You are on page 1of 19

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)

คํานํา
ในช ว ง 5 ป ที่ ผ า นมา เศรษฐกิ จ ไทยเผชิ ญ ความท า ทายต อ
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทย การบริหารเศรษฐกิจ เพื่อรักษาอัตราการเจริญเติบโตและเสถียรภาพ
เพื่ อ ให ก ารสรา งรายไดแ กป ระชาชน การจ า งงาน และการลดความ
ยากจนเปนไปอยางตอเนื่อง
ในชวง 5 ป (2544-2548) อุปสรรคทางเศรษฐกิจมีทั้งปจจัยเฉพาะที่หลายประเทศในโลก
ไมตองเผชิญ เชน ธรณีพิบัติภัย (สึนามิ) ภัยแลงและน้ําทวมภายในป
เดียวกัน ความไมสงบใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต โรค SARs และ
ไขหวัดนก และปจจัยที่ทุกประเทศในโลกตองเผชิญ เชน ราคาน้ํามัน
สงครามในตะวันออกกลาง การกอการรายสากล การชะลอตัวของ
เศรษฐกิจสหรัฐฯ และความผันผวนของคาเงินสกุลหลักในโลก เปนตน

เ ค รื่ อ ง ชี้ ภ า ว ะ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม ไ ท ย ใ น ภ า พ ร ว ม
ในชวง 5 ปที่ผานมา ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสั ง คมแห ง ชาติ (สศช.) ได ร ายงานภาวะเศรษฐกิ จ และสั ง คม
ทุ ก ไตรมาส และข อ มู ล ที่ ร วบรวมจาก ธนาคารแห ง ประเทศไทย
กระทรวงการคลัง สํานักงานสถิติแหงชาติ และหนวยงานที่เกี่ยวของ
แสดงให เ ห็ น ถึ ง การขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ อย า งต อ เนื่ อ ง ป ญ หา
เศรษฐกิ จ ในช ว งวิ ก ฤตได ค ลี่ ค ลายลงอย า งชั ด เจนและเสถี ย รภาพ
สิงหาคม 2549 ทางเศรษฐกิ จ มี ค วามมั่ น คงเพิ่ ม ขึ้ น ดั ง ที่ นั ก วิ เ คราะห เ ศรษฐกิ จ และ
สถาบั น ประเมิ น ความน า เชื่ อ ถื อ ของเศรษฐกิ จ ในระดั บ โลก
ไดปรับอันดับความนาเชื่อถือของเศรษฐกิจไทยเพิ่มขึ้นมาอยางตอเนื่อง

www.nesdb.go.th 2 I
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
สารบัญ
1. เศรษฐกิจไทยป 2544-2549: เผชิญขอจํากัดทางเศรษฐกิจ 1
ในขณะเดี ย วกั น เครื่ อ งชี้ ท างด า นสั ง คมและคุ ณ ภาพชี วิ ต
2. นโยบายรัฐบาลที่สาํ คัญ 4
ในภาพรวมก็ ป รั บ ตั ว ดี ขึ้ น ทั้ ง ด า นความยากจน การกระจายรายได
โอกาสในการศึ ก ษา และด า นสาธารณสุ ข อย า งไรก็ ดี มี ป ญ หาใหม ๆ 3. การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม 2544-2549 12
ที่เ กิดขึ้ นจากกระแสโลกาภิ วั ตน ที่ ทํา ใหคานิยมอันดี งามของสังคมไทย ภาพรวมเศรษฐกิจ 12
โดยเฉพาะในกลุ ม ที่ มี ค วามอ อ นไหว เช น เด็ ก และเยาวชน ต อ งได รั บ ภาคเกษตรกรรม 13
การดูแลอยางจริงจังมากขึ้น ภาคอุตสาหกรรม 14
ภาคบริการทองเที่ยว 15
ในชวงตอไป เศรษฐกิจไทยจะยังเผชิญความผันผวนของภาวะ
ภาคการคาระหวางประเทศ และ FTA 16
เศรษฐกิจโลก ราคาน้ํามัน และการกอการรายสากล ในขณะที่การแขงขัน
การจางงานและขีดความสามารถในการแขงขัน 19
จากการรวมตัวดานเศรษฐกิจและการเงินของโลก จะเปนทั้งโอกาสและ
ขอจํากัดที่ทุกประเทศตองวางยุทธศาสตรและดําเนินการในการรองรับ รายไดครัวเรือน 20
ดั ง นั้ น ประเด็ น ท า ทายของการบริ ห ารเศรษฐกิ จ ไทย คื อ การปรั บ การกระจายรายได 21
โครงสรางทางเศรษฐกิจ ใหสามารถเขาสูการเพิ่มคุณคาของสินคาและ สถาบันการเงินและตลาดทุน 22
บริ ก าร บนฐานความรู แ ละเอกลัก ษณไ ทยไดอ ย า งแท จริ ง การสร า ง รัฐวิสาหกิจ 24
ความเขมแข็งของชุมชนอยางตอเนื่อง และการเชื่อมโยงกับโลกาภิวัตน ฐานะการคลังและเสถียรภาพเศรษฐกิจ 25
อยางมีภูมิคุ มกัน เพื่อใหเศรษฐกิจและสังคมไทยกาวหนาอยางมั่นคง
หนี้สาธารณะ 27
ตอไป
หนี้ภาคธุรกิจและภาคครัวเรือน 28
ภาวะสังคม 31
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
คุณภาพชีวิต 31
สิงหาคม 2549
การศึกษา 32
ความมั่นคงของมนุษย และความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยสนิ 33
II I 2 III
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)

เศรษฐกิจไทย ในป 2544-2549 เผชิญกับขอจํากัดทางเศรษฐกิจ


เผชิญกับขอจํากัดทางเศรษฐกิจ
ราคาน้ํามัน $/bbl
ป 2544: % 85 OMAN

เหตุการณ 911 และเศรษฐกิจ


5

4 US Japan ราคาน้ํามันดิบดูไบเพิ่มขึ้นสูง 75
ดูไบ
สิงคโปร 95
สิงคโปร HSD

โลกชะลอตัว 3
จาก 26.8 $/บาเรล ณ สิ้นป 2545
65
55
มูลคาการสงออกชะลอตัวลง 2
45

จากที่ขยายตัวรอยละ 27 ในป
1

0
เปน 53.5 $ ณ สิ้นป 2548 และ 35

2543 เหลือรอยละ 2.6 ในป -1 2543


ที่มา IMF
2544 2545 2546 2547 2548
70.74 $ ณ 8 สิงหาคม 2549 25
15
-2
2544 2544 2545 2546 2547 2548 2549

ป 2545-2546:
1,200 150
สงครามสหรัฐฯ – อิรัก (2545) ราคาน้ํามันดีเซล เพิ่มขึ้นสูง
1,000
800
100
50
และ SARs (2546) จาก 13.9 บาทตอลิตร ณ สิ้นป 2545
600 0 นักทองเที่ยวตางชาติลดลง เปน 23.5 บาท ณ สิ้นป 2548 และ
400 -50 จาก 10.8 ลานคน ในป 2545 27.5 บาท ในเดือน สิงหาคม 2549
200
2545 2546 2547 2548 2549
-100
เหลือ 10.0 ลานคน ในป 2546
จํานวนนักทองเที่ยว ( %) (ลดลง 7.4%) เปนการสูญเสีย
ที่มา ททท.
รายได 15,000 ลานบาท ประเทศไทยต อ งใช เ งิ น ตราต า งประเทศเพื่ อ จ า ย
คาเชื้อเพลิงและน้ํามันนําเขาเพิ่มขึ้น จาก 13,150 ลาน
ป 2547: ดอลลาร (531,709 ลานบาท) ในป 2547 เปน 20,920 ลาน
การระบาดไขหวัดนก
การสงออกไกสด สูญเสียรายได ดอลลาร (842,737 ลานบาท) ในป 2548
ประมาณ 20,000 ลานบาท
1 2 2
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)

เผชิญกับขอจํากัดทางเศรษฐกิจ การดําเนินนโยบายเศรษฐกิจ
ภาวะภัยแลง
แบบ Dual Track เพื่อสรางสมดุล
ผลผลิตเกษตรกรรมลดลง มาตรการเพิ่มรายได
ภัยแลงสงผลใหมูลคาสินคาเกษตร
ลดลงประมาณ 19,366 ลานบาท ƒ โครงการหนึ่งตําบล
ในป 2547 และ 17,951 ลานบาท หนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP)
ในป 2548
ƒ ปรับเพิ่มอัตราคาจางขัน้ ต่าํ
ในเขตกรุงเทพฯ จาก 165
ธรณีพิบัติภัย บาทในป 2544 เปน 184
จํานวนนักทองเที่ยวตางชาติ ในป 2548
ลดลง 130,000 คน ในป 2548 ƒ ปรับฐานเงินเดือนขาราชการ 2 ครั้ง ในป 2547 และ 2548
หรือลดลง 1.1% โดยปรับเพิม่ 13% รวมทั้งการปรับเพิ่มฐานเงินเดือน
ผลกระทบสึนามิทําใหสูญเสียรายไดจากการทองเที่ยว ขัน้ ต่าํ ใหเปน 7,000 บาท และสําหรับกลุมที่มีเงินเดือน
ในป 2548 ประมาณ 2,900 ลานบาท (มูลคาความเสียหาย ไมเกิน 10,000 บาท ใหเพิม่ เงินเดือน อีก 1,000 บาท
ดานทรัพยสินประมาณ 64,000 ลานบาท)

3 4
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)

ƒ การผลักดันการสงออกไปยังตลาดใหม มาตรการลดรายจาย
ใหเพิ่มขึน้ และการสรางความมัน่ ใจแก
นักลงทุนตางชาติ รวมทั้งมาตรการ ƒ โครงการพักชําระหนี้เกษตรกร
เพื่อใหเกษตรกรไดมีโอกาส
สงเสริมการสงออกอยางตอเนือ่ ง
ฟนฟูอาชีพ
ƒ เรงผลักดันแหลงทองเที่ยว
ใหม ๆ รวมทั้งการเปด ƒ โครงการ 30 บาท รักษาทุกโรค เพื่อเสริมสรางสุขภาพ
ที่ดีสําหรับประชาชน
สนามบินสุวรรณภูมิและสราง
ระบบเตือนภัยธรรมชาติเพือ่ ƒ โครงการศูนยซอมสรางประจําหมูบา น (Fix it Center) เพื่อ
สรางความมั่นใจแก ลดรายจายในการซือ้ เครือ่ งจักร/เครือ่ งมือใหม
นักทองเที่ยว
ƒ การพัฒนาพลังงานทดแทน ไดแก
ƒ สรางเสถียรภาพของราคาพืชผลเกษตร ที่สําคัญคือ ขาว กาซธรรมชาติ แกสโซฮอล และ
ยางพารา เพื่อเพิ่มรายไดจากสินคาเกษตร ไบโอดีเซล เพื่อลดการพึ่งพาการ
ƒ ขยายการใหเบี้ยยังชีพแกคนชรา และผูดอยโอกาสใหครบ นําเขาพลังงาน
ทุกคน

5 2 6
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)

มาตรการสรางโอกาส
ƒ โครงการกองทุนหมูบ า นธนาคาร ƒ งบประมาณตามโครงการ
ประชาชน และธนาคาร พัฒนา พัฒนาศักยภาพของ
วิสาหกิจขนาดกลางและขนาด หมูบ า น/ชุมชน (SML) และ
ยอม เพื่อเปนชองทางในการ งบประมาณตามโครงการ
เขาถึงแหลงทุนสําหรับประชาชนในระดับรากหญา เงินอุดหนุนคาใชจายใน
การบริหารจัดการของจังหวัดแบบบูรณาการ (งบ CEO)
เพื่อสนับสนุนการกระจายความเจริญไปสูภูมิภาค

ƒ โครงการแปลงสินทรัพย ƒ ขยายโอกาสทางการศึกษาของเด็กยากจนและดอยโอกาส
เปนทุน เพื่อสนับสนุน โดยใชเงินรายไดจากการจําหนายสลากแบบเลขทาย 3
ชองทางในการเขาถึง ตัว 2 ตัว จํานวน 13,059 ลานบาท และในป 2549 มี
แหลงทุน ทุนการศึกษา 11,237 ลานบาทสําหรับลูกผูมีรายไดนอย
จํ า นวน 800,000 ทุ น ทุ น การศึ ก ษาในช ว งเศรษฐกิ จ
ฝดเคือง 500,000 ทุน ทุนการศึกษาแกเด็กพิการ
35,000 ทุน รวมถึงโครงการหนึง่
ทุนหนึ่งอําเภอ และโครงการ
นักศึกษาทํางานระหวางเรียน

7 2 8
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)

การดําเนินนโยบายดานสังคม ƒ เปดโทรศัพทสายดวน 1191, 1194 ใหผูปกครองแจงขาว


ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ƒ รณรงคมาตรการลงโทษทางสังคม (Social Sanction)
นโยบายรัฐบาลทีส่ ําคัญ ƒ ตรวจสอบ/ดําเนินคดีเว็บไซต
ƒ การสรางหลักประกันสุขภาพใหครอบคลุมประชาชน ผิดกฎหมาย พบ 800,000
ทั่วประเทศ (โครงการ 30 บาท) และสงเสริมใหคนมี เว็ป ผิดกฎหมาย
พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกตอง
ƒ การปฏิรูประบบการศึกษาและการเรียนรูต ลอดชีวติ เชน ƒ เอ็กซเรยทุกพืน้ ที่ทั่วประเทศและพื้นที่ออนไหว เชน
โครงการหนึ่งอําเภอหนึ่งโรงเรียนในฝน พัฒนาการใชระบบ
บริเวณโรงเรียน
อินเทอรเน็ตเพื่อการศึกษา โครงการคอมพิวเตอรพกพา
สําหรับนักเรียน (One Laptop Per Child) และขยายโอกาส ƒ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารขยายกิจกรรม
ทางการศึกษา เชน โครงการหนึ่งอําเภอหนึ่งทุนการศึกษา เพื่อสอดสองดูแลสื่ออินเตอรเน็ต
และโครงการใหการกูย ืมเพือ่ การศึกษา
X จัดกิจกรรมเสริมสรางความสัมพันธระหวาง ผูปกครอง
ƒ บานเอือ้ อาทร และ อาจารย และเด็ก
บานมัน่ คง สําหรับ X พัฒนาเครือขายผูปกครอง
ผูมีรายไดนอ ย
X ใหความรูเรือ่ งการใชเทคโนโลยีสมัยใหม จิตวิทยาเด็กและ
วัยรุน
ƒ การปราบปรามผูมอี ทิ ธิพลและยาเสพติดอยางตอเนือ่ ง X จัดระเบียบหอพัก และรณรงคบานปลอดสื่อลามก

9 2 10
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)

นโยบายรัฐบาลทีส่ ําคัญ
ภาพรวมการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม
เศรษฐกิจของประเทศเจริญเติบโตตอเนื่อง
ƒ การฟน ฟูที่ดินที่ขาดความอุดม ผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศมีมูลคาเพิ่มขึน้ จาก 4.9
สมบูรณ ปาเสื่อมโทรม และการ ลานลานบาท ในป 2543 เปน 7.1 ลานลานบาท ในป 2548
แกไขปญหาน้ําขาดแคลน เพิ่มขึน้ รอยละ 44.3 ในชวงระยะเวลา 5 ป
2543 2546 2548p 2549f
ƒ การจัดทําแผนที่ขนาด 1 : 4000
เพื่อปรับปรุงการใชที่ดินและการ GDP (ราคาตลาด)
(ลานลานบาท)
4.92 5.93 7.10 7.75

กระจายกรรมสิทธิ์ที่ดินอยาง GDP 4.8 7.0 4.5 4.6


(% ณ ราคาคงที)่
เปนธรรม รายไดตอหัว 79.1 93.1 109.7 118.4
(พันบาท/ป)

ที่มา : สศช. หมายเหตุ : ป 2548 เปนตัวเลขเบื้องตน ป 2549 เปนตัวเลขประมาณการ

รายไดตอหัวประชากรเพิ่มขึน้
ƒ การปฏิรูประบบราชการและการ จาก 79,100 บาทตอปในป 2543
เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารของ เปน 109,700 บาทตอปในป 2548
รัฐวิสาหกิจ
รายไดครัวเรือน เพิ่มขึน้ จาก
145,800 บาทตอปในป 2543 เปน
178,272 บาทตอปในป 2547
11 2 12
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)

ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม
ป 2543 รายไดเกษตรกรเทากับ 31,972 บาท มูลคาผลผลิตอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นตอเนื่องจาก
/คน/ป เพิ่มเปน 51,870 บาทตอคนตอป ในป 2548 1.65 ลานลานบาทในป 2543 เปน 2.47 ลานลาน
มูลคาผลผลิตเกษตรกรรม เพิ่มขึ้นจาก 444,185 บาท ในป 2548 จากการสงออกที่เพิ่มขึน้ มาก
ลานบาท ในป 2543 เปน 706,285 ลานบาท ในป
2548 จากราคาพืชผลสําคัญที่เพิ่มขึน้ มาก
ลานบาท ลานลานบาท
2543 2548 2549 2543 2548 2549

มูลคาผลผลิต 706,285 798,102 มูลคาผลผลิต 1.65 2.47 2.70


เกษตรกรรม 444,185 อุตสาหกรรม (8.4% / ป) (ประมาณการ)
(9.8% / ป) (ประมาณการ)
มูลคาผลผลิต 205,104 408,505 207,281 (H1) มูลคาการสงออกสินคา 2.38 3.89 2.06 (H1)
พืชผลสําคัญ* (14.1% / ป) (44.7% YOY) อุตสาหกรรม (10.6% / ป) (10.6% YOY)

มูลคาสงออกสินคา 291,956 418,086 230,606 (H1) มูลคาการสงออกสินคา 1.18 1.97 1.07 (H1)
เกษตรกรรม (9.8% / ป) (22.7% YOY) อุตสาหกรรมสําคัญ* (11.3% / ป) (20.3% YOY)

* พืชผลสําคัญ ไดแก ขาวเปลือก ยางพารา มันสําปะหลัง ออย และปาลมน้ํามัน * ยานยนตและชิ้นสวน อิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร และสวนประกอบเครือ่ งใชไฟฟา
ที่มา: สศช. กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงพาณิชย และปโตรเคมี
หมายเหตุ: YOY หมายถึงอัตราเพิ่มรอยละของระยะเวลาเดียวของปปจจุบันกับปกอนหนา ที่มา: สศช. กระทรวงพาณิชย
H1 หมายถึง ชวงระยะเวลาครึง่ แรกของป

13 2 14
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)

ภาคบริการ/ทองเที่ยว การคาระหวางประเทศ
รายไดจากการทองเที่ยวเพิม่ ขึ้นจาก 299,536 มูลคาการสงออกเพิ่มขึ้น ในขณะที่ภาระคาใชจาย
ลานบาท ในป 2543 เปน 406,535 ลานบาท เพื่อการนําเขาน้ํามันเพิ่มขึน้ เชนกัน จึงทําให
ในป 2548 จากการสงเสริมการตลาดและการ ดุลการคาเกินดุลลดลง อยางไรก็ดี การเกินดุล
พัฒนาแพ็คเกจดานการทองเที่ยวใหม ๆ บริการสามารถชวยชดเชยดุลการคาไดบางสวน
ดุลบัญชีเดินสะพัดจึงขาดดุลไมมาก ลาน US$

2543 2548 2549 2543 2548 2549 (H1)

จํานวน 9.51 11.52 6.2 (H1)


ลานคน ลานคน มูลคาสงออกรวม 67,889 109,211 59,683
นักทองเที่ยว ลานคน
(4.2% / ป) (19.1% YOY)

รายไดจาก 299,536 406,535 124,369 ดุลการคาเกินดุลลดลง 5,466 - 8,578* - 1,929


นักทองเที่ยว ลานบาท ลานบาท ลานบาท (Q1)
(6.7% / ป) (25.2% YOY)
ดุลบริการ 3,862 4,864 2,432
ที่มา: ททท.
ดุลบัญชีเดินสะพัด 9,328 - 3,714 503
เกินดุลลดลง

* ในป 2548 เนื่องจากวิกฤตราคาน้ํามัน ประเทศตองสูญเสียเงินตราตางประเทศในการซื้อน้ํามัน/


เชื้อเพลิงเพิ่มขึ้นถึง 7,700 ลานเหรียญ สรอ. (จาก 13.15 พันลานเหรียญ สรอ. ในป 2547 เปน 20.92
พันลานเหรียญ สรอ. ในป 2548)
ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย

15 2 16
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)
FTA : ดุลการคาระหวางประเทศไทยและประเทศคูคา FTA : ดุลการคาระหวางประเทศไทยและประเทศคูคา
ประเทศสมาชิกอาเซียนมีการทยอยเปดเสรีการคากับจีนภายใต การเปดเสรีการคาสงผลใหมีการเพิ่มขึ้นของการสงออกและ
กรอบ FTA ของอาเซียนจีน โดยประเทศไทยเริ่มเปดเสรีสําหรับ นําเขา ซึ่งแสดงถึงประโยชนของผูสงออกในการขยายตลาด
สินคาผักและผลไมลวงหนา เมื่อ 1 ตุลาคม 2546 นอกจากนั้น และประโยชน ข องผู ผ ลิ ต ที่ ใ ช สิ น ค า ชั้ น กลางราคาถู ก ลงใน
การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข ง ขั น และผู บ ริ โ ภคที่ มี
ประเทศไทยยังมีการตกลงเปดเสรีการคาภาคีกับประเทศอื่นๆ
กํ า ลั ง ซื้ อ มากขึ้ น ในขณะที่ ผู ผ ลิ ต ในประเทศบางกลุ ม
เชน อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด ตองปรับตัว เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเพื่อรับการแขงขัน
ที่มา : กระทรวงพาณิชย ลานบาท ลานบาท
ที่มา : กระทรวงพาณิชย
กอนเปด หลังเปด ต.ค. 47–ก.ย. 48 กอนเปด หลังเปด
(46) (ต.ค. 46 – ก.ย. 47) ก.ย. 47–ส.ค. 48
(46) (ก.ย. 46 – ส.ค. 47)
FTA ไทย – จีน เริ่มเปด 1 ต.ค. 46 FTA ไทย – อินเดีย
เฉพาะผักและผลไม (HS 07, 08) เริ่มเปด 1 ก.ย. 2547 รวม 82 รายการ
การสงออก 2,703 4,545 10,395
การสงออก 8,230 11,319 14,466 การนําเขา 3,025 3,024 2,685
การนําเขา 3,319 4,502 4,730 ดุลการคา -322 1,522 7,710
ดุลการคา 4,911 6,817 9,736 กอนเปด หลังเปด ม.ค. 49–มิ.ย. 49
ลานบาท (47) (ม.ค. 48 – ธ.ค. 48)
กอนเปด FTA ไทย – ออสเตรเลีย หมายเหตุ : * ผลกระทบจากการนําเขาทองคําและน้ํามันดิบ
หลังเปด ก.ค. 48–มิ.ย. 49 เริ่มเปด 1 ม.ค. 2548 ทุกรายการ เพิ่มขึ้นมาก
(47) (ก.ค. 47 – มิ.ย. 48)
FTA ไทย – จีน ทุกรายการ การสงออก 99,096 127,104 74,406
(ภายใตกรอบอาเซียน – จีน) การนําเขา 88,823 130,576 66,503
เริ่มเปดสินคาเกษตร HS 01–08 ดุลการคา 10,273 -3,472* 7,903
เมื่อ 1 ม.ค. 2547 และเปดทุก กอนเปด หลังเปด
รายการเมื่อ 1 ก.ค. 2548 ก.ค. 48–มิ.ย. 49
(47) (ก.ค. 47 – มิ.ย. 48)
FTA ไทย – นิวซีแลนด
การสงออก 285,918 313,241 412,871 เริ่มเปด 1 ก.ค. 2548 ทุกรายการ
การนําเขา 329,772 401,127 475,627 การสงออก 13,257 17,057 20,038
การนําเขา 9,549 9,675 10,649
ดุลการคา -80,946 -87,886 -63,756
ดุลการคา 3,708 9,388
7,382
2 17 2 18
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)

การจางงาน รายไดครัวเรือน
เศรษฐกิ จ ที่ ข ยายตั ว ต อ เนื่ อ ง และนโยบายส ง เสริ ม มาตรการเพิ่ ม รายได ที่ สํ า คั ญ เช น การเพิ่ ม
เศรษฐกิจฐานราก เชน การสรางผูประกอบการรายใหม อัตราคาจางขั้นต่ํา การปรับฐานเงินเดือนขั้น
OTOP ธนาคารประชาชน กองทุนหมูบาน สงผลใหมีการ ต่ําขาราชการ การสรางเสถียรภาพราคาสินคา
จางงานเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปละ 8 แสนคน อัตราการวางงาน เกษตรและเพิ่มรายไดจากสินคาเกษตร การ
ลดลงจากรอยละ 3.6 ในป 2543 เปนรอยละ 1.7 ในป สงเสริม SMEs โครงการ OTOP และกองทุน
หมูบาน ชวยเพิ่มรายไดประชาชนโดยเฉพาะ
2548 ซึ่งเปนระดับที่ต่ํากวาอัตราการวางงานธรรมชาติ
ลานคน ในกลุมที่รายไดนอย
2543 2548 2549 (มิ.ย.) มาตรการเพิ่มรายไดที่สําคัญ

การจางงาน 31.3
ƒ เพิ่มคาจางขั้นต่ําในเขตกรุงเทพฯ จาก 165 บาทในป 2544 เปน 184 ในป
35.3 35.8
2548 และการปรับเพิ่มในจังหวัดอื่น ๆ เพื่อรักษามาตรฐานการครองชีพ
การวางงาน 1.19 0.62 0.56 ƒ ปรับฐานเงินเดือนขาราชการ และการปรับเพิ่มฐานเงินเดือนขั้นต่ําใหเปน
7,000 บาท และสําหรับกลุมที่มีเงินเดือนไมเกิน 10,000 บาท ใหเพิม่
อัตราการวางงาน 3.6 1.7 เงินเดือนอีก 1,000 บาท
1.5
(% ของกําลังแรงงานรวม)
ƒ สรางเสถียรภาพราคาสินคาเกษตรและเพิ่มรายไดจากสินคาเกษตร
ที่มา: กระทรวงแรงงาน ƒ OTOP มียอดจําหนายสินคาเพิ่มขึน้ จาก 16,714 ลานบาทในป 2545 เปน
54,448 ลานบาทในป 2548
ขีดความสามารถในการแข
2543
งขันของไทย
2548 2549 ƒ SMEs ไดรับอนุมัติสินเชื่อเพิ่มขึ้นจาก 81.1 พันลานบาทในป 2545 เปน
194.6 พันลานบาทในป 2548
อันดับที่ 31 27 32
ƒ กองทุนหมูบาน ใหกู 18.9 ลานราย วงเงิน 255.4 พันลานบาท (สะสมตั้งแต
ที่มา: IMD ก.ค. 2544 ถึง มิ.ย. 2549)

2 19 20
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)

คนจนลดลงและการกระจายรายไดดีขึ้น สถาบันการเงินมีความมั่นคงมากขึ้น
จํานวนคนจน ลดลงจาก 12.8 ลานคนในป NPLs ของสถาบันการเงิน ลดลงจาก 1.22 ลานลาน
2543 เหลือ 7.1 ลานคนในป 2548 และกลุม บาท หรือรอยละ 25.29 ของสินเชื่อรวม ณ สิ้นป
คนระดับกลางมีสวนแบงรายไดเพิม่ ขึน้ จาก 2543 เปน 476,647 ลานบาท หรือรอยละ 8.16
รอยละ 38.6 เปนรอยละ 40.6 ของรายไดรวม ของสินเชื่อ ณ สิ้นป 2548
ของประเทศ
2543 2547 สิ้นป 2543 สิ้นป 2548 มิ.ย. 2549

รายไดตอหัวของประชากร 79,098 101,305 มูลคา NPLs ของ 1.22 476,647 484,265


บาท/ป บาท/ป สถาบันการเงิน ลานลานบาท ลานบาท ลานบาท

คนจนลดลง 12.8 7.1 สัดสวนตอสินเชื่อรวม 25.29%


ลานคน 8.16% 8.23%
ลานคน

เสนความยากจน 1,135 1,242 ที่มา : ธปท.


(บาท/คน/เดือน)
ƒ บรรษัทบริหารสินทรัพยไทยไดรับโอน NPLs จากสถาบันการเงินและบริษัท
สวนแบงรายไดกลุมคนระดับลาง 147,270 216,669 บริหารสินทรัพย ในชวงป 2544-2548 มูลคารวม 777.2 พันลานบาท และ
(กลุมยากจนสุด 20% แรก) ลานบาท ลานบาท
(3.9%) (4.5%) บริหารจัดการไดขอยุติแลว 772.3 พันลานบาท โดยมีการปรับปรุงโครงสราง
หนี้หรือฟนฟูกิจการฯ 560 พันลานบาท (72.5%) และบังคับหลักประกัน
สวนแบงรายไดกลุมคนระดับกลาง 1,457,598 1,954,834 212.2 พันลานบาท (27.5%)
(กลุมคน 60% ระดับกลาง) ลานบาท ลานบาท
(38.6%) (40.6%)

ที่มา : สศช.
2 21 22
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)

ตลาดทุนมีขนาดใหญขึ้น นโยบายปรับปรุงประสิทธิภาพรัฐวิสาหกิจ
ตลาดหลักทรัพยมีขนาดใหญขึ้นจากดัชนีราคา รัฐวิสาหกิจในภาพรวม มีผลประกอบการดีขึ้น
ตลาดหลักทรัพยที่สงู ขึน้ และจํานวนหุน โดยในชวงป 2543-2548 มีกําไรสุทธิเพิ่มขึ้นเฉลี่ย
จดทะเบียนที่เพิ่มขึ้น ณ สิ้นป 2548 มูลคาตลาด 15,016 ลานบาท/ป และสรางรายไดใหกับภาครัฐ
มีขนาดเทากับ 5.11 ลานลานบาท เพิ่มขึน้ ในป 2548 มีมูลคาทรัพยสิน 2.74 ลานลาน
บาท เพิ่มขึ้นจากป 2543 0.72 ลานลานบาท

สิ้นป 2543 สิ้นป 2548 2549 (มิ.ย.) 2543 2548


รัฐวิสาหกิจ* (รวม ปตท.)
ดัชนีตลาดหลักทรัพย 269.13 713.73 678.1
กําไรสุทธิ 62,016 137,095
เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 15,016 ลานบาท/ป ลานบาท ลานบาท
มูลคาทรัพยสนิ 2.02 2.74
มูลคาตลาด 1.28 5.11 4.95 ลานลานบาท ลานลานบาท
ลานลานบาท ลานลานบาท ลานลานบาท เพิ่มขึ้น 0.7 ลานลานบาท
รายไดรวมของรัฐ 39,131 102,077
ที่มา : ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 12,589 ลานบาท/ป ลานบาท ลานบาท
*หมายเหตุ: รัฐวิสาหกิจ 51 แหง (2543) และ 54 แหง (2548)
กลุม ปตท.
กําไรสุทธิ 12,280 85,521
ลานบาท ลานบาท
มูลคาทรัพยสนิ รวม 229,854 649,807
ลานบาท ลานบาท
รายไดของรัฐ 6,102 35,344
ลานบาท
35.75 บาท ลานบาท
ราคาหลักทรัพย (เขาตลาดฯ 6 ธ.ค. 44) 226 บาท
ที่มา: กระทรวงการคลัง และตลาดหลักทรัพยฯ
2 23 24
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)

ฐานะการคลัง เสถียรภาพเศรษฐกิจ
เงินสํารองระหวางประเทศเพิ่มขึ้นเปน 52,066 ลานดอลลาร
การจัดเก็บรายไดเพิม่ ขึน้ จากภาวะเศรษฐกิจที่ สรอ. ณ สิ้นป 2548 สัดสวนหนี้สาธารณะตอ GDP ลดลง
ขยายตัวและประสิทธิภาพการจัดเก็บรายไดที่ดี จากรอยละ 57 ในป 2543 เปนรอยละ 46.4 อัตราเงินเฟอ
ขึ้น และสามารถจัดทํางบประมาณสมดุลไดในป เพิ่มสูงขึ้นในระยะหลัง เนื่องจากแรงกดดันของราคาน้ํามันที่
2549 เพิ่มสูงขึ้น สงผลใหธนาคารแหงประเทศไทยตองปรับอัตรา
ดอกเบี้ยนโยบายเพิ่มขึ้น 13 ครั้ง
2543 2548 2543 2548 2549
เงินสํารองระหวางประเทศ
ภาครัฐจัดเก็บรายไดเพิ่มขึ้น 748,104 1,264,928 32,661 52,066 58,057
(ใชหนี้ IMF = 12.0 พันลานUS$)
ป 2548 เพิม่ ขึ้น 12.2% จากป 2547 ลานบาท ลานบาท (ลาน US$) (มิ.ย.)

หนี้สาธารณะ (พันลานบาท) 2,807 3,296 3,228 (พ.ค.)


ขาดดุล งบประมาณสมดุล
จัดทํางบประมาณแบบสมดุลเปน สัดสวน ตอ GDP (57.0%) (46.4%) (41.7%)
110,000 ในปงบประมาณ 2549
ครั้งแรกในปงบประมาณ 2549 ลานบาท (ต.ค.2548-ก.ย.2549)
หนี้ตางประเทศ 79,715 52,040 56,813 (Q1)
(ลาน US$)
ที่มา: สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง
คาเงินบาทมีเสถียรภาพ 40.16 40.27 38.71
(บาท/US$) (เฉลี่ย 2544) (เฉลี่ย H1)

อัตราเงินเฟอ 1.6 4.5 5.9


(%)
อัตราดอกเบี้ยนโยบาย 1.5 4.0 5.0
(RP-14, %)
ที่มา: ธปท. กระทรวงพาณิชย กระทรวงการคลัง
2 25 26
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)

หนี้สาธารณะ หนี้ภาคธุรกิจและครัวเรือน
หนี้ ส าธารณะเพิ่ ม ขึ้ น จากการกู เ งิ น ในประเทศของรั ฐ บาลเพื่ อ ลดหนี้ หนี้ของภาคธุรกิจและครัวเรือนของธนาคาร
ตางประเทศ ชดเชยการขาดดุลงบประมาณและชดเชยความเสียหายของ พาณิชย สถาบันการเงินเฉพาะกิจ บัตรเครดิต
กองทุนเพื่อการฟนฟูฯ (ตาม พ.ร.ก. ใหอํานาจกระทรวงการคลังกูเงินและ
และตราสารหนี้ มีมูลคา 7.75 ลานลานบาท
จัดการเงินกูเพื่อชวยเหลือกองทุนเพื่อการฟนฟูและการพัฒนาระบบสถาบัน
การเงิน ระยะที่ 2 พ.ศ. 2545 และการกูเพื่อการลงทุนของรัฐวิสาหกิจ ในป 2548 คิดเปนรอยละ 109 ของ GDP และ
ซึ่งเปนการกูโดยรัฐบาลไมตองค้ําประกัน ในชวงป 2544-2548 รัฐวิสาหกิจ เมื่อรวมหนี้สาธารณะเทากับ รอยละ 155 ของ
มีการลงทุน 7 แสนลานบาทในโครงการสําคัญ เชน สนามบินสุวรรณภูมิ GDP ลานบาท
สายสงไฟฟา และบานเอื้ออาทร เปนตน
ประเภทสินเชือ่ 2543 2548
2543 2548 พันลานบาท
สินเชื่อธนาคารพาณิชย 4,606,312 5,681,451
หนี้สาธารณะ 2,807 3,296 สินเชื่อภาคธุรกิจ 3,177,012 3,781,520
สินเชื่ออุปโภคบริโภคสวนบุคคล 506,316 1,022,826
1. หนี้รัฐบาล 1,140 1,857
สินเชื่อสถาบันการเงินอื่นๆ 875,290 1,514,173
1.1 เงินกูตางประเทศ 399 243 บริษัทเงินทุนและบริษัทเงินทุนหลักทรัพย 220,826 162,058
บริษัทเครดิตฟองซิเอร 3,358 877
1.2 เงิน กูในประเทศ 741 1,615 ธนาคารออมสิน 65,738 340,023
(กูชดเชยขาดดุลงบประมาณ) 170 517 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร 256,663 418,626
ธนาคารอาคารสงเคราะห 278,458 489,411
(พันธบัตรกองทุนฟนฟูฯ) 499 1,026 ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย 48,144 61,401
ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม 2,104 41,776
2. หนี้รัฐวิสาหกิจ 890 1,037
หนี้คงคางบัตรเครดิต (Bank and Non -bank) 32,597 143,454
2.1 รัฐบาลค้ําประกัน 752 604
หุนกูภาคธุรกิจเอกชน 209,883 487,620
2.2 รัฐบาลไมค้ําประกัน 138 433
รวม 5,724,082 7,749,343
3. หนี้สินกองทุนฟนฟูฯ 776 402 116 109
สัดสวนหนี้ภาคธุรกิจและครัวเรือนตอGDP (%)
สัดสวนหนี้สาธารณะตอ GDP (%) 57.0 46.4
ที่มา: ธนาคารแหงประเทศไทย และกระทรวงการคลัง
ที่มา: กระทรวงการคลัง
2 27 28
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)

หนี้ครัวเรือน หในปนี้ค2547
รัวเรือน
มูลคาหนี้ของครัวเรือนเฉลี่ยเทากับประมาณ 0.9
ครั ว เรื อ นทุ ก กลุ ม มี ห นี้ เ พิ่ ม ขึ้ น เนื่ อ งจากรายได ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น เทาของรายไดทั้งป โดยเปนการกูเพื่อการซื้อหรือเชาบานและ
อัตราดอกเบี้ยต่ํา การขยายธุรกิจของสถาบันการเงิน และ ที่ดิน (36.9%) กูเพื่อประกอบอาชีพ (30.9%) กูเพื่อการใชจาย
การเขาถึงทุนจากมาตรการของรัฐบาล ทั้งนี้หนี้ครัวเรือน ซึ่งรวมเงินกูเพื่อการศึกษา (29.5%) ทําให 81% ของครัวเรือน
ทั้ ง สิ้ น 1.95 ล า นล า นบาท ส ว นใหญ (60%) เป น หนี้ ข อง ที่เปนหนี้มีบานและที่ดินเปนของตนเอง นอกจากนี้ยังมีการ
ครัวเรือนกลุมรายไดสูง ที่มีรายไดประมาณ 32,481 บาทตอ ถือครองทรัพยสินอื่นๆ เชน รถยนต รถปคอัพ รถจักรยานยนต
เดือน มากขึ้น หนวย: บาท
รายไดเฉลี่ยตอ เฉลี่ยหนี้สินรวม ภาระหนี้ตอรายได
สัดสวนครัวเรือนเปนหนี้ (%) 2543 2547 2543 ครัวเรือน/ป ตอครัวเรือน ตอครัวเรือน
กลุมคนจน: 20% ต่ําสุด 65.9 73.4 กลุมคนจน: 20% ต่ําสุด 36,902 31,679 0.9

ลําดับ 2 63.5 70.8 ลําดับ 2 58,388 43,256 0.7

ลําดับ 3 55.5 67.4 ลําดับ 3 84,936 62,348 0.7

ลําดับ 4 50.3 62.7 ลําดับ 4 135,037 99,129 0.7

กลุมคนรวย: 20% สูงสุด 49.6 59.5 กลุมคนรวย: 20% สูงสุด 331,617 351,953 1.1

เฉลี่ย 56.0 66.0 เฉลี่ย 145,552 124,560 0.9


รายไดเฉลี่ยตอ เฉลี่ยหนี้สินรวม ภาระหนี้ตอรายได
ภาระหนี้ครัวเรือนรวม (ลานบาท) 2543 2547 2547 ครัวเรือน/ป ตอครัวเรือน ตอครัวเรือน
กลุมคนจน: 20% ต่ําสุด 54,139 110,406 กลุมคนจน: 20% ต่ําสุด 50,124 50,843 1.0

ลําดับ 2 82,898 131,078 ลําดับ 2 79,356 50,862 0.6

ลําดับ 3 113,370 183,071 ลําดับ 3 112,702 75,517 0.7

ลําดับ 4 177,500 345,205 ลําดับ 4 170,388 142,439 0.8

กลุมคนรวย: 20% สูงสุด 732,423 1,176,376 กลุมคนรวย: 20% สูงสุด 389,772 429,565 1.1

รวม 1,160,329 1,946,136 เฉลี่ย 178,272 160,781 0.9


2 29 ที่มา: สํานักงานสถิติแหงชาติ และ สศช. 30
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549) ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)

ดานสังคม: การศึกษา
คุณภาพชีวิตและโอกาสการเขาถึงบริการทางสังคมดีขึ้น เด็ทั่วกถึและเยาวชนได รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ป อยาง
ง มีการเรียนตอระดับมัธยมปลายเพิ่มขึ้น แรงงานมี
ประชาชนมีหลักประกันสุขภาพเพิ่มขึ้น คาใชจาย ระดับการศึกษาสูงขึ้น โดยมีการขยายโอกาสดวยทุน
ดานสุขภาพของครัวเรือนลดลง ขณะที่ประชาชนมี ใหกูยืมและทุนใหเปลาสําหรับเด็กดอยโอกาสและยากจน
พฤติกรรมการออกกําลังกายมากขึ้น และการสูบบุหรี่ ขณะที่มีสัดสวนนักวิจัยเพิ่มขึ้น ซึ่งเปนฐานสําคัญในการพัฒนาไปสูสังคม
ลดลง ฐานความรู ทีต่ องเรงรัดทั้งปริมาณและคุณภาพไปพรอม ๆ กัน
2543 2548 2543 2548 2549

ประชากรที่มีหลักประกันสุขภาพ 78.2% 96.25% อัตราเขาเรียนตอ ม.ปลาย 57.4% 64.0% -

แรงงานที่มีการศึกษา
รายจายสุขภาพของครัวเรือนไทย (บาท) 281 262
ระดับ ม. ปลายขึ้นไป 19.7% 24.9% 25.9%
(ไตรมาส 1/2549)
(รอยละ)
การออกกําลังกาย 24.2% 29.1%
กองทุนเงินใหกูยืม 242,759
เพื่อการศึกษา 74,850 212,393 (ปงบประมาณ 2549)
อัตราการสูบบุหรี่ 22.5% 19.5% (ลานบาท) รวมกองทุน ICL 5,493
ลานบาท

ที่มา: สํานักงานสถิติแหงชาติ จํานวนบุคลากร


ดานการวิจัย 3 6 (ป 2546)
(ตอประชากร 10,000 คน)
ที่มา: กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ

2 31 32
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมไทยในชวง 5 ป (2544-2549)

ความมั่นคงของมนุษยและความปลอดภัย
ในชีวิตและทรัพยสิน
ผูดอยโอกาสไดรับการชวยเหลือเกื้อกูลมากขึ้น ทั้งดาน
ที่อยูอาศัย คนพิการและผูสูงอายุที่ยากไร ขณะที่คดี
ยาเสพติดลดลงอยางนาพอใจ แตยังตองเฝาระวังอยาง
ตอเนื่องทั้งพัฒนาการของตัวยา และรูปแบบการคาใหมๆ

2543 2548
คนพิการรับเบี้ยยังชีพ
4.6 7.1
(รอยละของจํานวนคนพิการ)

จํานวนคนชรายากไรไดรับเบี้ยยังชีพ 400,000 คน 1.08 ลานคน

สัดสวนคดียาเสพติด (ตอแสนคน) 422.8 160.3

ที่มา: รายงานภาวะสังคม (สศช.)

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
962 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพฯ 10100

2 33 2

You might also like