You are on page 1of 16

บทบาทผู้นาประเทศ :

นายกรัฐมนตรีคนที่ 23 สมัยที่ 1

พ.ต.ท.ทักษิณ ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่ง
นายกรัฐมนตรี คนที่ 23 ของประเทศไทย เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2544 โดยได้กล่าวกับประชาชนในวัน
นั้นว่า

“ผมรู้สึกสานึกในพระมหากรุณาธิคุณที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงไว้วางพระราชหฤทัย
แต่งตั้งให้กระผมดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ผมขอขอบคุณพี่น้อง ประชาชนคนไทยทั้งประเทศ ที่ได้
มอบความไว้วางใจให้กับผม ผมขอขอบคุณท่านสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ที่ได้กรุณาลงมติไว้วางใจ
ผม ทาให้ผมได้มีโอกาสทดแทนบุญ คุณแผ่นดิน และมีโอกาสที่ได้ใช้ความรู้ความสามารถ
ประสบการณ์ที่สะสมมาทั้งชีวิต นาความผาสุกสู่คนไทยทั้งประเทศ ผมขอย้าว่านโยบายทุกนโยบายที่
ได้ประกาศไว้แก่พี่น้องประชาชน จะนามาปฏิบัติด้วยความรอบคอบ ประหยัด รวดเร็ว และรัดกุม
พี่น้องที่เคารพครับ การตัดสินใจทุก ๆ เรื่องที่จะเกิดขึ้นภายใต้รัฐบาลผม ถึงแม้ว่าผมไม่
สามารถตัดสินใจให้เป็นที่พอใจของพี่น้องประชาชนคนไทยทั้ง 61 ล้านคนพร้อม ๆ กันในทุกเรื่อง แต่
ทุกเรื่องจะตัดสินใจบนพื้นฐาน เพื่อประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ และทุกเรื่องจะถูกตัดสินใจบน
พื้นฐาน เพื่อประโยชน์สุขของประช าชนมากกว่าเพื่อความอยู่รอดทางการเมือง 4 ปีข้างหน้าจะเป็น
ยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง และการปฏิรูปทุกรูปแบบเพื่อนาประเทศไทยให้หลุดพ้นจากวิกฤติ และวาง
รากฐานสาหรับอนาคตของลูกหลานเรา ผมจะไม่ยอมทาหน้าที่เป็นเพียงผู้นาตามกฎหมายเท่านั้น ผม
จะขอเป็นผู้นาที่นาแห่งการเปลี่ ยนแปลงมาสู่ประเทศไทย เพื่อประเทศไทยที่ดีขึ้น พี่น้องที่เคารพครับ
ผมจะขอทาหน้าที่เป็นรัฐบาลที่ไม่รู้จักคาว่าเหน็ดเหนื่อย เป็นรัฐบาลที่จะทุ่มเททาด้วยความ ซื่อสัตย์
สุจริต
ผมคนเดียวและลาพังแค่รัฐบาลคงไม่สามารถแก้ไขปัญหาของประเทศได้ พี่น้องครับ เราโชค
ดีครับ คนไทยทั้งชาติมีศูนย์รวมใจอยู่ที่พ่อหลวงของเรา ซึ่งมีพระนามว่า "ภูมิพล" ซึ่งหมายถึงพลัง
แผ่นดิน คงไม่มีพลังอะไรที่ยิ่งใหญ่ที่จะนาให้คนไทยและประเทศไทยหลุดพ้นจากวิกฤติครั้งนี้ และปู
รากฐานไว้สาหรับลูกหลานในอนาคตได้ดีเท่ากับการใช้พลังแผ่นดิน ผมขอนาความสามัคคีกลับ สู่คน
ในชาติ เราคนไทยด้วยกัน เราจะไม่แบ่งฝักแบ่งฝ่ายจนขาดความสามัคคี ขาดพลังในการที่จะฟื้นฟู
ชาติของเรา พี่น้องที่เคารพครับ ผมขอทาหน้าที่นายกรัฐมนตรีที่จะนารัฐบาลในพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว เพื่อทางานหนักสาหรับความผาสุกของพี่น้องประชาชนคนไทย และผมจะทาหน้าที่ ทุก
วิถีทางเพื่อรักษาไว้เพื่อศักดิ์ศรีแห่งความเป็นไทยตลอดไป “

1
นโยบายรัฐบาล : คิดใหม่ ทาใหม่ เพื่อไทยทุกคน

เมื่อ พ.ต.ท.ทักษิณเข้ารับตาแหน่ง รัฐบาลต้องเผชิญความท้าทาย 2 ประการ


ประการแรก คือ ความท้าทายในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของไทยให้ขยายตัว
ท่ามกลางสภาพแวดล้อมของปัจจัยภายนอกที่ไม่เอื้ออานวย
ประการที่สอง คือ ความท้าทายที่จะรักษาการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในระยะยาว
ท่ามกลางสภาวะโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

เนื่องจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจที่ประเทศต้องเผชิญในช่วงปี 2540 ยังทิ้งร่องรอยของปัญหา


ต่อเนื่องหลายประการ ไม่ว่าจะเป็นกาลังการผลิตระดับต่า อุปสงค์ในประเทศหดตัว ความสามารถใน
การแข่งขันลดลงและภาคการเงินไม่ทางาน พร้อมทั้งข้อจากัดในการดาเนินนโยบายการคลังในขณะที่
ระบบเศรษฐกิจโลกได้เปลี่ยนแปลงไป

เมื่อประเทศจีนและอินเดียได้เข้ามามีบทบาทในเศรษฐกิจโลกมากขึ้น ทาให้มีแรง งานต้นทุน


ต่ามากเป็นปัจจัยการผลิตสินค้า ทาให้ผู้ผลิตทั่วโลกรวมถึงผู้ผลิตไทยต้องเปลี่ยนแนวคิดในการผลิต
สินค้า นอกจากนี้ปัญหาสังคมก็ยังเปราะบางในหลาย ๆ เรื่อง นับตั้งแต่ปัญหายาเสพติด ผู้มีอิทธิพล
ปัญหาความยากจน ในเรื่องต่าง ๆ ซึ่งต้องได้รับการเยียวยา อย่างเร่งด่วน

การจัดการกับความท้าทายดังกล่าว ผู้ที่จะเข้ามาเป็นรัฐบาลต้องมีนโยบายในการที่จะบริหาร
ประเทศให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ที่เกิดขึ้น และตรงกับความต้องการของประชาชน
รัฐบาลภายใต้การนาของ พ .ต.ท. ทักษิณ นายกรัฐมนตรี ซึ่งได้เตรียมความพร้อมมาตั้งแต่
ก่อนการเลือก ตั้ง ไม่ว่าจะเป็นกา รศึกษาสภาพและสาเหตุของปัญหาต่าง ๆ ของประเทศไทยอย่าง
จริงจัง รอบคอบ การนาหลักวิทยาการและความรู้สมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ การนาแนวนโยบายไป
สอบถามความคิดเห็นของประชาชนระดับท้องถิ่นรากหญ้า เพื่อให้ได้ฉันทานุมัติจากประช าชนที่จะ
ได้รับประโยชน์ และได้รั บข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาตามความจริงมากที่สุด เพราะการได้ข้อมูลที่ถูกต้อง
ครบถ้วน คือ ก้าวแรกที่สาคัญที่จะนาไปบริหารราชการแผ่นดิน เมื่อมีข้อมูลสาคัญแล้ว ในขั้นถัดมา
การคิดและการมองปัญหาเพื่อกาหนดแนวทางแก้ไขก็เป็นวิธีการคิดแบบใหม่ที่ไม่ยึดติดอยู่ในกรอบ
ความคิดแบบเดิม แต่สามารถปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลก

2
ผลจากความพยายามอย่างจริงจังและการคิดแนวใหม่ สะท้อนอย่างชัดเจนในนโยบาย ของ
รัฐบาล
ประการแรก โครงสร้างนโยบายรัฐบาลที่ได้แถลงต่อรัฐสภาเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2544
ปรากฏเป็นสองส่วนสาคัญ คือ
- ส่วนที่เป็นนโยบายเร่งด่วน เพื่อเน้นให้ผู้ปฏิบัติทราบว่าเรื่องที่ต้องเร่งรัดการดาเนินการ
- ส่วนที่เป็นนโยบายทั่วไป ซึ่งก็เป็นเรื่องที่สาคัญและต้องผลักดันการดาเนินการให้มี
ประสิทธิภาพ และมีความก้าวหน้าอย่างจริงจังต่อเนื่อง
ประการที่สอง นโยบายรัฐบาลมีการบู รณาการ ให้เกิดความเชื่อมโยงและรับส่งกันอย่าง
สอดคล้อง ด้วยตระหนักดีว่าการดาเนินการในเรื่องหนึ่งย่อมส่งผลกระทบต่อเรื่องหนึ่งเสมอ แต่ด้วย
วิธีการคิดแบบใหม่ รัฐบาลสามารถคาดการณ์ล่วงหน้าและสร้างความเชื่ อมโยงสัมพันธ์ระหว่าง
นโยบายต่าง ๆ เพื่อให้การดาเนินนโยบายแต่ละเ รื่องไม่เป็นอุปสรรคซึ่งกันและกัน แต่ กลับสามารถ
สนับสนุนซึ่งกันและกัน ให้บรรลุเป้าหมายรวมได้ อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น นับเป็นการประหยัดทรัพยากร
ให้กับประเทศอย่างมากมายมหาศาล
ประการที่สาม นับว่าเป็นหัวใจของรัฐบาล คือ การให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง นโยบายของ
รัฐบาลทุกเรื่ อง มีเป้าหมายสูงสุดเพื่อให้เกิด ความผาสุก แก่ ประชาชน สภาวะ ดังกล่าวส่งผลให้การ
กาหนดวิธีการ และการลงมือปฏิบัติจริงเพื่อแก้ไขปั ญหามีความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และให้ผล
สัมฤทธิ์แตกต่างจากวิธีการเดิมๆ อย่างชัดเจน

ผลงานเด่นในฐานะข้าของแผ่นดิน

 จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
ด้วยสานึกในหน้าที่ของข้า ของ แผ่นดิน คณะ คู่สมรสคณะรัฐมนต รีในรัฐบาล
พ.ต.ท.ทักษิณ จึงสร้างศูนย์การเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอพียง และศูนย์สาธิตและส่งเสริมศิลปาชีพ
ขึ้น เพื่อสืบทอดแนวพระราชดาริในการพัฒนาชีวิตราษฎรและเผยแพร่แนวปรัชญาเ ศรษฐกิจพอเพียง
และแนวทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ให้ประชาชนทั่วไปได้เข้ามาเรียนรู้และนาไปใช้
ในการดารงชีวิต
โดยจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงขั้น 4 อาเภอ ใน 4 ภูมิภาค ได้แก่
1. ภาคเหนือ ที่กองการสัตว์และเกษตรกรรมที่ 3 อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ค่ายสุรนารี อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
3. ภาคกลาง ที่ค่ายสมเด็จพระนั่งเกล้า อาเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา
4. ภาคใต้ ที่ค่ายวิภาวดีรังสิต อาเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี

3
 แปรนโยบายพรรค สู่การปฏิบัติจริงภายใต้การบริหารของรัฐบาลทักษิณ 1
การพักชาระหนี้และลดภาระหนี้ให้แก่เกษตรกรรายย่อย
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา เกษตรกรซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศมีฐานะยากจนและ
มีปัญหาด้านหนี้สิน ซึ่งกลุ่มที่มีปัญหามากที่สุดและเป็นคนส่วนใหญ่ในกลุ่มนี้คือ “เกษตรกรรายย่อย ”
ดังนั้น รัฐบาลจึงได้ประกาศนโยบายพักชาระหนี้และลดภาระหนี้ให้กับเกษตรกรรายย่อย เป็นเวลา 3
ปี เพื่อช่วยฟื้นฟูชีวิตเกษตรกรให้มีเงินออมและเงินลงทุนเพื่อใช้ในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้
ซึ่งจะมีผลโดยตรงต่อการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของ
เกษตรกรรายย่ อย รวมทั้งการเพิ่มกาลังการซื้อให้แก่เกษตรกร เพื่อนาไปสู่การฟื้นตัวของเศรษฐกิจ
ระดับประเทศโดยรวม

กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
เป็นกองทุนที่จัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมกระบวนการพึ่งพาตนเองของหมู่บ้านและชุมชนเมือง ในด้าน
การเรียนรู้ การสร้าง และการพัฒนาความคิดริเริ่ ม รวมถึงการแก้ปัญหาด้านเศรษฐกิจและสังคม ใน
การจัดระบบบริหารเงินทุนหมุนเวียนในหมู่บ้านด้วยตนเอง โดยรัฐบาลจัดสรรงบประมาณให้ทุก
หมู่บ้านทั่วประเทศ หมู่บ้านละ 1 ล้านบาท กองทุนนี้ได้สร้างโอกาสให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งทุน
ก่อให้เกิดการหมุนเวียนเงินทุนในระบบเศรษฐกิจและทาให้รัฐมีรายได้เพิ่มมากขึ้น

โครงการหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ หรือ OTOP


การดาเนินโครงการหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ของรัฐบาล มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้แต่ละชุมชนได้
ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการผลิตสินค้า โดยรัฐพร้อมที่จะเข้าช่วยเหลือด้านความรู้สมัยใหม่ แล ะการ
บริหารจัดการ เพื่อเชื่อมโยงสินค้าจากชุมชนสู่ตลาดสินค้าทั้งในและต่าง ประเทศด้วยระบบร้านค้า
เครือข่ายและอินเตอร์เน็ต มีการกาหนดระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยคณะกร รมการอานวยการ
ตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ แห่งชาติ พ .ศ. 2544 เพื่อส่งเสริมกระบวนการการพัฒนาท้องถิ่น ส ร้างชุมชน
เข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการสร้างงานสร้างรายได้ด้วยการนาทรัพยากร และภูมิ
ปัญญาในท้องถิ่นมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ และบริการที่มีคุณภาพ มีจุดเด่นและมูลค่าเพิ่ม สอดคล้อง
กับวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของท้องถิ่น ซึ่งนาไปสู่เป้าหมายการกินดีอยู่ดีคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน
และการสืบสานวัฒนธรรมที่ดีงามของท้องถิ่นให้คงอยู่ต่อไป
นอกจากนี้เป็นแนวคิดที่ ต้องการให้หมู่บ้านมีผลิตภัณฑ์ หลัก 1 ประเภท เป็นการผลิตที่ใช้
วัตถุดิบ ทรัพยากรท้องถิ่น ลดปัญหาการอพยพย้ายถิ่นไปสู่เมืองใหญ่ ซึ่งถือเป็นการสร้างเศรษฐกิจ

4
ชุมชนให้เกิดขึ้น เป็นแนวคิดที่สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวพระราชดาริ
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และเป็นเครื่องมือที่กระตุ้นให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ของ
ประชาชน เกิดการดาเนินการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง

หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาท รักษาทุกโรค


นโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ที่รัฐบาลกาหนดขึ้นนั้ น เพื่อลดรายจ่ายโดยรวมของ
ประเทศและประชาชนในการดูแลรักษาสุขภาพ โดยเสียค่าใช้จ่ายเพียง 30 บาทต่อครั้ง เป็นการสร้าง
โอกาสในการเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่ได้มาตรฐานอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม นับเป็น นโยบายสาคัญ
ของรัฐบาลภายใต้การบริหารของ พ.ต.ท. ทักษิณ ที่ประชาชนพึงพอใจมากเป็นลาดับต้น ๆ

การแก้ไขและดาเนินการปราบปรามปัญหายาเสพติดอย่างจริงจัง
นับแต่รัฐบาลเข้ามารับหน้าที่ ถือว่าปัญหายาเสพติดเป็นวาระแห่งชาติที่จะรอช้าอีกไม่ได้ รัฐบาล
ได้ประกาศส งครามที่จะเอาชนะยาเสพติดโดยใช้ “ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดิน ”
เพื่อรวบรวมสรรพกาลังและความร่วมมือจากทุกภาคส่วนของสังคมในการสกัดกั้นและทาให้
ยาเสพติดหมดไปจากผืนแผ่นดินไทย เพื่อเป็นการแก้ปัญหายาเสพติดอย่างยั่งยืน
รัฐบาลได้ดาเนินการแก้ไขปัญหาแบบองค์รวมโดยพิจารณาทั้งมิติในด้านอุปสงค์ (Demand) คือ
ผู้เสพติด และมิติด้านอุปทาน (Supply) คือ ผู้ค้าและผู้ผลิต เพื่อตัดและทาลายวงจรของยาเสพติ ด ซึ่ง
การดาเนินการในด้านผู้เสพติดนั้น ได้ดาเนินการบาบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพ ติดให้สามารถ
เลิกยาเสพติดและสามารถใช้ชีวิตได้อย่างปกติ สุขในสังคม พร้อมทั้งสร้างภูมิคุ้มกันโดยสร้างความ
เข้มแข็งให้กับสถาบันครอบครัว โรงเรียน หมู่บ้าน ชุมชนและสังคม รวมทั้งสนับสนุนด้านการกีฬา เพื่อ
ป้องกันมิให้ผู้ที่เคยเสพติดเข้าไปข้องแวะกับยาเสพติดอีกต่อไป
สาหรับการดาเนินการในด้านผู้ค้าและผู้ผลิตนั้น ได้กวาดล้าง จับกุม ยึดทรัพย์และเพิ่มบทลงโทษ
ผู้ผลิต นาเข้า จาหน่าย หรือมียาเสพติดไว้ในครอบครอง เฝ้าระวังและปราบปรามการผลิตหรือนาเข้า
สารเคมีที่ใช้เป็นส่วนประกอบ สาหรับการ ผลิตยาเสพติด พร้อมทั้งดาเนินการ เอาผิดหรือลงโทษกับ
เจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดอย่างเด็ดขาดและจริงจังทั้งทางวินัยและอาญา

 ผลงานเด่นสะท้อนวิสัยทัศน์ทางด้านการบริหารจัดการเศรษฐกิจ
ใช้หนี้คืน IMF ก่อนกาหนด
วิกฤตเศรษฐกิจในปี 2540 ส่งผลให้ประเทศไทยต้องเข้าขอรับความช่วยเหลือจากกองทุน
การเงินระหว่างประเทศ (IMF) ธนาคารโลก (World Bank) ธนาคารพัฒนาเอเชี ย (ADB) รวมถึงความ
ช่วยเหลือ พหุภาคีจากกระทรวงการคลัง ธนาคารกลางและสถาบันการเงินของประเทศต่างๆ ใน

5
ภูมิภาค ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐประชาชนจีน เขตการปกครองพิเศษฮ่องกง เกาหลี มาเลเซีย สิงคโปร์
บรูไน ออสเตรเลีย และแคนนาดา ซึ่งวงเงินภายใต้ความช่วยเหลือดังกล่าว มีมูลค่าสูงถึง 17.2 พันล้าน
ดอลลาร์ ทั้งนี้ ธนาคารแห่งประเทศไทย ได้ทาการเบิกถอนจริงจานวนทั้งสิ้น 12.035 พันล้านดอลลาร์
จากวงเงินกู้ที่ได้รับอนุมัติ 14.5 พันล้านดอลลาร์
ประเทศไทยได้เข้ารับการช่วยเหลือจากโครงการเงินกู้ประเภท Stand by Arrangement ของ
กองทุนการเงิน ฯ ในวันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2540 และได้ทาการเบิกจ่ายเงิน ให้ความช่วยเหลือเป็น
จานวนทั้งสิ้น 8 ครั้ง โดยมีวัตถุประสงค์การกู้ยืม เพื่อแก้ไขปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งนี้การ
ขอรับความช่วยเหลือทางการเงินดังกล่าวจากกองทุน ฯ มีกาหนดระยะเวลาการกู้ยืม 24 เดือน และ
ประเทศไทยได้ออกจากโครงการเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2543 จะเห็นได้ว่า ธนาคารแห่งประเทศ
ไทย เบิกจ่ายเงินไม่ครบตามจานวนเงินทั้งหมดที่ได้รับจากโครงการความช่วยเหลือทางการเงิน
ดังกล่าว
นับตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2543 ประเทศไทยได้เริ่มชาระหนี้คื นจากกองทุนการเงิน
ระหว่างประเทศและได้ชาระหนี้คืนให้กับสถาบันการเงินอื่นในระยะเวลาต่อมา ทั้งนี้เมื่อประเทศไทย
ฟื้นตัวอย่างแข็งแกร่งจากวิกฤตเศรษฐกิจ โดยฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศไทยดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
เห็นได้จากการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของเงินสารองระหว่างประเทศ การเติบโตทางเศรษฐกิจ การลดลง
ของสัดส่วนหนี้ต่างประเทศ GDP เป็นต้น รัฐบาลไทยจึงมีดาริที่จะทาการชาระหนี้คืนแก่กองทุน
การเงิน ฯ ก่อนกาหนดเดิมที่จะชาระคืนทั้งหมดในปี 2548
การชาระหนี้คืนก่อนกาหนดนี้ แสดงให้เห็นถึงความสาเร็จของการปรับตัวของเศรษฐกิจไทย
หลังภาวะวิก ฤต อั นเป็นผลมาจากความพยายามของรัฐบาล ที่ดาเนินมาตรการทางการคลังและ
การเงินอย่างมีประสิทธิภาพ โดยรัฐบาลได้ทาการกระตุ้นเศรษฐกิจในทุกระดับ เพื่อให้เศรษฐกิจเติบโต
ตามเป้าที่กาหนดไว้ รวมไปถึงการจัดเก็บรายได้ภาษี ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ในขณะที่ ธนาคารแห่ง
ประเทศไทย ดาเนินนโยบายทางการเงินเพื่อรักษาเสถียรภาพของระดับราคา ซึ่งส่งผลต่อการกระตุ้น
การใช้จ่ายภายในประเทศ ซึ่งสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งขึ้น ส่งผลให้รัฐบาลไทย
ตัดสินใจชาระคืนหนี้แก่กองทุนการเงิน ฯ และสถาบันอื่น ๆ ก่อนกาหนด ซึ่งการชาระหนี้คืนกองทุน
การเงิน ฯ และสถาบันอื่น ๆ ก่อนครบกาหนดนี้ส่งผลดีต่อการสร้างความเชื่อมั่นของประเทศแก่นัก
ลงทุนทั้งในและต่างประเทศ
จากความพยายามดังกล่าวของรัฐบาลในการดาเนินนโยบายเศรษฐกิจ ส่งผลให้ภาระหนี้ที่ไม่
ก่อให้เกิดรายได้ปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ การใช้หนี้กองทุน การเงิน ฯ และสถาบันต่าง ๆ
ก่อนกาหนดแสดงให้เห็นถึงความสาเร็จในการดาเนินนโยบายเศรษฐกิจของไทย

6
จัดตั้งบริษัทร่วมทุนยางพารา แก้ปัญหาราคายางพาราตกต่า
แนวทางในการแก้ไขปัญหายางพาราตกต่าทั้งระบบ คือ ความพยายามในการสร้างความ
ร่วมมือของ 3 ประเทศที่เป็นผู้ผลิตยางพ ารารายใหญ่ของโลก ได้แก่ ไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย
โดยจัดตั้งเป็นบริษัทร่วมทุนเพื่อร่วมกันกาหนดระดับราคายางให้มีเสถียรภาพและไม่ถูกกดราคาแบบ
เอารัดเอาเปรียบจากต่างชาติ
จากแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าวส่งผลให้ ราคายางพารามีราคาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก
ราคาในปี 2542 อยู่ที่ กิโลกรัมละ 17.91 บาท ขยับขึ้นมาถึงกิโลกรัมละ 45.05 บาท ในปี 2547 และมี
การเคลื่อนไหวของราคาที่ปรับตัวสูงขึ้นอย่างสม่าเสมอ

ริเริ่มการจัดตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาเอเซีย (เอเชียบอนด์)
การพัฒนาตลาดพันธบัตรในเอเชียเป็นนโยบายสาคัญด้านความร่วมมือ ทางการเงินระหว่าง
ประเทศของรัฐบาล อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการหารือนอกรอบระหว่างพ.ตท.ทักษิณ ผู้นาฟิลิปปินส์
และฮ่องกงในระหว่างการประชุม APEC Summit ครั้งที่ 9 ณ นครเซี่ยงไฮ้ เมื่อปี 2544 เพื่อหาแนว
ทางแก้ไขและป้องกันปัญหาจากวิกฤตเศรษฐกิจในภูมิภาค ซึ่งมีความเห็ นร่วมกันว่าจุดอ่อนที่สาคัญ
ประการหนึ่งของระบบเศรษฐกิจในเอเชีย คือ การขาดแหล่งเงินทุนระยะยาว เนื่องจากมีตลาดทุนและ
ตลาดพันธบัตรที่มีระดับการพัฒนาค่อนข้างต่า ทาให้ผู้ประกอบการพึ่งพาสถาบันการเงินและแหล่ง
เงินทุนระยะสั้นจากต่างประเทศเป็นหลัก
หนทางหนึ่งที่จะช่วย ลดผลจากการไหลเข้าออกของเงินทุนระยะสั้นต่อเสถียรภาพของทุน
สารองในภูมิภาค คือ การส่งเสริมให้มีการพัฒนาตลาดพันธบัตรในภูมิภาค (Regional Bond Market)
เพื่อเป็นแหล่งเงินทุนทางเลือกและเครื่องมือระดมทุนระยะยาวที่สาคัญสาหรับเอเชีย ทดแทนการ
พึง่ พิงเงินทุนระยะสัน้ จากภา ยนอก ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างเสถียรภาพและความสามารถในการพึ่งพา
ตนเอง และปลูกฝังภูมิคุ้มกันต่อกระแสความผันผวนของการเงินโลกให้แก่ภูมิภาคเอเชียโดยรวม
จากแนวความคิดดังกล่าวได้นาไปสู่ความร่วมมือในการพัฒนาตลาดพันธบัตรในเอเชียในทาง
การเมืองและทางเทคนิค โดยกระทรวงการต่างประเทศรับผิดชอบในด้านการดาเนินการทางการเมือง
และการทูต ในขณะที่กระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทยดูแลในด้านเทคนิค ซึ่งทั้งสองด้าน
ต้องดาเนินไปควบคู่กัน

การสร้างระบบความเข้มแข็งในภาคอุตสาหกรรมและบริการ ด้วย SME


ประเทศไทยเผชิญภาวะวิกฤตเศรษฐกิจที่ถาโถมมาน านกว่า 4 ปีเต็ม ส่งผลให้ธุรกิจถูก
ทาลาย ผู้ประกอบการจานวนมากมีฐานะการดาเนินงานอ่อนแอลง คนงานจานวนนับล้านคนถูก

7
ลอยแพกลายเป็นคนตกงาน และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอีกในอนาคตภาวะวิกฤตเช่นนี้ลดทอนความมั่ง
คั่ง และความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยลงอย่างน่าใจหาย
หนทาง เดียวที่จะฟื้นฟูภาวะวิกฤตนี้ได้ คือ การสร้างผู้ประกอบการรายใหม่ เพื่อสร้างงาน
สร้างรายได้ให้กับประเทศแทนผู้ประกอบการปัจจุบันที่กาลังอ่อนแอ โดยเฉพาะการมุ่งสร้าง
ผู้ประกอบการที่รู่เท่าทันโลกและมีความคิดสร้า งสรรค์พอที่จะสร้างนวัตกรรม ที่มีคุณค่า สามารถ
พัฒนาเป็นธุรกิจที่มีศักยภาพและการขยายตัวสูง
นับเป็นภารกิจสาคัญที่ท้าทายการทางานของรัฐบาลเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะรัฐบาลจะต้องมุ่ง
การจัดการสภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจของประเทศให้เหมาะสมกับการก่อตัวของผู้ประกอบการราย
ใหม่ พร้อมทั้งลดข้อจากัดด้านกฎหมาย ภาษีและระเบียบราชการทีท่ าให้ต้นทุนการประกอบการสูงขึ้น
รัฐบาลได้ตั้ง ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแ ห่งประเทศไทย (ธพว.) ขึ้น
เน้นส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ให้ ประสบความสาเร็จอย่าง ยั่งยืน และเป็น
กลไกของรัฐทางด้านการเงิน ในการวางรากฐานการพัฒนา SMEs ของประเทศ

 ผลงานเด่นสะท้อนวิสัยทัศน์ทางด้านสังคม

สนับสนุนและผลักดันการศึกษาสาหรับเด็กและเยาวชนผู้ด้อยโอกาส
 โครงการหนึ่งอาเภอ หนึ่งทุน : ให้ทุนการศึกษาแก่นักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลายที่มีฐานะยากจนทั้งในเมืองและชนบท ได้ศึกษาต่อระดับปริญญาตรี ทั้งในประเทศ และ
ต่างประเทศจากทุกอาเภอ/กิ่งอาเภอ ทั่วประเทศแห่งละ 1 ทุน
 ทุนการศึกษา สานฝันเด็กไทย : กาไรที่หักค่าใช้จ่ายแล้วจากการขายสลากกินแบ่ง
รัฐบาล ถูกนามาเป็นทุนการศึกษาโดยแบ่งเป็นทุนการศึกษา เด็กและเยาวชนที่มีฐานะยากจน บุตร-
ธิดาของข้าราชการชั้นผู้น้อย ผู้บาเพ็ญประโยชน์ ให้ประเทศชาติ

จัดตั้งสานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์กรมหาชน)
องค์กรที่สร้างปัญญาให้สังคมและเสริมสร้างงานที่ขาดอยู่ (missing link) เพื่อเป็นข้อต่อที่
สาคัญและสนับสนุนงานขององค์กรหลักที่เกี่ยวข้อง โดยไม่เข้าไปทางานแทน แต่จะเป็นผู้กาหนด
ยุทธศาสตร์ โดยจะเน้นการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่และจัดทาต้นแบบและมอบให้องค์กรหลักนาไป
ขยายผลต่อไป โดยมีหน่วยงานเฉพาะด้านอีก 7 หน่วยงาน ที่เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบใ นด้านต่าง ๆ
ประกอบด้วย หน่วยงานที่เป็นแหล่งบริการองค์ความรู้และหน่วยงานส่งเสริมการสร้า งนวัตกรรมและ
องค์ความรู้ใหม่ ได้แก่

8
1) อุทยานการเรียนรู้ (TK PARK) เป็นหน่วยงานที่มุ่งส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนรักการ
อ่าน การแสวงหาความรู้ และการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ ใน บรรยากาศทันสมัย ซึ่งได้ปรับปรุงพื้นที่
ให้บริการ โดยที่อยู่อาคารเซ็นทรัลเวิลด์ พลาซ่า ประกอบด้วย ห้องสมุดมีชีวิต ลานสานฝัน ร้าน Teen
Shop และมินิเธียเตอร์ นอกจากนี้ ยังได้ริเริ่มอุทยานการเรียนรุ้ส่วนภูมิภาคต้นแบบแห่งแรกที่จังหวัด
ยะลา
2) ศูนย์สร้างสรรค์งานอ อกแบบ (TCDC) เป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ด้าน
การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์แนวคิดใหม่ โดยรวบรวมข้อมูลด้านการดีไซน์จากทั่วโลกไว้ในที่
เดียวกัน ศูนย์สร้างสรรค์ด้านออกแบบมีพื้นที่สาคัญ 2 ส่วน คือ ส่วนของนิทรรศการต่างๆ และ
ห้องสมุด ได้บุกเบิกการพัฒนาความส ามารถด้านการออกแบบของนักออกแบบคนไทยให้ขยาย
กว้างไกลออกไป โดยการนาความรู้ด้านการออกแบบ (Design) จากทั่วโลกมาให้คนไทยได้เรียนรู้ถึง
วิธีการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ในทุกด้าน ตั้งแต่กระบวนการเกิดความคิดสร้างสรรค์ของนัก
ออกแบบชื่อดัง จนมาเป็นผลิตภัณฑ์ชื่อก้องโลก มี การนาเสนอในรูปแบบที่ไม่ยัดเยียดความรู้ แต่
กระตุ้นให้คนไทยเกิดความคิดใหม่ที่จะทาให้สินค้าและบริการของคนไทยโดดเด่นอย่างมีเอกลักษณ์

3) สถาบันวิทยาการการเรียนรู้ เป็นหน่วยงานที่มุ่งเน้นการส่งเสริมศักยภาพของเด็กทุกคน
ระหว่างอายุ 0-19 ปี ตามแนวทางที่เหมาะสมให้สอดคล้องต่อการทางานของสมองในแต่ละวัย หรือที่
เรียกว่า Brain Based Learning ที่ผ่านมาได้พัฒนาโรงเรียนต้นแบบ ทั้งระดับอนุบาล ประถมต้น
รวมทั้งศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยสนับสนุนการปรับกระบวนการเลี้ยงดูเด็กไทยใหม่ เริ่มตั้งแต่แรกเกิด
ด้วยโครงการถุงรับขวัญเด็กแรกเกิด

4) ศูนย์ส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษแห่งชาติ เป็นหน่วยงานที่ทาหน้าที่เป็นศูนย์กลาง
ในการเสาะหา และส่งเสริมผู้มีความสามารถพิเศษด้านต่าง ๆ ให้มีโอกาสพัฒนาความสามารถของ
ตนเอง และใช้ความสามารถที่มีอยู่เพื่อสร้างประโยชน์ให้กับสังคมและประเทศชาติ ปัจจุบันได้ดาเนิ น
โครงการในพื้นที่ต่าง ๆ ของจังหวัดเชียงรายและอุบลราชธานี โดยจัดตั้งศูนย์เสาะหาและพัฒนาเด็ก
หัวแหลม และจัดทากิจกรรมค่ายฤดูร้อน และจะขยายผลไปยังพื้นที่อื่น ๆ

5) ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ของประเทศไทย (TCELS) เป็นหน่วยงานที่


ทาหน้าที่ส่งเสริมการวิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพและเทคโนโลยีชีวภาพโดย
เน้นด้านสุขภาพเป็นหลัก มีลักษณะการดาเนินงานที่เน้นการพัฒนาศักยภาพความพร้อมของประเทศ
โดยการศึกษาค้นคว้าและแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างประเทศอย่างจริงจัง ซึ่งจะ
ส่งผลให้ประเทศไทยสามา รถก้าวไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ได้ในที่สุด โดยพยายามนาเอาความรู้ด้าน

9
ชีววิทยาที่มาจากทรัพยากรที่หลากหลายของประเทศ และจากภูมิปัญญาชาวบ้านของไทย มา
กลั่นกรองผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในกลายเป็นผลิตภัณฑ์ที่เชื่อถือได้ในตลาดโลก

6) สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ มีเป้าหมายพัฒนารูปแบบพิพิธภัณฑ์แนวใหม่ที่
มีชีวิตชีวา มีความรื่นรมย์ และยกระดับมาตรฐานการจัดการเรียนรู้แบบใหม่ให้กับประชาชน
โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนไทย เกี่ยวกับการสร้างสานึกในการรู้จักตนเอง รู้จักเพื่อนบ้านและรู้จักโลก
รวมถึงการสร้างแนวคิดและภาพลักษณ์ให ม่ของพิพิธภัณฑ์ ภายใต้รูปแบบของพิพิธภัณฑ์ที่ทันสมัย
ตามแนวคิด “ Discovery Museum” rพื้นที่แห่งใหม่แห่งการเรียนรู้ ซึ่งเป็นรูปแบบใหม่ของพิพิธภัณฑ์
โดยสร้างสรรค์นิทรรศการที่จะจุดประกายความอยากรู้ เกิดการตั้งคาถามและเน้นปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
นิทรรศการกับผู้ชมเกิดทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง ด้วยเทคนิคการจัดแสดงที่หลากหลาย

7) ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม (ศูนย์คุณธรรมฯ) เป็นหน่วยงานที่


ส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้เพื่อสร้างจิตสานึกที่ดีให้กับคนไทย โดยได้ดาเนินการประสานความ
ร่วมมือและสนับสนุนเครือข่ายองค์กรภาคีต่าง ๆ รวมทั้งดาเนินการวิจัยและการจัดการความรู้ในพื้นที่
นาร่องในส่วนภูมิภาค

สร้างที่อยู่อาศัยสาหรับผู้มีรายได้น้อย : บ้านเอื้ออาทร และ บ้านมั่งคง


รัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ เล็งเห็นความสาคัญในการที่จะให้ประชาชนมีความมั่นคงในการมีที่
อยู่อาศัยซึ่งถือเป็นศูนย์รวมของสถาบันครอบครัว ประชาชนผู้มีรายได้น้อยที่ต้องการมีที่อยู่อาศัย มี
อยู่เป็นจานวนมากถึง 1.8 ล้านคน ดังนั้น หากประชาชนเกิดความมั่นคงในการอยู่อาศัย หรือมีที่อยู่
อาศัยของตนเอง จะทาให้เกิดความหวังและกาลังใจในการประกอบอาชีพ เพื่อหารายได้มาผ่อนชาระที่
อยู่อาศัย
นอกจากนี้ การที่ประชาชนได้เปลี่ยนสภาพแวดล้อมในการอยู่อาศัยที่ดีขึ้นจะช่วยพัฒนา
หรือยกระดับความเป็นอยู่ของตนเองให้ดีขึ้น อันจะนาไปสู่การสร้างสังคมที่มีคุณภาพโดยรวม
มาตรการและแนวทางแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัยของคนจน ประกอบด้วยการสร้างที่อยู่อาศัยใหม่ การให้
เอกชนสร้างที่อยู่อาศัยให้ผู้มีรายได้น้อย การให้ผู้ประกอบการจัดที่อยู่อาศัยให้คนงาน การนาอาคารที่
ว่างมาพัฒนา รวมทั้งการดาเนินโครงการบ้านเอื้ออาทรและโครงการบ้านมั่งคง
พ.ต.ท.ทักษิณได้กล่าวถึงการสร้างที่อยู่อาศัยให้กับประชาชนผู้มีรายได้น้อยตามนโยบายของ
รัฐบาล ว่า ....
“บ้านเป็นปัจจัย 4 ที่สาคัญมากของมนุษย์ ฉะนั้น ถ้าคนไม่มีบ้าน คนย่อมไม่มีความหวังใน
ชีวิต ถ้าคนที่มีบ้านจะมีความหวังของชีวิต อันนี้จะทาให้คุณภาพชีวิตคนดีขึ้น คนจนคงมีความหวัง

10
มากขึ้น คนจนเป็นพลังในการผลิตมากขึ้นกว่าที่จะปล่อยให้สภาพตัวเองเป็นคนที่อยู่อย่ างไม่มี
ความหวังไปวัน ๆ นี่ก็เป็นแนวทางที่รัฐบาลจะได้มองว่าจะสร้างเรื่องบ้านคนจนอีกต่อไป ให้คนไทยมี
บ้านอยู่ให้ได้ทุกคน ก็อย่างที่ผมได้เรียนเอาไว้ ตั้งเป้าเอาไว้ทั้งหมดว่าจะต้องให้เกษตรกรมีที่ดินทากิน
เป็นของตนเอง จะต้องให้คนจนมีบ้านอยู่อาศัย”

 ผลงานเด่นสะท้อนภาวะผู้นาในสถานการณ์วิกฤต

การแก้ไขปัญหากรณีเผาสถานทูตไทยในกัมพูชา
พ.ต.ท. ทักษิณ ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้นาที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล แต่ไม่มีผู้ใดรับรู้มา ก่อน
ว่าท่านเป็นผู้นา ที่แข็งแกร่งอย่างยิ่ง ในภาวะวิกฤต การแก้วิกฤติการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างปัจจุบัน
ทันด่ว นในประเทศกัมพูชา จนกระทั่งสามารถนา คนไทยทั้งหมดกลับสู่มาตุภูมิได้อย่างปลอดภัยและ
สามารถธารงรักษาเกียรติภูมิของชาติเอาไว้ได้ ทาให้ท่านได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้นาที่เฉียบคมและ
เด็ดขาดจนเป็นที่สรรเสริญกันทั่วไป
ค่าวันที่ 29 มกราคม พ.ศ.2546 สานักข่าวทุกแห่งรายงา นข่าวด่วนว่าสถานทูตไทยใน
กัมพูชาถูกฝูงชนที่บ้าคลั่งบุกเผาทาลาย สร้างความตกตะลึงให้กับคนไทยทั้งประเทศ สถานการณ์
กาลังลุกลามไปทั่วกรุงพนมเปญจนกลายเป็นแดนมิคสัญญีในชั่วเวลาข้ามคืน
วิกฤตการณ์ครั้งนี้สร้างความเสียหายให้กับทั้งไทยและกัมพูชาเป็นอย่างมาก แต่คนไทยได้เห็น
ภาวะผู้นาของ พ.ต.ท. ทักษิณ ในบทบาทนายกรัฐมนตรีที่ปฏิบัติงานในภาวะวิกฤต ซึ่งการดาเนินการ
และการตัดสินใจทั้งหมดได้รับการชื่นชมจากประชาชนและทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นสื่อมวลชน นักวิชาการ
หรือแม้แต่นักการเมืองฝ่ายตรงข้ามว่า ตัดสินใจแก้ไขสถานการณ์เรื่องนี้ได้อย่า งฉับไว ทันการณ์ทาให้
ช่วยเหลือคนไทยในกัมพูชาให้อพยพกลับประเทศได้อย่างปลอดภัยทั้งหมด
ในส่วนของการตอบโต้ ก็สามารถดาเนินการได้อย่างเหมาะสมด้วยท่าทีอันแข็งกร้าวในระดับที่
จาเป็น ทั้งการขับเอกอัครราชทูตกัมพูชากลับประเทศ ลดระดับความสัมพันธ์เหลือแค่อุปทูต การปิด
ด่านชายแดนด้านกัมพูชาทั้งหมด ตลอดจนการตัดความช่วยเหลือที่ไทยมีให้กับกัมพูชาในทุกด้าน
มาตรการเหล่านี้ครบถ้วนทั้งวิธีทางการทูต การกดดัน ทางการเมืองและ ทางเศรษฐกิจ เพื่อให้ทางการ
กัมพูชายอมรับผิดชอบต่อเหตุการณ์เลวร้ายครั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการจับตัวการสาคัญที่ก่อเห ตุร้ายนี้ขึ้น
ตลอดจนการชดใช้ค่าความเสียหายทั้งหมดให้กับทางการไทยและภาคเอกชนที่ต้องพินาศเป็นมูลค่า
มหาศาลนับพันล้านบาท

11
บทบาทนาในการแก้ปัญหาสาคัญของเอเชีย : การแก้ไขปัญหาการระบาดของโรคทางเดิน
หายใจเฉียบพลับรุนแรง (โรคซาร์ส)
โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรงหรื อโรคซาร์ส เป็นโรคอุบัติใหม่ที่มีความรุนแรงและแพร่
ระบาดข้ามประเทศอย่างรวดเร็ว ถือเป็นภัยคามฉุกเฉินด้านสาธาณสุขระหว่างประเทศที่ต้องการความ
ร่วมมือในการแก้ไขและควบคุมสถานการณ์อย่างจริงจังและมีประสิทธิภาพ รัฐบาลไทยได้กาหน ด
นโยบายที่ชัดเจนที่จะต้องเร่งแก้ไขปัญหา การแพร่ระบาดให้สงบลงโดยเร็ว ตลอดจนลดผลกระทบให้
เกิดขึ้นน้อยที่สุด โดยการผลักดันความร่วมมือระหว่างประเทศทั้งในกลุ่มอาเซียน รวมทั้งจีน ญี่ปุ่น และ
เกาหลี และได้ให้การสนับสนุนด้านนโยบายและงบประมาณ เพื่อพัฒนาศักยภาพของประเทศในด้าน
ต่าง ๆ ที่จาเป็นให้มีความพร้อมรับมือต่อปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่อื่นในระยะยาว
โรคซาร์ส เป็นโรคติดต่ออุบัติใหม่โรคแรกของศตวรรษที่ 21 ที่มีความรุนแรง เริ่มต้นในมณฑล
กวางตุ้ง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนแล้วแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วไปในประเทศต่างๆ สร้างความ
ตื่นตระหนกในวงกว้างไปทั่วโลก เกิดผลกระทบรุน แรงด้านสังคมและเศรษฐกิจตามมา โดยเฉพาะ
ธุรกิจการเดินทางท่องเที่ยว ธุรกิจการบินรวมไปถึงธุรกิจเกี่ยวเนื่องในภูมิภาคเอเชีย รัฐบาลไทยได้
ผลักดันความร่วมมือของทุกประเทศในกลุ่มอาเซียน รวมทั้งจีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้และความร่วมมือ
กับองค์การอนามัยโลกอย่างจริงจัง จนกระทั่งสามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคซาร์ส ให้สงบลง
ได้ในเวลาอันรวดเร็ว

นายกรัฐมนตรีคนที่ 23 สมัยที่ 2
การบริหารประเทศโดยรัฐบาลพรรคเดียว

 ผลงานรัฐบาลในฐานะข้าของแผ่นดิน

เจ้าภาพจัดงานพระราชพิธีเนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ ทรงครองสิริราช
สมบัติ 60 ปี ได้อย่างสมพระเกียรติ
ตลอดระยะเวลา 60 ปีที่ผ่านมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ได้ทรงบาเพ็ญพระราชกรณีย
กิจ ที่ล้วนก่อให้เกิดคุณประโยชน์ต่อ ประเทศ ชาติและประชาชน อย่างเหลือคณานับ อาจกล่าวได้ว่า
ยากที่จะมีผู้หนึ่งผู้ใดสามารถจดจาและเรียบเรียงลาดับพระราชกรณี ยกิจเหล่านั้น ให้ประจักษ์ได้อย่าง
ละเอียด บรรดานักศึกษาและประชาชนทั้งประเทศ ที่เฝ้าชื่นชมพระบารมีและแสดงความจงรักภักดี ก็
มีจานวนไม่น้อยที่ยังไม่เข้าใจถึงแนวทางโครงการต่างๆ ตามพระราชดาริอย่างถ่องแท้
ในวาระอันเป็นมหามงคลยิ่งของประเทศในครั้งนี้ รัฐบาล พ.ต.ท.ทัก ษิณ ได้ จัดนิทรรศการ
เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เนื่องในโอกาสกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี หรือ

12
เรียกชื่อย่อว่า นิทรร ศการเฉลิมพระเกียรติฯ โดยจัดขึ้น อย่างยิ่งใหญ่ ได้ นาพระราชประวัติ พระราช
กรณียกิจและแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ มาร้อยเรียงและนาเสนอด้วยวิธีการ
อันทันสมัย เข้าถึงได้ง่าย น่าสนใจและชวนติดตาม
นอกจากนั้น ประเทศที่มีสมเด็จพระราชาธิบดีและสมเด็จพระราชินี ได้ตอบรับ
คากราบบังคมทูลเชิญเสด็จพระราชดาเนินเยือนประเทศไทย ของรัฐบาลไทย อย่างเป็นทางการ เพื่อ
ร่วมถวายพระพรพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ในวโรกาสดังกล่าว จานวน 25 ประเทศ นับเป็นการ
ชุมนุมพระประมุขของประเทศต่างๆ มากที่สุดในโลก

 เผชิญวิกฤตการณ์ทางการเมือง

ประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร เพื่อ
ในช่วงต้นปี 2549 สถานการณ์ทางการเมืองของประเทศอยู่ในภาวะที่ตึงเครียด สังคมเกิด
ความขัดแย้งและแตกแยกทางความคิดอย่างรุนแรง โดยประชาชนส่วนหนึ่งออกมาเคลื่อนไหวขับไล่
ให้ พ.ต.ท.ทักษิณ ลาออกจากตาแหน่งนายกรัฐมนตรี เมื่อเหตุการณ์เริ่มส่อเค้าความรุนแรงเพิม่ มาก
ขึ้น พ.ต.ท.ทักษิณในฐานะนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย จึงได้ประกาศ
ยุบสภาฯ เพื่อคืนอานาจการตัดสินใจกลับไปที่ประชาชน...

พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พ .ศ. 2549 ให้ไว้ ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ .ศ. 2549


เป็นปีที่ 61 ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า
โปรดกระหม่อม ให้ประกาศว่า โดยที่นายกรัฐมนตรีได้นาความกราบบังคมทูลว่าตามที่
ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้นาความกราบบังคมทูลเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2548 ขอให้ทรง
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ตามมติเห็นชอบข้างมากเกินกว่าครึ่งหนึ่งของ
จานวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ลงคะแนนโดยเปิดเผยในสภาผู้แทนราษฎร และได้มีการจัดตั้ง
คณะรัฐมนตรีขึ้นบริหารราชการแผ่นดินแล้วนั้น ต่อมาได้เกิดการชุมนุมสาธารณะ ตั้งข้อเรียกร้อง
ในทางการเมืองมากขึ้น ซึ่งแม้ระยะแรกจะอยู่ในกรอบของกฎหมาย แต่เมื่อนานวันเข้า การ
ชุมนุมเรียกร้องได้ขยายตัวไปในทางที่กว้างขวาง และอาจรุนแรงขึ้น รวมทั้งส่อเค้าว่าจะมีการ
เผชิญหน้าจนอาจปะทะกับฝ่ายที่ไม่เห็นด้วย และอาจมีการสอดแทรกฉวยโอกาสจากผู้ ที่
ประสงค์จะเห็นความไม่สงบเรียบร้อยในบ้านเมือง จุดชนวนให้เกิดความรู้สึกที่เป็นปฏิปักษ์ต่อ
กัน จนลุกลามถึงขั้นการจลาจลวุ่นวาย สร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินได้

ครั้นใช้อานาจเจ้าหน้าที่ฝ่ายบ้านเมืองเข้าควบคุมดูแลอย่างเข้มงวด หรือแม้แต่รัฐบาลได้
พยายามดาเนินการตามวิถีทางรัฐธรรมนูญ ด้วยการขอเปิดอภิปรายทั่วไปโดยไม่มีการลงมติในที่

13
ประชุมรัฐสภาแล้ว ก็ยังไม่อาจแก้ไขปัญหาและความคิดเห็นพื้นฐานที่แตกต่างกัน ทั้งระหว่าง
กลุ่มผุ้ชุมนุมเรียกร้อง กับรัฐบาล และระหว่างกลุ่มผู้ชุมนุมเรียกร้อง กับกลุ่มอื่นๆ ที่ไม่เห็นด้วย
และประสงค์จะเคลื่อนไหวบ้าง จนอาจเกิดการปะทะกันได้ สภาพเช่นนี้ย่อมไม่เป็นผลดีต่อ
เศรษฐกิจของประเทศ การเมือง การปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยภายใต้ระบบรัฐสภา และ
ความสงบเรียบร้อยของสังคม โดยเฉพาะในขณะนี้ซึ่งควรจะสร้างความสามัคคีปรองดอง การ
ดูแลรักษาสภาพของบ้านเมืองที่สงบร่มเย็น น่าอยู่ อาศัยการลงทุน และการเผยแพร่ความวิจิตร
อลังการ ตลอดจนความดีงามตามแบบฉบับของไทยให้เป็นที่ประจักษ์

เมื่อปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นความคิดเห็นในสังคมที่หลากหลาย และยังคงแตกต่างกัน จนกลายเป็น


ความขัดแย้งทางการเมืองที่รุนแรงเช่นนี้ ครั้นจะดาเนินก ารเพื่อตรวจสอบความประสงค์อัน
แท้จริงของประชาชนโดยเป็นการอื่น เพื่อให้ทุกฝ่ายหยั่งทราบแล้วยอมรับให้เป็นไปตามกลไกใน
ระบอบประชาธิปไตย ก็ทาได้ยาก ทางออกในระบอบประชาธิปไตยที่เคยปฏิบัติมาในนานา
ประเทศ และแม้แต่ในประเทศไทย คือการคืนอานาจตัดสินใจทางการเมืองกลับสู่ประชาชน ด้วย
การยุบสภาผู้แทนราษฎร เพื่อจัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั่วไปขึ้นใหม่ ตาม
บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยต่อไป อาศัยอานาจตามความในมาตรา 116
และมาตรา 221 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรด
กระหม่อม ให้ตราพระราชกฤษฎีกาขึ้นไว้ ดังต่อไปนี้
มาตรา 1 พระราชกฤษฎีกานี้ เรียกว่า พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร พุทธศักราช
2549
มาตรา 2 พระราชกฤษฎีกานี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป
มาตรา 3 ให้ยุบสภาผู้แทนราษฎร เพื่อให้มีกา รเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่
มาตรา 4 ให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เป็นการเลือกตั้งทั่วไป ในวันที่ 2
เมษายน พุทธศักราช 2549 และ
มาตรา 5 ให้นายกรัฐมนตรี และประธานกรรมการการเลือกตั้ง รักษาการตามพระราช
กฤษฎีกานี้

การเลือกตั้ง 2 เมษายน พ.ศ.2549


การเลือกตั้งครั้งนี้ผิดปกติกว่าการเลือกตั้งครั้งใดๆ เนื่องจากอดีตพรรคฝ่ายค้าน 3 พรรค ได้แก่
พรรคประชาธิปัตย์ พรรคชาติไทยและพรรคมหาชน ไม่ส่งผู้สมัครลงสมัครรับเลือกตั้ง ในขณะที่พรรค
ไทยรักไทยยังคงเดินหน้าต่อไป โดย พ.ต.ท.ทักษิณ ได้กล่าวปราศรัยในการหาเสียงเลือกตั้งครั้งใหญ่
ซึ่งมีประชาชนเข้ามาร่วมรับฟังเต็มบริเวณท้องสนามหลวงและถนนราชดาเนิ น นับเป็นภาพ
ประวัติศาสตร์ครั้งหนึ่งสาหรับการปราศรัยของพรรคการเมืองที่มีจานวนผู้ฟังมากมายเช่นนี้

14
“....ประเทศนี้ต้องการความสามัคคี ผมเห็นประเทศอื่นเขาสามัคคีกันแล้ว ผมรู้สึกว่า ผม
อยากเห็นประเทศไทยเข้มแข็งอย่างนั้น โอกาสเรามีมากเลยวันนี้ เราพร้อมปรับตัวเราแล้ว เราจะ
นาเทคโนโลยี เราจะนาสิ่งใหม่ ๆ มา เราจะแก้ปัญหาความยากจน เราอยากให้ประเทศมีความสุข
เราอยากให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวของเรามีความสุข พสกนิกรของพระองค์ท่านมีความสุข
ผมอยากเห็นความปรองดองให้เกิดขึ้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงเจริญ
พระชนมายุ 79 พรรษาในปีนี้ ปีหน้าทรงเจริญพระชนมายุ 80 พรรษา ท่านทรงมีพระชนมายุมาก
แล้ว ท่านทรงตรากตราเหน็ดเหนื่อยเพื่อคนไทยมามากแล้ว ท่านทรงห่วงเรื่องความรักความสามัคคี
พวกเราลดทิฐิหันหน้ากันเพื่อถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไม่ดีหรือ ไหนที่เราบอกกันว่า
จงรักภักดี จงรักภักดีก็อย่าทาให้ท่านทรงกลุ้มพระทัยเลย หันหน้าเข้าหากันมาคุยกันดีกว่า ผม
พร้อมจะคุยกับทุกฝ่าย มาคุยกันแบบ พี่น้ องคนไทยด้วยกัน กรีดเลือดความเป็นไทยด้วยกันมา
คุยกันดีกว่า เราจะได้รู้ว่าเราคือคนไทยที่รักแผ่นดิน รักพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอย่างแท้จริง
ผมพร้อมจะหันหน้าคุยกับทุกฝ่าย
หวังว่าประเทศเราคงจะมีความรัก ความสามัคคี เจริญรุ่งเรือง เพื่อให้พระบาทส มเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวของเรา ปีนี้เป็นปีครองราชย์ 60 ปี หวังว่าพวกเราจะร่วมกันถวายเป็นพระราชกุศล
ด้วยความปรองดอง ความจงรักภักดี ความสามัคคี ความทุ่มเท ความศรัทธา ต่อบ้านเมือง
เพื่อให้ท่านทรงมีพระชนมายุยืนนานต่อไป”

ผลของการเลือกตั้งในวันที่ 2 เมษายน พ.ศ.2549 พรรคไทยรักไทยยังคงได้รับความไว้วางใจ


จากประชาชนทั้งประเทศด้วยคะแนน ส .ส.ระบบบัญชีรายชื่อ จานวน 16 ล้านเสียง
ทาให้ พ.ต.ท.ทักษิณ กลับเข้ามารับตาแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง

รัฐประหารรัฐบาลของประชาชน
รัฐบาลภายใต้การนาของ พ.ต.ท.ทักษิณ พยาย ามอย่างที่สุดเพื่อรักษากติกาการปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เพื่อรักษาชาติบ้านเมืองที่จะส่งมอบให้
ลูกหลานไทยในสภาพที่บอบช้าน้อยที่สุด
ทว่า ในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข นาโดยเป็นหัวหน้าคณะฯ พลเอกสนธิ บุณยะรัตกลิน
ผู้บัญชาการทหารบก เข้ายึดอานาจการปกครองจากรัฐบาล ในขณะที่ พ.ต.ท.ทักษิณ อยู่ระหว่างการ
ดาเนินภารกิจกับสหประชาชาติ ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา

15
กลายเป็นจุดสาคัญทางประวัติศาสตร์ เป็นการยุติบทบาทผู้นาประเทศของ พ.ต.ท.ทักษิณ
ซึ่งนับเป็นผู้นาที่ฝากผลงานในการดูแลและรักษาประเทศชาติให้คนรุ่นหลังได้ระลึกถึงไว้ไม่น้อยว่า
ครั้งหนึ่งประเทศไทยเคยมีนายกรัฐมนตรีซึ่งสามารถบริหารประเทศให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ...
จากวิกฤต กลับกลายเป็นโอกาส
จากความตกต่าทางเศรษฐกิจ กลายเป็นความเติบโตทางเศรษฐกิจ
จากความสิ้นหวังและท้อถอย กลายเป็นความเชื่อมั่นและศรัทธา
จากความเสื่อมทรุดของลูกหลานด้วยยาเสพติดที่เลวร้าย กลายเป็นการเยียวยา
แล้วคืนสู่อ้อมกอดของครอบครัว
จากการเมืองที่แข่งกันให้ร้ายป้ายสี กลายเป็นการเมืองที่แข่ง กัน สร้างสรรค์
นโยบาย

16

You might also like