele of
Hammurabi)

หนา 29-30

รูปหมูประติมากรรมนักบวชตาโตในวิหารเทพเจาอะบู เมืองเทลแอสบาร สูงประมาณ 30 นิ้ว


แกะดวยหินออนทัง้ หมด อายุราว 2700-2500 B.C.

งานแกะสลักรูป ชัยชนะของพระเจานาราม สิน


(Victory Stele of Naram Sin)

หนา 31-32

ศิลาจารึกของพระเจาฮัมมูราบี

จิตรกรรม
งานจิตรกรรมปรากฏนอยมาก อาจเพราะไมไดแสดงความรูสึกจริงจังเทางาน
ประติมากรรม แตก็มีลกั ษณะพิเศษของตน คือ มีความงาย รูจักลดทอนรายละเอียดออกไป ระบาย
สีแบนๆ ไมมีแสงและเงา นิยมใชสีขาว น้ําเงิน แดง และดํา เรื่องราวทีเ่ ขียนสวนใหญเปนเรื่อง
สงคราม กษัตริย เทพเจาและกิจกรรมตางๆของนักบวช มีการสลับดานเชนเดียวกับของอียิปต
ภาพคนจะเห็นศีรษะและขาดานขาง สวนลําตัวจะเห็นเปนดานหนา มีลักษณะศิลปะแบบประเพณี
ที่ไมไดพัฒนาไปจากเดิมมากนัก
อาณาจักรอัสซีเรีย (Assyria)
อาณาจักรอัสซีเรีย อยูในชวง 750-612 B.C. ตัง้ อยูทางตอนเหนือของอาณาจักรบา
บิโลเนีย เริ่มตั้งแตเทือกเขาเปอรเซียนจรดทะเลเมดิเตอรเรเนียน โดยรวมทั้งอียิปตตอนเหนือ ฟนิ
เซีย และปาเลสไตน
ประมาณ 3000 ปกอนคริสตศักราช ขณะชนเผาสุเมเรียนปกครองซูเมอร อัสซีเรียเปน
เซมิติคไดเขามาตั้งถิน่ ฐานในดินแดนทางตอนเหนือของเมโสโปเตเมีย บนลุมแมนา้ํ ไทกรีส จาก
หนา 33-34 การที่ไมมีพรมแดนธรรมชาติชวยปองกันภัย ทําใหอัสซีเรียมักถูกโจมตีโดยชนเผาใกลเคียง เริ่ม
จากสุเมเรียน อัคคาเดียน และอะมอไรท เปนตน ขณะอยูภายใตการปกครองของชนผูเจริญ
เหลานี้ อัสซีเรีย ไดเรียนรูและรับอารยธรรมดานตาง ๆ ไว โดยเฉพาะอารยธรรมสุเมเรียน-อะมอ
ไรท เชนเดียวกับ อาณาจักรบาบิโลเนีย ดังนั้น ศิลปกรรมของอาณาจักรเหลานี้จึงมีลักษณะ
คลายคลึงกัน
ประมาณ 1815 ปกอนคริสตศักราช ขณะที่อะมอไรทปกครองเมโสโปเตเมีย มีชาวอะมอ
ไรทไดตั้งตนเปนผูนาํ อัสซีเรีย และพยายามสรางความเปนปกแผนใหแกอัสซีเรียแตไมประสบ
ความสําเร็จ แตระหวาง 1310-1232 ปกอนคริสตศักราช ยุคที่คัสไซทปกครอง
เมโสโปเตเมียนั้น จากความพรอม ประกอบกับความสามารถในการรบของอัสซีเรีย ทําใหจัดตั้ง
จักรวรรดิอัสซีเรียครั้งที่หนึ่งไดสําเร็จ (The First Assyrian Empire)
ซึ่งหมายถึง ดินแดนเมโสโปเตเมียไปทางตะวันตกถึงอียิปต ซีเรีย ปาเสลไตน ฟนีเซียน และ
ทางตะวันออกของเอเชียไมเนอร ดินแดนทางตะวันออกของจักรวรรดิถึงมีเดีย เรือ่ ยมาจรดอาว
เปอรเซีย และลมสลายลงเมื่อ 1232 ปกอนคริสตศักราช อยางไรก็ตาม เมื่อ 858-612 ปกอน
คริสตศักราช อัสซีเรียก็สามารถตัง้ จักรวรรดิอัสซีเรียครั้งที่สอง (The Second Assyrian Empire)
โดยเซลมาเนเซอรที่ 3 (Shalmaneser 3 858-824 B.C.) เปนผูกอตั้งจักรวรรดิครั้งนี้ จาก
ความสามารถของกษัตริย ความพรอม ความสามารถของทหาร ยุทธวิธีในการรบ ประกอบกับ
อาวุธที่ทําจากเหล็ก ตลอดจนการปราบปรามศัตรูอยางโหดรายทารุณเฉียบขาด เปนผลทําให
จักรวรรดิอัสซีเรียเจริญถึงขีดสุดในชวงระหวาง 745-626 ปกอนคริสตศักราช

You might also like