You are on page 1of 5

นายฐปนัตว เกื้อกูลวงศ (นัด) T52

รายงานผลการทดลองวิจยั ความจริงเกี่ยวกับตัวเอง : การฝกปราณายามะ


อยางสม่าํ เสมอ

1. เปาหมายและวัตถุประสงคของการเลือกทําหัวขอนี้
1.1 หลังจากผานไป 3 สัปดาห ตองการเห็นความเปลี่ยนแปลงและความกาวหนาในเรื่อง
ของสมาธิ
1.2 เพื่อตองการเห็นลมหายใจที่ละเอียดขึน้
2. แผนปฏิบตั ิ / สิง่ ที่ทําไปตลอด 3 สัปดาห
1. ฝกปราณในชวงเชาหรือชวงค่ํา (ถามีเวลา)
2. ฝกอนุโลมวิโลม อัตราสวน 1:2 หายใจเขา 6 วินาที และหายใจออก 12 วินาที ทั้งหมด
10 รอบ และตอดวยการฝกอุชชายี อัตราสวน 1:1 หายใจเขา 5 วินาที และหายใจออก 5 วินาที
อยางไรก็ดี อาจฝกปราณอยางอืน่ ตอดวย เชนการเปลงเสียงโอม หรือการฝก พรมมารี (หายใจเขา
ดวยปาก แลวหายใจออกทําเสียงเหมือนผึง้ )
3. สังเกตลมหายใจทุกครั้งกอนฝกและหลังฝกปราณายามะ
3. สิ่งทีไ่ ดเรียนรูจากการทดลองวิจยั ตนเอง
ในแตละสัปดาหที่ไดทดลองปฏิบัติในเรื่องการทําปราณายามะอยางสม่ําเสมอในแตละ
สัปดาหนั้นพบวามีการเรียนรูตลอด 3 สัปดาห และสิ่งที่ไดเรียนรูนนั้ ก็แตกตางกันไปตามแตละ
สัปดาห อยางไรก็ตามสามารถแบงสิ่งที่ไดเรียนรูออกเปน 3 เรื่อง คือ
1. เรียนรูเทคนิคการฝกปราณ และความแตกตางของเทคนิคการฝกปราณ :
แบงเปน 2 ประเด็น ประเด็นแรกเรื่องการทําอนุโลมวิโลมอัตราสวน 1:2 หายใจเขา 6
วินาที และหายใจออกออก 12 วินาที กับหายใจเขา 5 วินาที กับหายใจออก 10 วินาที พบวาการ
หายใจเขา 5 วินาที กับหายใจออก 10 วินาที จะทําไดงายกวา คือรูสึกไมเหนื่อยเทากับ การหายใจ
เขา 6 วินาที และหายใจออกออก 12 วินาที แตอยางไรก็ดี การหายใจเขา 6 วินาที และหายใจออก
ออก 12 วินาที ผูฝกสามารถทําไดดี
ในประเด็นที่ 2 คือเห็นความแตกตางของการฝกปราณสองอยาง อนุโลมวิโลม และอุชชายี
กับการฝกปราณ 3 – 4 อยาง คืออนุโลมวิโลม อุชชายี พรมมารี (หายใจเขาดวยปาก แลวหายใจ
ออกทําเสียงเหมือนผึง้ ) และการเปลงเสียงโอม สังเกตไดวาการทําเทคนิคที่เพิ่มมากขึ้น ชวยใหเกิด
การจดจอกับลมหายใจไดนานขึ้น และรับรูถึงลมหายใจที่ลึกยาวขึน้ ซึง่ สามารถสังเกตเห็นได
ชัดเจนในชวงการทําสมาธิ หรือนั่งจดจอกับลมหายใจ
2. เรื่องการสังเกตลมหายใจ :
เมื่อเทียบกับชวงกอนทําการวิจัยตัวเอง การสังเกตลมหายใจของผูฝก จะมีชวงที่สงั เกต
บางในบางวัน เชนวันทีท่ ําสมาธิ ซึ่งไมคอยบอย แตเมื่อเริ่มทําการทดลองวิจัยตัวเอง ทําใหการ
สังเกตลมหายใจทําไดทกุ วัน ชวงที่สงั เกตลมหายใจคือในชวงเชาตอนตืน่ นอน ชวงกอนฝกปราณ
ชวงหลังฝกปราณ และชวงทําสมาธิหลังฝกปราณ และการทําสมาธิกอนนอน
การสังเกตลมหายใจนีท้ ําใหเห็นความแตกตางและปจจัยที่ทาํ ใหเกิดความแตกตาง ในแต
ละชวง เชนชวงเชามีบางชวงที่มีนา้ํ มูก อาจเปนเพราะในหองนอนมีฝนุ หรือวาเมื่อคืนนอนดึก แต
เมื่อเวลาผานไปในชวงสาย ๆ ไดฝกปราณ และสังเกตลมหายใจอีกครั้งพบวาลมหายใจโลงมาก
ขึ้น หรือในการทําปราณในชวงเชา กับการทําปราณในชวงอยูในหองเรียน ก็เห็นความแตกตางของ
ลมหายใจกอนฝกและหลังฝกที่ตางกัน บางวันสังเกตวาฝกในชวงเชา จะสังเกตลมหายใจไดดีกวา
ชวงเย็น หรือบางวันถารูสึกวารางกายตืน่ ตัวชาไปหนอย ก็จะพบวาชวงเย็นเปนชวงทีส่ ามารถ
สังเกตและจดจอกับลมหายใจไดดี ทั้งกอนฝกปราณ และชวงทําสมาธิ
3. เรียนรูถึงความแตกตางใน 3 สัปดาห :
3.1 ความแตกตางในสัปดาหแรกกับสัปดาหที่สอง พบวาในสัปดาหแรกการฝกปราณยัง
ไมเห็นความแตกตางของการฝกอนุโลมวิโลม อัตราสวน 1: 2 หายใจเขา 6 วินาที หายใจออก 12
วินาที ในชวงเชา กับหายใจเขา 5 วินาที หายใจออก 10 วินาทีในชวงเรียนในคอรสครูโยคะเทาไร
นัก แตในสัปดาหที่สองสามารถเห็นความแตกตางและรับรูความแตกตางนัน้ ไดชัดเจนขึ้นกวา
สัปดาหแรกและในสัปดาหที่สองยังสามารถสังเกตลมหายใจไดในชีวติ ประจําวันไดดวย ซึง่ ใน
สัปดาหแรกมีนอย แทบจะไมมี
3.2 ความแตกตางในสัปดาหที่สองกับสัปดาหที่สาม พบวาความกาวหนาในสัปดาหที่สอง
มีความชัดเจนกวาสัปดาหทสี่ าม ถึงแมวาความกาวหนาในสัปดาหทสี่ ามจะมีมากกวาสัปดาหที่
สอง อาจเปนเพราะในสัปดาหที่สองมีความเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจนมาก ทําใหเกิดความรูสึกวาใน
สัปดาหนี้มีความกาวหนา เชนในเรื่องของจิตที่ตั้งมัน่ หรือการสังเกตเห็นความแตกตางระหวางการ
ฝกอยูที่บา นกับการฝกที่คอรสครู
แตอยางไรก็ดี ในสัปดาหที่สาม เกิดความรูสึกที่แตกตางกวาสองสัปดาหที่ผา นมาในเรื่อง
ของการนัง่ สมาธิ คือจะรูสึกวาอยากจะนัง่ อยูในสมาธิตอ เวลากําหนดวาจะนั่งกี่นาที ซึง่ ถาฝกใน
บานก็จะนั่งตออีกสักพัก แตถาอยูในหองเรียนคอรสครูก็ไมไดนั่งตอ แตเกิดความรูสกึ ดังกลาว
3.3 ความแตกตางระหวางสัปดาหที่สาม กับสัปดาหแรก เห็นความแตกตางอยางชัดเจน
ในเรื่องของสมาธิ และในเรือ่ งของสติที่มีในชีวิตประจําวัน คือเมื่อเจอปญหาบางอยางในชีวิตที่ผาน
เขามา อารมณความรูสึกจะเปนกลาง ไมกระวนกระวาย แตจะหาทางแกปญหานัน้ อยางใจเย็น ซึง่
ผลคือแกปญหาในชีวิตประจําวันได ไมมากก็นอย
3.4 ความแตกตางระหวางสามสัปดาหเมือ่ เทียบกับกอนฝกทดลองปราณ ในเรื่องของการ
นั่งสมาธิ ชวงกอนที่จะทําการทดลอง หรือกอนทีจ่ ะเขามาเรียนในคอรสครูโยคะ ก็มีโอกาสไดนงั่
สมาธิบา ง แตไมถึงกับทุกวัน แตเมื่อไดมาทดลองในงานชิ้นนี้ จะไดนงั่ สมาธิ และสังเกตตัวเองทุก
วัน ทําใหตัวเองไดสังเกตทัง้ ลมหายใจ และอารมณความรูสึกรวมถึงความคิดที่แลนเขามาขณะได
นั่งสมาธิ ซึ่งในสัปดาหสุดทายเห็นถึงความเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจนในเรื่องของสมาธิทตี่ ั้งมั่นมากขึน้
และเห็นตัวเองคืออารมณความรูสึกรวมถึงความคิดที่ชดั เจนมากขึ้นกวาชวงกอนฝกปราณ หรือทํา
การทดลองปราณชิ้นนี้
4. ปญหาและอุปสรรคทีม่ ีตอการทดลอง
4.1 ในสัปดาหแรก จะเปนเรื่องของความคิดขณะฝกสมาธิ ซึง่ มีมาก แตก็สามารถสังเกต
ชวงที่สงบไดเปนบางชวง แตอยางไรก็ดี ในสัปดาหที่สอง และสัปดาหที่สาม พบวาเกิดความ
เปลี่ยนแปลงที่ดี คือความคิดลดนอยลง และถึงแมจะมีความคิด ความคิดนั้นก็ไมทาํ ใหเสียสมาธิ
คือไมมีการคิดตอ ปลอยความคิดไปและจดจอกับลมหายใจ
4.2 เรื่องเทคนิคการฝกปราณอนุโลมวิโลม 1:2 หายใจเขา 6 วินาที หายใจออก 12 วินาที
ซึ่งในสัปดาหแรก จะรูสึกเหนือ่ ย แตเมื่อฝกทุกวันอยางสม่ําเสมอจะไมคอยรูสึกเหนื่อย จะรูสึกชิน
แตก็สามารถเห็นความแตกตางในการทํา 1:2 หายใจเขา 5 และหายใจออก 10 ได คือจะรูสึกงาย
กวา
4.3 ในเรื่องของสภาพแวดลอม เชนฝุนละอองทีท่ ําใหเกิดการคัดจมูกในชวงเชาที่อยูใ น
บาน หรือเสียงรบกวนตาง ๆ ทั้งที่อยูในบาน และในหองเรียนคอรสครู แตอยางไรก็ตามปญหา
เหลานี้จะเปนในสัปดาหแรก สัปดาหที่สองและสาม จิตเริม่ ตั้งมั่นมากขึ้น ทําใหไมสนใจกับปญหา
เหลานี้
4.4 การมีเวลาใหกับการฝก เปนเฉพาะในสัปดาหแรกทีร่ ูสึกวาไมคอยมีเวลา แตเมื่อผาน
ไปก็สามารถจัดการกับเวลาใหเหมาะสมได เชน ฝกชวงกอนนอนเปนตน
5.ปจจัยที่สงเสริมใหการปฏิบัติกาวหนาตามเปาหมายที่กาํ หนด
ปจจัยที่สง เสริมใหการปฏิบัติกาวหนาตามเปาหมายทีก่ ําหนดไวนี้ผูเขียนขอแบงปจจัย
ออกเปนสองปจจัย คือ ปจจัยภายใน และปจจัยภายนอก ปจจัยภายใน คงเปนเรื่องของการปฏิบตั ิ
อยางสม่ําเสมอ และจริงจังกับโครงการทดลองนี้ ปจจัยนอก เปนเรื่องของสภาพแวดลอม และ
ปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ที่ทาํ ใหเราไดเรียนรู และคอยสังเกตตัวเอง ซึ่งสิง่ นีก้ ็เปนสิ่งที่สาํ คัญที่
ทําใหตัวเองเกิดความเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน
6. การเปลีย่ นแปลงตนเอง
จาก 3 สัปดาหที่ผา นมาสามารถรับรูการเปลี่ยนแปลงทีเ่ กิดขึ้นดังนี้
6.1 เรื่องเทคนิคการทําปราณยามะ : จากแตกอนฝก อนุโลมวิโลม อัตราสวน 1:2 หายใจ
เขา 5 วินาที และหายใจออก 10 วินาที มีความกาวหนามากขึ้นจากการที่ไดฝก อัตราสวน 1:2
หายใจเขา 6 วินาที และหายใจออก 12 วินาที ทําใหเห็นความเปลีย่ นแปลงในเรื่องการจดจอกับลม
หายใจที่ลึกยาว และมีสมาธิมากขึ้น
ไดเรียนรูเทคนิคการฝกปราณอีก 3 แบบคือ อุชชายี, พรามมารี (การเปลงเสียงเหมือนผึ้ง),
และการเปลงเสียงโอม ซึ่งเมือ่ ฝกเทคนิคทีม่ ากขึ้น ทําใหเราสามารถจดจอกับลมหายใจโดยที่
ความคิดมีนอยลงไดมากขึน้ พูดอีกอยางคือทําใหเราจดจอกับการฝกสมาธิไดนานขึน้ ซึง่ เห็นความ
เปลี่ยนแปลงนี้ในชวงกอนทําการทดลอง กับชวงหลังการทําการทดลองไดอยางชัดเจน
6.2 เรื่องของระบบหายใจ : พบวาการหายใจ หายใจไดลึกยาวขึ้น หายใจไดชาลง การ
สังเกตลมหายใจแตละวันมีมากขึ้นกวาแตกอน ซึง่ แตกอ นไมคอยไดใสใจกับการสังเกตลมหายใจ
เทาไรนัก
6.3 เรื่องของสมาธิ : ความเปลี่ยนแปลงเรื่องสมาธิเปนความเปลีย่ นแปลงที่เห็นไดชัดเจน
ซึ่งเมื่อเทียบกับชวงกอนการฝก การฝกสมาธิถือวาอยูในขั้นทีพ่ อใช แตเมื่อไดเริ่มการทดลองพบวา
เกิดความกาวหนามากขึ้น เห็นความเปลีย่ นแปลงในเรือ่ งของจิตที่ตงั้ มั่นมากขึ้น รูสึกถึงความสงบ
นิ่ง และเห็นตัวเอง คือเห็นอารมณ ของตัวเองที่เปลีย่ นแปลงไปทุกขณะมากกวาแตกอ น แตอยางไร
ก็ดี การฝก 3 สัปดาห ผูฝก คิดวาการพัฒนาในเรื่องของสมาธินาจะกาวหนากวานีถ้ าฝกไปเรื่อย ๆ
ทุกวันอยางสม่ําเสมอ
7. ประเมินความกาวหนาเมื่อมองจากเปาหมายทีว่ างไว
7.1 เรื่องของสมาธิ หรือความมีสติ เมื่อเทียบกับชวงกอนเริ่มการทดลองวิจัยตัวเอง ไดเคย
มีการฝกปราณมาบางแลว แตไมไดฝกทุกวันอยางสม่ําเสมอ ดังนั้นเมือ่ มาทําการทดลองตัวเองจะ
ไดทําอยางสม่าํ เสมอ และมีความตั้งใจฝก ทัง้ ในเรื่องของการฝกปราณและการฝกสมาธิ ทําใหเกิด
ความกาวหนามากกวาชวงทําการทดลองนี้ จิตมีความตัง้ มั่นมากขึ้น การนั่งสมาธิจะนั่งไดนานโดย
จิตจะไมซัดสายมากขึน้ แตอยางไรก็ดี ความคิดไมไดหายไป หากแตมีสติคอยตามรูความคิดนัน้ ไป
ไมไดไปยึดติดอะไรกับมัน จึงบอกไดวาในเรื่องของสมาธิและสติที่รูตัวเองอยูตลอดเวลานัน้ เกิด
ความกาวหนาหลังจากทําการทดลอง 3 สัปดาห
7.2 ดานรางกาย (การหายใจ) กอนหนาทีจ่ ะทําการทดลองนี้ การหายใจก็ละเอียดเปน
ปกติ แตเมื่อไดฝก 3 สัปดาห สามารถสังเกตถึงลมหายใจที่ลึก ยาว และละเอียดมากขึ้นกวาชวง
กอนทําการทดลองนี้ จึงบอกไดวาดานการหายใจมีความกาวหนา
7.3 เรื่องเทคนิคปราณายามะ เปนผลพลอยไดจากการทดลองนี้ คือไดเรียนรูเทคนิคปราณ
ที่หลากหลายมากขึ้น ในชวงการฝกของคอรสครูโยคะ เชน อุชชายี, พรามมารี (การเปลงเสียง
เหมือนผึ้ง), และการเปลงเสียงโอม ซึ่งถือเปนความกาวหนาในเรื่องการฝกปราณดานหนึง่ แต
อยางไรก็ตามผลที่ไดจากเทคนิคทั้ง 3 อยางนี้ สงผลตอความกาวหนาที่เห็นไดชัดเจนคือการจดจอ
อยูกับลมหายใจไดนานขึน้ ในชวงการนัง่ สมาธิ จิตจะตั้งมั่นมากขึ้น
8. ภาพรวมความพึงพอใจตอการทดลอง
จาก 3 สัปดาหที่ผา นมาสามารถเห็นความเปลี่ยนแปลงตัวเองไปในทางที่ดีขึ้นในแตละ
สัปดาห และเมื่อประเมินถึงความพึงพอใจหลังการทดลองวิจัยตัวเอง ถือวาการทดลองวิจัยตัวเอง
นี้มีความพอใจคอนขางมาก เมื่อเทียบกับสองเรื่อง คือ 1. ชวงกอนทําการทดลอง การสังเกตตัวเอง
ยังไมมากเทากับ 3 สัปดาหนี้ การสังเกตตัวเองก็เทากับรูว าตัวเองเปนอยางไร มีปญหาสุขภาพ
หรือปญหาเรือ่ งการนั่งสมาธิหรือการพัฒนาจิตอะไรบาง และควรจะแกใหดีขึ้นอยางไร แตกอนก็ไม
คอยไดสนใจกับการสังเกตลมหายใจเทากับชวง 3 สัปดาหนี้ ทัง้ ในชวงการนัง่ สมาธิ และการใช
ชีวิตประจําวัน ลวนสงผลดวยกันทั้งนัน้ 2. เทียบกับเปาหมายที่ไดวางไว จากทั้ง 2 ขอ คือ การเห็น
ความเปลีย่ นแปลงและความกาวหนาในเรื่องของสมาธิ และเพื่อตองการเห็นลมหายใจที่ละเอียด
ขึ้น ซึ่งผลที่ไดในรทดลองนี้ไดตอบโจทยเปาหมายของเราที่ไดวางไว
การทดลองนี้ถอื วาเปนการทดลองที่ไดประโยชน และถาประเมินถึงความพึงพอใจจาก
ประโยชนที่ไดรับ และเปาหมายที่วางไว ดังกลาวพบวาการทําปราณายามะใน 3 สัปดาหนี้ สงผล
ใหเกิดความเปลี่ยนแปลงขึน้ ในตัวเอง ดังนั้นทําใหตอบไดวาตัวเองรูสกึ พึงพอใจกับประโยชนที่
ไดรับจากการเปลี่ยนแปลงทีเ่ กิดขึ้นในโครงการนี้

You might also like