You are on page 1of 100

Mechanical Ventilation:

Principle & Practice

นรเดช พงศป์ ริตร


รพ.พระมงกุฎเกล้า
Topics to cover
• Mechanic of breathing
• Mode of mechanical breath
• Initial ventilator setting
• Ventilator in specific diseases
• Monitoring of mechanic ventilated pt.
• Weaning from ventilator
• Common problem for the ventilated pt.
• New mode/old mode

Phramongkutklao college of Medicine


ข้อบ่งชใี้ นการใชเ้ ครือ ่ ยหายใจ
่ งชว
• แก้ไขภาวะ Hypoxemia
• แก้ไขภาวะ Hypoventilation
่ ยลด work of breathing
• ชว
่ ยประคองภาวะ unstable
• ชว
hemodynamic

Phramongkutklao college of Medicine


Oxygenation ไม่พอ
แก้ไขภาวะ oxygenation failure โดย
การทำงานของกล้ามเนือ้ หายใจ ( การใช ้
O2 ของกระบ ังลม)
oET-tubeให้ FiO2 ~ 1.0
oเปิ ด alveoli ที่ collapse โดยใช ้ Tidal
volume ทีส ู หรือใช ้ PEEP
่ ง
oเพิม่ การแลกเปลีย ่ น gas จากการเพิม ่ mean
alveoli pressure (mean airway
pressure) เชน ่ PEEP, เปลีย ่ น pattern ของ
การหายใจ เชน ่ IRV
Phramongkutklao college of Medicine
Ventilation ไม่พอ
o ผูป
้ ่ วยหายใจได้ minute ventilation <
การสร้าง CO2

o แก้ไขโดยปร ับ minute ventilation = RR


x Vt

Phramongkutklao college of Medicine


้ หายใจล้า-อ่อนแรง
กล้ามเนือ
้ หายใจ>40% ของ
o work load ของกล้ามเนือ
ความสามารถในการทำงาน
o ผูป
้ ่ วยทีม
่ อ ้ หายใจอ่อนแรง
ี าการของ กล้ามเนือ
o Rapid shallow breathing
o Respiratory-abdominal paradox
o Neuromuscular disorder

Phramongkutklao college of Medicine


Mechanic of ventilation

Phramongkutklao college of Medicine


่ งชว่ ยหายใจ
เครือ

Negative pressure
ventilation Positive pressure
ventilation
Phramongkutklao college of Medicine
Positive pressure ventilation

Invasive

Non
invasive

Pressure Volume
preset preset
Phramongkutklao college of Medicine
Mode of ventilation

spontaneous Mandatory

Volume Pressure
CPAP
target target
SIMV
PSV AMV CMV
Phramongkutklao college of Medicine
Basic ventilator setting
Pressure-time wave form Slope/Rise= flow
Paw
cmH2O
VCV= แพทย์ตง=flow
ั้
3
pattern+ peak flow rate
0
PCV/PSV=แพทย์ตง= ั้
pressure level ± rise
1 2 3 4 5 6 Sec
- time
1
0
Onset of Trigger Inspiratory Termination =
cycling
Time= แพทย์ตง=
ั้ RR
VCV=แพทย์ตง=volume
ั้
Patient = แพทย์ตง=
ั้ sense PCV=แพทย์ ตงั้ = inspiratory
time (Ti)
• Pressure
PSV=แพทย์ตง= ั้ none ±
• Flow Esense
Phramongkutklao college of Medicine
Volume control

สามารถกำหนด tidal volume และ minimum
minute ventilation ได้อย่างแน่นอน

ความด ันในทางเดินหายใจจะเปลีย
่ นแปลงตาม
compliance/resistance ของระบบหายใจ

ต้องคาดเดา flow และ volume ทีผ ่ ป
ู ้ ่ วยต้องการ
เพือ
่ ให้ตงั้ ventilator support ได้อย่างเหมาะสม

อาจมีปญ
ั หาในการ ventilate ในบริเวณปอดทีม
่ ี
พยาธิสภาพต่างก ัน

Phramongkutklao college of Medicine


Pressure Control

หล ักการของ pressure controlled คือ

เครือ
่ ง ventilator จะ supply flow ให้ผป ู ้ ่ วยจนได้
ระด ับ pressure ใน system เท่าก ับทีต ่ งไว้
ั้
(pressure control level)

เครือ่ งจะ maintain pressure ไว้จนถึงเวลาทีกำ ่ หนด
(Ti) และจะหยุด flow ให้ผป ู ้ ่ วยหายใจออก

ึ้ อยูก
tidal volume ทีไ่ ด้ขน ่ ับ airway resistance +
lung compliance และ pressure control level +
Ti ทีเ่ ราตงไว้
ั้

Phramongkutklao college of Medicine


Pressure Control

จำก ัด pressure ทีแ
่ น่นอน ทำให้ลดโอกาส
เกิด barotrauma

ไม่มภ
ี าวะ flow limitation

Control I-Time ได้ สามารถทำให้
ventilation distribute ได้ดข ึ้
ี น

ไม่ทราบปริมาณ tidal volume ทีผ
่ ป
ู ้ ่ วยได้
ร ับ

Phramongkutklao college of Medicine


Volume control Pressure control

Phramongkutklao college of Medicine


Initial setting

Objective Avoidance
• Work of breathing • Ventilator induced
• Hypoxemia lung injury
• Hypercapnia/resp • O2 toxicity
iratory acidosis • Compromise
hemodynamic

Phramongkutklao college of Medicine


12 x 5 = 60

sense Paw FiO2

Flow Vt

RR

Ventilator setting Phramongkutklao college of Medicine


Basic mode
Volume control vs Pressure control
: no significant in clinical outcome
• Mode (A/CMV, PSV )
• Oxygen ( FiO2) • Wave form
• Tidal volume • Inspir Time
• Inspir Pressure • Sensitivity
• Respiratory rate • PEEP
• Inspiratory flow rate • Alarm
Phramongkutklao college of Medicine
Spontaneous breath:
CPAP Settings

RR

CPAP~PEEP

Phramongkutklao college of Medicine


Initial setting :
Hypoxemia
Hypoxemia
Aim : keep SaO2 > 90%
How: FiO2
PEEP
Prone position
Avoid: FiO2 > 0.60

Phramongkutklao college of Medicine


Initial setting:CO2
Hypercapnia + acute respiratory
acidosis
Aim: pH ~7.40 or PaCO2 ~40
How: minute ventilation
= RR x Vt
Avoid: Pplateau > 30 cmH2O
Or accept for permissive hypercapnia

Phramongkutklao college of Medicine


Initial setting : WOB
Work of breathing
Aim: to rest respiratory muscle
How: trigger (sense)
inspiratory flow
I:E
PEEP (autoPEEP)
Avoid: ventilator asynchrony

Phramongkutklao college of Medicine


Mode

หายใจเองไม่ได ้…………………………………หายใจได ้

CMV AMV SIMV PSV

Target Pressure
volume

Trigger
Time Pressure or Flow
Rx
Hypoxemia: FiO2/PEEP
Hypercapnia: RR x Vt
Phramongkutklao college of Medicine
Inspiratory sensitivity
• เป็นการตงค่ ั้ าทีผ่ ป
ู ้ ่ วยต้องออกแรงดึงทีจ ่ ะ
ให้เครือ ่ งเริม ่ การชว ่ ยหายใจ
• ถ้าตงค่ั้ า -1 cmH2O = ผูป ้ ่ วยต้อง
ออกแรงดึงให้เกิดแรงด ันลบ 1 cmH2O
ในระบบ ก่อนทีเ่ ครือ ่ งจะชว ่ ย
• ถ้ายิง่ ตงค่ั้ าเป็นลบมาก แสดงว่าผูป ้ ่ วยจะ
ต้องออกแรงมากในการกระตุน ้ เครือ ่ งชว่ ย
หายใจ
• ถ้าตงั้ sensitivity ไว้นอ ้ ยเกินไป อาจเกิด
ภาวะ auto-trigger คือเครือ ่ งอาจทำงาน
เอง
Phramongkutklao college of Medicine
Respiratory Rate
• ทว่ ั ไป ตงไว้ั้ ประมาณ 10-20
ครง/นาทีั้
• การตงต้ ั้ องคำนึงถึง minute
ventilation ทีพ ่ อ
• ตงน้
ั้ อยไปในผูป ้ ่ วยทีห
่ ายใจเร็ว
มากอาจเพิม ่ WOB
• ตงมากไปทำให้
ั้ เกิด respiratory
alkalosis หรือ dynamic
hyperinflation ในผูป ้ ่ วย
airway diseases
Phramongkutklao college of Medicine
Tidal
Volume
• 8-10 cc/kg ideal body weight
• ตงร่
ั้ วมก ับ respiratory rate เพือ
่ ให้
ได้minute ventilation ทีเ่ หมาะสม
• ผูป
้ ่ วยทีม
่ ค ้ ปอดหรือ
ี วามผิดปกติของเนือ
หลอดลมอาจพิจารณาลดเหลือ 6-8 cc/kg

Normal minute ventilation ~ 110 ml/Kg IBW

Phramongkutklao college of Medicine


PEEP
• Positive end expiratory
pressure
•  residual volumes and total
lung volumes, venous return
• 3-5 cm H2O = physiologic
PEEP
• Therapeutic PEEP> 5 cm H2O
– Hypoxemia
– autoPEEP
Phramongkutklao college of Medicine
PEEP
• Contraindications/ precautions
– Increased ICP
– Bronchopleural fistula
– unilateral lung disease
– Hypotension (esp. hypovolemia)

Phramongkutklao college of Medicine


FiO2
• กรณีไม่แน่ใจ หรือ เป็น hypoxemic
respiratory failure เริม
่ ด้วย FiO2 1.0 และ
titrate ลงโดย pulse oximetry
• FiO2 ≥0.60 นาน >24 ชม ทำให้เกิด Lung
injury ได้
• FiO2 1.0 สามารถทำให้เกิด absorptive
atelectasis

Phramongkutklao college of Medicine


Peak Flow
• ทว่ ั ไปตงที
ั้ ่ 40-60 L/min
• อาจปร ับเพิม ่ เป็น 80-120 L/min หรือ
มากกว่า ในกรณี airways disease
• Peak flow ทีเ่ พิม ่ จะเพิม
่ peak airway
pressure แต่ไม่เพิม ่ plateau pressures
ด ังนนไม่
ั้ กระทบต่อ barotrauma
• การตงั้ peak inspiratory flow ต้องตงั้
flow wave form ด้วย

Phramongkutklao college of Medicine


Flow waveform
• ใชใ้ น Volume preset
• ปัจจุบ ันใช ้ 2 แบบ คือ ramp และ square
waveform

Ramp Square
Ti ยาว ั้
สน
Paw (peak) ต่ำ สูง
Paw (mean) สูง ต่ำ
Gas distribution ดีกว่า อาจไม่ทวั่ ถึง
ประโยชน์ Gas distribution Short Ti, เพิม ่ Te
Phramongkutklao college of Medicine
Mode
•VCV/PCV
•A/CMV, SIMV, PSV
•CPAP

Vt: 6-10 ml/kg

RR
Backup rate~ 8-12/min
Supporting rate~ pt rate-4/min
PF 40-60L/min
4 x Ve
Sense~1-2 cmH2O

FiO2~0.40-1.0
Phramongkutklao college of Medicine
• High Pressure +5-10 cmH2Oจาก Paw
• Low Pressure -10 cmH2O จาก Paw
• High RR +10 จาก average rate
• Low Vt -100-200 ml < setting
• Low Ve 2-4 L < mean level
• Loss of PEEP 3-5 cmH2O < PEEP
Phramongkutklao college of Medicine
Monitoring

+ Hemodynamic

Phramongkutklao college of Medicine


้ ่ วยทีใ่ ชเ้ ครือ
การดูแลผูป ่ ยหายใจ
่ งชว

• ประเมินผลว่าการใชเ้ ครือ ่ ยหายใจบรรลุเป้า


่ งชว
หมายของการร ักษาหรือไม่
• เฝ้าระว ังภาวะแทรกซอ ้ นทีอ
่ าจจะเกิดจากการใช ้
เครือ
่ งชว ่ ยหายใจ หรือ artificial airway
• แก้ปญั หาเมือ
่ ไม่สามารถบรรลุเป้าหมายของการ
ร ักษา หรือเมือ ้ น
่ มีภาวะแทรกซอ
• ประเมินความพร้อมในการหยุดใชเ้ ครือ ่ ยหายใจ
่ งชว

Phramongkutklao college of Medicine


่ งมือทีใ่ ชใ้ นการติดตาม
เครือ
 ั
การสงเกตุ
และตรวจร่างกาย
 Lung Mechanics
 Gas exchange
 Waveform analysis
 CXR/ cuff pressure

Phramongkutklao college of Medicine


การตรวจร่างกาย

• Vital signs ( BP, P, RR, T )+ SpO2

• ล ักษณะรูปแบบของการหายใจ

• ระบบทางเดินหายใจ

• ระบบห ัวใจและหลอดเลือด

Phramongkutklao college of Medicine


หายใจสบาย

Phramongkutklao college of Medicine


ล ักษณะของผูป้ ่ วยทีห ั ันธ์ก ับ
่ ายใจสมพ
เครือ
่ งชว ่ ยหายใจ

• อ ัตราการหายใจปกติ ( 12-20 ครง/นาที


ั้ )
• ไม่ใช ้ accessory muscle of Respiration
• หายใจเข้าจ ังหวะดี และค่อนข้างสม่ำเสมอ
• ผูป้ ่ วยดูผอ่ นคลาย ไม่ดน ิ้ ทุรนทุราย ไม่เหงือ
่ แตก
• การเคลือ ่ นไหวของทรวงอกและท้องไปในทิศทาง
เดียวก ัน
• อ ัตราการหายใจของผูป ้ ่ วย = เครือ ่ ง

Phramongkutklao college of Medicine


การตรวจร่างกาย chest
• ปอดขยายต ัวใกล้เคียง
ก ันทงั้ 2 ข้าง
(one lung intubation,
pneumothorax )
• เสย ี งหายใจด ังเท่าก ัน
• Wheezing ย ังไม่หมด
ก่อนเริม ่ การหายใจครงั้
ใหม่ (air trapping )

Phramongkutklao college of Medicine


Gas Exchanges

Invasive
• ABG : pH , PaO2 ,
PaCO2 , SaO2
Noninvasive
• Pulse Oximetry : SpO2
• Capnography : PetCO2
Aim to keep SpO2 ≥ 90%
Phramongkutklao college of Medicine
Ventilator setting in specific
conditions

• Severe hypoxemia (ARDS)


• Severe airflow limitation (COPD)

Phramongkutklao college of Medicine


Management of severe
hypoxemia
Pathophysiology of hypoxemia
• V/Q mismatch
• Shunt
• Diffusion defect

Phramongkutklao college of Medicine


hypoxemia

Position(Good lung down)


Partial liquid ventilation
Prolong inspiratory time
Tracheal gas insufflation
Independent lung ventilation

Recruitment
Maneuver PRAY
Phramongkutklao college of Medicine
Severe
hypoxemia
Acute
Ratio
PO2/FiO2<200
Diffuse infiltrate
SwanGanz<18

Phramongkutklao college of Medicine


Normal alveoli
V/Q ~n ,Vd

Partial collapse alveoli


V/Q missmatch

Atelectatic lung
shunt

effusion effusion
Phramongkutklao college of Medicine
Prevent volume trauma

Alveolar Recruitment Strategies

Prevent atelectatic trauma

Phramongkutklao college of Medicine


PEEP5

PEEP20

Phramongkutklao college of Medicine


ARDS
FiO2-PEEP
 small tidal volume ( 6-8 cc/Kg
IBW)
 ใช ้ PEEP ในการแก้ไข hypoxemia
 High PEEP approach
 เพิม
่ respiratory rate
 Accept permissive hypercapnea
ี PEEP effect เวลา suction
 ระว ังเสย
 Lung expansion/ recruitment

Phramongkutklao college of Medicine


Phramongkutklao college of Medicine
Recruitment maneuver
• ห ัตถการทีช ่ ว ่ ยเปิ ดถุงลมทีต ่ บ
ี ( atelectatic
alveoli ) ใน ARDS และชว ่ ยลด shunt ทำให้การ
แลกเปลีย ่ นออกซเิ จนดีขน ึ้ โดยใชร้ ว่ มก ับ
protective lung strategies
หล ักการ
• Pressure ทีม ่ ากพอทีจ ่ ะถ่างถุงลมทีต ่ บ ี ให้เปิ ด
• ระยะเวลาทีน ่ านพอในการถ่างถุงลมนน ั้
• ใช ้ PEEP ทีส ่ งู พอหล ังจากการเปิ ดถุงลมออกมาได้
เพือ่ ป้องก ันไม่ให้ถง ุ ลมกล ับไปตีบอีก

Phramongkutklao college of Medicine


Severe airflow limitation
Asthma
COPD
Pathophysiology
Air trapping
• Hyperinflation/ barotrauma
• autoPEEP/Dynamic hyperinflation
(เพิม
่ work of breathing)

Phramongkutklao college of Medicine


Adequate expiratory time(Te)
• Short inspiratory time(Ti)
– Increased inspiratory flow
– Smaller tidal volume
– Decreased respiratory rate
• Reverse bronchospasm/inflammation
– Bronchodilator
– Corticosteroid
– Clear secretion
Phramongkutklao college of Medicine
Adequate expire time?
Assessment of adequate
• Clinically: wheezing หมด ก่อนเครือ
่ งเริม

การหายใจครงต่ั้ อไป
• Graphic monitoring: flow-time curve

Phramongkutklao college of Medicine


Initial setting for COPD
setting Suggestion
Mode A/C(CMV)
Rate 8-12/min
VCV/PCV Pressure or volume
Vt 8-10 ml/kg (Ppl<30)
Ti 0.6-1.25 s (PF > 60)
PEEP <5 or to
counterbalance PEEPi
FiO2 <0.5
Flow wave form Descending ramp
Phramongkutklao college of Medicine
Initial ventilator setting
Vt~10ml/kg, RR~ 12/min, Monitor
Peak flow 60 L/min, FiO2 1.0, Oxygenation&
PEEP 3 cmH2O, sense 1 O2 toxcity = SpO2
Barotrauma=
cmH2O (หรือ Flow sense 3/10
Pplateau ( Ppl)
L/min), Work of breathing
SpO2 >90% (WOB)=ล ักษณะการ
SpO2 >95%(acute MI , หายใจ
acute brain syndrome)
Ppl >30 cmH2O
(หรือ Paw > 45 cmH2O)
ผูป้ ่ วยหายใจเข้าก ับเครือ ่ งได้ด ี
อ ัตราทีเ่ ครือ ่ ยเท่าก ับทีผ
่ งชว ่ ป
ู ้ ่ วย trigger
เข็มชห ี้ น้าจอบอกความด ันมีคา่ คงที่ และไม่ดงึ ไปด้านลบ
กราฟ pressure-time มีรป ู ร่างและความสู งคงที
Phramongkutklao ่ of Medicine
college
SpO2 >90% ปร ับลดให้ได้ minimal
SpO2 >95%(acute MI , ใช่ FiO2 (FiO2 <0.60)
acute brain syndrome)
ไม่ใช่

Localized lesions
Position (good lung down)
Prolong inspiration time
Diffuse lesions
PEEP /recruitment maneuver
Prone position

Phramongkutklao college of Medicine


Ppl >30 cmH2O ตงั้ Vt, RR, PF,
(หรือ Paw > 45 cmH2O) ไม่
sense ตามเดิม
ใช่
ลด Vt ลง(6-10 ml/kg) ใช่

ผูป้ ่ วยหายใจเข้าก ับเครือ ่ งได้ด ี


อ ัตราทีเ่ ครือ ่ ยเท่าก ับทีผ
่ งชว ่ ป
ู ้ ่ วย trigger
เข็มชห ้ี น้าจอบอกความด ันมีคา่ คงที่ และไม่ดงึ ไปด้านลบ
กราฟ pressure-time มีรป ู ร่างและความสูงคงที่
ไม่
ปร ับเพิม
่ flow
ปร ับลด sense หรือเปลีย ่ นเป็น flow trigger
ปร ับเพิม่ PEEP (กรณีม ี autoPEEP)
แก้ไขสาเหตุ
ให้ยาลด respiratory drive เมือ ่ แก้ไขปัญหาอืน ่ แล้college
Phramongkutklao ว of Medicine
ผูป
้ ่ วยชาย 62 ปี มาร ับการผ่าต ัด CABG และต้อง
on high dose Dopamine ขณะออกจาก O.R.
เชา้ ว ันรุง ้ ผูป
่ ขึน ้ ัวดี ใชเ้ ครือ
้ ่ วยรูต ่ ยหายใจ
่ งชว
FiO2 0.60 PEEP 5 cmH2O, A/CMV mode, Vt
500 RR 12( ผูป
้ ่ วยหายใจ rate 18/min) ว ัด
SpO2 ได้ 96% และใช ้ Dopamine 10
ug/kg/min ว ัด BP 90/60 mmHg , HR
120/min ผูป ่ ยหายใจ
้ ่ วยบ่นรำคาญท่อชว

ท่านจะพิจารณา wean ผูป ้ ่ วยออกจากเครือ ่ งชว ่ ย


หายใจหรือไม่ เพราะเหตุใด Phramongkutklao college of Medicine
Drive

CVS
Load
Strength
Phramongkutklao college of Medicine
Criteria for weaning
ประเมินการแลกเปลีย
่ นกาซและการหายใจ
แล้วดี
• PaO2/FiO2 > 200
• PaO2> 60 mmHg โดยได้ FiO2< 0.35
• PEEP< 5 cmH2O
• Hemodynamic stable (Dopamine <
5 ug/kg/min)

Phramongkutklao college of Medicine


Criteria for weaning
ตรวจ weaning index
ขณะใชเ้ ครือ
่ ง
• Ve 10-15 L/min
• RR < 30-38 /min
• NIF -30 cmH2O
• Vt > 4-6 ml/kg
• ขณะหายใจด้วย T-piece
• RVR < 105
Phramongkutklao college of Medicine
Wean?

Phramongkutklao college of Medicine


ผูป้ ่ วยชาย 62 ปี มาร ับการผ่าต ัด CABG และ
ต้อง on high dose Dopamine ขณะออก
จาก O.R. เชา้ ว ันรุง ้ ผูป
่ ขึน ้ ัวดี ใชเ้ ครือ
้ ่ วยรูต ่ ง
ชว่ ยหายใจ FiO2 0.60 PEEP 5 cmH2O,
A/CMV mode, Vt 500 RR 12( ผูป ้ ่ วย
หายใจ rate 18/min) ว ัด SpO2 ได้ 96%
และใช ้ Dopamine 10 ug/kg/min ว ัด BP
90/60 mmHg , HR 120/min ผูป ้ ่ วยบ่น
รำคาญท่อชว ่ ยหายใจ
ท่านจะพิจารณา wean ผูป ้ ่ วยออกจากเครือ ่ งชว ่ ย
หายใจหรือไม่ เพราะเหตุใด Phramongkutklao college of Medicine
• บ่ายนนสามารถลด
ั้ FiO2 0.35 PEEP 5
cmH2O และว ัด SpO2 ได้ 96% ลด
Dopamine เป็น 3 ug/Kg/min ว ัด BP
110/70 mmHg
• ทดลองตงั้ sense ไว้ท ี่ -20 cmH2O พบว่าผู ้
ป่วยสามารถ trigger เครือ ่ งได้ ไม่มอ
ี าการ
เหนือ
่ ย
• ได้ว ัด RVR พบว่าที่ spontaneous breath ได้
Vt 500 ml, RR 16 /min
ท่านจะพิจารณา wean ผูป ้ ่ วยออกจากเครือ ่ งชว ่ ย
หายใจหรือไม่ เพราะเหตุใด Phramongkutklao college of Medicine
• Clinical + Parameters บ่งว่าผูป
้ ่ วยควร
wean ได้สำเร็จ
– FiO2 <0.40, PEEP<5, SpO2
>90%
– NIP > - 20
– RVR < 105
– Hemodynamic stable

ท่านจะ wean ผูป ้ ย่างไร


้ ่ วยรายนีอ

Phramongkutklao college of Medicine


Your choice
1. T-piece trial
2. Intermittent T-piece
3. PSV
4. PSV + CPAP
5. SIMV
6. SIMV + CPAP
7. SIMV + PSV
8. SIMV + CPAP + PSV
Phramongkutklao college of Medicine
เทคนิคการ wean
การเลิกใชเ้ ครือ ่ ยหายใจทีน
่ งชว ิ มใช ้ 2 วิธ ี
่ ย
1 การให้ผปู ้ ่ วยทดลองหายใจเองท ันที
(spontaneous breathing trial) ด้วย T-
piece หรือ continuous positive airway
pressure (CPAP)
2 การค่อย ๆ ลดการชว ่ ยเหลือของเครือ ่ งชว่ ย
หายใจลงทีละน้อย (weaning) ได้แก่
pressure support ventilation (PSV) หรือ
synchronized intermittent mandatory
ventilation (SIMV)
Phramongkutklao college of Medicine
Weaning
technique
Study 1
Techniqe
T-piece 3
PSV 4
SIMV 5

1=Esteban A, Tobin MJ, et al. NEJM 1995; 332:345-350


2= Brochard LJ, et.al AJRCCM 1994;150:896
Phramongkutklao college of Medicine
สงิ่ ตรวจพบทีจ
่ ะต้องหยุดการ
ทดลองหย่าเครือ่ งฯ
• Anxiety , agitation , diaphoresis ,
cyanosis
• อ ัตราการหายใจ
– > 35 /นาที ( อย่างน้อย 5 นาที )
– < 8 /นาที
–  > 10 /นาที
• HR >110 /นาที หรือ  > 20 /นาที
Phramongkutklao college of Medicine
สงิ่ ตรวจพบทีจ
่ ะต้องหยุดการ
ทดลองหย่าเครือ่ งฯ
• SBP > 180 , < 90 มม.ปรอท
• SBP  > 20 mmHg,  > 30 mmHg
• DBP เปลีย
่ น > 10 mmHg
• EKG มี PVC > 4-6 /min
• oxygen saturation < 90 %

10 20 30
Phramongkutklao college of Medicine
• 76 y/o COPD ใชเ้ ครือ ่ งมา 4 ว ันหล ังจากมี
acute MI ตงเครื
ั้ อ
่ ง Vt 0.5 L, SIMV 8/min,
FiO2 0.4 PEEP/CPAP 5 cmH2O ABG: pH
7.37, PCO2 36,PO2 78, SpO2 93%
• ผูป
้ ่ วยได้ weaning parameter ดี จึงเริม ่ T-
piece
• wean ได้ 30 นาที ผูป ั
้ ่ วยกระสบกระส า่ ย,
tachycardia, rapid shallow breathing,
SpO2 ลดมาเป็น 90% CVPจาก 8 เป็น 12 ผู ้
ป่วยไม่ม ี chest pain หรือ dysrhythmias
ท่านคิดว่าผูป
้ ่ วย wean ไม่สำเร็จจากอะไร และแก้ไข
อย่างไร
Phramongkutklao college of Medicine
Drive_Load_Strength

Phramongkutklao college of Medicine


ข้อพิจารณาเมือ
่ ผูป
้ ่ วย wean ไม่ได้
• Respiratory load มาก
่ เสมหะมาก pulmonary
– mechanical loads เชน
congestion
่ CO2 คง่ ั , severe
– metabolic loads เชน
metabolic acidosis)
• respiratory drive ย ังทำงานไม่ได้ ( ยา เชน ่
sedative และ metabolic causes ด้วย เชน ่
hypothyroid)
• respiratory strength อ่อนแรงอยู่ : malnutrition,
electrolyte imbalance โดยเฉพาะ Mg และ PO4
Phramongkutklao college of Medicine
ข้อพิจารณาเมือ
่ ผูป้ ่ วย wean ไม่
ได้
• มีความผิดปกติทางระบบ cardiovascular
ร่วมด้วยและย ังไม่ได้ร ับการแก้ไข
่ CHF เมือ
• เชน ่ นจาก positive 
่ เปลีย
negative pressure ventilation ( จาก
เครือ ่ ยหายใจ  ไปเป็น T-piece )
่ งชว
ทำให้ venous return เพิม ่ มาก

Phramongkutklao college of Medicine


ระหว่างหาสาเหตุและแก้ไขปัญหา
ผูป
้ ่ วยควรได้ร ับ fully ventilatory support อย่างน้อย 24 ชม
และ เริม่ SBT ใหม่ เมือ่ แก้ไขปัญหาเรียบร้อย

่ ยหายใจออก
เกณฑ์ในการถอดท่อชว
• ผูป
้ ่ วยรูต้ ัวดี
• ไม่มก ี ารตีบแคบของทางเดินหายใจตอนบน
โดยการตรวจ Cuff leak test หรือ cuff le
ak volume
• ไอได้รน ุ แรงในขณะดูดเสมหะ
• Cough peak flow > 60 L/min
Phramongkutklao college of Medicine
สาเหตุทใี่ ส ่ ET-T/เครือ ึ้
่ ง ดีขน

Oxygenation ดี
Hemodynamic stable

Weaning index ผ่าน no ใชเ้ ครือ


่ งต่อ
yes

SBT ผ่าน - -
+
Cuff-leak test ผ่าน ok EX
Need ET-T no
Phramongkutklao college of Medicine
New Mode
Close loop technique
Less setting, more intelligence
• Dual mode
• Proportional assist ventilation
• Airway pressure-release ventilation
• Mandatory minute ventilation
• Adaptive support ventilation
• etc

Phramongkutklao college of Medicine


Pressure Control
+
Volume Control

Dual Control (mode)


Phramongkutklao college of Medicine
Pressure-regulated volume
control High
Pressure
• ตงเครื
ั้ อ
่ งใน pressure preset ( PCV ) Limit
แต่ตอ้ งการให้ได้ volume ตามที่ ลบ 5
ต้องการ
• Inspiratory pressure อยูร่ ะหว่าง ค่า
ของ PEEP และ 5 cmH2O ต่ำกว่า high PCV
Adjusted
pressure limit ทีกำ ่ หนดไว้ 3cmH2O
• ค่า inspiratory pressure จะปร ับตาม Until
reach
lung mechanic ในแต่ละการหายใจ Target Vt
โดยนำมาปร ับค่า inspiratory
pressure ครงละั้ 3 cmH2O จนได้
volume ตามทีต ่ อ
้ งการ
PEEP
Phramongkutklao college of Medicine
PRVC
1. แรงด ันในวงจรอาจไม่คงที่ ขึน ้ ก ับ R ,C ของ
ผูป
้ ่ วย โดยเครือ
่ งปร ับเปลีย
่ นเอง
2. การไหลของก๊าซไม่คงที่ สูงสุดในตอนแรก
แล้วลดลงในล ักษณะ exponential
curve
3. ปริมาตรอากาศทีข
่ ยายปอดคงที่
ิ้ สุดหายใจเข้าเป็น time cycling
4. สน

Phramongkutklao college of Medicine


Adaptive Support Ventilation

Phramongkutklao college of Medicine


การทำงานของเครือ
่ ง
• แพทย์ใสข ่ อ
้ มูลผูป
้ ่ วย และ % support
• เครือ ่ งจะคำนวณค่า mintute ventilation
โดยหาค่า RR และ Vt ทีจ ่ ะเกิด WOB น้อย
ทีส
่ ด

• Vt ทีคำ ่ นวณได้จะเป็น PCV หรือ PSV โดย
– PCV ถ้าเป็น time triggered และ PSV ถ้าผู ้
ป่วย triggered
• เครือ่ งคำนวณ lung mechanic และ minute
ventilation ทีไ่ ด้พร้อมปร ับ pressure 2 cmH2O
เพือ
่ ให้ได้ target Vt
Phramongkutklao college of Medicine
APRV

Phramongkutklao college of Medicine


TROUBLESHOOTING

Phramongkutklao college of Medicine


Phramongkutklao college of Medicine
TROUBLESHOOTING

• Anxious Patient

– Can be due to a malfunction of the ventilator


– Patient may need to be suctioned
– Frequently the patient needs medication for
anxiety or sedation to help them relax

• Attempt to fix the problem


• Call your Doctor
Phramongkutklao college of Medicine
Low Pressure Alarm

• Usually due to a leak in the circuit.

– Attempt to quickly find the problem


– Bag the patient and call your
Doctor.

Phramongkutklao college of Medicine


High Pressure Alarm

• Usually caused by:


– A blockage in the circuit (water
condensation)
– Patient biting his ETT
– Mucus plug in the ETT

– You can attempt to quickly fix the


problem
– Bag the patient and call for your
Doctor.
Phramongkutklao college of Medicine
Low Minute Volume
Alarm
• Usually caused by:
– Apnea of your patient (CPAP)
– Disconnection of the patient
from the ventilator

– You can attempt to quickly fix


the problem
– Bag the patient and call for
your Doctor.

Phramongkutklao college of Medicine


Accidental Extubation
• Role of the Nurse:

– Ensure the Ambu bag is attached to


the oxygen flowmeter and it is on!
– Attach the face mask to the Ambu
bag and after ensuring a good seal
on the patient’s face; supply the
patient with ventilation.

– Bag the patient and call for


your Doctor.
Phramongkutklao college of Medicine
OTHER

• Anytime you have concerns,


alarms, ventilator changes or
any other problem with your
ventilated patient.

– Call for your RT


– NEVER hit the silence
button!
Phramongkutklao college of Medicine
Extubation

• The nurse should explain the


procedure to the patient and prepare
suction. The patient should be sitting
up at least 45 degrees.
• Prior to extubating, the patient
should be suctioned both via the ETT
and orally.
• All fasteners holding the ETT should
be loosened.

Phramongkutklao college of Medicine


Extubation

• A sterile suction catheter should


be inserted into the ETT and
withdrawn as the tube is removed.
• The ETT should be removed in a
steady, quick motion as the
patient will likely cough and gag.

Phramongkutklao college of Medicine


Post-Extubation Care

• Humidified oxygen
• Respiratory exercises
• Assessment and monitoring
• Prepare for intubation

Phramongkutklao college of Medicine


VAP Prevention: IHI Bundle
* Head of Bed (HOB) Elevation > 30 °
* Hand Hygiene
* Nursing Sensitive Quality Indicator

Daily “Sedation Vacations”


Assess readiness to extubate

Peptic Ulcer Disease Prophylaxis

Deep Vein Thrombosis Prophylaxis


(www.ihi.org/IHI/Programs/Campaign/VAP.htm )
Phramongkutklao college of Medicine
VAP Prevention
* Oral Hygiene:
Inspection of oral cavity
Timed oral care
Toothbrushing

* Early Mobilization
* Nursing Sensitive Quality Indicator

Decontamination of Devices

Double Lumen Endotracheal Tubes


(Fields, 2008)
Phramongkutklao college of Medicine
Phramongkutklao college of Medicine
Acid-Base Imbalance
Respiratory Acidosis
• Hypoventilation from primary lung problem
– Atelectasis
– Pneumonia
– Respiratory failure
– Airway obstruction
– Chest wall injury
– Cystic fibrosis

• Hypoventilation from other factors


– Drug overdose
– Head injury
– Paralysis of respiratory muscles
– Obesity

Phramongkutklao college of Medicine


Acid-Base Imbalance
Respiratory Alkalosis
• Hyperventilation from primary lung
problem
– Asthma
– Pneumonia
– Inappropriate ventilator settings
• Hyperventilation from other factors
– Anxiety
– Disorders of the central nervous system
– Salicylate overdose

Phramongkutklao college of Medicine

You might also like